SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 32
1



    โครงการในพระราชดำา ริ ฝนหลวง




ความเป็น มาของโครงการพระราชดำา ริฝ นหลวง
        โครงการพระราชดำา ริ ฝ นหลวง เป็ น โครงการที่ ก่ อ
กำาเนิดจากพระมหากรุณาธิคุณ ที่ทรงห่วงใยในความทุกข์ยาก
ของพสกนิ ก รในท้ อ งถิ่ น ทุ ร กั น ดาร ที่ ต้ อ งประสบปั ญ หา
ขาดแคลนนำ้า เพื่ออุปโภคบริโภค และเกษตรกรรม อันเนื่องมา
จากภาวะแห้งแล้งซึ่งมีสาเหตุมาจาก ความผันแปร และคลาด
เคลื่อนของฤดูกาลตามธรรมชาติ กล่าวคือ ฤดูฝนเริ่มต้นล่าเกิน
ไป หรือหมดเร็วกว่าปกติหรือฝนทิ้งช่วงยาวในช่วงฤดูฝน จาก
พระราชกรณียกิจ ในการเสด็จพระราชดำา เนินเยี่ยมพสกนิกร
ในทุ ก ภู มิ ภ าคอย่ า งต่ อ เนื่ อ งสมำ่า เสมอ นั บ แต่ เ สด็ จ ขึ้ น เถลิ ง
ถวัลย์ราชสมบัติ จนตราบเท่าทุกวันนี้ ทรงพบเห็นว่าภาวะแห้ง
แล้ง ได้ทวีความถี่ และมีแนวโน้มว่าจะรุนแรงยิ่งขึ้นตามลำาดับ
เพราะนอกจากความผันแปร และคลาดเคลื่อนของฤดูกาลตาม
ธรรมชาติ แ ล้ ว การตั ด ไม้ ทำา ลายป่ า ยั ง เป็ น สาเหตุ ใ ห้ ส ภาพ
แวดล้อมทางธรรมชาติเปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว ซึ่งสร้าง
ความเดือดร้อนให้แก่ราษฎรในทุกภาคของประเทศ ทำา ความ
เสีย หายแก่เ ศรษฐกิจ โดยรวมของชาติ เ ป็ น มู ล ค่ า มหาศาลใน
แต่ละปี
2


          ตามที่ ท รงเล่ า ไว้ ใ น RAINMAKING STORY จาก
พ.ศ. 2498 เป็นต้นมา ทรงศึกษาค้นคว้า และวิจัยทางเอกสาร
ทั้งด้านวิชาการอุตุนิยมวิทยา และมีการดัดแปรสภาพอากาศ
ซึ่ ง ทรงรอบรู้ และเชี่ ย วชาญ เป็ น ที่ ย อมรั บ ทั้ ง ใน และต่ า ง
ประเทศ จนทรงมั่ น พระทั ย จึ ง พระราชทานแนวคิ ด นี้ แ ก่
ม.ร.ว.เทพฤทธิ์ เทวกุ ล ผู้ เ ชี่ ย วชาญในการวิ จั ย ประดิ ษ ฐ์ ท าง
ด้านเกษตรวิศวกรรมของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ขณะนั้น
ในปี ถั ด มา ทรงพระกรุ ณ าโปรดเกล้ า โปรดกระหม่ อ ม ให้ ห า
ลู่ทางที่จะทำาให้เกิดการทดลองปฏิบัติการในท้องฟ้าให้เป็นไป
ได้
       จนกระทั่ ง ถึ ง ปี พ.ศ. 2512 กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
ได้จัดตั้งหน่วยบิน ปราบศัตรูพืชกรมการข้าว และพร้อมที่จะ
ให้การสนับสนุน ในการสนองพระราชประสงค์ ม.ร.ว.เทพฤทธิ์
เทวกุล จึงได้นำาความขึ้นกราบบังคมทูลพระกรุณาทรงทราบว่า
พร้ อ มที่ จ ะดำา เนิ น การ ตามพระราชประสงค์ แ ล้ ว ดั ง นั้ น ในปี
เดียวกันนั้นเอง ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ทำา การทดลอง
ปฏิบัติการจริงในท้องฟ้าเป็นครั้งแรก เมื่อวันที่ 1-2 กรกฎาคม
2512 โดยกระทรวงเกษตรและสหกรณ์แต่งตั้งให้ ม.ร.ว.เทพ
ฤทธิ์ เทวกุล เป็นผู้อำานวยการโครงการ และหัวหน้าคณะปฏิบัติ
การทดลอง เป็นคนแรก และเลือกพื้นที่วนอุทยานเขาใหญ่เป็น
พื้นที่ทดลองเป็ นแห่ง แรก โดยทดลองหยอดก้อ นนำ้า แข็ง แห้ง
(dry ice หรือ solid carbondioxide) ขนาดไม่เกิน 1 ลูกบาศก์
นิ้ ว เ ข้ า ไ ป ใ น ย อ ด เ ม ฆ สู ง ไ ม่ เ กิ น 10,000 ฟุ ต ที่ ล อ ย
กระจัดกระจายอยู่เหนือพื้นที่ทดลองในขณะนั้น ทำาให้กลุ่มเมฆ
ทดลองเหล่ า นั้ น มี ก ารเปลี่ ย นแปลงทางฟิ สิ ก ส์ ข องเมฆอย่ า ง
เห็นได้ชัดเจน เกิดการกลั่นรวมตัวกันหนาแน่น และก่อยอดสูง
ขึ้ น เป็ น เมฆฝนขนาดใหญ่ ในเวลาอั น รวดเร็ ว แล้ ว เคลื่ อ นตั ว
ตามทิ ศ ทางลม พ้ น ไปจากสายตา ไม่ ส ามารถสั ง เกตได้
เนื่องจากยอดเขาบัง แต่จากการติดตามผลโดยการสำารวจทาง
ภาคพื้น ดิน และได้รับรายงานยืนยันด้ว ยวาจาจากราษฎรว่ า
เกิดฝนตกลงสู่พื้นที่ทดลองวนอุทยานเขาใหญ่ในที่สุด นับเป็น
นิมิตหมายบ่งชี้ให้เห็นว่า การบังคับเมฆให้เกิดฝนเป็นสิ่งที่เป็น
ไปได้
3


เทคโนโลยีฝ นหลวง




        เทคโนโลยีฝนหลวงเป็นเทคนิค หรือ วิชาการที่เกี่ยวกับ
การดัดแปลงสภาพอากาศ โดยเน้นการทำาฝน เพื่อเพิ่มปริมาณ
ฝนตก (Rain enhancement) และ/หรือ เพื่อให้ฝนตกกระจา
ยอย่ า งสมำ่า เสมอ (Rain redistribution) สำา หรั บ ป้ อ งกั น หรื อ
บรรเทาภาวะแห้งแล้งที่เกิดจากฝนแล้ง หรือฝนทิ้งช่วงนั้น เป็น
วิชาการที่ใหม่สำาหรับประเทศไทยและของโลก ข้อมูลหลักฐาน
(evidence) ที่ใช้พิสูจน์ยืนยัน เพื่อให้เกิดการยอมรับในระดับ
นักวิชาการและผู้บริหารระดับสูง ถึงผลปฏิบัติการฝนหลวงทั้ง
ทางด้ า นกายภาพ (Physic) และด้ า นสถิ ติ (Statistic) มี น้ อ ย
มาก ดังนั้น ในระยะแรกเริ่มของการทดลองและวิจัย กรรมวิธี
การปฏิ บัติ การฝนหลวง พระบาทสมเด็จ พระเจ้ า อยู่ หั ว จึ งได้
ทรงติดตามผลการวางแผนการทดลองปฏิบัติการ การสังเกต
จากรายงานแทบทุ ก ครั้ ง โดยใกล้ ชิ ด ทรงหาความรู้ แ ละ
ป ร ะ ส บ ก า ร ณ์ จ า ก นั ก วิ ช า ก า ร ที่ ท ร ง คุ ณ วุ ฒิ ท า ง ด้ า น
อุตุนิยมวิทยา โดยได้รับสั่งให้เชิญ พล.ร.ท.สนิท เวสารัชนันท์
ร.น. อดีตอธิบดีก รมอุตุ นิยมวิท ยา พล.ร.ต.พิณ พันธุ ทวี ร.น.
พร้อมด้วยนักวิชาการอื่นๆ มาเป็นคณะทำา งานถวายความคิด
เห็น วิเคราะห์ผลปฏิบัติการที่ทางคณะปฏิบัติการฝนหลวงได้
ทดลองสั ง เกตผลการเปลี่ ย นแปลงแล้ ว ทำา รายงานเสนอเป็ น
ประจำา
กรรมวิธ ีก ารทำา ฝนหลวง (ฝนเทีย ม )
กรรมวิ ธี ก ารทำา ฝนหลวงในประเทศไทยที่ ใ ช้ เ ป็ น หลั ก ใน
ปัจจุบัน สรุปได้ ดังนี้
4


