SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 21
Downloaden Sie, um offline zu lesen
โครงงานคอมพิวเตอร์
เรื่อง พิธีมงคลแต่งงานแบบไทยในหมู่บ้านหนองป่ าแซง
โดย
นางสาวรุ้งเพชร กาฬษร เลขที่ 12
นางสาววาจา นรสิงห์ เลขที่ 15
นางสาววิภาวรรณ ซึ้งมงคลทรัพย์ เลขที่ 16
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/1
ที่ปรึกษาโครงงาน
คุณครูณัชพล กาฬภักดี
โครงงานนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชา โครงงานคอมพิวเตอร์
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2554
โรงเรียนบ่อกรุวิทยา
โครงงานคอมพิวเตอร์ พิธีมงคลแต่งงานแบบไทยในหมู่บ้านหนองป่าแซง
ประเภทโครงงาน โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
ระดับ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
ผู้รับผิดชอบโครงงาน นางสาวรุ้งเพชร กาฬษร
นางสาววาจา นรสิงห์
นางสาววิภาวรรณ ซึ้งมงคลทรัพย์
อาจารย์ที่ปรึกษา ครูณัชพล กาฬภักดี
โรงเรียน โรงเรียนบ่อกรุวิทยา อาเภอเดิมบางนางบวช จังหวัดสุพรรณบุรี
บทคัดย่อ
โครงงานเรื่องพิธีมงคลแต่งงานแบบไทยในหมู่บ้านหนองป่าแซง เป็นการประยุกต์นาความรู้ด้าน
คอมพิวเตอร์มาใช้นาเสนอข้อมูลพิธีมงคลแต่งงานแบบไทยในหมู่บ้านหนองป่าแซง ที่ผู้จัดได้ศึกษาข้อมูล
จากผู้มีความรู้ในหมู่บ้านหนองป่ าแซง โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพิธีการและขั้นตอนของพิธีมงคล
แต่งงานแบบไทยในหมู่บ้านหนองป่าแซง เนื่องจากเป็นประเพณีที่มีคุณค่าและสวยงาม เพื่อให้คนรุ่นหลัง
เกิดความตระหนักในคุณค่าของพิธีมงคลแต่งงานแบบไทยในท้องถิ่นของตนเอง และเพื่อเป็นการอนุรักษ์
และเผยแพร่พิธีมงคลแต่งงานแบบไทยในหมู่บ้านหนองป่าแซงให้ผู้ที่สนใจได้ศึกษาอย่างกว้างขวางผ่าน
วีดิโอที่เผยแพร่ทางอินเทอร์เน็ต
จากผลการดาเนินการโครงงานเรื่องพิธีมงคลแต่งงานแบบไทยในหมู่บ้านหนองป่าแซง พบว่าได้รับ
ความสนใจจากบุคคลทั่วไป และสร้างความตระหนักในพิธีมงคลแต่งงานในท้องถิ่น ให้ดารงอยู่ไม่สูญ
หายไปตามกาลเวลา
กิตติกรรมประกาศ
โครงงานคอมพิวเตอร์ “พิธีมงคลแต่งงานแบบไทยในหมู่บ้านหนองป่าแซง” เป็นโครงงานประเภท
โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา โดยการประยุกต์นาความรู้ด้านคอมพิวเตอร์มาใช้นาเสนอข้อมูลพิธีมงคล
แต่งงานแบบไทยในหมู่บ้านหนองป่ าแซง ซึ่งผู้จัดทาโครงงานคอมพิวเตอร์ต้องกราบขอบพระคุณ
นายบุญช่วย อ้นสืบสาย ผู้อานวยการโรงเรียนบ่อกรุวิทยา ที่ให้ความอนุเคราะห์ สนับสนุน อีกทั้งยังให้
คาแนะนา ตลอดจนให้คาปรึกษาในการทาโครงงานคอมพิวเตอร์นี้ขึ้นมาให้สาเร็จลุล่วงไปได้ด้วยดี
ขอขอบพระคุณ นายณัชพล กาฬภักดี ครูผู้สอนวิชาคอมพิวเตอร์ของโรงเรียนบ่อกรุวิทยา ที่กรุณาให้คา
ชี้แนะ ให้คาปรึกษา แนะนาขั้นตอนในการจัดทาโครงงาน อีกทั้งยังช่วยกรุณาตรวจทานข้อมูลต่างๆ ในการ
ทาโครงงานฉบับนี้
บทที่ 1
บทนา
1.1 ที่มาและความสาคัญ
เนื่องจากในปัจจุบันนี้การแต่งงานของคนไทยสมัยใหม่ได้รับวัฒนธรรมการแต่งงานของคนทาง
ตะวันตกเข้ามา ทาให้พิธีมงคลแต่งงานแบบไทยที่มีคุณค่าและความสวยงาม ค่อยๆเสื่อมหายไปจาก
สังคมไทย คนรุ่นหลังเริ่มดัดแปลงงานแต่งให้มีความเป็นตะวันตกมากขึ้น มีเพียงการใส่ชุดไทยในการทาพิธี
แต่ขั้นตอนพิธีการต่างๆตัวอย่างเช่น พิธีการหมั้น ที่จะต้องส่งเถ้าแก่มาเจรจาสู่ขอและกาหนดวันหมั้นก่อน
จึงค่อยจัดพิธีแต่งงาน แต่ในปัจจุบันเมื่อหนุ่มสาวคู่ใดจะแต่งงานกัน ก็จัดงานแต่งเลยเป็นการรวบรัด ทาใน
วันเดียวให้เสร็จ หรือบางคู่ก็อาจจะอยู่กินกันเลย เป็นการทาลายวัฒนธรรมประเพณีอันดีงามของชาวไทยใน
อดีตไป ทาให้ทุกวันนี้ประเพณีที่ดีงาม สวยงามนั้นได้ถูกวัฒนธรรมทางตะวันตก กลืนกินไปหมดแล้ว ไม่
ค่อยจะมีคนที่รู้จักประเพณีของไทยอย่างถ่องแท้ ที่สาคัญยิ่ง ประเพณีของไทยนั้นเป็นการบ่งบอกถึงความ
เป็นไทย และความเป็นศิลปะ ที่หาวัฒนธรรมอื่นใดเปรียบมิได้
พิธีมงคลแต่งงานแบบไทยในอดีตนอกจากจะเป็นการประกาศการใช้ชีวิตคู่ของคนทั้งสองแล้ว ยัง
เป็นการคัดเลือกบุคคลที่จะมาเป็นคู่ชีวิตให้บุตรของผู้ใหญ่ทั้งสองฝ่าย เป็นการช่วยลดปัญหาการหย่าร้าง
เพราะยังไม่ได้ศึกษากันให้ดีเสียก่อน ซึ่งข้อนี้ คนไทยในสมัยก่อนท่านได้มองเห็นถึงความสาคัญในการใช้
ชีวิตคู่ จึงไม่ค่อยมีปัญหาการอย่างร้าง ปัญหาครอบครัว และลุกลามเป็นปัญหาของสังคมเหมือนในปัจจุบันนี้
จากเหตุผลดังกล่าวข้างต้นทางผู้จัดทาจึงจัดทาโครงงานพิธีมงคลแต่งงานแบบไทยในหมู่บ้านหนอง
ป่าแซง เพราะเห็นถึงความสาคัญในพิธีมงคลแต่งงานแบบไทยในท้องถิ่น ซึ่งเป็นประเพณีที่ดีงามและมีมา
อย่างยาวนานที่เราควรศึกษาและสืบทอดให้คงอยู่ต่อไป
1.2 แนวคิดในการทาโครงงานคอมพิวเตอร์
จากความสาคัญของวิชาคอมพิวเตอร์ในปัจจุบันที่มีความสาพันธ์กับชีวิตในปัจจุบันมากขึ้น
การศึกษาแหล่งข้อมูลต่างๆทาได้ง่ายเพียงค้นหาผ่านอินเทอร์เน็ต จึงเป็นสิ่งที่ง่ายต่อการเผยแพร่ความรู้
เกี่ยวกับประเพณีการแต่งงานในท้องถิ่นที่ปัจจุบันถูกกระแสนิยมทางชาติตะวันตกเข้ามา จนทาให้ประเพณีที่
สวยงามของเราได้เลือนหายไป
ดังนั้นคณะผู้จัดทาโครงงานมีความคิดว่าควรศึกษาและรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับประเพณีการแต่งงาน
ในหมู่บ้านหนองป่าแซงมาสร้างสรรค์เป็นผลงานทางคอมพิวเตอร์ เพื่อให้เกิดการเรียนรู้และพัฒนาความรู้
ความสามารถด้านคอมพิวเตอร์ รวมทั้งเป็นการเผยแพร่ประเพณีการแต่งงานในหมู่บ้านหนองป่าแซง เพื่อให้
ผู้ที่สนใจได้เรียนรู้และสืบทอดต่อไป อีกทั้งเป็นการอนุรักษ์ ประเพณีที่ดีงามซึ่งเป็นวัฒนธรรมที่ดีงามให้อยู่
คู่กับหมู่บ้านต่อไป
1.3 จุดมุ่งหมายในการจัดทาโครงงานคอมพิวเตอร์
1. นาความรู้เกี่ยวกับศาสตร์ทางคอมพิวเตอร์มาประยุกต์ใช้เพื่อจัดทาเป็นโครงงาน
2.เพื่อศึกษาพิธีการและขั้นตอนของประเพณีการแต่งงานแบบไทยในหมู่บ้านหนองป่าแซง
3. เพื่อให้เกิดความตระหนักในคุณค่าของประเพณีการแต่งงานแบบไทยในหมู่บ้านหนองป่าแซง
4. เพื่อเป็นการอนุรักษ์และเผยแพร่ประเพณีการแต่งงานแบบไทยในหมู่บ้านหนองป่าแซง
1.4 ขอบเขตของการจัดทาโครงงานคอมพิวเตอร์
การศึกษาค้นคว้าแบบนี้เป็นโครงงานแบบบูรณาการ โดยการวิเคราะห์ค้นคว้าหลายกลุ่มสาระ
การเรียนรู้อันประกอบไปด้วยกลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ที่เกี่ยวกับการศึกษาเรื่อง
ประเพณีแต่งงานในท้องถิ่น กลุ่มสาระการงานอาชีพและเทคโนโลยี ในการนาความรู้ด้านคอมพิวเตอร์มาใช้
นาเสนอข้อมูล และการเชื่อมโยงการคิดวิเคราะห์กับศาสตร์อื่นๆ อาทิ เช่น กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
เกี่ยวกับเรื่องการใช้คาและเรียบเรียงหรือเรียงบทความ และหลักการใช้ภาษา
ในการศึกษาโครงงานครั้งนี้ศึกษาเกี่ยวกับพิธีมงคลแต่งงานแบบไทยภายในหมู่บ้านหนองป่าแซง
ตาบลบ่อกรุ อาเภอเดิมบางนางบวช จังหวัดสุพรรณบุรีเท่านั้น โครงงานนี้จัดทาในลักษณะสัมภาษณ์และ
รวบรวมข้อมูลจากผู้ที่มีความรู้ในท้องถิ่นและจากสื่อต่างๆเพื่อนาข้อมูลมาจัดทาเผยแพร่ต่อไป
บทที่ 2
เอกสารที่เกี่ยวข้อง
2.1 การศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับประเพณีแต่งงานแบบไทย
ลูกผู้ชายทุกคน เมื่อได้บวชได้เรียนแล้ว กรณียะต่อไปก็คือการหาคู่ครอง เพื่อสืบเชื้อสายแห่งตระกูล
ต่อไปตามประเพณี ลูกผู้หญิงก็เหมือนกัน เมื่อเจริญวัยอายุพอสมควรแก่การที่จะเป็นแม่บ้านได้แล้ว หากมี
ชายใดผู้คู่ควรมาสู่ขอ พ่อแม่ก็ตกแต่งยกให้ตามประเพณี เป็นอันบาเพ็ญหน้าที่เสร็จไปข้อหนึ่ง ที่ทางพุทธ
ศาสนากล่าวไว้ว่า “หาคู่ครองที่สมควรให้”
การแต่งงานนี้มี 2 ชนิดคือ ถ้าผู้หญิงไปแต่งงานที่บ้านผู้ชายเรียกว่าอาวาหมงคล ถ้าผู้ชายไปแต่งงาน
ที่บ้านผู้หญิงเรียกว่า วิวาหมงคล
จากประเพณีของไทยที่สืบทอดกันมาแต่โบราณนั้น ประเพณีแต่งงานในหมู่บ้านหนองป่าแซง หาก
บ้านใดมีลูกชายก็มักจะบวชเสียก่อนจึงค่อยคิดแต่งงาน ชายซึ่งได้บวชเรียนแล้วมองเห็นว่าหญิงใดมีลักษณะ
ต้องใจตน ก็บอกให้ผู้ใหญ่ไปสู่ขอ บางทีผู้ใหญ่ก็เป็นฝ่ายมองพิจารณาเลือกให้เอง โดยการไปสู่ขอนั้น ต้อง
จัดเอาผู้ใหญ่ของฝ่ายชายคือพ่อแม่หรือผู้ปกครองอื่นๆ ซึ่งเป็นผู้สูงอายุหรือมีเกียรติ ก่อนจะไปก็ดูฤกษ์ยาม
วันดีก่อน แล้วจึงไปเจรจาสู่ขอต่อผู้ใหญ่ฝ่ายหญิง ผู้ใหญ่ฝ่ายชายที่ไปเจรจาสู่ขอนั้น เรียกว่า “เถ้าแก่” เหตุที่
ให้มีเถ้าแก่ไปสู่ขอก็เพื่อเป็นหลักฐานมั่นคงในถ้อยคาสัญญาและถ้าต่อไปมีเหตุให้แตกแยกกัน ก็จะได้อาศัย
เถ้าแก่เป็นพยานยืนยันข้อความในทางกฎหมาย
การเจรจาสู่ขอ
ในการเจรจาสู่ขอ เถ้าแก่จะใช้สานวนโวหาร หากเป็นเถ้าแก่ที่รอบรู้ในประเพณีโบราณก็เจรจาเลียบ
เคียงได้ไพเราะ เช่นเจรจาว่า ได้ยินว่าบ้านของผู้ฝ่ายหญิงมีพรรณฟักแฟงแตงเต้าอันงาม ก็ใคร่ที่จะมาขอ
พรรณไปเพาะปลูกบ้างดังนี้เป็นต้น ผู้ใหญ่ฝ่ายหญิงก็รู้ความโดยนัยนั้น ในสมัยปัจจุบัน พูดขอเอาตรงๆก็มี ก็
มี ไม่ต้องอ้อมค้อม ถ้าผู้ใหญ่ฝ่ายหญิง ยังไม่รู้จักผู้ชายนั้นดี ก็ต้องไต่ถาม เถ้าแก่ต้องเป็นฝ่ายรับรองความ
ประพฤติของฝ่ายชาย
ประเพณีโบราณ ปรากฏในบทเสภา เรื่องขุนช้างขุนแผนนั้นเราจะทราบใจความว่า เมื่อนางทองประ
สี (แม่เจ้าบ่าว) ไปขอนางพิมพ์ต่อนางศรีประจันต์ (แม่เจ้าสาว) หาผู้ใหญ่สูงอายุในตาบลนั้น ชื่อตาสน ตาเสา
ยายเม้า ยายมิ่ง อันเป็นที่นับถือด้วยกันทั้ง 2 ฝ่าย (จึงเรียกว่า เถ้าแก่) ไปด้วย 4 คน เมื่อนางทองประสีขอลูก
สาว นางศรีประจันต์ว่า
“ตูจะขอถามความท่านยาย
ลูกชายนั้นดีหรืออย่างไร
ไม่เล่นเบี้ยกินเหล้าเมากัญชา
ฝิ่นฝามันสูบบ้างหรือไม่
จะสูงต่าดาขาวคราวใคร
ตูยังไม่เห็นแก่ตาว่าตามจริง ฯ”
“ครานั้นตาสนกับตาเสา
กับทั้งยายเม้าและยายมิ่ง
ว่านานไปท่านจะได้พึ่งพิง
ลูกทองประสีดีจริงนะคนนี้ ฯลฯ”
บทตรงนี้ส่อว่า ผู้ปกครองนั้นเป็นผู้สู่ขอ เถ้าแก่เป็นแต่ผู้รับประกัน
ธรรมเนียมโดยทั่วไป เมื่อมีผู้มาสู่ขอลูกสาว ผู้ใหญ่ฝ่ายหญิงมักขอผัดเวลา เพื่อปรึกษาหารือในหมู่
ญาติพี่น้องของตนดูก่อน การที่ผู้ใหญ่ฝ่ายหญิงขอผลัดปรึกษาหารือกันนั้น ก็เพื่อฟังความเห็นของญาติพี่น้อง
และจะได้ใช้เวลาสอบสวนความประพฤติของฝ่ายชายด้วย เมื่อปรึกษาตกลงกันด้วยความเต็มใจ และฝ่ายชาย
ก็มีความประพฤติเป็นที่พอใจ ก็ตกลงยอมยกให้ และเนื่องด้วยชาวหมู่บ้านหนองป่าแซงมีความเชื่อในเรื่อง