ขั้น ตอนที่ห นึ่ง : ก่อ เมฆ
           เป็นการดัดแปรสภาพอากาศเพื่อเร่งหรือเสริมการเกิด
เมฆ โดยการโปรยสารเคมี ผงละเอี ยดของเกลื อโซเดีย มคลอ
ไรด์ (NaCl) ที่ระดับความสูง 7,000 ฟุต ในท้องฟ้าโปร่งใสที่มี
ความชื้ น สั ม พั ท ธ์ ไ ม่ น้ อ ยกว่ า 60 เปอร์ เ ซ็ น ต์ ผงของเกลื อ
โซเดียมคลอไรด์ ซึ่งมีคุณสมบัติในการดูดความชื้นได้ดี จะทำา
หน้ า ที่ เ สริ ม ประสิ ท ธิ ภ าพของแกนกลั่ น ตั ว ในบรรยากาศ
(Cloud Condensation Nuclei) เ รี ย ก ย่ อ ว่ า CCN ทำา ใ ห้
กระบวนการดูดซับความชื้นในอากาศให้กลายเป็นเม็ดนำ้าเกิด
เร็วขึ้นกว่าธรรมชาติ และเกิดกลุ่มเมฆจำานวนมาก ซึ่งเมฆเหล่า
นี้จะพัฒนาเป็นเมฆก้อนใหญ่ในเวลาต่อมา
ขั้น ตอนที่ส อง : เลี้ย งให้อ ้ว น
                เป็นการดัดแปรสภาพอากาศ เพื่อเร่งหรือเสริมการ
เพิ่มขนาดของเมฆและขนาดของเม็ดนำ้า ในก้อนเมฆ จะปฏิบัติ
การเมื่ อ เมฆที่ ก่ อ ตั ว จากขั้ น ตอนที่ 1 หรื อ เมฆเดิ ม ที่ มี อ ยู่ ต าม
ธรรมชาติ ก่อยอดสูงถึงระดับ 10,000 ฟุต โดยการโปรยสาร
เคมีผงแคลเซียมคลอไรด์ (CaCl2) เข้าไปในกลุ่มเมฆที่ระดับ
8,000 ฟุต ผงแคลเซี่ยมคลอไรด์ซึ่งมีคุณสมบัติดูดความชื้นได้
ดี จะดูดซับความชื้นและเม็ดนำ้าขนาดเล็กในก้อนเมฆให้กลาย
เป็ น เม็ ด นำ้า ขนาดใหญ่ ในขณะเดี ย วกั น จะเกิ ด ปฏิ กิ ริ ย าคาย
ความร้อน ซึ่งเป็นคุณสมบัติเฉพาะของสารแคลเซี่ยมคลอไรด์
เมื่อละลายนำ้า ความร้อนที่เกิดขึ้นจะเพิ่มอัตราเร็วของกระแส
อากาศไหลขึ้น (Updraft) ในก้อนเมฆ ทั้งขนาดเม็ดนำ้าที่โตขึ้น
และความเร็วของกระแสอากาศไหลขึ้นที่เพิ่มขึ้น จะเป็นปัจจัย
เ ร่ ง ก ร ะ บ ว น ก า ร ช น กั น แ ล ะ ร ว ม ตั ว กั น (Collision and
coalescence process) ของเม็ดนำ้า ทำา ให้เม็ดนำ้า ขนาดใหญ่
จำา นวนมากเกิ ด ขึ้ น ในก้ อ นเมฆ และยอดเมฆพั ฒ นาตั ว สู ง ขึ้ น
ในขั้ น นี้ เมฆจะมี ข นาดใหญ่ ขึ้ น และก่ อ ยอดสู ง ขึ้ น ไปได้ ม าก
น้อยแค่ไหน ขึ้นอยู่กับการทรงตัวของบรรยากาศในแต่ละวัน
ซึ่งแบ่งออกได้เป็น 2 ลักษณะ คือ ในบางวันเมฆจะไม่สามารถ
ก่อยอดสูงเกินระดับอุณหภูมิจุดเยือกแข็ง ( 0 องศาเซลเซียส)
หรือประมาณ 18,000 ฟุต เรียกว่า เมฆอุ่น (Warm Cloud) ใน
5


บางวั น เมฆจะสามารถก่ อ ยอดขึ้ น ไปสู ง กว่ า ระดั บ อุ ณ หภู มิ
จุ ด เยื อ กแข็ ง เช่ น ถึ ง ระดั บ 20,000 ฟุ ต เรี ย กว่ า เมฆเย็ น
(Cold Cloud) ซึ่งภายในยอดเมฆจะประกอบด้ ว ยเม็ ด นำ้า เย็ น
จั ด (Super cooled droplet) ที่ มี อุ ณ ห ภู มิ ตำ่า ถึ ง - 8 อ ง ศ า
เซลเซียส
  ขั้น ตอนที่ส าม : โจมตี
       เป็นการดัดแปรสภาพอากาศ เพื่อเร่งให้เมฆเกิดเป็นฝน
ซึ่งสามารถกระทำา ได้ 3 วิธี ขึ้นอยู่กับคุ ณสมบั ติข องเมฆ และ
ชนิดของเครื่องบินที่มีอยู่ ดังนี้
  •   วิธ ีท ี่ 1 "โ จ ม ตีเ ม ฆ อุ่น แ บ บ แ ซ น ด์ว ิช "              ถ้าเป็นเมฆ
      อุ่น เมื่อเมฆแก่ตัว ยอดเมฆจะอยู่ที่ระดับ 10,000 ฟุต หรือ
      สู ง กว่ า เล็ ก น้ อ ย และเคลื่ อ นตั ว เข้ า สู่ พื้ น ที่ เ ป้ า หมาย จะ
      ทำาการโจมตีโดยวิธี Sandwich คือ ใช้เครื่องบิน 2 เครื่อง
      เครื่องหนึ่งโปรยผงโซเดียมคลอไรด์ (NaCl) ทับยอดเมฆ
      หรือไหล่เมฆที่ระดับ 9,000 ฟุต หรือ ไม่เกิน 10,000 ฟุต
      อีกเครื่องหนึ่งโปรยผงยูเรีย (Urea) ที่ฐานเมฆ ทำามุมเยื้อง
      กัน 45 องศา เมฆจะเริ่มตกเป็นฝนลงสู่พื้นดิน
  •   วิธ ีท ี่ 2 "โ จ ม ตีเ ม ฆ เ ย็น แ บ บ ธ ร ร ม ด า "              ถ้าเป็น เมฆ
      เย็นและมีเครื่องบินเมฆเย็นเพียงเครื่องเดียว เมื่อเมฆเย็น
      พัฒนายอดสูงขึ้นเลยระดับ 20,000 ฟุต ไปแล้ว จะทำาการ
      โจมตีโดยการยิงพลุสารเคมี ซิลเวอร์ไอโอไดด์ (AgI) เข้า
      สู่ ย อดเมฆ ที่ ร ะดั บ ความสู ง ประมาณ 21,500 ฟุ ต ซึ่ ง มี
      อุ ณ หภู มิ ร ะหว่ า ง -8 ถึ ง 12 องศาเซลเซี ย ส มี ก ระแส
      อากาศไหลขึ้นสูงกว่า 1,000 ฟุตต่อนาที และมีปริมาณนำ้า
      เย็นจัดไม่ตำากว่า 1 กรัมต่อลูกบาศก์เมตร ซึ่งเป็นเงื่อนไข
      เหมาะสม อนุภาคของสาร AgI จะทำาหน้าที่เป็นแกนเยือก
      แข็ง (Ice Nuclei) และเมื่อสัมผัสกับเม็ดนำ้าเย็นจัดในบอด
      เมฆ จะทำา ให้ เ ม็ ด นำ้า เหล่ า นั้ น กลายเป็ น นำ้า แข็ ง และคาย
      ความร้ อ นแฝงออกมา ซึ่ ง ความร้ อ นดั ง กล่ า วจะเป็ น
      พลังงานผลักดันให้ยอดเมฆเจริญสูงขึ้นไปอีก และมีการ
      ชัก นำา อากาศชื้ น เข้ า สู่ ฐ านเมฆเพิ่ ม ขึ้ น ในขณะเดี ย วกั น
      เม็ดนำ้าที่กลายเป็นนำ้าแข็ง จะมีความดันไอที่ผิวตำ่ากว่าเม็ด
6


       นำ้า เย็ น จั ด ทำา ให้ ไ อนำ้า ระเหยจากเม็ ด นำ้า ไปเกาะที่ เ ม็ ด
       นำ้า แข็ง และเม็ดนำ้า แข็งจะเจริญเติบโตได้เร็วเป็นก้อนนำ้า
       แข็งที่มีนำ้า หนักเพิ่มขึ้น และจะล่วงหล่นลงสู่เบื้องล่าง ซึ่ง
       จะละลายเป็นเม็ดนำ้าฝน เมื่อผ่านชั้นอุณหภูมิเยือกแข็งลง
       มาที่ฐานเมฆ และเกิดเป็นฝนตกลงสู่พื้นดิน
   •   วิ ธ ี ท ี่ 3 "โ จ ม ตี เ ม ฆ เ ย็ น แ บ บ ซู เ ป อ ร์ แ ซ น ด์ วิ ช "
       หากเป็นเมฆเย็น และมีเครื่องบินครบทั้งชนิดเมฆอุ่นและ
       เมฆเย็น เมื่อเมฆเย็นพัฒนายอดสูงขึ้นเลยระดับ 20,000
       ฟุต ไปแล้ว จะทำาการโจมตีโดยการผสมผสานวิธีที่ 1 และ
       2 ในเวลาเดี ย วกั น กล่ า วคื อ เครื่ อ งบิ น เมฆเย็ น จะยิ ง พลุ
       สารเคมี ซิลเวอร์ไ อโอไดด์ (Agl) เข้าสู่ ยอดเมฆ ที่ร ะดั บ
       ความสู ง ประมาณ 21,500 ฟุ ต ส่ ว นเครื่ อ งบิ น เมฆอุ่ น 1
       เครื่อง จะโปรยสารเคมีโซเดียมคลอไรด์ที่ระดับไหล่เมฆ
       (ประมาณ 9,000 - 10,000 ฟุต) และเครื่องบินเมฆอุ่นอีก
       1 เครื่อง จะโปรยสารเคมีผงยูเรียที่ระดับชิดฐานเมฆ ทำา
       มุมเยื้อ งกั น 45 องศา วิ ธีก ารนี้ จ ะทำา ให้ป ระสิ ท ธิ ภ าพใน
       การเพิ่มปริมาณนำ้าฝนสูงยิ่งขึ้น และเทคนิคนี้โปรดเกล้าฯ
       ให้เรียกชื่อว่า SUPER SANDWICH
   ขั้น ตอนที่ส ี่ : เพิ่ม ฝน
             การโจมตีเมฆในขั้น ตอนที่ 3 ทั้งสามวิ ธี อาจจะทำา ให้
ฝนใกล้จะตกหรือเริ่มตกแล้ว ขั้นตอนที่ 4 นี้ จะเร่งการตกของ
ฝนและเพิ่ ม ปริ ม าณนำ้า โดยการโปรยเกล็ ด นำ้า แข้ ง แห้ ง (Dry
ice) ที่ระดับใต้ฐานเมฆประมาณ 1,000 ฟุต เกล็ดนำ้า แข็งแห้ง
ซึ่ ง มี อุ ณ หภู มิ ตำ่า ถึ ง -78 องศาเซลเซี ย ส จะปรั บ อุ ณ หภู มิ ข อง
บรรยากาศระหว่างฐานเมฆกับพื้นดินให้เย็นลง ทำาให้ฐานเมฆ
ยิ่งลดระดับตำ่าลง ฝนจะตกในทันที หรือที่ตกอยู่แล้ว จะมีอัตรา
การตกของฝนสูงขึ้น ลดอัตราการระเหยของเม็ดฝนขณะล่วง
หล่นลงสู่พื้นดิน และทำาให้ฝนตกต่อเนื่องเป็นเวลานานขึ้นและ
หนาแน่นยิ่งขึ้น
สารเคมีท ี่ใ ช้ใ นการทำา ฝนหลวง
7


            สารเคมีที่นำาไปใช้ในการทำาฝนหลวงได้มีการวิเคราะห์
วิ จั ย อย่ า งถี่ ถ้ ว นถึ ง ผลกระทบว่ า เป็ น อั น ตรายต่ อ สิ่ ง มี ชี วิ ต ทั้ ง
มนุษย์ พืชและสัตว์ ตลอดจนก่อให้เกิดมลภาวะต่อสิ่งแวดล้อม
หรื อ ไม่ สารเคมี ทุ ก ชนิ ด ที่ ใ ช้ ใ นปั จ จุ บั น เป็ น สารเคมี ที่ มี
คุณสมบัติดูดซับความชื้นได้ดี และเมื่อดูดซับความชื้นจะทำาให้
อุ ณ หภู มิ สู ง ขึ้ น หรื อ ตำ่า ลงแตกต่ า งกั น เพื่ อ ให้ เ ลื อ กชนิ ด และ
ปริมาณใช้ได้ตามความเหมาะสมกับสภาพอากาศและขั้นตอน
กรรมวิธีในขณะนั้ น ในรูปอนุภาคแบบผงและสารละลาย ทำา
ห น้ า ที่ เ ป็ น แ ก น ก ลั่ น ตั ว ข อ ง เ ม ฆ (Clound condensation
nuclei) ซึ่งมีลักษณะเป็นแกนแข็งและสารละลายเข้มข้น หรือ
ใช้ ส ารเคมี ที่ มี อุ ณ หภู มิ ตำ่า กว่ า จุ ด เยื อ กแข็ ง ชั ก นำา ให้ ห ยดนำ้า
หรือสารละลายเข้มข้นกลายเป็นหยดนำ้า แข็ง (Ice nuclei) ดัง
นั้นสารเคมีที่ใช้จึงแบ่งออกเป็น 3 ประเภทคือ
      1. ส า ร เ ค มี ป ร ะ เ ภ ท ค า ย ค ว า ม ร้ อ น ห รื อ ทำา ใ ห้
         อุณ หภูม ิส ูง ขึ้น
          (Exothermic chemical)
      สารเคมี ช นิ ด นี้ เ มื่ อ ดู ด ซั บ ความชื้ น แล้ ว จะเกิ ด ปฏิ กิ ริ ย า
   ทำา ให้ อุ ณ หภู มิ สู ง ขึ้ น จะใช้ ส ารเคมี ป ระเภทนี้ เ พื่ อ ดั ด แปร
   สภาพอากาศให้ เ กิ ด ความเปลี่ ย นแปลงพลั ง ความร้ อ นที่
   ทำาให้มวลอากาศเคลื่อนที่ (Thermodynamic) ด้วยการเพิ่ม
   ความร้อนอย่างฉับพลันที่เกิดจากปฏิกิริยา (Sensible heat)
   และความร้ อ นแฝงที่ เ กิ ด จากการกลั่ น ตั ว ของไอนำ้า รอบ
   อนุภาคสารเคมีที่เป็นแกนกลั่นตัวด้วย เมื่อเสริมกับความร้อน
   จากแสงอาทิ ตย์ จะทำา ให้ มวลอากาศในบริ เวณที่ โ ปรยสาร
   เคมี นี้ มี อุ ณ หภู มิ สู ง และเกิ ด การลอยตั ว ขึ้ น (Updraft) ได้ ดี
   กว่ า บริ เ วณที่ ไ ม่ ไ ด้ โ ปรยสารเคมี อุ ณ หภู มิ อ ากาศที่ สู ง ขึ้ น
   เพียง 0.1 องศาเซลเซียส จะมีผลที่ทำาให้เกิดการลอยตัวของ
   อากาศได้ ปัจจุบันนี้มีใช้ในการทำา ฝนเทียมในประเทศไทย
   3 ชนิด คือ แคลเซียมคาร์ไบด์ (Calcium carbide ; CaC2)
   , แคลเซี ย มคลอไรด์ (Calcium Chloride ; CaCl2) และ
   แคลเซียมออกไซด์ (Calcium oxide ; CaO)
8


   2.   ส า ร เ ค มี ป ร ะ เ ภ ท ดู ด ก ลื น ค ว า ม ร้ อ น ห รื อ ทำา ใ ห้
        อุณ หภูม ิต ำ่า ลง (Endothermic chemicals)
    สารเคมีประเภทนี้เมื่อดูดซับความชื้นแล้วจะเกิดปฏิกิริยา
ทำา ให้ อุ ณ หภู มิ ตำ่า ลง จะใช้ ส ารเคมี ป ระเภทนี้ เ พื่ อ ให้ เ กิ ด
ประสิ ท ธิ ภ าพในการดู ด ซั บ ความชื้ น แล้ ว กลายเป็ น แกน
สารละลายเข้ ม ข้ น ที่ มี อุ ณ หภู มิ ตำ่า กว่ า อุ ณ หภู มิ ก ลั่ น ตั ว ซึ่ ง
ทำาให้ประสิทธิภาพในการกลั่นตัวสูงขึ้น และทำาให้การเจริญ
ของเม็ดนำ้า ในก้ อนเมฆมี ข นาดใหญ่ เ ร็ ว ขึ้ น และความร้ อ น
แฝงที่ปล่อยออกมาจากการกลั่นตัวจะทำา ให้เกิดการลอยตัว
ขึ้นของมวลอากาศและทำา ให้เกิดกระบวนการกลั่นตัวอย่าง
ต่อเนื่อง นอกจากนี้กระบวนการชนและรวมตัวกันของเม็ด
นำ้าให้เจริญใหญ่ขึ้นจะเสริมกระบวนการกลั่นตัวในขั้นเลี้ยง
ให้อ้วน(Fatten) และเกิดกระบวนการแตกตัวของเม็ดนำ้า ที่
เจริ ญ ขึ้ น จนมี ข นาดใหญ่ จ นกระทั่ ง ความตึ ง ผิ ว (Surface
tension) ไม่สามารถคงอยู่ได้ หรือตกลงปะทะกับกระแสลม
ที่ลอยตัวขึ้น เม็ดนำ้าที่มีขนาดใหญ่นั้น จะแตกตัวเองเป็นเม็ด
นำ้าขนาดเล็ก ๆ เพิ่มปริมาณแกนกลั่นตัวสารละลายเข้มข้นที่
เจือจางลอยตัวกลั บขึ้นไปเจริ ญใหม่ และเจริญขึ้นเป็น เม็ ด
นำ้า ขนาดใหญ่ จ นกลายเป็ น ฝนตกลงมาหรื อ เกิ ด การแตก
ตัวอย่างต่อเนื่องเป็นปฏิกิริยาลูกโซ่ กลไกหรือกระบวนการ
ดังกล่าวเป็ นการขยายขนาดเมฆและเพิ่มปริมาณให้สูงขึ้น
(Rain enhancement ) ปั จจุ บัน ในการปฏิบั ติก ารมี การใช้
สารเคมีประเภทนี้อยู่ 3 ชนิด คือ ยูเรีย ( Urea ; CO(NH2)2
) , แอมโมเนี ย มไนเทรต                      ( Ammoniumnitrate ;
NH4NO3 ) และ นำ้าแข็งแห้ง ( Dry ice ; CO2(s) )
   3.   สารเคมีท ี่ท ำา หน้า ที่ด ูด ซับ ความชื้น ประการเดีย ว
    ส า ร เ ค มี ป ร ะ เ ภ ท นี้ เ มื่ อ เ กิ ด ป ฏิ กิ ริ ย า แ ล้ ว เ กิ ด ก า ร
เปลี่ยนแปลงทางอุณหภูมิน้อยมาก จึงทำาหน้าที่เป็นแกนกลั่น
ตั ว และกลายเป็ นแกนกลั่ นตั ว แบบสารละลายเข้ ม ข้ น เป็น
สารที่ ใ ช้ ใ นทุ ก ขั้ น ตอนของกรรมวิ ธี ก่ อ กวน เลี้ ย งให้ อ้ ว น
และโจมตี จากการกลั่นตัวจะคายความร้อนแฝง ทำา ให้เกิด
การลอยตั ว ขึ้ น ของมวลอากาศก่ อ ให้ เ กิ ด ขบวนการกลั่ น
9