ดวงและโชคชะตา มักเป็นธรรมเนียมที่ตกทอดกันมาคือผู้ใหญ่ทั้งสองฝ่ายจะวันเดือนปีเกิดฝ่ายชายและฝ่าย
หญิงนาไปให้หมอดูช่วยตรวจว่า วันเดือนปีฝ่ายชายฝ่ายหญิง จะเป็นมิตรกันหรือไม่ ธาตุถูกต้องกันไหม อยู่
นาคตัวเดียวหรือต่างตัวกัน เมื่ออยู่ร่วมกันแล้ว จะยากจนหรือมั่งคั่งสมบูรณ์อย่างไร ดังนี้เป็นต้น เมื่อเห็นว่า
ชะตาของทั้งสองฝ่ายถูกต้องกันดี ก็เป็นอันตกลง
พิธีหมั้น
เมื่อตกลงกันเรียบร้อย เป็นอันยกลูกสาวให้แล้ว ผู้ใหญ่ทั้งสองฝ่าย ก็ตกลงกันในเรื่องทุนสินสอดและเรือน
หอขันหมากผ้าไหว้ว่าจะเอากันเท่าไรแน่ เมื่อมีกาหนดกันแน่นอนแล้ว ก็จะจัดพิธีหมั้น แต่ในหมู่บ้านหนองป่าแซง
ไม่นิยมจัดพิธีหมั้น แต่จะหาฤกษ์กาหนดวันแต่งงานทีเดียว การไม่หมั้นกันไว้ก่อน ก็เพราะต่างฝ่ายต่างเชื่อถือใน
คามั่นสัญญาของกันและกัน การหมั้นไว้นั้น ความประสงค์ก็เพื่อเป็นหลักประกันในคามั่นสัญญาของฝ่ายชาย
เพราะถ้าฝ่ายชายผิดสัญญา ไม่ยอมสมรสด้วยกับฝ่ายหญิงก็ต้องถูกริบเครื่องของหรือเรียกกันว่า ขันหมากหมั้นไป
เปล่าๆ หญิงนั้นก็เรียกกันว่าหม้ายขันหมาก
แต่หากมีพิธีหมั้นนั้น จะมีวิธีทาดังต่อไปนี้ เมื่อถึงวันฤกษ์งามยามดี ฝ่ายชายก็จัดขันหมากที่จะนาไปหมั้น มี
ขั้นใส่หมากทั้งผลกับพลุใบและทองคาตามน้าหนักที่ตกลงกันไว้พร้อมกับขนมต่างๆจัดไปตามความพอใจ ผู้ใหญ่
ฝ่ายหญิงก็จัดเถ้าแก่ไว้คอยรับขันหมาก อันขันหมากหมั้นนี้ ถ้าฝ่ายหญิงผิดสัญญา โดยประพฤติการอันพึงรังเกียจ ก็
ต้องคืนให้แก่ฝ่ายชาย
วิธีปลูกเรือนหอ
เมื่อทั้งฝ่ายชายและฝ่ายหญิง กาหนดฤกษ์ที่จะแต่งงานกันแล้ว ต่อแต่นั้น ฝ่ายชายก็ต้องตระเตรียมแต่งตัวไม้
สาหรับเรือนหอ ขนเอาไปไว้ที่บ้านเจ้าสาว ฝ่ายเจ้าสาวก็จัดสารับกับข้าวออกมาเลี้ยงดูกัน
การปลูกเรือนหอนี้ตามประเพณีเป็นหน้าที่ของฝ่ายชายจัดสร้างขึ้นในเนื้อที่บ้านของฝ่ายหญิง แต่บางครั้ง
ฝ่ายหญิงก็เป็นผู้จัดทา และคิดค่าก่อสร้างจากฝ่ายชาย ส่วนเครื่องเรือนเป็นหน้าที่ของฝ่ายหญิง
แต่ในปัจจุบันเนื่องด้วยค่าใช้จ่ายในการปลูกเรือนหอมีราคาสูง เนื่องจากราคาที่ดินและค่าวัสดุก่อสร้าง ทา
ให้ในหมู่บ้านหนองป่าแซงจึงไม่นิยมปลูกเรือนหอแต่จะใช้ห้องนอนที่บ้านเจ้าบ่าวหรือบ้านเจ้าสาวเป็นเรือนหอ
แทน โดยเลือกตามความเหมาะสม
สินสอดทองหมั้น หรือของหมั้น
โดยปกติการแต่งงานลูกสาว มักถือเป็นงานออกหน้าออกตาใหญ่โต ทางฝ่ายหญิงจึงพยายามเรียกร้องกัน
มากๆ คือเรียกของหมั้นที่มีราคาแพง เดิมทีการหมั้นมักจะเรียกเป็นทองคา และการเรียกเป็นน้าหนัก จนเป็นศัพท์
ติดปากมาจนกระทั่งบัดนี้ว่า "ทองหมั้น" ซึ่งประเพณีโบราณถือเป็นของเจ้าสาว ที่จะนาไปเป็นเครื่องแต่งตัว เพื่อ
เป็นทรัพย์สมบัติติดตัวในเวลาแต่งงานนอกจากนี้ ยังมีการกาหนดเงินสินสอดและผ้าไหว้อีกด้วย เรียกว่า "สินสอด"
ซึ่งเป็นกรรมสิทธิ์ของพ่อแม่ ถือกันว่า เป็นค่าเลี้ยงดูหรือค่าน้านม
สาหรับการเรียกสินสอดภายในหมู่บ้านหนองป่าแซงนั้นฝ่ายเจ้าสาวจะไม่มีการเรียกร้องสินสอดตายตัว แต่
จะเป็นการตกลงกัน และพ่อแม่ฝ่ายหญิงมักจะแบ่งสินสอดให้บ่าวสาวจานวนหนึ่งเพื่อเป็นเงินทุนในการลงทุน
ทางานต่างๆ หรือบางคนก็ยกสินสอดทั้งหมด ซึ่งก็ขึ้นอยู่กับฐานะของทั้งสองฝ่ายด้วย
การกาหนดฤกษ์ยามในวันหมั้น
การกาหนดฤกษ์ยามในวันหมั้น โดยมากนิยมกาหนดตอนเช้า ก่อนเที่ยง หรือไม่ก็ควรเป็นตอนบ่าย
นอกจากนั้นต้องมีการหาฤกษ์อีก 3 ฤกษ์ คือ ฤกษ์ขันหมากนิยม ฤกษ์รดน้าและทิศทางที่เจ้าบ่าวและเจ้าสาวจะนั่ง
และฤกษ์ปูที่นอนและส่งตัว ซึ่งประเพณีโบราณถือว่าสาคัญมาก มักจะให้พระผู้ใหญ่หรือพราหมณ์เป็นผู้หาฤกษ์
โดยถือเกณฑ์ดวงชะตาของฝ่ายหญิงและฝ่ายชายเป็นหลักในการคานวณ หรือในสมัยนี้อาจปรึกษาโหราจารย์ที่
น่าเชื่อถือได้
แต่เนื่องด้วยภายในหมู่บ้านหนองป่าแซงไม่นิยมจัดพิธีหมั้นจึงไม่มีการหาฤกษ์วันหมั้น ก็จะหาเพียงแค่
ฤกษ์ในวันแต่งเพียงอย่างเดียว
พานขันหมาก
ประกอบด้วยหมาก 8 ผล พยายามให้อยู่พวงเดียวกัน หรือเลือกเป็นคู่ ทาก้นด้วยปูนแดง เรียงใบพลูให้เสมอ
กัน 4 เรียง เรียงละ 8 ใบ รวม 32 ใบ
พานขันหมั้นใหญ่ (ขันสินสอด) ใช้พานที่ใหญ่กว่าเล็กน้อย บรรจุด้วย พรรณพืช ใบไม้ ดอกไม้มงคลเช่น
ใบเงินใบทองใบนาก ใบแก้ว ข้าวเปลือก ถั่ว งา จากนั้นนาสินสอดวางด้านบน ( เคล็ดลับคือให้เพิ่มเงินมากกว่า
สินสอดเล็กน้อย เพื่อให้สินสอดเพิ่มพูน ) บางท่านจะแยก พานออกเป็นพานใส่เงิน พานใส่ทอง และ พานแหวน
โดยทุกพานถือเป็น บริวารของขันหมั้น ให้โรยด้วยดอกรัก และถั่วงา
พานธูปเทียน ใช้ธูปเทียนแพ ครอบด้วยกรวยดอกไม้
พานผ้าไหว้ ใช้สาหรับ วางของไหว้พ่อแม่ หรือผู้มีบุญคุณทุกท่าน ภายในหมู่บ้านหนองป่าแซงจะจัดหา
ตามความเหมาะสม แต่ที่นิยมมากคือผ้าขนหนู
เครื่องขันหมาก ประกอบด้วยขนมไทยมงคล 9 อย่าง นิยมจัดเป็นคู่ นอกจากนี้ หากพิธีใหญ่ จะมีการจัด
เครื่องคาวด้วยเช่น หมูนอนตอง(หมูสามชั้นต้ม สุกวางบนใบตอง ไก่ต้ม ปลาช่อนนึ่ง รวมถึงบริวารอื่นๆ เช่นต้น
กล้วย ต้นอ้อย มะพร้าวอ่อน กล้วยน้าหว้าทั้งเครือ
ต้นกล้วยต้นอ้อยที่ใช้ในขบวนขันหมากแต่งงานนั้น มีความหมายในทางมงคลก็คือ อ้อยหมายถึงความ
หวาน ส่วนหน่อกล้วยหมายถึงความเจริญงอกงาม การขุดต้องให้ติดรากหรือมีตาและเลือกเอาต้นหรือหน่อที่
สมบูรณ์ โดยชุดมาเป็นคู่ นามาประดับตกแต่งด้วยกระดาษสีให้ดูสวยงามซึ่งเจ้าบ่าวเจ้าสาวจะ ต้องทาการปลูก
ร่วมกันคล้ายกับเป็นการเสี่ยงพายอย่างหนึ่ง ซึ่งหากต้นกล้วยเจริญเติบโตออกดอกออกผลสมบูรณ์ และต้นอ้อย
เติบโตหอมหวาน เชื่อกันว่าความรักของหนุ่มสาวคู่นี้จะเป็นไปอย่างราบรื่น มีลูกเต็มบ้านมีหลานเต็มเมือง ความรัก
จะสดชื่นหอมหวานอยู่มิรู้คลาย ฐานะความเป็นอยู่ทางเศรษฐกิจก็สมบูรณ์พูนสุข
พิธีแห่ขันหมาก
ขั้นหมากนั้น ต้องจัดเป็น 3 ขัน เรียกว่าขันหมากเอก 1 ขัน ขันหมากรอง 2 ขัน ขันหมากเอกสาหรับใส่
ข้าวสารหมากพลูจีบจัดเรียงรายพองามตามปากขัน ใส่ตะลุ่มมีฝาปิดหุ้มผ้าลาย มีผ้าไหมรัด ขันหมากรอง ใส่เงิน
สินสอด ถั่วงา ข้าวเปลือก ใบเงิน ใบทอง ใบนาค ธูปเทียน ผ้าไหว้บิดามารดา และผ้าไหว้ผีปู่ย่าตายาย จะจัดผ้าเป็นกี่
คู่ก็สุดแล้วแต่ความตกลงกัน อนึ่ง สาหรับเงินสินสอดนั้นมีประเพณีว่า ต้องใส่ไว้ให้เกินกว่าที่ตกลงกันไว้เมื่อเถ้าแก่
ตรวจตราสิ่งของนับดุ ก็จะถือว่าเป็นเงินงอก นับเป็นเคล็ดที่ถือกันว่า ชายหญิงนั้นอยู่ร่วมกันแล้ว ทรัพย์สินก็จะมีแต่
งอกเงยเพิ่มพูนยิ่งขึ้น ขันหมากที่จาเป็นมีเพียง 3 ขันเท่านี้ จะจัดเพิ่มเติมอีกเท่าไรก็ได้ ใส่ขนมต่างๆในถาดเหล่านั้น
อนึ่ง ขันหมากนอกจากนี้ แม้จะมีจานวน 50 หรือจานวนร้อยก็ตาม ประเพณีโบราณนิยมเรียกว่า “ร้อยเอ็ด” เสมอกัน
เงินทุนสินสอด ได้แก่เงินที่ตกลงกันในแต่งงานนี้มี 2 อย่าง คือเงินที่ผู้ปกครองของเจ้าบ่าวเจ้าสาวให้ฝ่ายละ
ครึ่ง สาหรับคู่บ่าวสาวจะได้ใช้ในการตั้งตัว เรียกว่าเงินทุน ประเภท 1 เงินที่ฝ่ายเจ้าบ่าวให้แก่ตัวเจ้าสาว เรียกว่า
สินสอด ประเภท 1
ประเพณีแห่ขันหมากนั้นภายในหมู่บ้านหนองป่าแซง เมื่อได้ฤกษ์งามยามดี ก็เริ่มแห่ขันหมากไปยังบ้าน
เจ้าสาว มีเครื่องแห่และไชโยโห่ร้องกันสนุกสนาน ขบวนใหญ่น้อย ตามฐานะและความกว้างขวางของฝ่ายเจ้าบ่าว
เมื่อไปถึงบ้านเจ้าสาวแล้วถ้าหากมีการกั้นประตู ก็เป็นหน้าที่ของเถ้าแก่จะให้เงินรางวัลเสมือนกับเป็นค่าเปิดประตู
ถ้าหากมีการล้างเท้าเจ้าบ่าวก็ต้องให้รางวัลเช่นเดียวกัน
การกั้นประตู พวกพ้องเจ้าสาวมักเป็นคนทา โดยภายในหมู่บ้านหนองป่าแซง จะมีการกั้นประตูแรกที่
ทางเข้าบ้านโดยใช้ไม้ยาวๆกั้นขวางไว้ชั้นต่อมาจึงเป็นการกั้นประตูเงินประตูทอง โดยกั้นไว้ไม่ให้เจ้าบ่าวขึ้น และ
จัดกั้นกัน 3 ประตูที่บ้านฝ่ายหญิง ครั้นเจ้าบ่าวมาถึงประตูที่ 1พวกเจ้าบ่าวก็ถามว่า นี่ประตูอะไร พวกเจ้าสาวที่กั้น
ประตูนั้น ก็ตอบว่าประตูแก้ว ครั้นถึงประตูที่ 2 ก็ถามเช่นนั้นอีก พวกเจ้าสาวก็ตอบว่า ประตูเงิน ครั้นถึงประตูที่ 3 ก็
ถามอย่างเดียวกัน พวกเจ้าสาวก็ตอบว่า ประตูทอง พวกเจ้าบ่าวก็ต้องให้เงินรางวัลทุกๆ ประตู
ครั้นแล้ว เถ้าแก่คนกลางทั้งสองฝ่าย ก็นับตรวจตราสิ่งของว่าถูกต้องตามสัญญาหรือไม่ เมื่อถูกต้อง
เรียบร้อย ฝ่ายเจ้าสาวรับเครื่องขันหมากเสร็จแล้ว ก็จัดอาหารมาเลี้ยงดูกัน เป็นอันเสร็จพิธีขันหมาก
พิธีรดน้าในปัจจุบัน
เมื่อพิธีขันหมากเสร็จสิ้นแล้ว ถึงเวลาเย็นในวันนั้น ทาพิธีสงฆ์ นิมนต์พระมาสวดมนต์ เจ้าบ่าวจะต้อง
ออกไปจุดธูปเทียน นั่งฟังพระสวดมนต์แต่ผู้เดียว ส่วนในตอนรุ่งขึ้นเช้า ทั้งเจ้าบ่าวและเจ้าสาวต้องออกมาตักบาตร
ด้วยกัน เมื่อทาบุญเลี้ยงพระแล้ว ช่วยกันประเคนของถวายพระเป็นอันเสร็จพิธี
ครั้นถึงฤกษ์รดน้า เจ้าบ่าวเจ้าสาวออกไปนั่งที่ซึ่งจัดไว้บ่ายหน้าไปทางทิศที่โหราจารย์กาหนด ผู้ชายนั่งข้าง
ขวามือของผู้หญิง แล้วผู้ใหญ่ที่เป็นประธานในงาน สวมมงคลครอบศีรษะฝ่ายชายและฝ่ายหญิง และเริ่มรดน้าสังข์
แก่คู่บ่าวสาวพร้อมกับให้ศีลให้พร เสร็จแล้วแขกที่ได้รับเชิญมาในงานก็ทยอยเข้ามารดน้าตามลาดับ หมดจากแขก
แล้วก็ถึงวงศ์ญาติ ครั้นหมดผู้รดน้าเรียบร้อยแล้ว ผู้ใหญ่ก็จะปลดด้ายมงคลออก ถือเคล็ดกันว่า ถ้าปลดออกจาก
ศีรษะฝ่ายชายก่อน ชายก็มีอานาจเหนือฝ่ายหญิง ถ้าปลดออกจากศีรษะหญิงก่อน ก็ถือว่าต่อไปหญิงจะมีอานาจ
มากกว่าฝ่ายชาย
พิธีรดน้าในสมัยโบราณ
ในสมัยโบราณ พิธีรดน้าต่างจากสมัยปัจจุบัน คือเมื่อพระมาสวดมนต์ เจ้าบ่าวเจ้าสาวต่างก็มีเพื่อนบ่าวและ
เพื่อนสาวห้อมล้อมออกมา ไปนั่งตั้งวงแยกกันอยู่ข้างหน้าพระสงฆ์แล้ว
ก.พระสวมมงคลให้แก่คู่บ่าวสาว (โดยการสวมมงคลให้ฝ่ายหญิง พระจะจับมือฝ่ายชายแล้วสวมมงคลให้
ฝ่ายหญิง)
ข.พระเป็นผู้รดน้าแต่งงาน
ค.รดน้าด้วยเอาโอตักน้า ซัดเปียกทั้งตัว จนถึงต้องผลัดผ้าแต่งตัวใหม่ทั้งเจ้าบ่าวเจ้าสาว
ง.การที่พวกเพื่อนบ่าวสาวเข้ารับน้ามนต์เป็นอุบายแกล้งตัวเจ้าบ่าวเจ้าสาวให้เข้าไปชิดติดกัน ดังปรากฏใน
เสภาเรื่องขุนช้างชุนแผน ตอนแต่งงานพระไวยกับศรีมาลา ว่า
“ครั้นถึงนั่งน้อมฟังพระธรรม
พระสดาจับมงคลคู่ใส่
สายสิญจน์โยงศรีมาลามาพระไวย
พอฆ้องใหญ่หึ่งดังตั้งชยันโต
หนุ่มสาวเคียงเข้านั่งอัด
พระสงฆ์เช็ดตาลบัตรซัดน้าโร่
ปราลงข้างสีกาห้าหกโอ
ท่านยายโพสาวนา น้าเข้าตา
อึดอัดยัดเยียดเบียดกันกลม
เอาหนามซ่มแทงท้องร้องอุยหน่า
ที่ไม่ถูกเท้ายันดันเข้ามา
ท่านยายสาออกมานั่งบังกันไว้
มหาดเล็กโลนโลนโดนกระแทก
โอยพ่อขี้จะแตกทนไม่ไหว
ท่านยายสาเต็มทีลุกหนีไป
จนพระไวยศรีมาลามาชิดกัน”