ตัวอย่างต่อเนื่องเช่นเดียวกัน  ตัวอย่างสารเคมีประเภทนี้
เช่น เกลือ ( Sodium chloride ; NaCl )
ประโยชน์ข องการทำา ฝนหลวง
เพื่อ การเกษตร
          ช่ วยแก้ ไขปั ญ หาขาดแคลนนำ้า ในช่ ว งที่ เ กิ ด ภาวะฝน
แล้ ง หรือฝนทิ้ง ช่วงยาวนาน ซึ่งมีผ ลกระทบต่ อแหล่ งผลิ ต
ทางการเกษตรที่กำา ลังให้ผลผลิต เช่น แถบจังหวัดจันทบุรี
หรือเพชรบุรี และประจวบคีรีขันธ์ ช่วยเพิ่มปริมาณนำ้าให้กับ
บริ เ วณพื้ น ที่ ลุ่ ม รั บ นำ้า ของแม่ นำ้า สายต่ า ง ๆที่ ป ริ ม าณนำ้า
ต้นทุนลดน้อยลง เช่น แม่นำ้าปิง วัง ยม น่าน โดยเฉพาะในปี
ที่ เ กิ ด วิ ก ฤตขาดแคลนนำ้า ที่ เ ขื่ อ นสิ ริ กิ ติ์ จั ง หวั ด อุ ต รดิ ต ถ์
สามารถเก็ บ นำ้า จากการทำา ฝนเที ย มได้ ถึ ง 4,204.18 ล้ า น
ลูกบาศก์เมตร ในขณะที่ก่อนทำาฝนเทียมนั้นมีนำ้าเหลือเพียง
3,497.79 ล้านลูกบาศก์เท่านั้น
เพื่อ การอุป โภคบริโ ภค
       ภาวะความต้ อ งการนำ้า ทั้ ง จากนำ้า ฝน และอ่ า งเก็ บ นำ้า
ห้ว ย หนอง คลอง บึ ง เป็น ความต้อ งการที่ สำา คัญ ของผู้ ค น
อย่ า งยิ่ ง การขาดแคลนนำ้า กิ น นำ้า ใช้ มี ค วามรุ น แรงมากใน
ภาคตะวั น ออกเฉี ย งเหนื อ เนื่ อ งจากคุ ณ สมบั ติ ข องดิ น ใน
ภูมิภ าคนี้เ ป็ นดิ นร่ วนปนทรายไม่ สามารถอุ้ม นำ้า ได้ จึ งได้มี
การทำา ฝนเทียมขึ้นเพื่อช่วยให้ประชาชนในภู มิภ าคนี่ไ ด้มี
นำ้าเพื่อการอุปโภคบริโภคในช่วงที่เกิดการขาดแคลน




เสริม สร้า งเส้น ทางคมนาคมทางนำ้า
10


      การขาดปริมาณนำ้าส่งผลมาถึงระดับนำ้าในแม่นำ้า ลดตำ่า
ลง บางแห่ ง ตื้ น เขิ น จนไม่ ส ามารถสั ญ จรไปมาทางเรื อ ได้
เช่น ทางนำ้า ในแม่นำ้า เจ้าพระยาบางตอน ในปัจจุบันการทำา
ฝนเที ย มเพื่ อ เพิ่ ม ปริ ม าณนำ้า ให้ กั บ บริ เ วณดั ง กล่ า วจึ ง เป็ น
เรื่องสำาคัญยิ่ง เพราะการขนส่งทางนำ้าสิ้นค่าใช้จ่ายน้อยกว่า
ทางอื่ น และการทางจราจรทางบกนั บ วั น แต่ จ ะมี ปั ญ หา
รุนแรงมากขึ้นทุกขณะ
ป้อ งกัน และบำา บัด ภาวะมลพิษ ของสิ่ง แวดล้อ ม
       หากนำ้า ในแม่นำ้า เจ้า พระยาลดน้อ ยลงมากนำ้า เค็ม จาก
ทะเลอ่าวไทยก็จะไหลหนุนเนื่องเข้าไปแทนที่ทำา ให้เกิดนำ้า
กร่อยขึ้น และเกิดความเสียหายแก่เกษตรกรเป็นจำานวนมาก
จึงจำา เป็นที่จะต้องปล่อยนำ้า จากเขื่อนภูมิพลเพื่อ ผลักดัน นำ้า
เค็มมิให้หนุนเข้ามาทำาความเสียหาย และช่วยบรรเทาภาวะ
สิ่ ง แวดล้ อ มที่ เ ป็ น พิ ษ อั น เกิ ด จากการระบายนำ้า เสี ย ทิ้ ง ลงสู่
แม่ นำ้า เจ้ าพระยา และขยะมูล ฝอยที่ ผู้ค นทิ้ง ลงในแม่ นำ้า กั น
อย่ า งมากมายนั้ น ปริ ม าณนำ้า จากการทำา ฝนเที ย มจะช่ ว ย
ผลักดันออกสู่ท้องทะเล ทำาให้มลภาวะจากนำ้าเสียเจือจางลง


คำา ถามชวนคิด
   1. การทดลองทำา ฝนหลวงเป็น ครั้ง แรกเกิด ขึ้น ที่ใ ด
      และมีว ิธ ีก ารอย่า งไร
   2. NaCl ทำา หน้า ที่อ ะไรในขั้น ตอนก่อ เมฆ
   3. Updraft ใ น ขั้ น ต อ น เ ลี้ ย ง ใ ห้ อ้ ว น เ กิ ด ขึ้ น ไ ด้
      อย่า งไร และส่ง ผลต่อ การเร่ง กระบวนการใด
   4. เมฆอุ่น และ เมฆเย็น คือ อะไร
   5. AgI ทำา หน้า ที่อ ะไรบ้า งในกรรมวิธ ีท ำา ฝนหลวง
   6. SUPER SANDWISH คือ อะไร
   7. การเพิ่ม ฝน ทำา ได้อ ย่า งไร
   8. ย ก ตั ว อ ย่ า ง ส า ร เ ค มี ท ี่ ใ ช้ ท ำา ฝ น ห ล ว ง ป ร ะ เ ภ ท
      Endothermic chemical
11


   9. เกลือ ช่ว ยในการทำา ฝนหลวงได้อ ย่า งไร
   10.     ฝ น ห ล ว ง ช่ ว ย บำา บั ด ภ า ว ะ ม ล พิ ษ ใ น สิ่ ง
      แวดล้อ มได้อ ย่า งไร


 โครงการพระราชดำา ริ “หญ้า แฝก : พืช ที่ม ีผ ลต่อ สิ่ง
              แวดล้อ มโลก”




       ใ น อ ดี ต ปั ญ ห า ก า ร ช ะ ล้ า ง พั ง ท ล า ย ข อ ง ดิ น ใ น
ประเทศไทยเรานั้น เป็นปัญหาที่รุนแรงมากเนื่องจากพื้นที่
ประมาณหนึ่ ง ในสามของประเทศหรื อ ประมาณ 100 ล้ า น
ไร่!!! มีปัญหาการชะล้างพังทลายสูง โดยสาเหตุสำา คัญที่ก่อ
ให้เกิดการชะล้างพังทลายของดิน เนื่องมาจากนำ้าฝนที่ไหล
บ่าจะกัดเซาะและพัดพาหน้าดินซึ่งมีธาตุอาหารพืชและปุ๋ย
สูญเสียไปทำาให้การเพาะปลูกได้รับผลผลิตตำ่า และถ้าปล่อย
ทิ้ งไว้ โดยมิได้ ทำา การป้ อ งกั น แก้ ไ ข หน้า ดิน ก็จ ะถู ก ชะล้ า ง
พัดพาไปจนหมด จนไม่สามารถทำา การเกษตรได้อีกต่อไป
นอกจากนี้ ยังมีสาเหตุจากการใช้พื้นดินเป็นเวลานานโดย
ขาดการดู แ ลรั ก ษา การบุ ก รุ ก ทำา ลายป่ า การเพาะปลู ก ที่
ปราศจากการป้องกันการชะล้างพังทลายของดิน ตลอดจน
การเพิ่มของประชากรและการขยายตัวของภาคธุรกิจ ทำาให้
เกิด การขยายการเกษตรไปสู่พื้ น ที่ สู ง ด้วยสาเหตุดั งกล่า ว
จึงเกิดปัญหาการชะล้างพังทลายและความเสื่อมโทรมของ
ดิน ซึ่งทวีความรุนแรงมากขึ้นจนอยู่ในขั้นวิกฤติ และด้วย
พระมหากรุณาธิคุณของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวที่ได้
ทรงตระหนั ก ถึ ง ความสำา คั ญ และจำา เป็ น ในการที่ จ ะต้ อ งมี
มาตรการในการแก้ ไ ขปั ญ หาดั ง กล่ า ว ในปี พุ ท ธศั ก ราช
12


2534 จึงทรงมีพระราชดำาริว่า “เนื่องจากหญ้าแฝกเป็นพืชที่
มีระบบรากลึกแผ่กระจายลงไปในดินตรง ๆ เป็นแผงเหมือน
กำา แพง ซึ่ งช่ วยกรองตะกอนดิ น และรั ก ษาหน้ า ดิ น ได้ ดี จึ ง
ควรนำา มาใช้ ใ นการอนุ รั ก ษ์ ดิ น และนำ้า รวมทั้ ง ปรั บ สภาพ
แวดล้ อ มดิ น ให้ ดี ขึ้ น ” โดยให้ ศึ ก ษาดำา เนิ น การทั้ ง ในพื้ น ที่
เพาะปลู ก และในพื้ น ที่ ป่ า ไม้ โดยพระองค์ ไ ด้ ท รงทอด
พระเนตรการทดลองเกี่ยวกับหญ้าแฝกอยู่เป็นระยะ ๆ และ
ได้ พ ระราชทานทรั พ ย์ ส่ ว นพระองค์ จำา นวน 10,000 ล้ า น
เหรียญสหรัฐให้กับธนาคารโลกผ่านทางเครือข่ายข่าวสาร
หญ้าแฝก เพื่อสนับสนุนการวิจัยเกี่ยวกับหญ้าแฝกอีกด้วย
         คุ ณสมบั ติ เ ด่ น ของหญ้ า แฝกคื อ เป็น หญ้ า ที่ มี ค วาม
ทนทาน ปลูกง่าย ขึ้นได้ดีในดินหลาย ๆ ประเภท ทั้งในดินดี
และดินเลว แม้กระทั่งในดินที่เป็นดินเปรี้ยว ดินเค็ม ดินด่าง
ดินทราย หรือดิ นปนลู กรั ง เป็นต้ น หญ้าแฝกจะขึ้น เป็ นกอ
โคนกออัดกันแน่น มีการเจริญเติบโตจากกอเล็กเป็นกอใหญ่
โ ด ย ก า ร แ ต ก ห น่ อ เ ส้ น ผ่ า ศู น ย์ ก ล า ง ก อ ป ร ะ ม า ณ 30
เซนติเมตร
        จากแนวพระราชดำาริและการส่งเสริมการศึกษาวิจัย
หญ้าแฝกของพระองค์ท่านนี้เอง ที่ช่วยแก้ปัญหาดินชะล้าง
พั ง ทลายและความเสื่ อ มโทรมของดิ น ลงได้ ส่ ง ผลให้ ชี วิ ต
ความเป็ น อยู่ ข องเกษตรกรดี ขึ้ น เป็ น ลำา ดั บ พระปรี ช า
สามารถในการนำาเอาความรู้ความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์
และเทคโนโลยี ม าใช้ ใ นการแก้ ไ ขปั ญ หาประเทศของ
พระองค์ท่านนั้นยังมีอีกมากมาย