พิธีไหว้ผีปู่ ยาตายาย
เมื่อเสร็จพิธีรดน้าแล้ว ก็เชิญเจ้าบ่าวเจ้าสาวขึ้นเรือน บิดามารดาฝ่ายผู้หญิงเอาผ้าขาวมาปูกลางเรือน แล้วเอา
เหล้า มะพร้าวอ่อนกับผ้าไหว้ผีวางลงบนผ้าขาวนั้น เจ้าบ่าวจุดเทียนแฝดคู่หนึ่งกับธูปคู่หนึ่ง ลงมือไหว้ผีปู่ย่าตายาย
พร้อมกับเจ้าสาว ในการไหว้นั้น เถ้าแก่จะให้เจ้าบ่าวยกมือขวาเจ้าสาวยกมือซ้ายประนมประสาน กราบลงพร้อมกัน
3 ครั้ง แล้วเจ้าบ่าวก็ออกมาไหว้พ่อแม่ของเจ้าสาว พร้อมทั้งไหว้ญาติผู้ใหญ่ของเจ้าสาว เป็นอันเสร็จพิธีไหว้
พิธีเรียงหมอน
ครั้นเสร็จจากพิธีไหว้ผีนั้นแล้ว ทางฝ่ายเจ้าสาวก็ต้องจัดที่นอนหมอนมุ้งเครื่องปูตกแต่งอื่นๆ แล้วเชิญ
ผู้ใหญ่คู่ผัวเมียให้เข้าไปทาพิธีปูที่นอนเรียงหมอน ผู้ใหญ่ในพิธีนี้ต้องเลือกเอาคู่ที่อยู่ร่วมกันมาด้วยความสุขสวัสดิ์
ไม่เคยทะเลาะวิวาทกัน เป็นผู้เจริญด้วยทรัพย์สินและเกียรติยศโดยสมควรแก่ท้องถิ่น
ในการนี้ให้เอาฟักเขียวหนึ่งลูก หม้อใหม่ใส่น้าหม้อหนึ่ง และถั่วงารวมอยู่กับทุนสินสอดวางไว้บนพาน
หนึ่ง นาไปวางไว้ข้างที่นอน เป็นเครื่องหมายสาหรับอวยพรว่าให้คู่บ่าวสาวมีใจเย็นเสมือนกับฟักกับน้า มีน้าใจ
หนักแน่นเสมือนศิลามีแต่ความจาเริญวัฒนาเหมือนถั่วงา แล้วผู้ใหญ่ฝ่ายเจ้าบ่าวเจ้าสาว ก็จัดแจงวางหมอนหนุน
ศีรษะ ครั้นแล้วผู้ใหญ่คู่ที่ได้รับเชิญทาพิธีนี้ก็ลงนอนเป็นปฐมหญิงนอนซ้าย ผู้ชายนอนขวา ในเวลานอนนั้น ก็เจรจา
กันด้วยคาดีงาม ให้ศีลให้พร เป็นอันเสร็จพิธีเรียงหมอน
เฝ้ าหอ ส่งตัวเจ้าสาว
ครั้นเสร็จพิธีเหล่านั้นแล้ว ตัวเจ้าบ่าวต้องนอนเฝ้าหออยู่แต่ผู้เดียวก่อน มีกาหนด 3 วัน ครั้นถึงฤกษ์งามยาม
ดีผู้ปกครองฝ่ายหญิงก็พาเจ้าสาวไปส่งตัวเข้าหอ พร้อมกับให้โอวาทแก่เจ้าสาวให้รู้จักฝากเนื้อฝากตัวกับเจ้าบ่าว
สอนให้ให้ทั้งคู่รู้จักถนอมน้าใจกัน สามัคคีรักใคร่ เป็นต้น ครั้นมอบตัวเจ้าสาวแล้ว คู่บ่าวสาวก็กราบไหว้ผู้ใหญ่ฝ่าย
หญิงนั้น ผู้ใหญ่ฝ่ายหญิงก็กลับ เจ้าสาวบางทีก็ลุกออกจากม่านจะตามเถ้าแก่ออกไปก็มี เป็นหน้าที่ของเจ้าบ่าวจะ
เจรจาหรือป้ องกัน โดยวางตัวเหมือนหมอที่จะประกอบโอสถขนานนั้นหรือขนานนี้ แก่คนไข้ เป็นอันเสร็จพิธีเฝ้ า
หอ – ส่งตัวเจ้าสาว
ซึ่งประเพณีเฝ้ าหอนี้ภายในหมู่บ้านหนองป่าแซงได้ตัดออกไปมีเพียงการส่งตัวเข้าหอและให้โอวาทแก่
เจ้าสาวให้รู้จักฝากเนื้อฝากตัวกับเจ้าบ่าว สอนให้ให้ทั้งคู่รู้จักถนอมน้าใจกัน สามัคคีรักใคร่กัน
ฤกษ์ในการแต่งงาน
การแต่งงานนั้นภายในหมู่บ้านหนองป่าแซง นิยมกระทากันในเดือนคู่ คือเดือน 2 เดือน 4 เดือน 6 เดือน 8
เดือน 12 สาหรับเดือน 8 นั้นเป็นเดือนเข้าพรรษาของพระภิกษุสงฆ์ นิยมเลื่อนมาเดือน 9 และมักถือกันจะแต่งงาน
ในวันข้างขึ้น และไม่แต่งในวันข้างแรม
ดิถีที่ใช้ในพิธีเรียงหมอน
ขึ้น 7 ค่า 10 ค่า 11 ค่า
แรม 4 ค่า 8 ค่า 10 ค่า 14 ค่า
อย่างไรก็ดี การแต่งงาน ควรให้ท่านที่เป็นหมอดูหรือชานาญในโหราศาสตร์ ตรวจสอบให้เรียบร้อย เพราะ
งานมงคลเป็นสิ่งสาคัญยิ่งและมีครั้งเดียวในชีวิต ถ้ามีครั้ง 2 -3 ก็ดูกระไรอยู่
สรุป
พิธีแต่งงานนี้ ที่กล่าวมาเป็นประเพณีที่ได้พบเห็นอยู่มาก แต้ความจริง ความนิยมแต่ละท้องถิ่น ย่อมมี
แตกต่างกันออกไป ยิ่งต่างชาติต่างภาษายิ่งน่าศึกษาค้นคว้า
ในธรรมเนียมไทย ถือการแต่งงานว่ามีกาเนิดมาแต่ครั้งพระเจ้ากรุงกบิลพัสดุ์ กับพระนางสิริมหามายา และ
ขันหมากแม้จะมีน้อยมาก ก็นิยมเรียกกันว่าร้อยเอ็ด ดังคาสู่ขวัญว่า “-- สองกษัตราราชาภิเษกกันในครั้งนั้น พระ
พิษณุกรรมก็ชวนกันลงมา ทั้งเทพบุตรเทพยดา ก็ลงมาช่วยกันทาปราสาทหอ ทั้งร้อยเอ็ดเมืองก็มิได้ย่อท้อช่วย
ขันหมาก --” ดังนี้ เพราะคนไทยมั่นคงในพระพุทธศาสนาจึงเอาเรื่องที่เนื่องด้วยพุทธปะวัติเป็นต้นเค้า
บทที่ 3
วิธีการดาเนินงาน
3.1 วิธีการศึกษาค้นคว้า และขั้นตอนการดาเนินงานตามโครงงาน
1. ศึกษาค้นคว้ารายละเอียดเกี่ยวกับพิธีมงคลแต่งงานแบบไทยจากหนังสือและอินเทอร์เน็ตเพื่อเป็น
แนวทางในการสัมภาษณ์
2. ปรึกษาอาจารย์หรือผู้ที่มีความรู้เกี่ยวกับพิธีมงคลแต่งงานแบบไทย
3. วางแผนและเรียงลาดับขั้นตอนการดาเนินงานเพื่อให้เป็นระบบระเบียบและเข้าใจง่าย
4. จัดเตรียมวัสดุอุปกรณ์ที่จาเป็นต้องใช้เพื่อให้เกิดความสะดวกรวดเร็วในการปฏิบัติงาน
5. เริ่มดาเนินการสัมภาษณ์ผู้ที่มีความรู้เกี่ยวกับพิธีมงคลแต่งงานแบบไทยในหมู่บ้านหนองป่าแซง
6. นาข้อมูลที่ได้จากการสัมภาษณ์มาทาวีดิโอ
7. เมื่อทาทาวีดิโอแล้ว วีดิโอที่นาเสนอดีหรือควรจะปรับปรุงแก้ไขเพื่อให้ดีขึ้น
8. วีดิโอที่นาเสนอได้ผลตามที่คาดหวัง
9. สรุปผลการทาโครงงานพิธีมงคลแต่งงานแบบไทย
3.2 ขั้นตอนเก็บรวบรวมข้อมูลและการสัมภาษณ์
1. ศึกษาข้อมูลจากหนังสือและอินเทอร์เน็ต วิเคราะห์ข้อมูลต่างๆที่ได้มาและสรุป
2. รวบรวมข้อมูลต่างๆให้เป็นหมวดหมู่
3. วางแผนการสัมภาษณ์วิทยากรท้องถิ่นหรือผู้ที่มีความรู้ในพิธีมงคลแต่งงานแบบไทย
4. สัมภาษณ์วิทยากรท้องถิ่นหรือผู้ที่มีความรู้ในพิธีมงคลแต่งงานแบบไทย
3.3 การนาความรู้ไปใช้ประโยชน์
1. จัดทาเป็นวีดิโอและเผยแพร่ผ่านอินเทอร์เน็ต
2. สามารถใช้เป็นแหล่งศึกษาความรู้เกี่ยวกับประเพณีแต่งงานในท้องถิ่น
บทที่ 4
ผลการศึกษาค้นคว้า
ผลจากการทาโครงงานต่อการทา“พิธีมงคลแต่งงานแบบไทยในหมู่บ้านหนองป่าแซง” นั้นผู้จัดทาได้
ปฏิบัติตามขั้นตอนการดาเนินงานตามโครงงานและมีผลการศึกษาค้นคว้าและแนวปฏิบัติอย่างเป็นระบบ เป็นต้น
4.1 ผลการศึกษาค้นคว้าและแนวปฏิบัติ
1. ศึกษาประวัติความเป็นมาของพิธีมงคลแต่งงานแบบไทยในหมู่บ้านหนองป่าแซงโดยอาศัยแหล่งข้อมูล
เป็นหลักในการศึกษา
2. นารูปภาพที่ได้จากการสัมภาษณ์และภาพที่ต้องการนามานาเสนอ และนามาประยุกต์เก็บรายละเอียด
ของภาพโดยใช้ความรู้ความเข้าใจทางด้านคอมพิวเตอร์ในการสร้างให้มีความสัมพันธ์กัน
3. นาความรู้ที่ได้จากการศึกษาหาความรู้จากชุมชน ครูที่มีความรู้ด้านประเพณีแต่งงาน ศึกษาจาก
อินเตอร์เน็ตและจากห้องสมุดมาทาตามที่ได้ศึกษายังสถานที่ต่างๆมา
ผลการประเมิน
ข้อที่ ข้อประเมิน ค่าเฉลี่ย S.D. ความหมาย
1 ความสวยงามเว็บไซต์ 4.633333 0.556053 มากที่สุด
2 ความเหมาะสมของตัวหนังสือ 4.4 0.563242 มาก
3 การเชื่อมโยงของเว็บไซต์ 4.566667 0.626062 มาก
4 ความสมบูรณ์ของเนื้อหาและความเป็นมา 4.466667 0.507416 มาก
5 ความเหมาะสมของภาพประกอบเว็บไซต์ 4.466667 0.507416 มาก
6 ความเหมาะสมของการใส่ VDO 4.466667 0.507416 มาก
เกณฑ์การประเมิน
4.51 - 5.00 มากที่สุด
3.51 - 4.50 มาก
2.51 - 3.50 ปานกลาง
1.51 - 2.50 น้อย
1.0 - 1.510 น้อยที่สุด
4.2 ข้อดีของพิธีมงคลแต่งงานแบบไทย
การแต่งงานของคนไทยสมัยใหม่ได้รับอิทธิพลจากโลกตะวันตก การแต่งงานเป็นเรื่องของคน 2 คนที่พึง
พอใจกันก็ตกลงใช้ชีวิตร่วมกันเลย หรือแต่งงานกันโดยไม่ได้ปรึกษาหารือกับผู้ใหญ่เสียก่อน เพราะการที่ตกลงโดย
ไม่ได้ศึกษากันให้ดีเสียก่อน เป็นที่มาของปัญหาการหย่าร้าง ปัญหาครอบครัว และลุกลามเป็นปัญหาของสังคม
เหมือนในปัจจุบัน แต่พิธีมงคลแต่งงานแบบไทยในอดีตนอกจากจะเป็นการประกาศการใช้ชีวิตคู่ของคนทั้งสอง
แล้ว ยังเป็นการคัดเลือกบุคคลที่จะมาเป็นคู่ชีวิตให้บุตรของผู้ใหญ่ทั้งสองฝ่าย เป็นการช่วยลดปัญหาการหย่าร้าง แต่
คนไทยสมัยก่อนท่านได้มองเห็นถึงความสาคัญในการใช้ชีวิตคู่ จึงไม่ค่อยมีปัญหาการอย่างร้างเหมือนสังคม
ปัจจุบันนี้
4.3ผลการดาเนินงานของโครงงานต่อการศึกษาพิธีมงคลแต่งงานแบบไทยในหมู่บ้านหนองป่ าแซง
จากข้อมูลประเพณีที่ผู้จัดทาได้ศึกษาค้นคว้าจากแหล่งข้อมูลต่างๆพบว่าพิธีมงคลแต่งงานในหมู่บ้านหนอง
ป่าแซง มีขั้นตอนพิธีการคล้ายคลึงกับพิธีมงคลแต่งงานในอดีต แต่เนื่องด้วยสภาพสังคมและยุคสมัยที่เปลี่ยนไปทา
ให้พิธีการบางขั้นตอนได้ถูกตัดไป เช่น การปลูกเรือนหอ ซึ่งทางเจ้าบ่าวเจ้าสาวได้เลือกบ้านของเจ้าบ่าวเป็นเรือน
หอเพื่อประหยัดค่าใช้จ่าย เช่นเดียวกับพิธีมงคลแต่งงานในหมู่บ้านหัวนา ที่มีขั้นตอนพิธีการคล้ายคลึงกัน
บทที่ 5
สรุปผล และอภิปรายผลการดาเนินงาน
5.1 สรุปผล และอภิปรายผล
จากการทาโครงงาน “พิธีมงคลแต่งงานแบบไทยในหมู่บ้านหนองป่าแซง” นั้น
1.สามารถนาเนื้อหาที่ได้ไปเผยแพร่แก่บุคคลอื่นที่สนใจ
2.สามารถบรูณาการเนื้อหาสาระทางด้านคอมพิวเตอร์ใช้ความรู้จากชุมชน อินเทอร์เน็ตและจากห้องสมุด
และการนาองค์ความรู้ที่มีอยู่ในท้องถิ่นมาประยุกต์ใช้เพื่อนาเสนอการประเพณีที่ควรอนุรักษ์ในท้องถิ่น
3.สามารถฝึกประสบการณ์ในการวางแผนการทางานเป็นกลุ่มให้เสร็จทันเวลา
5.2 ประโยชน์ที่ได้รับจากการทาโครงงาน
1.ได้รับความรู้เกี่ยวกับการนาความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับพิธีมงคลแต่งงานแบบไทยในหมู่บ้านหนองป่า
แซง
2.ได้รับทักษะในการทางานเป็นทีม ตลอดจนรู้ขั้นตอนในการเตรียมงาน วางแผน และการนาเสนอ
ผลงานในรูปแบบต่างๆ
4.ได้รับการฝึกฝนทักษะกระบวนการกลุ่ม และมีการอดทนในการทา โครงงาน“พิธีมงคลแต่งงานแบบ
ไทยในหมู่บ้านหนองป่าแซง” เพราะต้องใช้เวลาในการศึกษาค้นคว้า และจัดเตรียมทาวีดิโอ
5.3 ข้อเสนอแนะ
ควรนาความรู้เกี่ยวกับพิธีมงคลแต่งงานแบบไทยเผยแพร่อย่างกว้างขว้าง เพื่อให้เกิดความตระหนักใน
คุณค่าของประเพณีไทย โดยการนาความรู้ด้านคอมพิวเตอร์ช่วยในการจัดทาสื่อความรู้ และใช้เครือข่าย
อินเทอร์เน็ตเป็นสื่อกลางในการเผยแพร่
เอกสารอ้างอิง
http://www.centerwedding.com/m14.php ขั้นตอนการแต่งงานแบบไทย
http://talk.mthai.com/topic/63946 ประเพณีการหมั้นและการแต่งงานของไทย
http://women.kapook.com/wedding00117/ ขั้นหมากหมั้น
พิษณุ - อลิษสา สุนันทรัตน์ ผู้ให้ข้อมูลและรูปภาพพิธีแต่งงาน
ภาคผนวก
แบบประเมินโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานเรื่อง พิธีมงคลแต่งงานแบบไทยในหมู่บ้านหนองป่าแซง
wajha-rungpet-wipawan.wikispaces.com
สถานภาพ ครู นักเรียน ประชาชน
เพศ ชาย หญิง
การศึกษา มัธยมศึกษา ปริญญาตรี ปริญญาตรีขึ้นไป
ประเมินความพึงพอใจ
หัวข้อประเมิน
มากที่สุด
5
มาก
4
ปานกลาง
3
น้อย
2
น้อยที่สุด
1
1.ความสวยงามเว็บไซต์
2.ความเหมาะสมของตัวหนังสือ
3.การเชื่อมโยงของเว็บไซต์
4.ความสมบูรณ์ของเนื้อหาและความเป็นมา
5.ความเหมาะสมของภาพประกอบเว็บไซต์
6.ความเหมาะสมของการใส่ VDO
ข้อเสนอแนะ
......................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................
.
ตัวอย่างโครงงาน