คำา ถาม

   จ า ก เ รื่ อ ง ร า ว แ ล ะ จ า ก ก า ร ค้ น ค ว้ า จ ง วิ เ ค ร า ะ ห์
กระบวนการทางวิท ยาศาสตร์เ กี่ย วกับ เรื่อ งแฝก
13




  โ ค ร ง ก า ร พ ร ะ ร า ช ดำา ริ เ ขื่ อ น ป่ า สั ก
ชลสิท ธิ์




      "แม่น ำ้า ป่า สัก " เป็นแม่นำ้าสายสำาคัญที่สุดสายหนึ่งของ
ชาวจังหวัดลพบุรีและสระบุรี ประชาชนจะได้ประโยชน์จาก
แม่นำ้าป่าสักอย่างมหาศาล ไม่ว่าจะเป็นด้านเกษตรกรรมหรือ
การประมง แต่ในช่วงเดือนสิงหาคม - เดือนตุลาคมของทุกปี
14


จะเกิดนำ้า ท่วมฉับพลันในหลายพื้นที่ของจังหวัดลพบุรี เช่น
ตำาบลมะนาวหวาน ตำาบลหนองบัว อำาเภอพัฒนานิคม ตำาบล
ลำานารายณ์ อำาเภอชัยบาดาล และหมู่บ้านใกล้เคียงอีก รวม
ไ ป ถึ ง จั ง ห วั ด ส ร ะ บุ รี จั ง ห วั ด พ ร ะ น ค ร ศ รี อ ยุ ธ ย า
กรุ ง เทพมหานครและปริ ม ณฑล สำา หรั บ ในช่ ว งเดื อ น
มกราคม - เดือนพฤษภาคม พื้นที่ในลุ่มนำ้าป่าสักก็จะประสบ
ภาวะแห้งแล้ง ขาดแคลนนำ้า ใช้เพื่อการเกษตร และอุปโภค
บ            ริ          โ            ภ          ค

      ในปี 2508 กรมชลประทานได้เริ่มศึกษาโครงการเขื่อน
เก็บกักนำ้า แม่นำ้าป่าสัก แต่เนื่องจากค่าใช้จ่ายสูงจึงได้ระงับ
โครงการฯ พระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู่ หั ว ทรงมี พ ระราช
กรณี ย กิ จ มากมายหลายด้ า น แต่ ห ลายครั้ ง ที่ พ ระองค์ ท่ า น
เสด็จพระราชดำาเนินมาเยี่ยมราษฎรจังหวัดลพบุรีด้วยความ
ห่ ว งใย และได้ เ สด็ จ ไปทอดพระเนตรพื้ น ที่ ใ นเขตอำา เภอ
ชั ย บ า ด า ล จั ง ห วั ด ล พ บุ รี ที่ กำา ลั ง ป ร ะ ส บ ปั ญ ห า อ ยู่

      ด้วยสายพระเนตรอันยาวไกล และด้วยความห่วงใยใน
พสกนิกร ของประชาชน ด้วยพระอัจฉริยภาพที่ลำ้า ลึ กและ
เป็ นพระมหากษั ตริ ย์นั กพั ฒนาที่ ยิ่ง ใหญ่ ทรงแก้ ปัญ หาให้
"ค ว า ม โ ห ด ร้ า ย " ของแม่ นำ้า ป่ า สั ก กลั บ กลายเป็ น "ค ว า ม
สงบเสงี่ย ม " ที่น่านิยม พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงหา
ทางแก้ไขปัญหาความเดือดร้อนของประชาชน เมื่อวันที่ 19
กุ ม ภาพั น ธ์ พ.ศ.2532 พระองค์ ท่ า นได้ มี พ ระราชดำา ริ ใ ห้
กรมชลประทานดำา เนิ น การศึ ก ษาความเหมาะสมของ
โครงการเขื่อนกักเก็บ นำ้า แม่นำ้า ป่ าสักอย่างเร่งด่วน เพื่อแก้
ปัญหาความขาดแคลนนำ้า เป็นประโยชน์ต่อพื้นที่เพาะปลูก
แ ล ะ บ ร ร เ ท า อุ ท ก ภั ย ที่ เ กิ ด ขึ้ น

       วันที่ 1 กรกฎาคม 2535 กรมชลประทานได้ว่าจ้างกลุ่ม
บริ ษั ท ที่ ป รึ ก ษา ศึ ก ษา ความเหมาะสมและผลกระทบสิ่ ง
แวดล้อมของโครงการเขื่อนเก็บนำ้าป่าสัก รวมทั้งแผนปฏิบัติ
การแก้ไข พัฒนาสิ่งแวดล้อม โดยมีสำานักงานคณะกรรมการ
พิเศษ เพื่อประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำาริ
15


เป็นแกนกลางในการดำา เนินงานสนับสนุนด้านงบประมาณ
ต่อมาพระเจ้าอยู่หัวได้พระราชทาน พระราชดำา รัสเนื่องใน
วโรกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา
เมื่อวันที่ 4 ธันวาคม พ.ศ. 2536 ว่า

       ...ปัญหาเรื่องภัยแล้งนี้จะเป็นปัญหาที่แก้ไม่ได้ และหมู่
นี้ก็พูดกันอย่างขวัญเสียว่าอีกหน่อยต้องปันส่วนนำ้าหรือต้อง
ตัดนำ้าประปา อันนี้สำาหรับกรุงเทพฯ ดังนั้นต้องหาแนวทาง
แก้ไข ซึงปัญหานี้ต้องวางแผนมาเป็นเวลาหลายปีแล้ว ถ้า
           ่
หากว่าได้ปฏิบัติในวันนี้ เราก็ไม่ต้องพูดถึงการขาดแคลนนำ้า
โครงการโดยเฉพาะนั้นก็มี และโครงการนั้นได้ยืนยันมาเมื่อ
เดือนกว่าแล้วที่นราธิวาส ได้วางโครงการและแม้เป็น
โครงการที่ไม่ได้แก้ปีนี้ หรือปีหน้า แต่ถ้าทำาอย่างดีประมาณ
5 หรือ 6 ปี ปัญหานำ้าขาดแคลนในกรุงเทพฯจะหมดไปโดย
สิ้นเชิง อาจจะนึกว่า 5-6 ปี นั้นนาน ความจริงไม่นานและ
ระหว่างนี้เราก็พยายามแก้ไขเฉพาะหน้าไปเรื่อย แต่ถ้ามี
ความหวังว่า 5-6 ปีปัญหานี้คงหมดไปก็คงมีกำาลังใจที่จะฟัน
ฟ่าชีวิตต่อไป

      ที่ว่า 5-6 ปีนี้ ความจริงได้เริ่มโครงการนี้มากว่า 5-6 ปี
โครงการที่คิดจะทำานี้บอกได้ ไม่กล้าพูดมาหลายปีแล้ว
เพราะเดี๋ยวจะมีการคัดค้านจากผู้เชี่ยวชาญจากผู้ที่ต่อต้าน
การทำาโครงการแต่โครงการนี้เป็นโครงการที่อยู่ในวิสัยที่จะ
ทำาได้ แม้จะต้องเสียค่าใช้จ่ายไม่ใช่น้อย แต่ถ้าดำาเนินไป
เดี๋ยวนี้อีก 5-6 ปี ข้างหน้าเราก็สบาย แต่ถ้าไม่ทำาในอีก 5-6
ปี ข้างหน้าราคาค่าสร้าง ค่าดำาเนินการก็จะขึ้นไป 2 เท่า 3
เท่า ลงท้ายก็จะต้องประวิงต่อไป และเมื่อประวิงต่อไปไม่ได้
ทำา เราก็ต้องอดนำ้าแน่ จะกลายเป็นทะเลทราย แล้วเราก็จะ
อพยพไปที่ไหนไม่ได้ โครงการนี้คือสร้างอ่างเก็บนำ้า 2 แห่ง
แห่งหนึ่งคือแม่นำ้าป่าสัก อีกแห่งคือแม่นำ้านครนายก สอง
แห่งรวมกันจะเก็บกักนำ้าเหมาะสมพอเพียงสำาหรับการ
บริโภค การใช้ในเขตกรุงเทพฯ และเขตใกล้เคียงที่ราบลุ่ม
ของประเทศไทยนี้ สำาหรับการใช้นำ้านั้น ต้องทราบว่าแต่ละ
คนใช้อยู่อย่างสบายพอสมควร โดยเฉลี่ย คนหนึ่งใช้วันละ
16


200 ลิตรถ้าคำานวณดูว่า วันละ 200 ลิตรนี้ 5 คน ก็ใช้
1,000 ลิตร คือ หนึ่งลูกบาศก์เมตรต่อวัน ถ้าปีหนึ่งคูณ 365
ก็หมายความว่า 5 คนใช้ในหนึ่งปี 365 ลูกบาศก์เมตรใน
กรุงเทพฯและในบริเวณใกล้เคียงนี้เรานับเอาคร่าว ๆ ว่ามี
10 ล้านคน 10 ล้านคนก็คูณเข้าไป ก็เป็น 730 ล้าน
ลูกบาศก์เมตรฉะนั้นถ้าเราเก็บกัก 730 ล้านลูกบาศก์เมตร
ในเขื่อน เราก็จะสามารถที่จะบริการคนในละแวกนี้ คนใน
ภาคกลางใกล้กรุงเทพฯนี้ได้ตลอดไป แล้วก็ไม่มีความ
ขาดแคลนเขื่อนป่าสักที่ตอนแรกวางแผนให้จุได้ 1,350
ล้านลูกบาศก์เมตร แต่แก้ไปแก้มาก็เหลือ 750 ล้านกว่า ๆ
ตามตัวเลขที่ให้ไว้นี้ แม้เขื่อนป่าสักเขื่อนเดียวก็พอ พอ
สำาหรับการบริโภคแน่นอน ไม่แห้ง ถ้าเติมอีกโครงการที่
นครนายก จะได้อีก 240 ล้านลูกบาศก์เมตร ก็เกินพอ...
ประโยชน์ข องเขื่อ นเก็บ กัก นำ้า แม่น ำ้า ป่า สัก
         1. เป็นแหล่งสำา หรับอุ ปโภคบริโภคของชุมชนต่าง ๆ
            ในเขตจังหวัด
ลพบุรี และจังหวัด สระบุ รี (ลำา นารายณ์ พัฒนานิ คม วังม่ วง
แก่งคอย และชุมชนขนาดย่อมใกล้เคียง)
         2. เ ป็ น แ ห ล่ ง นำ้า สำา ห รั บ ก า ร เ ก ษ ต ร ใ น พื้ น ที่
            ชลประทานที่จะเกิดขึ้นใหม่
ในเขตจั ง หวั ด ลพบุ รี แ ละสระบุ รี 135,5000 ไร่ (แก่ ง คอย-
บ้ า น ห ม อ 80,000 ไ ร่ ,พั ฒ น า นิ ค ม 35,500 ไ ร่ แ ล ะ
พัฒนานิคม-แก่งคอย 20,000 ไร่)
         3. เ ป็ น แ ห ล่ ง นำ้า เ ส ริ ม สำา ห รั บ พื้ น ที่ โ ค ร ง ก า ร
            ชลประทานเดิม ในทุ่ง
เจ้าพระยาฝั่งตะวันออกตอนล่าง เนื้อที่ประมาณ 2,200,000
ไร่ (ทำาให้ลดการใช้นำ้าจากแม่นำ้าเจ้าพระยานำานำ้าจากแม่นำ้า
ป่าสักไปใช้ในแถบจังหวัดลพบุรีและสระบุรีโดยตรง)
         4. ช่ ว ยป้ อ งกั น อุ ท กภั ย ให้ พื้ น ที่ ริ ม แม่ นำ้า ป่ า สั ก ใน
            เขตจังหวัดลพบุรีและ
สระบุรีและยังมีผลช่วยบรรเทาอุทกภัยในพื้นที่ตอนล่างของ
แม่นำ้าเจ้าพระยารวมถึงกรุงเทพมหานครและปริมณฑลด้วย
         5. เป็ น แหล่ ง นำ้า เพื่ อ การอุ ต สาหกรรมในเขตจั ง หวั ด
            ลพบุรีและสระบุรี
17


            6. อ่ า งเก็ บ นำ้า ที่ เ กิ ด ขึ้ น จะเป็ น แหล่ ง เพาะพั น ธุ์ ป ลา
                และเป็นแหล่งประมง
นำ้าจืดขนาดใหญ่
            7. ช่ วยการคมนาคมทางนำ้า ในแม่ นำ้า ป่ า สั ก ตอนล่ า ง
                และการแก้ไขปัญหา
นำ้าเสีย
            8. เป็ น แหล่ ง นำ้า ช่ ว ยเสริ ม เพื่ อ แก้ ไ ขปั ญ หาการ
                ขาดแคลนนำ้าอุปโภคบริโภคในเขตกรุงเทพฯและ
                ปริมณฑล
            9. เป็นแหล่งท่องเที่ยวที่สำาคัญ
            10. ทำา ให้ เ ศรษฐกิ จ ของจั ง หวั ด ลพบุ รี และจั ง หวั ด
                สระบุรีขยายตัวมากขึ้น
         เป็นที่น่าปลาบปลื้มที่พระองค์ทรงเป็นห่วงพสกนิกรชาว
จังหวัดลพบุรีและจังหวัดใกล้เคียงถึงประโยชน์ที่ราษฎรของ
พระองค์ จ ะได้ รั บ จากโครงการนี้ ณ พื้ น ที่ ซึ่ ง เคยปรากฏ
ความแห้งแล้ง สลับภาวะนำ้าท่วม อันส่งผลให้ประชาชนต้อง
มี ชี วิ ต อยู่ อ ย่ า งลำา บากทุ ก ข์ ย าก บั ด นี้ ได้ มี เ ขื่ อ นดิ น ขนาด
ใหญ่ซึ่งมีความสูงกว่า 31 ม. และยาวเกือบ 5,000 ม. มาตั้ง
เป็ น แนวกั้ น นำ้า อยู่ ใ นแม่ นำ้า ป่ า สั ก พร้ อ มอ่ า งเก็ บ นำ้า ขนาด
ใหญ่ ที่ มี ค วามจุ นำ้า ได้ สู ง สุ ด ถึ ง 960 ล้ า น ลบ.ม. เพื่ อ นำา
ความอุดมสมบูรณ์มาสู่พื้นที่ที่เคยประสบความแห้งแล้ง โดย
มีอาคารพิพิธภัณฑ์ลุ่มนำ้า ป่าสัก เป็นสถานที่จัดแสดงสภาพ
ชีวิตผู้คนในอดีต ที่เคยใช้ชีวิตร่วมกันอยู่ในบริเวณลุ่มนำ้าป่า
สั ก แห่ ง นี้ สำา หรั บ ให้ ค นรุ่ น หลั ง ได้ ศึ ก ษาร่ อ งรอยแห่ ง
อารยธรรม ไว้เตือนจำาและเตือนใจคนในรุ่นปัจจุบัน และใน
อนาคตมิให้ทำา ลายทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอีก
ต่อไป




      คำา ถ า ม        ใ น ก า ร ส ร้ า ง เ ขื่ อ น จำา เ ป็ น จ ะ ต้ อ ง มี
ค ว า ม รู้ เ กี่ ย ว กั บ ฟิ สิ ก ส์ ใ น เ รื่ อ ง ใ ด บ้ า ง นั ก เ รี ย น
สามารถศึก ษาได้จ ากกิจ กรรมด้า นล่า ง
18




ตัว อย่า งรูป ของเขื่อ นใน




ประเทศไทย
19




          เขือ นบาง
             ่
          ลาง



                                                                 เขือ นรัช ช
                                                                ประภา




 เขื่อ นวชิล า
ลงกรณ
                                    เขื่อ นขุน ด่า น
                                    ปราการ


          1.                                          ให้นักเรียนสังเกตรูปเขื่อน
          ด้านบน แล้วพิจารณาว่าทำาไมจึงมีลักษณะการสร้างเขื่อน
          เป็นเช่นนั้น
          ....................................................................................
          ....................................................................................
          ....................................................................................
          ....................................................................................
          ......................
20


....................................................................................
....................................................................................
....................................................................................
....................................................................................
......................
....................................................................................
....................................................................................
....................................................................................
....................................................................................
......................
....................................................................................
....................................................................................
....................................................................................
....................................................................................
......................
....................................................................................
....................................................................................
....................................................................................
....................................................................................
......................
....................................................................................
....................................................................................
....................................................................................
....................................................................................
......................
....................................................................................
....................................................................................
....................................................................................
....................................................................................
......................
....................................................................................
....................................................................................
....................................................................................
21


....................................................................................
......................
....................................................................................
....................................................................................
....................................................................................
....................................................................................
......................
....................................................................................
....................................................................................
...........
....................................................................................
....................................................................................
...........
....................................................................................
....................................................................................
....................................................................................
....................................................................................
......................
....................................................................................
....................................................................................
...........
....................................................................................
....................................................................................
...........
....................................................................................
....................................................................................
....................................................................................
....................................................................................
......................
....................................................................................
....................................................................................
...........
22


....................................................................................
....................................................................................
...........
....................................................................................
....................................................................................
....................................................................................
....................................................................................
......................
....................................................................................
....................................................................................
...........
2. ให้นักเรียนนำาขวดนำ้าเปล่ามาเจาะรูที่ระดับความสูงต่างๆ
(3–4 รู) ใส่นำ้าจนเต็มแล้วสังเกตการไหลของนำ้าแต่ละรูที่
เจาะไว้ ดังรูปด้านล่าง




        - ทำาไมนำ้าจึงพุ่งออกจากรูที่เจาะไว้ แล้วสังเกตการ
พุ่งออกของนำ้าในแต่ละรูว่ามีลักษณะอย่างไรและเหตุใดจึง
เป็นเช่นนั้น
....................................................................................
....................................................................................
23


....................................................................................
....................................................................................
......................
....................................................................................
....................................................................................
....................................................................................
....................................................................................
......................
....................................................................................
....................................................................................
....................................................................................
....................................................................................
......................
....................................................................................
....................................................................................
....................................................................................
....................................................................................
......................
....................................................................................
....................................................................................
....................................................................................
....................................................................................
......................




3. แรงที่นำ้ากระทำาต่อผนังเขื่อนที่ระดับความลึกต่าง ๆ กันมี
ค่าเท่ากันหรือไม่ นักเรียนจะมีวิธีการหาแรงดันฉลี่ยที่ผนัง
เขื่อนได้อย่างไร แล้วเกี่ยวข้องกับลักษณะของเขื่อนที่
นักเรียนเห็นในรูปได้อย่างไร
....................................................................................
....................................................................................
24


....................................................................................
....................................................................................
......................
....................................................................................
....................................................................................
....................................................................................
....................................................................................
......................
....................................................................................
....................................................................................
....................................................................................
....................................................................................
......................
....................................................................................
....................................................................................
....................................................................................
....................................................................................
......................
....................................................................................
....................................................................................
....................................................................................
....................................................................................
......................
....................................................................................
....................................................................................
....................................................................................
....................................................................................
......................
....................................................................................
....................................................................................
....................................................................................
....................................................................................
......................
25


....................................................................................
....................................................................................
....................................................................................
....................................................................................
......................
....................................................................................
....................................................................................
....................................................................................
....................................................................................
......................