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
Sarocha Makranit
 
โครงงานสำรวจ
โครงงานสำรวจโครงงานสำรวจ
โครงงานสำรวจ
kessara61977
 
หน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงานหน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงาน
Kanistha Chudchum
 
โครงงานวิทยาศาสตร์
โครงงานวิทยาศาสตร์โครงงานวิทยาศาสตร์
โครงงานวิทยาศาสตร์
Thananya Pon
 
เห่ครวญ
เห่ครวญเห่ครวญ
เห่ครวญ
Smile Petsuk
 
โครงการแต้มสีเติมฝัน
โครงการแต้มสีเติมฝันโครงการแต้มสีเติมฝัน
โครงการแต้มสีเติมฝัน
พัน พัน
 
โครงงาน น้ำตะไคร้เพื่อสุขภาพ
โครงงาน น้ำตะไคร้เพื่อสุขภาพโครงงาน น้ำตะไคร้เพื่อสุขภาพ
โครงงาน น้ำตะไคร้เพื่อสุขภาพ
กก กอล์ฟ
 

Was ist angesagt? (20)

โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
เอกสารประกอบการเรียนการสอน การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาซี ifและif-else
เอกสารประกอบการเรียนการสอน การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาซี ifและif-elseเอกสารประกอบการเรียนการสอน การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาซี ifและif-else
เอกสารประกอบการเรียนการสอน การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาซี ifและif-else
 
โครงงาน Fast Food
โครงงาน Fast Foodโครงงาน Fast Food
โครงงาน Fast Food
 
โครงงานสำรวจ
โครงงานสำรวจโครงงานสำรวจ
โครงงานสำรวจ
 
โครงงานเรื่อง กล้วยฉาบ
โครงงานเรื่อง กล้วยฉาบโครงงานเรื่อง กล้วยฉาบ
โครงงานเรื่อง กล้วยฉาบ
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง เว็บไซต์ NIFTY HEALTH ด้วยภาษา HTML
โครงงานคอมพิวเตอร์  เรื่อง เว็บไซต์ NIFTY HEALTH ด้วยภาษา HTMLโครงงานคอมพิวเตอร์  เรื่อง เว็บไซต์ NIFTY HEALTH ด้วยภาษา HTML
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง เว็บไซต์ NIFTY HEALTH ด้วยภาษา HTML
 
โครงร่างรายงาน6/5
โครงร่างรายงาน6/5โครงร่างรายงาน6/5
โครงร่างรายงาน6/5
 
โครงงานเรื่อง กล้วยฉาบ
โครงงานเรื่อง กล้วยฉาบโครงงานเรื่อง กล้วยฉาบ
โครงงานเรื่อง กล้วยฉาบ
 
โครงงานวุ้นกะทิ
โครงงานวุ้นกะทิโครงงานวุ้นกะทิ
โครงงานวุ้นกะทิ
 
โครงงานการทำขนมเค้ก
โครงงานการทำขนมเค้กโครงงานการทำขนมเค้ก
โครงงานการทำขนมเค้ก
 
หน้าปก
หน้าปกหน้าปก
หน้าปก
 
หน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงานหน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงาน
 
การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม.3
การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม.3การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม.3
การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม.3
 
โครงงานวิทยาศาสตร์
โครงงานวิทยาศาสตร์โครงงานวิทยาศาสตร์
โครงงานวิทยาศาสตร์
 
เห่ครวญ
เห่ครวญเห่ครวญ
เห่ครวญ
 
โครงงานคอมพิวเตอร์(เต็ม)
โครงงานคอมพิวเตอร์(เต็ม)โครงงานคอมพิวเตอร์(เต็ม)
โครงงานคอมพิวเตอร์(เต็ม)
 
รูปเล่มคอม
รูปเล่มคอมรูปเล่มคอม
รูปเล่มคอม
 
โครงการแต้มสีเติมฝัน
โครงการแต้มสีเติมฝันโครงการแต้มสีเติมฝัน
โครงการแต้มสีเติมฝัน
 
โครงงาน น้ำตะไคร้เพื่อสุขภาพ
โครงงาน น้ำตะไคร้เพื่อสุขภาพโครงงาน น้ำตะไคร้เพื่อสุขภาพ
โครงงาน น้ำตะไคร้เพื่อสุขภาพ
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 

Andere mochten auch

4.แผนเรื่องโครงงานทองม้วน
4.แผนเรื่องโครงงานทองม้วน4.แผนเรื่องโครงงานทองม้วน
4.แผนเรื่องโครงงานทองม้วน
Wareerut Hunter
 
รายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่ม
รายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่มรายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่ม
รายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่ม
Guntima NaLove
 
แบบฟอร์มโครงร่างโครงงาน
แบบฟอร์มโครงร่างโครงงานแบบฟอร์มโครงร่างโครงงาน
แบบฟอร์มโครงร่างโครงงาน
Tithichaya Apiwong
 
แบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงานแบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงาน
pacharawalee
 

Andere mochten auch (8)

เก้าอี้หวงห้าม
เก้าอี้หวงห้ามเก้าอี้หวงห้าม
เก้าอี้หวงห้าม
 
4.แผนเรื่องโครงงานทองม้วน
4.แผนเรื่องโครงงานทองม้วน4.แผนเรื่องโครงงานทองม้วน
4.แผนเรื่องโครงงานทองม้วน
 
รายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่ม
รายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่มรายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่ม
รายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่ม
 
แบบฟอร์มโครงร่างโครงงาน
แบบฟอร์มโครงร่างโครงงานแบบฟอร์มโครงร่างโครงงาน
แบบฟอร์มโครงร่างโครงงาน
 
แบบเขียนรายงานทางวิชาการ
แบบเขียนรายงานทางวิชาการแบบเขียนรายงานทางวิชาการ
แบบเขียนรายงานทางวิชาการ
 
ตัวอย่างแบบประเมินการฝึกอบรม
ตัวอย่างแบบประเมินการฝึกอบรมตัวอย่างแบบประเมินการฝึกอบรม
ตัวอย่างแบบประเมินการฝึกอบรม
 
แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013
แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013
แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013
 
แบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงานแบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงาน
 

Ähnlich wie ตัวอย่างโครงงาน

แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
Chureekon MT
 
ไข่มุก
ไข่มุกไข่มุก
ไข่มุก
thunniti
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
Suvapon Kim
 