    โครงการพระราชดำาริ สะพานพระราม 8

      โครงการสะพานพระร าม 8 เป็นโครงการตามแนว
พระราชดำา ริเพื่ อแก้ไ ขปั ญหาการสัญ จรของประชาชนใน
กรุงเทพมหานครให้ได้รับความสะดวกยังผลสู่ภาพรวมของ
ประเทศทั้งด้านสั งคม และเศรษฐกิจ
ดั ง พระราชดำา รั ส พระบาทสมเด็ จ
พระเจ้าอยู่หัว
เมื่อวันที่ 22 มีนาคม 2537 ความว่า

       “สำาหรับการจราจรเครื่องมือ
นั้นสำาคัญที่สุดคือถนนก็ต้องมีถนนที่
26


เหมาะสมที่เครื่องควบคุมการจราจรไม่ใช่เรื่องของรัฐศาสตร์
หรือของตำารวจ หรือของศาล เป็นเรื่องของวิศวกรรมก็จะ
ต้องให้ดีขึ้น คือหมายความว่าทำาให้ถนนดีขึ้น ให้สอดคล้อง
ซึ่งเป็นการบ้านที่หนักสุด เพราะว่ากรุงเทพฯ ได้สร้างมาเป็น
เวลา 200 ปีแล้ว ไม่ได้มแผนผังเมืองที่จริงๆ จัง ก็มีการ
                        ี
ผังเมืองของทางการ แต่ว่าก็ไม่ได้ประโยชน์มากนักเพราะ
ว่าคนไทย ตามชือคนไทย คืออิสระบังคับกันไม่ได้ จะสร้าง
                  ่
อะไรก็สร้าง อยากจะสร้างเดี๋ยวนี้ก็สร้างก็ไปขวางกับคนอื่น
คือขวางทางอื่นอันนี้ก็เลยแก้ไม่ได้...”

การก่อสร้างสะพานในบริเวณที่เป็นมหานครนั้นมีธรรมเนียม
ปฏิบัติกันอยู่ คือ แต่ละสะพานจะต้องมีลักษณะโดดเด่นและ
เป็นหนึ่ง ซึ่งลักษณะที่สวยงาม คือ จะต้องเป็นสะพานที่มี
ตอม่ออยู่ในแม่นำ้าน้อยที่สุดหรือไม่มีเลย เช่นเดียวกับสะพาน
พระราม 8 ซึ่งเป็นสะพาน ขึงเสาเดี่ยวแบบอสมมาตร




โครงการสะพานพระราม๘

เป็นส่วนหนึ่งของโครงการจตุรทิศ แนวตะวันออกไปตะวัน
ตก
พระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู่ หั ว ได้ พ ระราชทานแผนที่ ใ ห้
กรุ ง เทพมหานคร ซึ่ ง ทรงเขี ย นแนวเส้ น ทางพระราชดำา ริ
ด้วยลายพระหัตถ์ของพระองค์เอง เพื่อให้กรุงเทพมหานคร
ไปศึกษาความเป็นไปได้ในการก่อสร้างตามพระราชดำาริ

     สำา หรับ แนวทางขึ้ นลงของสะพานด้ า นฝั่ ง พระนคร ใน
ถนนวิสุทธิกษัตริย์บริเวณด้านข้างธนาคารแห่งประเทศไทย
นั้น ทรงแนะนำาให้ศึกษารายละเอียดให้ดีเสียก่อนในบริเวณ
27


ที่เป็นทางแยกตัดกันของถนนวิสุทธิกษัตริย์กับถนนสามเสน
ความว่าหากกรุงเทพมหานครจะขุดอุโมงค์ให้รถลอด ควร
ระวังเรื่องปัญหานำ้าท่วมเท่านั้น



พระราชทานนามสะพานนี้ว่า “ สะพานพระราม๘ ” เพื่อ
เป็นการรำาลึกถึงพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล
รัชกาลที่ ๘.


จากการศึ ก ษาพบว่ า โ ค ร ง ก า ร ส ะ พ า น พ ร ะ ร า ม 8 ได้มี
การนำาเอาระบบการก่อสร้างสะพานและเทคโนโลยีสมัยใหม่
เข้ามาใช้ ไม่ว่าจะเป็นการก่อสร้างในส่วนของฐานราก ของ
ตัวโครงสร้างเสาสะพานจนกระทั่งการติดตั้งสายเคเบิล ซึ่ง
ขั้ น ตอนการก่ อ สร้ า ง
สะพานพระราม 8 เริ่ม
จ า ก ก า ร ก่ อ ส ร้ า ง
ฐานราก ได้ มี ก ารนำา
เอาระบบระบายความ
ร้ อ นด้ ว ย วิ ธี Cooling
Pipe แ ล ะ ค อ น ก รี ต
ผ ส ม เ ถ้ า ล อ ย (Fly
Ash) ม า ใ ช้ ใ น ส่ ว น
ของคอนกรี ต ฐานราก
สำา หรั บ ตั วโครงสร้ า งเสาสะพานหลั ก มี ก ารนำา เสนอให้ ใ ช้
ระบบแบบและนั่งร้านที่สามารถประกอบแบบ หล่อคอนกรีต
ถอดแบบและเคลื่อนแบบทั้งชุดไปยังที่จะหล่อคอนกรีต ด้วย
ระบบ Climbing Form System เพื่อให้การก่อสร้างเป็นไป
อย่างต่อเนื่องและรวดเร็ว และได้มีการก่อสร้างพื้ นสะพาน
ช่วงด้านหลังเพื่อใช้เป็นพื้นที่ประกอบและติดตั้งสายเคเบิล
ในการติดตั้งโครงสร้าง พื้นสะพานนั้นจะทำาพร้อมกับการดึง
ส่ายเคเบิลตามขนาดแรงดึงที่ออกแบบไว้ที่ละช่วง พร้อมวาง
แผ่นพื้นคอนกรีตเสริมเหล็ก ผูกเหล็กเสริมคอนกรีต และเท
28


คอนกรีตบริเวณรอยต่อของแผ่นพื้นทุกด้าน ดำาเนินเช่นนี้ไป
เรื่อยๆ จนกระทั่งตัวสะพานถึงเสารับสะพาน บนฝั่งพระนคร
ซึ่งการก่อสร้างสะพานพระราม 8 นี้จะเป็นการยกระดับการ
ก่อสร้างในประเทศไทยให้ก้าวไปอีกขั้นด้วย

ส ะ พ า น พ ร ะ ร า ม 8 ส ถ า ปั ต ย ก ร ร ม ง า น ...ข้ า ม
เจ้า พระยา
สะพานพระราม 8 เป็นสะพานข้าม แม่นำ้า เจ้าพระยาแห่ง ที่
13 มีแนวสายทางเชื่อมต่อกับทางคู่ขนานลอยฟ้าบรมราช
ชนนี ข้ า มแม่ นำ้า เจ้ า พระยาบริ เ วณโรงงานสุ ร าบางยี่ ขั น
บรรจบกั บ ปลายถนนวิ สุ ท ธิ ก ษั ต ริ ย์ ใกล้ กั บ ธนาคารแห่ ง
ประเทศไทย ซึ่ ง ได้ รั บ พระมหากรุ ณ าธิ คุ ณ จากพระบาท
สมเด็ จ พระเจ้ า อยู่ หั ว ทรงมี พ ระราชดำา ริ เ มื่ อ วั น ที่ 15 ก.ค.
2538 ให้ ก รุ ง เทพมหานคร ก่ อ สร้ า งสะพานข้ า มแม่ นำ้า
เจ้าพระยาเพิ่มอีก 1 แห่ง เพื่อบรรเทาการจราจรบนสะพาน
พระปิ่ น เกล้ า รองรั บ การเดิ น ท าง เชื่ อ ม ต่ อ ระหว่ า ง ฝั่ ง
พระนครกั บ ฝั่ ง ธนฯ และเป็ น จุ ด เชื่ อ มต่ อ โครงการพระ
ร า ช ดำา          ริ ต า ม แ น ว จ ตุ ร ทิ ศ

สะพานพระราม 8 มีความยาวรวม 475 เมตร สูงเท่าสะพาน
พระปิ่น เกล้า ลาดชันไม่เ กิน 3% เป็นสะพานหลั กช่ วงข้า ม
แม่ นำ้า 300 เมตร สะพานยึ ด ช่ ว งบนบก 100 เมตร และ
สะพานช่ ว งโครงสร้ า งยึ ด เสา 75 เมตร มี รู ป แบบโดดเด่ น
สวยงามเพราะได้ออกแบบเป็นสะพานขึงแบบอสมมาตร ซึ่ง
หมายความว่ามีเสาสะพานหลักเสาเดียวบนฝั่งธนฯ และมีเสา
รับนำ้าหนัก 1 ต้น บนฝั่งพระนคร จึงไม่มีเสารับนำ้าหนักตั้งอยู่
ในแม่นำ้า เจ้าพระยา ทำา ให้ไม่มีปัญหาต่อการสัญจรทางนำ้า
ช่วยป้องกันนำ้า ท่วมและระบบนิเวศนวิทยาในนำ้า รวมทั้งไม่
กระทบต่อการจัดตั้งขบวนเรือพระราชพิธี

การรับนำ้า หนักของสะพาน ได้ติดตั้งสายเคเบิลระนาบคู่ 28
คู่ ขึงยึดพื้นช่วงข้ามแม่นำ้า และใช้สายเคเบิลระนาบเดี่ยว 28
เส้น ขึงยึดรั้งกับโครงสร้างยึดเสาสะพานบนฝั่งธนฯ เคเบิล
29


แต่ละเส้นประกอบด้วยสลิงตั้งแต่ 11-65 เส้น เมื่อเกิดปัญหา
กั บ เคเบิ ล สามารถขึ ง หรื อ หย่ อ นได้ ง่ า ย ไม่ จำา เป็ น ต้ อ งปิ ด
ก า ร จ ร า จ ร เ ห มื อ น ส ะ พ า น พ ร ะ ร า ม 9

เนื่องจากเคเบิลแต่ละเส้นใช้สลิง ภายในซึ่งเป็นขดลวดใหญ่
ทำา ให้ ดู แ ลบำา รุ ง รั ก ษาและซ่ อ มแซมยากกว่ า อี ก ทั้ ง สาย
เคเบิ ล ของสะพานพระราม 8 ยั ง มี สี เ หลื อ งทอง สี ป ระจำา
พระองค์ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เมื่อสะท้อนแสง
จ ะ ส่ อ ง ป ร ะ ก า ย ส ว ย ง า ม โ ด ย เ ฉ พ า ะ ย า ม คำ่า คื น