โครงงานกระถางรีไซเคิล สมบูรณ์
โครงงานกระถางรีไซเคิล สมบูรณ์โครงงานกระถางรีไซเคิล สมบูรณ์
โครงงานกระถางรีไซเคิล สมบูรณ์
พัน พัน
 
2559คอมงานคู่3
2559คอมงานคู่32559คอมงานคู่3
2559คอมงานคู่3
Gankorn Inpia
 

Ähnlich wie ตัวอย่างโครงงาน (20)

แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงร างโครงงาน ท _มาสมบ_รณ_ว_ตถ_
โครงร างโครงงาน ท _มาสมบ_รณ_ว_ตถ_โครงร างโครงงาน ท _มาสมบ_รณ_ว_ตถ_
โครงร างโครงงาน ท _มาสมบ_รณ_ว_ตถ_
 
ไข่มุก
ไข่มุกไข่มุก
ไข่มุก
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
แบบประเมิน ความพึงพอใจ
แบบประเมิน ความพึงพอใจแบบประเมิน ความพึงพอใจ
แบบประเมิน ความพึงพอใจ
 
โครงงานกระถางรีไซเคิล สมบูรณ์
โครงงานกระถางรีไซเคิล สมบูรณ์โครงงานกระถางรีไซเคิล สมบูรณ์
โครงงานกระถางรีไซเคิล สมบูรณ์
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
2559 project
2559 project 2559 project
2559 project
 
สถานที่นิยมในประเทศลาว
สถานที่นิยมในประเทศลาวสถานที่นิยมในประเทศลาว
สถานที่นิยมในประเทศลาว
 
โครงงาานคอมม
โครงงาานคอมมโครงงาานคอมม
โครงงาานคอมม
 
มะปราง
มะปรางมะปราง
มะปราง
 
final project
final projectfinal project
final project
 
วัยรุ่นไทยใส่ใจเพศศึกษา
วัยรุ่นไทยใส่ใจเพศศึกษาวัยรุ่นไทยใส่ใจเพศศึกษา
วัยรุ่นไทยใส่ใจเพศศึกษา
 
แบบประเมิน คุณภาพ
แบบประเมิน คุณภาพแบบประเมิน คุณภาพ
แบบประเมิน คุณภาพ
 
2559 project
2559 project 2559 project
2559 project
 
แพรวา
แพรวาแพรวา
แพรวา
 
2559คอมงานคู่3
2559คอมงานคู่32559คอมงานคู่3
2559คอมงานคู่3
 
2559คอมงานคู่2
2559คอมงานคู่22559คอมงานคู่2
2559คอมงานคู่2
 
กอล์ฟ
กอล์ฟกอล์ฟ
กอล์ฟ
 
แบบประเมิน ความพึงพอใจ
แบบประเมิน ความพึงพอใจแบบประเมิน ความพึงพอใจ
แบบประเมิน ความพึงพอใจ
 

Mehr von Aekkarin Inta

แบบจำลองอะตอม
แบบจำลองอะตอมแบบจำลองอะตอม
แบบจำลองอะตอม
Aekkarin Inta
 
แบบจำลองอะตอม
แบบจำลองอะตอมแบบจำลองอะตอม
แบบจำลองอะตอม
Aekkarin Inta
 
ข้อสอบ O-NET ม.6
ข้อสอบ O-NET ม.6ข้อสอบ O-NET ม.6
ข้อสอบ O-NET ม.6
Aekkarin Inta
 
ข้อสอบ O-NET ม.6
ข้อสอบ O-NET ม.6ข้อสอบ O-NET ม.6
ข้อสอบ O-NET ม.6
Aekkarin Inta
 
ข้อสอบ O-NET ม.6
ข้อสอบ O-NET ม.6ข้อสอบ O-NET ม.6
ข้อสอบ O-NET ม.6
Aekkarin Inta
 
ข้อสอบ O-NET ม.6
ข้อสอบ O-NET ม.6 ข้อสอบ O-NET ม.6
ข้อสอบ O-NET ม.6
Aekkarin Inta
 
ใบงานที่ 9 16
ใบงานที่ 9 16ใบงานที่ 9 16
ใบงานที่ 9 16
Aekkarin Inta
 
ใบงานที่ 9-16
ใบงานที่ 9-16 ใบงานที่ 9-16
ใบงานที่ 9-16
Aekkarin Inta
 
สุชศึกษาและพลศึกษา
สุชศึกษาและพลศึกษาสุชศึกษาและพลศึกษา
สุชศึกษาและพลศึกษา
Aekkarin Inta
 
วิทยาศาสตร์
วิทยาศาสตร์วิทยาศาสตร์
วิทยาศาสตร์
Aekkarin Inta
 
คณิตศาสตร์
คณิตศาสตร์คณิตศาสตร์
คณิตศาสตร์
Aekkarin Inta
 
ภาษาไทย
ภาษาไทยภาษาไทย
ภาษาไทย
Aekkarin Inta
 
แบบสำรวจและประวัติ
แบบสำรวจและประวัติแบบสำรวจและประวัติ
แบบสำรวจและประวัติ
Aekkarin Inta
 

Mehr von Aekkarin Inta (16)

แบบจำลองอะตอม
แบบจำลองอะตอมแบบจำลองอะตอม
แบบจำลองอะตอม
 
แบบจำลองอะตอม
แบบจำลองอะตอมแบบจำลองอะตอม
แบบจำลองอะตอม
 
ข้อสอบ O-NET ม.6
ข้อสอบ O-NET ม.6ข้อสอบ O-NET ม.6
ข้อสอบ O-NET ม.6
 
ข้อสอบ O-NET ม.6
ข้อสอบ O-NET ม.6ข้อสอบ O-NET ม.6
ข้อสอบ O-NET ม.6
 
ข้อสอบ O-NET ม.6
ข้อสอบ O-NET ม.6ข้อสอบ O-NET ม.6
ข้อสอบ O-NET ม.6
 
ข้อสอบ O-NET ม.6
ข้อสอบ O-NET ม.6 ข้อสอบ O-NET ม.6
ข้อสอบ O-NET ม.6
 
ใบงานที่ 9 16
ใบงานที่ 9 16ใบงานที่ 9 16
ใบงานที่ 9 16
 
ใบงานที่ 9-16
ใบงานที่ 9-16 ใบงานที่ 9-16
ใบงานที่ 9-16
 
สุชศึกษาและพลศึกษา
สุชศึกษาและพลศึกษาสุชศึกษาและพลศึกษา
สุชศึกษาและพลศึกษา
 
วิทยาศาสตร์
วิทยาศาสตร์วิทยาศาสตร์
วิทยาศาสตร์
 
คณิตศาสตร์
คณิตศาสตร์คณิตศาสตร์
คณิตศาสตร์
 
อังกฤษ
อังกฤษอังกฤษ
อังกฤษ
 
สังคม
สังคมสังคม
สังคม
 
ภาษาไทย
ภาษาไทยภาษาไทย
ภาษาไทย
 
Blogger
BloggerBlogger
Blogger
 
แบบสำรวจและประวัติ
แบบสำรวจและประวัติแบบสำรวจและประวัติ
แบบสำรวจและประวัติ
 

ตัวอย่างโครงงาน

  • 1. โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง พิธีมงคลแต่งงานแบบไทยในหมู่บ้านหนองป่ าแซง โดย นางสาวรุ้งเพชร กาฬษร เลขที่ 12 นางสาววาจา นรสิงห์ เลขที่ 15 นางสาววิภาวรรณ ซึ้งมงคลทรัพย์ เลขที่ 16 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/1 ที่ปรึกษาโครงงาน คุณครูณัชพล กาฬภักดี โครงงานนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชา โครงงานคอมพิวเตอร์ ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2554 โรงเรียนบ่อกรุวิทยา
  • 2. โครงงานคอมพิวเตอร์ พิธีมงคลแต่งงานแบบไทยในหมู่บ้านหนองป่าแซง ประเภทโครงงาน โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา ระดับ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ผู้รับผิดชอบโครงงาน นางสาวรุ้งเพชร กาฬษร นางสาววาจา นรสิงห์ นางสาววิภาวรรณ ซึ้งมงคลทรัพย์ อาจารย์ที่ปรึกษา ครูณัชพล กาฬภักดี โรงเรียน โรงเรียนบ่อกรุวิทยา อาเภอเดิมบางนางบวช จังหวัดสุพรรณบุรี บทคัดย่อ โครงงานเรื่องพิธีมงคลแต่งงานแบบไทยในหมู่บ้านหนองป่าแซง เป็นการประยุกต์นาความรู้ด้าน คอมพิวเตอร์มาใช้นาเสนอข้อมูลพิธีมงคลแต่งงานแบบไทยในหมู่บ้านหนองป่าแซง ที่ผู้จัดได้ศึกษาข้อมูล จากผู้มีความรู้ในหมู่บ้านหนองป่ าแซง โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพิธีการและขั้นตอนของพิธีมงคล แต่งงานแบบไทยในหมู่บ้านหนองป่าแซง เนื่องจากเป็นประเพณีที่มีคุณค่าและสวยงาม เพื่อให้คนรุ่นหลัง เกิดความตระหนักในคุณค่าของพิธีมงคลแต่งงานแบบไทยในท้องถิ่นของตนเอง และเพื่อเป็นการอนุรักษ์ และเผยแพร่พิธีมงคลแต่งงานแบบไทยในหมู่บ้านหนองป่าแซงให้ผู้ที่สนใจได้ศึกษาอย่างกว้างขวางผ่าน วีดิโอที่เผยแพร่ทางอินเทอร์เน็ต จากผลการดาเนินการโครงงานเรื่องพิธีมงคลแต่งงานแบบไทยในหมู่บ้านหนองป่าแซง พบว่าได้รับ ความสนใจจากบุคคลทั่วไป และสร้างความตระหนักในพิธีมงคลแต่งงานในท้องถิ่น ให้ดารงอยู่ไม่สูญ หายไปตามกาลเวลา
  • 3. กิตติกรรมประกาศ โครงงานคอมพิวเตอร์ “พิธีมงคลแต่งงานแบบไทยในหมู่บ้านหนองป่าแซง” เป็นโครงงานประเภท โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา โดยการประยุกต์นาความรู้ด้านคอมพิวเตอร์มาใช้นาเสนอข้อมูลพิธีมงคล แต่งงานแบบไทยในหมู่บ้านหนองป่ าแซง ซึ่งผู้จัดทาโครงงานคอมพิวเตอร์ต้องกราบขอบพระคุณ นายบุญช่วย อ้นสืบสาย ผู้อานวยการโรงเรียนบ่อกรุวิทยา ที่ให้ความอนุเคราะห์ สนับสนุน อีกทั้งยังให้ คาแนะนา ตลอดจนให้คาปรึกษาในการทาโครงงานคอมพิวเตอร์นี้ขึ้นมาให้สาเร็จลุล่วงไปได้ด้วยดี ขอขอบพระคุณ นายณัชพล กาฬภักดี ครูผู้สอนวิชาคอมพิวเตอร์ของโรงเรียนบ่อกรุวิทยา ที่กรุณาให้คา ชี้แนะ ให้คาปรึกษา แนะนาขั้นตอนในการจัดทาโครงงาน อีกทั้งยังช่วยกรุณาตรวจทานข้อมูลต่างๆ ในการ ทาโครงงานฉบับนี้
  • 4. บทที่ 1 บทนา 1.1 ที่มาและความสาคัญ เนื่องจากในปัจจุบันนี้การแต่งงานของคนไทยสมัยใหม่ได้รับวัฒนธรรมการแต่งงานของคนทาง ตะวันตกเข้ามา ทาให้พิธีมงคลแต่งงานแบบไทยที่มีคุณค่าและความสวยงาม ค่อยๆเสื่อมหายไปจาก สังคมไทย คนรุ่นหลังเริ่มดัดแปลงงานแต่งให้มีความเป็นตะวันตกมากขึ้น มีเพียงการใส่ชุดไทยในการทาพิธี แต่ขั้นตอนพิธีการต่างๆตัวอย่างเช่น พิธีการหมั้น ที่จะต้องส่งเถ้าแก่มาเจรจาสู่ขอและกาหนดวันหมั้นก่อน จึงค่อยจัดพิธีแต่งงาน แต่ในปัจจุบันเมื่อหนุ่มสาวคู่ใดจะแต่งงานกัน ก็จัดงานแต่งเลยเป็นการรวบรัด ทาใน วันเดียวให้เสร็จ หรือบางคู่ก็อาจจะอยู่กินกันเลย เป็นการทาลายวัฒนธรรมประเพณีอันดีงามของชาวไทยใน อดีตไป ทาให้ทุกวันนี้ประเพณีที่ดีงาม สวยงามนั้นได้ถูกวัฒนธรรมทางตะวันตก กลืนกินไปหมดแล้ว ไม่ ค่อยจะมีคนที่รู้จักประเพณีของไทยอย่างถ่องแท้ ที่สาคัญยิ่ง ประเพณีของไทยนั้นเป็นการบ่งบอกถึงความ เป็นไทย และความเป็นศิลปะ ที่หาวัฒนธรรมอื่นใดเปรียบมิได้ พิธีมงคลแต่งงานแบบไทยในอดีตนอกจากจะเป็นการประกาศการใช้ชีวิตคู่ของคนทั้งสองแล้ว ยัง เป็นการคัดเลือกบุคคลที่จะมาเป็นคู่ชีวิตให้บุตรของผู้ใหญ่ทั้งสองฝ่าย เป็นการช่วยลดปัญหาการหย่าร้าง เพราะยังไม่ได้ศึกษากันให้ดีเสียก่อน ซึ่งข้อนี้ คนไทยในสมัยก่อนท่านได้มองเห็นถึงความสาคัญในการใช้ ชีวิตคู่ จึงไม่ค่อยมีปัญหาการอย่างร้าง ปัญหาครอบครัว และลุกลามเป็นปัญหาของสังคมเหมือนในปัจจุบันนี้ จากเหตุผลดังกล่าวข้างต้นทางผู้จัดทาจึงจัดทาโครงงานพิธีมงคลแต่งงานแบบไทยในหมู่บ้านหนอง ป่าแซง เพราะเห็นถึงความสาคัญในพิธีมงคลแต่งงานแบบไทยในท้องถิ่น ซึ่งเป็นประเพณีที่ดีงามและมีมา อย่างยาวนานที่เราควรศึกษาและสืบทอดให้คงอยู่ต่อไป 1.2 แนวคิดในการทาโครงงานคอมพิวเตอร์ จากความสาคัญของวิชาคอมพิวเตอร์ในปัจจุบันที่มีความสาพันธ์กับชีวิตในปัจจุบันมากขึ้น การศึกษาแหล่งข้อมูลต่างๆทาได้ง่ายเพียงค้นหาผ่านอินเทอร์เน็ต จึงเป็นสิ่งที่ง่ายต่อการเผยแพร่ความรู้ เกี่ยวกับประเพณีการแต่งงานในท้องถิ่นที่ปัจจุบันถูกกระแสนิยมทางชาติตะวันตกเข้ามา จนทาให้ประเพณีที่ สวยงามของเราได้เลือนหายไป ดังนั้นคณะผู้จัดทาโครงงานมีความคิดว่าควรศึกษาและรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับประเพณีการแต่งงาน ในหมู่บ้านหนองป่าแซงมาสร้างสรรค์เป็นผลงานทางคอมพิวเตอร์ เพื่อให้เกิดการเรียนรู้และพัฒนาความรู้ ความสามารถด้านคอมพิวเตอร์ รวมทั้งเป็นการเผยแพร่ประเพณีการแต่งงานในหมู่บ้านหนองป่าแซง เพื่อให้ ผู้ที่สนใจได้เรียนรู้และสืบทอดต่อไป อีกทั้งเป็นการอนุรักษ์ ประเพณีที่ดีงามซึ่งเป็นวัฒนธรรมที่ดีงามให้อยู่ คู่กับหมู่บ้านต่อไป 1.3 จุดมุ่งหมายในการจัดทาโครงงานคอมพิวเตอร์
  • 5. 1. นาความรู้เกี่ยวกับศาสตร์ทางคอมพิวเตอร์มาประยุกต์ใช้เพื่อจัดทาเป็นโครงงาน 2.เพื่อศึกษาพิธีการและขั้นตอนของประเพณีการแต่งงานแบบไทยในหมู่บ้านหนองป่าแซง 3. เพื่อให้เกิดความตระหนักในคุณค่าของประเพณีการแต่งงานแบบไทยในหมู่บ้านหนองป่าแซง 4. เพื่อเป็นการอนุรักษ์และเผยแพร่ประเพณีการแต่งงานแบบไทยในหมู่บ้านหนองป่าแซง 1.4 ขอบเขตของการจัดทาโครงงานคอมพิวเตอร์ การศึกษาค้นคว้าแบบนี้เป็นโครงงานแบบบูรณาการ โดยการวิเคราะห์ค้นคว้าหลายกลุ่มสาระ การเรียนรู้อันประกอบไปด้วยกลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ที่เกี่ยวกับการศึกษาเรื่อง ประเพณีแต่งงานในท้องถิ่น กลุ่มสาระการงานอาชีพและเทคโนโลยี ในการนาความรู้ด้านคอมพิวเตอร์มาใช้ นาเสนอข้อมูล และการเชื่อมโยงการคิดวิเคราะห์กับศาสตร์อื่นๆ อาทิ เช่น กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย เกี่ยวกับเรื่องการใช้คาและเรียบเรียงหรือเรียงบทความ และหลักการใช้ภาษา ในการศึกษาโครงงานครั้งนี้ศึกษาเกี่ยวกับพิธีมงคลแต่งงานแบบไทยภายในหมู่บ้านหนองป่าแซง ตาบลบ่อกรุ อาเภอเดิมบางนางบวช จังหวัดสุพรรณบุรีเท่านั้น โครงงานนี้จัดทาในลักษณะสัมภาษณ์และ รวบรวมข้อมูลจากผู้ที่มีความรู้ในท้องถิ่นและจากสื่อต่างๆเพื่อนาข้อมูลมาจัดทาเผยแพร่ต่อไป
  • 6. บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง 2.1 การศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับประเพณีแต่งงานแบบไทย ลูกผู้ชายทุกคน เมื่อได้บวชได้เรียนแล้ว กรณียะต่อไปก็คือการหาคู่ครอง เพื่อสืบเชื้อสายแห่งตระกูล ต่อไปตามประเพณี ลูกผู้หญิงก็เหมือนกัน เมื่อเจริญวัยอายุพอสมควรแก่การที่จะเป็นแม่บ้านได้แล้ว หากมี ชายใดผู้คู่ควรมาสู่ขอ พ่อแม่ก็ตกแต่งยกให้ตามประเพณี เป็นอันบาเพ็ญหน้าที่เสร็จไปข้อหนึ่ง ที่ทางพุทธ ศาสนากล่าวไว้ว่า “หาคู่ครองที่สมควรให้” การแต่งงานนี้มี 2 ชนิดคือ ถ้าผู้หญิงไปแต่งงานที่บ้านผู้ชายเรียกว่าอาวาหมงคล ถ้าผู้ชายไปแต่งงาน ที่บ้านผู้หญิงเรียกว่า วิวาหมงคล จากประเพณีของไทยที่สืบทอดกันมาแต่โบราณนั้น ประเพณีแต่งงานในหมู่บ้านหนองป่าแซง หาก บ้านใดมีลูกชายก็มักจะบวชเสียก่อนจึงค่อยคิดแต่งงาน ชายซึ่งได้บวชเรียนแล้วมองเห็นว่าหญิงใดมีลักษณะ ต้องใจตน ก็บอกให้ผู้ใหญ่ไปสู่ขอ บางทีผู้ใหญ่ก็เป็นฝ่ายมองพิจารณาเลือกให้เอง โดยการไปสู่ขอนั้น ต้อง จัดเอาผู้ใหญ่ของฝ่ายชายคือพ่อแม่หรือผู้ปกครองอื่นๆ ซึ่งเป็นผู้สูงอายุหรือมีเกียรติ ก่อนจะไปก็ดูฤกษ์ยาม วันดีก่อน แล้วจึงไปเจรจาสู่ขอต่อผู้ใหญ่ฝ่ายหญิง ผู้ใหญ่ฝ่ายชายที่ไปเจรจาสู่ขอนั้น เรียกว่า “เถ้าแก่” เหตุที่ ให้มีเถ้าแก่ไปสู่ขอก็เพื่อเป็นหลักฐานมั่นคงในถ้อยคาสัญญาและถ้าต่อไปมีเหตุให้แตกแยกกัน ก็จะได้อาศัย เถ้าแก่เป็นพยานยืนยันข้อความในทางกฎหมาย การเจรจาสู่ขอ ในการเจรจาสู่ขอ เถ้าแก่จะใช้สานวนโวหาร หากเป็นเถ้าแก่ที่รอบรู้ในประเพณีโบราณก็เจรจาเลียบ เคียงได้ไพเราะ เช่นเจรจาว่า ได้ยินว่าบ้านของผู้ฝ่ายหญิงมีพรรณฟักแฟงแตงเต้าอันงาม ก็ใคร่ที่จะมาขอ พรรณไปเพาะปลูกบ้างดังนี้เป็นต้น ผู้ใหญ่ฝ่ายหญิงก็รู้ความโดยนัยนั้น ในสมัยปัจจุบัน พูดขอเอาตรงๆก็มี ก็ มี ไม่ต้องอ้อมค้อม ถ้าผู้ใหญ่ฝ่ายหญิง ยังไม่รู้จักผู้ชายนั้นดี ก็ต้องไต่ถาม เถ้าแก่ต้องเป็นฝ่ายรับรองความ ประพฤติของฝ่ายชาย ประเพณีโบราณ ปรากฏในบทเสภา เรื่องขุนช้างขุนแผนนั้นเราจะทราบใจความว่า เมื่อนางทองประ สี (แม่เจ้าบ่าว) ไปขอนางพิมพ์ต่อนางศรีประจันต์ (แม่เจ้าสาว) หาผู้ใหญ่สูงอายุในตาบลนั้น ชื่อตาสน ตาเสา ยายเม้า ยายมิ่ง อันเป็นที่นับถือด้วยกันทั้ง 2 ฝ่าย (จึงเรียกว่า เถ้าแก่) ไปด้วย 4 คน เมื่อนางทองประสีขอลูก สาว นางศรีประจันต์ว่า
  • 7. “ตูจะขอถามความท่านยาย ลูกชายนั้นดีหรืออย่างไร ไม่เล่นเบี้ยกินเหล้าเมากัญชา ฝิ่นฝามันสูบบ้างหรือไม่ จะสูงต่าดาขาวคราวใคร ตูยังไม่เห็นแก่ตาว่าตามจริง ฯ” “ครานั้นตาสนกับตาเสา กับทั้งยายเม้าและยายมิ่ง ว่านานไปท่านจะได้พึ่งพิง ลูกทองประสีดีจริงนะคนนี้ ฯลฯ” บทตรงนี้ส่อว่า ผู้ปกครองนั้นเป็นผู้สู่ขอ เถ้าแก่เป็นแต่ผู้รับประกัน ธรรมเนียมโดยทั่วไป เมื่อมีผู้มาสู่ขอลูกสาว ผู้ใหญ่ฝ่ายหญิงมักขอผัดเวลา เพื่อปรึกษาหารือในหมู่ ญาติพี่น้องของตนดูก่อน การที่ผู้ใหญ่ฝ่ายหญิงขอผลัดปรึกษาหารือกันนั้น ก็เพื่อฟังความเห็นของญาติพี่น้อง และจะได้ใช้เวลาสอบสวนความประพฤติของฝ่ายชายด้วย เมื่อปรึกษาตกลงกันด้วยความเต็มใจ และฝ่ายชาย ก็มีความประพฤติเป็นที่พอใจ ก็ตกลงยอมยกให้ และเนื่องด้วยชาวหมู่บ้านหนองป่าแซงมีความเชื่อในเรื่อง ดวงและโชคชะตา มักเป็นธรรมเนียมที่ตกทอดกันมาคือผู้ใหญ่ทั้งสองฝ่ายจะวันเดือนปีเกิดฝ่ายชายและฝ่าย หญิงนาไปให้หมอดูช่วยตรวจว่า วันเดือนปีฝ่ายชายฝ่ายหญิง จะเป็นมิตรกันหรือไม่ ธาตุถูกต้องกันไหม อยู่ นาคตัวเดียวหรือต่างตัวกัน เมื่ออยู่ร่วมกันแล้ว จะยากจนหรือมั่งคั่งสมบูรณ์อย่างไร ดังนี้เป็นต้น เมื่อเห็นว่า ชะตาของทั้งสองฝ่ายถูกต้องกันดี ก็เป็นอันตกลง
  • 8. พิธีหมั้น เมื่อตกลงกันเรียบร้อย เป็นอันยกลูกสาวให้แล้ว ผู้ใหญ่ทั้งสองฝ่าย ก็ตกลงกันในเรื่องทุนสินสอดและเรือน หอขันหมากผ้าไหว้ว่าจะเอากันเท่าไรแน่ เมื่อมีกาหนดกันแน่นอนแล้ว ก็จะจัดพิธีหมั้น แต่ในหมู่บ้านหนองป่าแซง ไม่นิยมจัดพิธีหมั้น แต่จะหาฤกษ์กาหนดวันแต่งงานทีเดียว การไม่หมั้นกันไว้ก่อน ก็เพราะต่างฝ่ายต่างเชื่อถือใน คามั่นสัญญาของกันและกัน การหมั้นไว้นั้น ความประสงค์ก็เพื่อเป็นหลักประกันในคามั่นสัญญาของฝ่ายชาย เพราะถ้าฝ่ายชายผิดสัญญา ไม่ยอมสมรสด้วยกับฝ่ายหญิงก็ต้องถูกริบเครื่องของหรือเรียกกันว่า ขันหมากหมั้นไป เปล่าๆ หญิงนั้นก็เรียกกันว่าหม้ายขันหมาก แต่หากมีพิธีหมั้นนั้น จะมีวิธีทาดังต่อไปนี้ เมื่อถึงวันฤกษ์งามยามดี ฝ่ายชายก็จัดขันหมากที่จะนาไปหมั้น มี ขั้นใส่หมากทั้งผลกับพลุใบและทองคาตามน้าหนักที่ตกลงกันไว้พร้อมกับขนมต่างๆจัดไปตามความพอใจ ผู้ใหญ่ ฝ่ายหญิงก็จัดเถ้าแก่ไว้คอยรับขันหมาก อันขันหมากหมั้นนี้ ถ้าฝ่ายหญิงผิดสัญญา โดยประพฤติการอันพึงรังเกียจ ก็ ต้องคืนให้แก่ฝ่ายชาย วิธีปลูกเรือนหอ เมื่อทั้งฝ่ายชายและฝ่ายหญิง กาหนดฤกษ์ที่จะแต่งงานกันแล้ว ต่อแต่นั้น ฝ่ายชายก็ต้องตระเตรียมแต่งตัวไม้ สาหรับเรือนหอ ขนเอาไปไว้ที่บ้านเจ้าสาว ฝ่ายเจ้าสาวก็จัดสารับกับข้าวออกมาเลี้ยงดูกัน การปลูกเรือนหอนี้ตามประเพณีเป็นหน้าที่ของฝ่ายชายจัดสร้างขึ้นในเนื้อที่บ้านของฝ่ายหญิง แต่บางครั้ง ฝ่ายหญิงก็เป็นผู้จัดทา และคิดค่าก่อสร้างจากฝ่ายชาย ส่วนเครื่องเรือนเป็นหน้าที่ของฝ่ายหญิง แต่ในปัจจุบันเนื่องด้วยค่าใช้จ่ายในการปลูกเรือนหอมีราคาสูง เนื่องจากราคาที่ดินและค่าวัสดุก่อสร้าง ทา ให้ในหมู่บ้านหนองป่าแซงจึงไม่นิยมปลูกเรือนหอแต่จะใช้ห้องนอนที่บ้านเจ้าบ่าวหรือบ้านเจ้าสาวเป็นเรือนหอ แทน โดยเลือกตามความเหมาะสม สินสอดทองหมั้น หรือของหมั้น โดยปกติการแต่งงานลูกสาว มักถือเป็นงานออกหน้าออกตาใหญ่โต ทางฝ่ายหญิงจึงพยายามเรียกร้องกัน มากๆ คือเรียกของหมั้นที่มีราคาแพง เดิมทีการหมั้นมักจะเรียกเป็นทองคา และการเรียกเป็นน้าหนัก จนเป็นศัพท์ ติดปากมาจนกระทั่งบัดนี้ว่า "ทองหมั้น" ซึ่งประเพณีโบราณถือเป็นของเจ้าสาว ที่จะนาไปเป็นเครื่องแต่งตัว เพื่อ เป็นทรัพย์สมบัติติดตัวในเวลาแต่งงานนอกจากนี้ ยังมีการกาหนดเงินสินสอดและผ้าไหว้อีกด้วย เรียกว่า "สินสอด" ซึ่งเป็นกรรมสิทธิ์ของพ่อแม่ ถือกันว่า เป็นค่าเลี้ยงดูหรือค่าน้านม สาหรับการเรียกสินสอดภายในหมู่บ้านหนองป่าแซงนั้นฝ่ายเจ้าสาวจะไม่มีการเรียกร้องสินสอดตายตัว แต่ จะเป็นการตกลงกัน และพ่อแม่ฝ่ายหญิงมักจะแบ่งสินสอดให้บ่าวสาวจานวนหนึ่งเพื่อเป็นเงินทุนในการลงทุน ทางานต่างๆ หรือบางคนก็ยกสินสอดทั้งหมด ซึ่งก็ขึ้นอยู่กับฐานะของทั้งสองฝ่ายด้วย
  • 9. การกาหนดฤกษ์ยามในวันหมั้น การกาหนดฤกษ์ยามในวันหมั้น โดยมากนิยมกาหนดตอนเช้า ก่อนเที่ยง หรือไม่ก็ควรเป็นตอนบ่าย นอกจากนั้นต้องมีการหาฤกษ์อีก 3 ฤกษ์ คือ ฤกษ์ขันหมากนิยม ฤกษ์รดน้าและทิศทางที่เจ้าบ่าวและเจ้าสาวจะนั่ง และฤกษ์ปูที่นอนและส่งตัว ซึ่งประเพณีโบราณถือว่าสาคัญมาก มักจะให้พระผู้ใหญ่หรือพราหมณ์เป็นผู้หาฤกษ์ โดยถือเกณฑ์ดวงชะตาของฝ่ายหญิงและฝ่ายชายเป็นหลักในการคานวณ หรือในสมัยนี้อาจปรึกษาโหราจารย์ที่ น่าเชื่อถือได้ แต่เนื่องด้วยภายในหมู่บ้านหนองป่าแซงไม่นิยมจัดพิธีหมั้นจึงไม่มีการหาฤกษ์วันหมั้น ก็จะหาเพียงแค่ ฤกษ์ในวันแต่งเพียงอย่างเดียว พานขันหมาก ประกอบด้วยหมาก 8 ผล พยายามให้อยู่พวงเดียวกัน หรือเลือกเป็นคู่ ทาก้นด้วยปูนแดง เรียงใบพลูให้เสมอ กัน 4 เรียง เรียงละ 8 ใบ รวม 32 ใบ พานขันหมั้นใหญ่ (ขันสินสอด) ใช้พานที่ใหญ่กว่าเล็กน้อย บรรจุด้วย พรรณพืช ใบไม้ ดอกไม้มงคลเช่น ใบเงินใบทองใบนาก ใบแก้ว ข้าวเปลือก ถั่ว งา จากนั้นนาสินสอดวางด้านบน ( เคล็ดลับคือให้เพิ่มเงินมากกว่า สินสอดเล็กน้อย เพื่อให้สินสอดเพิ่มพูน ) บางท่านจะแยก พานออกเป็นพานใส่เงิน พานใส่ทอง และ พานแหวน โดยทุกพานถือเป็น บริวารของขันหมั้น ให้โรยด้วยดอกรัก และถั่วงา พานธูปเทียน ใช้ธูปเทียนแพ ครอบด้วยกรวยดอกไม้ พานผ้าไหว้ ใช้สาหรับ วางของไหว้พ่อแม่ หรือผู้มีบุญคุณทุกท่าน ภายในหมู่บ้านหนองป่าแซงจะจัดหา ตามความเหมาะสม แต่ที่นิยมมากคือผ้าขนหนู เครื่องขันหมาก ประกอบด้วยขนมไทยมงคล 9 อย่าง นิยมจัดเป็นคู่ นอกจากนี้ หากพิธีใหญ่ จะมีการจัด เครื่องคาวด้วยเช่น หมูนอนตอง(หมูสามชั้นต้ม สุกวางบนใบตอง ไก่ต้ม ปลาช่อนนึ่ง รวมถึงบริวารอื่นๆ เช่นต้น กล้วย ต้นอ้อย มะพร้าวอ่อน กล้วยน้าหว้าทั้งเครือ ต้นกล้วยต้นอ้อยที่ใช้ในขบวนขันหมากแต่งงานนั้น มีความหมายในทางมงคลก็คือ อ้อยหมายถึงความ หวาน ส่วนหน่อกล้วยหมายถึงความเจริญงอกงาม การขุดต้องให้ติดรากหรือมีตาและเลือกเอาต้นหรือหน่อที่ สมบูรณ์ โดยชุดมาเป็นคู่ นามาประดับตกแต่งด้วยกระดาษสีให้ดูสวยงามซึ่งเจ้าบ่าวเจ้าสาวจะ ต้องทาการปลูก ร่วมกันคล้ายกับเป็นการเสี่ยงพายอย่างหนึ่ง ซึ่งหากต้นกล้วยเจริญเติบโตออกดอกออกผลสมบูรณ์ และต้นอ้อย เติบโตหอมหวาน เชื่อกันว่าความรักของหนุ่มสาวคู่นี้จะเป็นไปอย่างราบรื่น มีลูกเต็มบ้านมีหลานเต็มเมือง ความรัก จะสดชื่นหอมหวานอยู่มิรู้คลาย ฐานะความเป็นอยู่ทางเศรษฐกิจก็สมบูรณ์พูนสุข
  • 10. พิธีแห่ขันหมาก ขั้นหมากนั้น ต้องจัดเป็น 3 ขัน เรียกว่าขันหมากเอก 1 ขัน ขันหมากรอง 2 ขัน ขันหมากเอกสาหรับใส่ ข้าวสารหมากพลูจีบจัดเรียงรายพองามตามปากขัน ใส่ตะลุ่มมีฝาปิดหุ้มผ้าลาย มีผ้าไหมรัด ขันหมากรอง ใส่เงิน สินสอด ถั่วงา ข้าวเปลือก ใบเงิน ใบทอง ใบนาค ธูปเทียน ผ้าไหว้บิดามารดา และผ้าไหว้ผีปู่ย่าตายาย จะจัดผ้าเป็นกี่ คู่ก็สุดแล้วแต่ความตกลงกัน อนึ่ง สาหรับเงินสินสอดนั้นมีประเพณีว่า ต้องใส่ไว้ให้เกินกว่าที่ตกลงกันไว้เมื่อเถ้าแก่ ตรวจตราสิ่งของนับดุ ก็จะถือว่าเป็นเงินงอก นับเป็นเคล็ดที่ถือกันว่า ชายหญิงนั้นอยู่ร่วมกันแล้ว ทรัพย์สินก็จะมีแต่ งอกเงยเพิ่มพูนยิ่งขึ้น ขันหมากที่จาเป็นมีเพียง 3 ขันเท่านี้ จะจัดเพิ่มเติมอีกเท่าไรก็ได้ ใส่ขนมต่างๆในถาดเหล่านั้น อนึ่ง ขันหมากนอกจากนี้ แม้จะมีจานวน 50 หรือจานวนร้อยก็ตาม ประเพณีโบราณนิยมเรียกว่า “ร้อยเอ็ด” เสมอกัน เงินทุนสินสอด ได้แก่เงินที่ตกลงกันในแต่งงานนี้มี 2 อย่าง คือเงินที่ผู้ปกครองของเจ้าบ่าวเจ้าสาวให้ฝ่ายละ ครึ่ง สาหรับคู่บ่าวสาวจะได้ใช้ในการตั้งตัว เรียกว่าเงินทุน ประเภท 1 เงินที่ฝ่ายเจ้าบ่าวให้แก่ตัวเจ้าสาว เรียกว่า สินสอด ประเภท 1 ประเพณีแห่ขันหมากนั้นภายในหมู่บ้านหนองป่าแซง เมื่อได้ฤกษ์งามยามดี ก็เริ่มแห่ขันหมากไปยังบ้าน เจ้าสาว มีเครื่องแห่และไชโยโห่ร้องกันสนุกสนาน ขบวนใหญ่น้อย ตามฐานะและความกว้างขวางของฝ่ายเจ้าบ่าว เมื่อไปถึงบ้านเจ้าสาวแล้วถ้าหากมีการกั้นประตู ก็เป็นหน้าที่ของเถ้าแก่จะให้เงินรางวัลเสมือนกับเป็นค่าเปิดประตู ถ้าหากมีการล้างเท้าเจ้าบ่าวก็ต้องให้รางวัลเช่นเดียวกัน การกั้นประตู พวกพ้องเจ้าสาวมักเป็นคนทา โดยภายในหมู่บ้านหนองป่าแซง จะมีการกั้นประตูแรกที่ ทางเข้าบ้านโดยใช้ไม้ยาวๆกั้นขวางไว้ชั้นต่อมาจึงเป็นการกั้นประตูเงินประตูทอง โดยกั้นไว้ไม่ให้เจ้าบ่าวขึ้น และ จัดกั้นกัน 3 ประตูที่บ้านฝ่ายหญิง ครั้นเจ้าบ่าวมาถึงประตูที่ 1พวกเจ้าบ่าวก็ถามว่า นี่ประตูอะไร พวกเจ้าสาวที่กั้น ประตูนั้น ก็ตอบว่าประตูแก้ว ครั้นถึงประตูที่ 2 ก็ถามเช่นนั้นอีก พวกเจ้าสาวก็ตอบว่า ประตูเงิน ครั้นถึงประตูที่ 3 ก็ ถามอย่างเดียวกัน พวกเจ้าสาวก็ตอบว่า ประตูทอง พวกเจ้าบ่าวก็ต้องให้เงินรางวัลทุกๆ ประตู ครั้นแล้ว เถ้าแก่คนกลางทั้งสองฝ่าย ก็นับตรวจตราสิ่งของว่าถูกต้องตามสัญญาหรือไม่ เมื่อถูกต้อง เรียบร้อย ฝ่ายเจ้าสาวรับเครื่องขันหมากเสร็จแล้ว ก็จัดอาหารมาเลี้ยงดูกัน เป็นอันเสร็จพิธีขันหมาก พิธีรดน้าในปัจจุบัน เมื่อพิธีขันหมากเสร็จสิ้นแล้ว ถึงเวลาเย็นในวันนั้น ทาพิธีสงฆ์ นิมนต์พระมาสวดมนต์ เจ้าบ่าวจะต้อง ออกไปจุดธูปเทียน นั่งฟังพระสวดมนต์แต่ผู้เดียว ส่วนในตอนรุ่งขึ้นเช้า ทั้งเจ้าบ่าวและเจ้าสาวต้องออกมาตักบาตร ด้วยกัน เมื่อทาบุญเลี้ยงพระแล้ว ช่วยกันประเคนของถวายพระเป็นอันเสร็จพิธี ครั้นถึงฤกษ์รดน้า เจ้าบ่าวเจ้าสาวออกไปนั่งที่ซึ่งจัดไว้บ่ายหน้าไปทางทิศที่โหราจารย์กาหนด ผู้ชายนั่งข้าง ขวามือของผู้หญิง แล้วผู้ใหญ่ที่เป็นประธานในงาน สวมมงคลครอบศีรษะฝ่ายชายและฝ่ายหญิง และเริ่มรดน้าสังข์ แก่คู่บ่าวสาวพร้อมกับให้ศีลให้พร เสร็จแล้วแขกที่ได้รับเชิญมาในงานก็ทยอยเข้ามารดน้าตามลาดับ หมดจากแขก แล้วก็ถึงวงศ์ญาติ ครั้นหมดผู้รดน้าเรียบร้อยแล้ว ผู้ใหญ่ก็จะปลดด้ายมงคลออก ถือเคล็ดกันว่า ถ้าปลดออกจาก
  • 11. ศีรษะฝ่ายชายก่อน ชายก็มีอานาจเหนือฝ่ายหญิง ถ้าปลดออกจากศีรษะหญิงก่อน ก็ถือว่าต่อไปหญิงจะมีอานาจ มากกว่าฝ่ายชาย พิธีรดน้าในสมัยโบราณ ในสมัยโบราณ พิธีรดน้าต่างจากสมัยปัจจุบัน คือเมื่อพระมาสวดมนต์ เจ้าบ่าวเจ้าสาวต่างก็มีเพื่อนบ่าวและ เพื่อนสาวห้อมล้อมออกมา ไปนั่งตั้งวงแยกกันอยู่ข้างหน้าพระสงฆ์แล้ว ก.พระสวมมงคลให้แก่คู่บ่าวสาว (โดยการสวมมงคลให้ฝ่ายหญิง พระจะจับมือฝ่ายชายแล้วสวมมงคลให้ ฝ่ายหญิง) ข.พระเป็นผู้รดน้าแต่งงาน ค.รดน้าด้วยเอาโอตักน้า ซัดเปียกทั้งตัว จนถึงต้องผลัดผ้าแต่งตัวใหม่ทั้งเจ้าบ่าวเจ้าสาว ง.การที่พวกเพื่อนบ่าวสาวเข้ารับน้ามนต์เป็นอุบายแกล้งตัวเจ้าบ่าวเจ้าสาวให้เข้าไปชิดติดกัน ดังปรากฏใน เสภาเรื่องขุนช้างชุนแผน ตอนแต่งงานพระไวยกับศรีมาลา ว่า “ครั้นถึงนั่งน้อมฟังพระธรรม พระสดาจับมงคลคู่ใส่ สายสิญจน์โยงศรีมาลามาพระไวย พอฆ้องใหญ่หึ่งดังตั้งชยันโต หนุ่มสาวเคียงเข้านั่งอัด พระสงฆ์เช็ดตาลบัตรซัดน้าโร่ ปราลงข้างสีกาห้าหกโอ ท่านยายโพสาวนา น้าเข้าตา อึดอัดยัดเยียดเบียดกันกลม เอาหนามซ่มแทงท้องร้องอุยหน่า ที่ไม่ถูกเท้ายันดันเข้ามา ท่านยายสาออกมานั่งบังกันไว้ มหาดเล็กโลนโลนโดนกระแทก โอยพ่อขี้จะแตกทนไม่ไหว ท่านยายสาเต็มทีลุกหนีไป จนพระไวยศรีมาลามาชิดกัน”
  • 12. พิธีไหว้ผีปู่ ยาตายาย เมื่อเสร็จพิธีรดน้าแล้ว ก็เชิญเจ้าบ่าวเจ้าสาวขึ้นเรือน บิดามารดาฝ่ายผู้หญิงเอาผ้าขาวมาปูกลางเรือน แล้วเอา เหล้า มะพร้าวอ่อนกับผ้าไหว้ผีวางลงบนผ้าขาวนั้น เจ้าบ่าวจุดเทียนแฝดคู่หนึ่งกับธูปคู่หนึ่ง ลงมือไหว้ผีปู่ย่าตายาย พร้อมกับเจ้าสาว ในการไหว้นั้น เถ้าแก่จะให้เจ้าบ่าวยกมือขวาเจ้าสาวยกมือซ้ายประนมประสาน กราบลงพร้อมกัน 3 ครั้ง แล้วเจ้าบ่าวก็ออกมาไหว้พ่อแม่ของเจ้าสาว พร้อมทั้งไหว้ญาติผู้ใหญ่ของเจ้าสาว เป็นอันเสร็จพิธีไหว้ พิธีเรียงหมอน ครั้นเสร็จจากพิธีไหว้ผีนั้นแล้ว ทางฝ่ายเจ้าสาวก็ต้องจัดที่นอนหมอนมุ้งเครื่องปูตกแต่งอื่นๆ แล้วเชิญ ผู้ใหญ่คู่ผัวเมียให้เข้าไปทาพิธีปูที่นอนเรียงหมอน ผู้ใหญ่ในพิธีนี้ต้องเลือกเอาคู่ที่อยู่ร่วมกันมาด้วยความสุขสวัสดิ์ ไม่เคยทะเลาะวิวาทกัน เป็นผู้เจริญด้วยทรัพย์สินและเกียรติยศโดยสมควรแก่ท้องถิ่น ในการนี้ให้เอาฟักเขียวหนึ่งลูก หม้อใหม่ใส่น้าหม้อหนึ่ง และถั่วงารวมอยู่กับทุนสินสอดวางไว้บนพาน หนึ่ง นาไปวางไว้ข้างที่นอน เป็นเครื่องหมายสาหรับอวยพรว่าให้คู่บ่าวสาวมีใจเย็นเสมือนกับฟักกับน้า มีน้าใจ หนักแน่นเสมือนศิลามีแต่ความจาเริญวัฒนาเหมือนถั่วงา แล้วผู้ใหญ่ฝ่ายเจ้าบ่าวเจ้าสาว ก็จัดแจงวางหมอนหนุน ศีรษะ ครั้นแล้วผู้ใหญ่คู่ที่ได้รับเชิญทาพิธีนี้ก็ลงนอนเป็นปฐมหญิงนอนซ้าย ผู้ชายนอนขวา ในเวลานอนนั้น ก็เจรจา กันด้วยคาดีงาม ให้ศีลให้พร เป็นอันเสร็จพิธีเรียงหมอน เฝ้ าหอ ส่งตัวเจ้าสาว ครั้นเสร็จพิธีเหล่านั้นแล้ว ตัวเจ้าบ่าวต้องนอนเฝ้าหออยู่แต่ผู้เดียวก่อน มีกาหนด 3 วัน ครั้นถึงฤกษ์งามยาม ดีผู้ปกครองฝ่ายหญิงก็พาเจ้าสาวไปส่งตัวเข้าหอ พร้อมกับให้โอวาทแก่เจ้าสาวให้รู้จักฝากเนื้อฝากตัวกับเจ้าบ่าว สอนให้ให้ทั้งคู่รู้จักถนอมน้าใจกัน สามัคคีรักใคร่ เป็นต้น ครั้นมอบตัวเจ้าสาวแล้ว คู่บ่าวสาวก็กราบไหว้ผู้ใหญ่ฝ่าย หญิงนั้น ผู้ใหญ่ฝ่ายหญิงก็กลับ เจ้าสาวบางทีก็ลุกออกจากม่านจะตามเถ้าแก่ออกไปก็มี เป็นหน้าที่ของเจ้าบ่าวจะ เจรจาหรือป้ องกัน โดยวางตัวเหมือนหมอที่จะประกอบโอสถขนานนั้นหรือขนานนี้ แก่คนไข้ เป็นอันเสร็จพิธีเฝ้ า หอ – ส่งตัวเจ้าสาว ซึ่งประเพณีเฝ้ าหอนี้ภายในหมู่บ้านหนองป่าแซงได้ตัดออกไปมีเพียงการส่งตัวเข้าหอและให้โอวาทแก่ เจ้าสาวให้รู้จักฝากเนื้อฝากตัวกับเจ้าบ่าว สอนให้ให้ทั้งคู่รู้จักถนอมน้าใจกัน สามัคคีรักใคร่กัน ฤกษ์ในการแต่งงาน การแต่งงานนั้นภายในหมู่บ้านหนองป่าแซง นิยมกระทากันในเดือนคู่ คือเดือน 2 เดือน 4 เดือน 6 เดือน 8 เดือน 12 สาหรับเดือน 8 นั้นเป็นเดือนเข้าพรรษาของพระภิกษุสงฆ์ นิยมเลื่อนมาเดือน 9 และมักถือกันจะแต่งงาน ในวันข้างขึ้น และไม่แต่งในวันข้างแรม
  • 13. ดิถีที่ใช้ในพิธีเรียงหมอน ขึ้น 7 ค่า 10 ค่า 11 ค่า แรม 4 ค่า 8 ค่า 10 ค่า 14 ค่า อย่างไรก็ดี การแต่งงาน ควรให้ท่านที่เป็นหมอดูหรือชานาญในโหราศาสตร์ ตรวจสอบให้เรียบร้อย เพราะ งานมงคลเป็นสิ่งสาคัญยิ่งและมีครั้งเดียวในชีวิต ถ้ามีครั้ง 2 -3 ก็ดูกระไรอยู่ สรุป พิธีแต่งงานนี้ ที่กล่าวมาเป็นประเพณีที่ได้พบเห็นอยู่มาก แต้ความจริง ความนิยมแต่ละท้องถิ่น ย่อมมี แตกต่างกันออกไป ยิ่งต่างชาติต่างภาษายิ่งน่าศึกษาค้นคว้า ในธรรมเนียมไทย ถือการแต่งงานว่ามีกาเนิดมาแต่ครั้งพระเจ้ากรุงกบิลพัสดุ์ กับพระนางสิริมหามายา และ ขันหมากแม้จะมีน้อยมาก ก็นิยมเรียกกันว่าร้อยเอ็ด ดังคาสู่ขวัญว่า “-- สองกษัตราราชาภิเษกกันในครั้งนั้น พระ พิษณุกรรมก็ชวนกันลงมา ทั้งเทพบุตรเทพยดา ก็ลงมาช่วยกันทาปราสาทหอ ทั้งร้อยเอ็ดเมืองก็มิได้ย่อท้อช่วย ขันหมาก --” ดังนี้ เพราะคนไทยมั่นคงในพระพุทธศาสนาจึงเอาเรื่องที่เนื่องด้วยพุทธปะวัติเป็นต้นเค้า
  • 14. บทที่ 3 วิธีการดาเนินงาน 3.1 วิธีการศึกษาค้นคว้า และขั้นตอนการดาเนินงานตามโครงงาน 1. ศึกษาค้นคว้ารายละเอียดเกี่ยวกับพิธีมงคลแต่งงานแบบไทยจากหนังสือและอินเทอร์เน็ตเพื่อเป็น แนวทางในการสัมภาษณ์ 2. ปรึกษาอาจารย์หรือผู้ที่มีความรู้เกี่ยวกับพิธีมงคลแต่งงานแบบไทย 3. วางแผนและเรียงลาดับขั้นตอนการดาเนินงานเพื่อให้เป็นระบบระเบียบและเข้าใจง่าย 4. จัดเตรียมวัสดุอุปกรณ์ที่จาเป็นต้องใช้เพื่อให้เกิดความสะดวกรวดเร็วในการปฏิบัติงาน 5. เริ่มดาเนินการสัมภาษณ์ผู้ที่มีความรู้เกี่ยวกับพิธีมงคลแต่งงานแบบไทยในหมู่บ้านหนองป่าแซง 6. นาข้อมูลที่ได้จากการสัมภาษณ์มาทาวีดิโอ 7. เมื่อทาทาวีดิโอแล้ว วีดิโอที่นาเสนอดีหรือควรจะปรับปรุงแก้ไขเพื่อให้ดีขึ้น 8. วีดิโอที่นาเสนอได้ผลตามที่คาดหวัง 9. สรุปผลการทาโครงงานพิธีมงคลแต่งงานแบบไทย 3.2 ขั้นตอนเก็บรวบรวมข้อมูลและการสัมภาษณ์ 1. ศึกษาข้อมูลจากหนังสือและอินเทอร์เน็ต วิเคราะห์ข้อมูลต่างๆที่ได้มาและสรุป 2. รวบรวมข้อมูลต่างๆให้เป็นหมวดหมู่ 3. วางแผนการสัมภาษณ์วิทยากรท้องถิ่นหรือผู้ที่มีความรู้ในพิธีมงคลแต่งงานแบบไทย 4. สัมภาษณ์วิทยากรท้องถิ่นหรือผู้ที่มีความรู้ในพิธีมงคลแต่งงานแบบไทย 3.3 การนาความรู้ไปใช้ประโยชน์ 1. จัดทาเป็นวีดิโอและเผยแพร่ผ่านอินเทอร์เน็ต 2. สามารถใช้เป็นแหล่งศึกษาความรู้เกี่ยวกับประเพณีแต่งงานในท้องถิ่น
  • 15. บทที่ 4 ผลการศึกษาค้นคว้า ผลจากการทาโครงงานต่อการทา“พิธีมงคลแต่งงานแบบไทยในหมู่บ้านหนองป่าแซง” นั้นผู้จัดทาได้ ปฏิบัติตามขั้นตอนการดาเนินงานตามโครงงานและมีผลการศึกษาค้นคว้าและแนวปฏิบัติอย่างเป็นระบบ เป็นต้น 4.1 ผลการศึกษาค้นคว้าและแนวปฏิบัติ 1. ศึกษาประวัติความเป็นมาของพิธีมงคลแต่งงานแบบไทยในหมู่บ้านหนองป่าแซงโดยอาศัยแหล่งข้อมูล เป็นหลักในการศึกษา 2. นารูปภาพที่ได้จากการสัมภาษณ์และภาพที่ต้องการนามานาเสนอ และนามาประยุกต์เก็บรายละเอียด ของภาพโดยใช้ความรู้ความเข้าใจทางด้านคอมพิวเตอร์ในการสร้างให้มีความสัมพันธ์กัน 3. นาความรู้ที่ได้จากการศึกษาหาความรู้จากชุมชน ครูที่มีความรู้ด้านประเพณีแต่งงาน ศึกษาจาก อินเตอร์เน็ตและจากห้องสมุดมาทาตามที่ได้ศึกษายังสถานที่ต่างๆมา ผลการประเมิน ข้อที่ ข้อประเมิน ค่าเฉลี่ย S.D. ความหมาย 1 ความสวยงามเว็บไซต์ 4.633333 0.556053 มากที่สุด 2 ความเหมาะสมของตัวหนังสือ 4.4 0.563242 มาก 3 การเชื่อมโยงของเว็บไซต์ 4.566667 0.626062 มาก 4 ความสมบูรณ์ของเนื้อหาและความเป็นมา 4.466667 0.507416 มาก 5 ความเหมาะสมของภาพประกอบเว็บไซต์ 4.466667 0.507416 มาก 6 ความเหมาะสมของการใส่ VDO 4.466667 0.507416 มาก เกณฑ์การประเมิน 4.51 - 5.00 มากที่สุด 3.51 - 4.50 มาก 2.51 - 3.50 ปานกลาง 1.51 - 2.50 น้อย 1.0 - 1.510 น้อยที่สุด
  • 16. 4.2 ข้อดีของพิธีมงคลแต่งงานแบบไทย การแต่งงานของคนไทยสมัยใหม่ได้รับอิทธิพลจากโลกตะวันตก การแต่งงานเป็นเรื่องของคน 2 คนที่พึง พอใจกันก็ตกลงใช้ชีวิตร่วมกันเลย หรือแต่งงานกันโดยไม่ได้ปรึกษาหารือกับผู้ใหญ่เสียก่อน เพราะการที่ตกลงโดย ไม่ได้ศึกษากันให้ดีเสียก่อน เป็นที่มาของปัญหาการหย่าร้าง ปัญหาครอบครัว และลุกลามเป็นปัญหาของสังคม เหมือนในปัจจุบัน แต่พิธีมงคลแต่งงานแบบไทยในอดีตนอกจากจะเป็นการประกาศการใช้ชีวิตคู่ของคนทั้งสอง แล้ว ยังเป็นการคัดเลือกบุคคลที่จะมาเป็นคู่ชีวิตให้บุตรของผู้ใหญ่ทั้งสองฝ่าย เป็นการช่วยลดปัญหาการหย่าร้าง แต่ คนไทยสมัยก่อนท่านได้มองเห็นถึงความสาคัญในการใช้ชีวิตคู่ จึงไม่ค่อยมีปัญหาการอย่างร้างเหมือนสังคม ปัจจุบันนี้ 4.3ผลการดาเนินงานของโครงงานต่อการศึกษาพิธีมงคลแต่งงานแบบไทยในหมู่บ้านหนองป่ าแซง จากข้อมูลประเพณีที่ผู้จัดทาได้ศึกษาค้นคว้าจากแหล่งข้อมูลต่างๆพบว่าพิธีมงคลแต่งงานในหมู่บ้านหนอง ป่าแซง มีขั้นตอนพิธีการคล้ายคลึงกับพิธีมงคลแต่งงานในอดีต แต่เนื่องด้วยสภาพสังคมและยุคสมัยที่เปลี่ยนไปทา ให้พิธีการบางขั้นตอนได้ถูกตัดไป เช่น การปลูกเรือนหอ ซึ่งทางเจ้าบ่าวเจ้าสาวได้เลือกบ้านของเจ้าบ่าวเป็นเรือน หอเพื่อประหยัดค่าใช้จ่าย เช่นเดียวกับพิธีมงคลแต่งงานในหมู่บ้านหัวนา ที่มีขั้นตอนพิธีการคล้ายคลึงกัน
  • 17. บทที่ 5 สรุปผล และอภิปรายผลการดาเนินงาน 5.1 สรุปผล และอภิปรายผล จากการทาโครงงาน “พิธีมงคลแต่งงานแบบไทยในหมู่บ้านหนองป่าแซง” นั้น 1.สามารถนาเนื้อหาที่ได้ไปเผยแพร่แก่บุคคลอื่นที่สนใจ 2.สามารถบรูณาการเนื้อหาสาระทางด้านคอมพิวเตอร์ใช้ความรู้จากชุมชน อินเทอร์เน็ตและจากห้องสมุด และการนาองค์ความรู้ที่มีอยู่ในท้องถิ่นมาประยุกต์ใช้เพื่อนาเสนอการประเพณีที่ควรอนุรักษ์ในท้องถิ่น 3.สามารถฝึกประสบการณ์ในการวางแผนการทางานเป็นกลุ่มให้เสร็จทันเวลา 5.2 ประโยชน์ที่ได้รับจากการทาโครงงาน 1.ได้รับความรู้เกี่ยวกับการนาความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับพิธีมงคลแต่งงานแบบไทยในหมู่บ้านหนองป่า แซง 2.ได้รับทักษะในการทางานเป็นทีม ตลอดจนรู้ขั้นตอนในการเตรียมงาน วางแผน และการนาเสนอ ผลงานในรูปแบบต่างๆ 4.ได้รับการฝึกฝนทักษะกระบวนการกลุ่ม และมีการอดทนในการทา โครงงาน“พิธีมงคลแต่งงานแบบ ไทยในหมู่บ้านหนองป่าแซง” เพราะต้องใช้เวลาในการศึกษาค้นคว้า และจัดเตรียมทาวีดิโอ 5.3 ข้อเสนอแนะ ควรนาความรู้เกี่ยวกับพิธีมงคลแต่งงานแบบไทยเผยแพร่อย่างกว้างขว้าง เพื่อให้เกิดความตระหนักใน คุณค่าของประเพณีไทย โดยการนาความรู้ด้านคอมพิวเตอร์ช่วยในการจัดทาสื่อความรู้ และใช้เครือข่าย อินเทอร์เน็ตเป็นสื่อกลางในการเผยแพร่
  • 20. แบบประเมินโครงงานคอมพิวเตอร์ โครงงานเรื่อง พิธีมงคลแต่งงานแบบไทยในหมู่บ้านหนองป่าแซง wajha-rungpet-wipawan.wikispaces.com สถานภาพ ครู นักเรียน ประชาชน เพศ ชาย หญิง การศึกษา มัธยมศึกษา ปริญญาตรี ปริญญาตรีขึ้นไป ประเมินความพึงพอใจ หัวข้อประเมิน มากที่สุด 5 มาก 4 ปานกลาง 3 น้อย 2 น้อยที่สุด 1 1.ความสวยงามเว็บไซต์ 2.ความเหมาะสมของตัวหนังสือ 3.การเชื่อมโยงของเว็บไซต์ 4.ความสมบูรณ์ของเนื้อหาและความเป็นมา 5.ความเหมาะสมของภาพประกอบเว็บไซต์ 6.ความเหมาะสมของการใส่ VDO ข้อเสนอแนะ ...................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................... .