มาตรฐานความปลอดภัย ของสะพานพระราม 8


ด้านมาตรฐานความปลอดภัยก็ไม่เป็นรองเพราะบริษัทผู้รับ
เหมาการั น ตี ว่า ได้ มี ก ารทดสอบแรงดึ ง ในลวดสลิ ง 1 ล้ า น
ครั้ง โดยใช้แรงดึงปกติ 10 ตัน ไม่มีปัญหา และต้องใช้แรง
ดึ ง ถึ ง 27 ตั น ล ว ด ส ลิ ง ถึ ง ข า ด แ ต่ ก็ แ ค่ 1% เ ท่ า นั้ น
นอกจากนี้ได้มีการทดสอบแรงลม แรงสั่นสะเทือน ทิศทาง
ลม รวมทั้งติดตั้งเครื่องวัดไว้ตลอด 24 ชม. เพื่อดูความผิด
ป       ก   ติ    ที่      จ   ะ      เ    กิ      ด    ขึ้    น

ความพิเ ศษของสะพานพระราม 8
       ที่ น่ า ภาคภู มิ ใ จอี ก อย่ า งคื อ สะพานพระราม 8 เป็ น
สะพานขึ ง แบบอสมมาตรที่ ติ ด อั น ดั บ 5 ของโลก รองจาก
ประเทศเยอรมนี ซึ่งติดอันดับถึง 3 สะพาน และเนปาล โดย
นับจากความยาวช่วงของสะพาน ส่วนสะพานพระราม 9 ซึ่ง
เป็ น สะพานขึ ง ตั ว แรกแต่ เ ป็ น แบบสมมาตร เพราะมี 2 เสา
ถือว่าอยู่ในอันดับที่ 18 ของโลก โดยนับความยาวช่วงของ
สะพานได้ 450 เมตร

ความโดดเด่ น สวยงาม ที่ เ กิ ด ขึ้ น ผสมผสานไปด้ ว ยศิ ล ปะ
แบบไทย ๆ จากแนวคิดในการสร้างเพื่อเป็นพระบรมราชานุ
ส ร ณ์ เ ฉ ลิ ม พ ร ะ เ กี ย ร ติ ใ น ห ล ว ง พ ร ะ บ า ท ส ม เ ด็ จ
พระเจ้ า อยู่ หั ว อานั น ทมหิ ด ล รั ช กาลที่ 8 กทม. จึ ง ได้
โครงการในพระราชดำริฝนหลวง
โครงการในพระราชดำริฝนหลวง
โครงการในพระราชดำริฝนหลวง

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องTheeraWat JanWan
 
โครงงานเครื่องกรองน้ำทิ้งในโรงอาหาร
โครงงานเครื่องกรองน้ำทิ้งในโรงอาหารโครงงานเครื่องกรองน้ำทิ้งในโรงอาหาร
โครงงานเครื่องกรองน้ำทิ้งในโรงอาหารkrupornpana55
 
เฉลยข้อสอบ O netตอนที่ 2
เฉลยข้อสอบ O netตอนที่ 2เฉลยข้อสอบ O netตอนที่ 2
เฉลยข้อสอบ O netตอนที่ 2Jiraporn Chaimongkol
 
โครงงานไอเอส1
โครงงานไอเอส1โครงงานไอเอส1
โครงงานไอเอส1Ocean'Funny Haha
 
บรรยากาศ
บรรยากาศบรรยากาศ
บรรยากาศSupaluk Juntap
 
2. ข้อสอบ o net วิทยาศาสตร์ (มัธยมต้น)
2. ข้อสอบ o net วิทยาศาสตร์ (มัธยมต้น)2. ข้อสอบ o net วิทยาศาสตร์ (มัธยมต้น)
2. ข้อสอบ o net วิทยาศาสตร์ (มัธยมต้น)Kruthai Kidsdee
 
วัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำวัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำsavokclash
 
หน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทย
หน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทยหน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทย
หน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทยPaew Tongpanya
 
บทที่ 12 การสังเคราะห์แสง
บทที่ 12  การสังเคราะห์แสงบทที่ 12  การสังเคราะห์แสง
บทที่ 12 การสังเคราะห์แสงPinutchaya Nakchumroon
 
02 เคลื่อนที่แนวตรง
02 เคลื่อนที่แนวตรง02 เคลื่อนที่แนวตรง
02 เคลื่อนที่แนวตรงwiriya kosit
 
Biology bio12
 Biology bio12 Biology bio12
Biology bio12Bios Logos
 
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อน
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อนเอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อน
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อนKobwit Piriyawat
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้องPongtep Treeone
 
แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdf
แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdfแบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdf
แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdfssuser2feafc1
 
เสียงกับการได้ยิน
เสียงกับการได้ยินเสียงกับการได้ยิน
เสียงกับการได้ยินkrubenjamat
 
เลขออกซิเดชัน
เลขออกซิเดชันเลขออกซิเดชัน
เลขออกซิเดชันzhezazzz
 
ม.2/1 การทดสอบวิตามินซี
ม.2/1 การทดสอบวิตามินซีม.2/1 การทดสอบวิตามินซี
ม.2/1 การทดสอบวิตามินซีJanejira Meezong
 
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อนAแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อนkrupornpana55
 

Was ist angesagt? (20)

บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
โครงงานเครื่องกรองน้ำทิ้งในโรงอาหาร
โครงงานเครื่องกรองน้ำทิ้งในโรงอาหารโครงงานเครื่องกรองน้ำทิ้งในโรงอาหาร
โครงงานเครื่องกรองน้ำทิ้งในโรงอาหาร
 
เฉลยข้อสอบ O netตอนที่ 2
เฉลยข้อสอบ O netตอนที่ 2เฉลยข้อสอบ O netตอนที่ 2
เฉลยข้อสอบ O netตอนที่ 2
 
โครงงานไอเอส1
โครงงานไอเอส1โครงงานไอเอส1
โครงงานไอเอส1
 
บรรยากาศ
บรรยากาศบรรยากาศ
บรรยากาศ
 
2. ข้อสอบ o net วิทยาศาสตร์ (มัธยมต้น)
2. ข้อสอบ o net วิทยาศาสตร์ (มัธยมต้น)2. ข้อสอบ o net วิทยาศาสตร์ (มัธยมต้น)
2. ข้อสอบ o net วิทยาศาสตร์ (มัธยมต้น)
 
วัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำวัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำ
 
หน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทย
หน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทยหน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทย
หน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทย
 
บทที่ 12 การสังเคราะห์แสง
บทที่ 12  การสังเคราะห์แสงบทที่ 12  การสังเคราะห์แสง
บทที่ 12 การสังเคราะห์แสง
 
Echem 1 redox
Echem 1 redoxEchem 1 redox
Echem 1 redox
 
02 เคลื่อนที่แนวตรง
02 เคลื่อนที่แนวตรง02 เคลื่อนที่แนวตรง
02 เคลื่อนที่แนวตรง
 
Biology bio12
 Biology bio12 Biology bio12
Biology bio12
 
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อน
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อนเอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อน
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อน
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdf
แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdfแบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdf
แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdf
 
เสียงกับการได้ยิน
เสียงกับการได้ยินเสียงกับการได้ยิน
เสียงกับการได้ยิน
 
เลขออกซิเดชัน
เลขออกซิเดชันเลขออกซิเดชัน
เลขออกซิเดชัน
 
ประชากร1
ประชากร1ประชากร1
ประชากร1
 
ม.2/1 การทดสอบวิตามินซี
ม.2/1 การทดสอบวิตามินซีม.2/1 การทดสอบวิตามินซี
ม.2/1 การทดสอบวิตามินซี
 
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อนAแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
 

Andere mochten auch

โครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวงโครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวงyeen_28175
 
โครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวงโครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวงWannaporn Sukthawee
 
โครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวงโครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวงChutikan Mint
 
โครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวงโครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวงPongsa Pongsathorn
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงTanwalai Kullawong
 
โครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวงโครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวงFernThidarat
 
โครงการฝนหลวง 3 มี.ค.55
โครงการฝนหลวง 3 มี.ค.55โครงการฝนหลวง 3 มี.ค.55
โครงการฝนหลวง 3 มี.ค.55somkait
 
โครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวงโครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวงWannaporn Sukthawee
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1mindda_honey
 
โครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวงโครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวงyeen_28175
 
โครงการชั่งหัวมัน
โครงการชั่งหัวมันโครงการชั่งหัวมัน
โครงการชั่งหัวมันMickey-Mint
 
การพัฒนาตามแนวพระราชดำริ
การพัฒนาตามแนวพระราชดำริการพัฒนาตามแนวพระราชดำริ
การพัฒนาตามแนวพระราชดำริjeabjeabloei
 
โครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวงโครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวงPinocchio_Bua
 
โครงการในพระราชดำริงานคอม
โครงการในพระราชดำริงานคอมโครงการในพระราชดำริงานคอม
โครงการในพระราชดำริงานคอมUnchaya Suwan
 
วิจัยแก้ไขปัญหาหมอกควันจังหวัดพะเยา
วิจัยแก้ไขปัญหาหมอกควันจังหวัดพะเยาวิจัยแก้ไขปัญหาหมอกควันจังหวัดพะเยา
วิจัยแก้ไขปัญหาหมอกควันจังหวัดพะเยาThawiwat Khongtor
 
ฝายชะลอน้ำตามแนวพระราชดำรัส
ฝายชะลอน้ำตามแนวพระราชดำรัสฝายชะลอน้ำตามแนวพระราชดำรัส
ฝายชะลอน้ำตามแนวพระราชดำรัสpoo_28088
 
โครงการกังหันน้ำชัยพัฒนา
โครงการกังหันน้ำชัยพัฒนาโครงการกังหันน้ำชัยพัฒนา
โครงการกังหันน้ำชัยพัฒนาnamtoey
 

Andere mochten auch (17)

โครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวงโครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวง
 
โครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวงโครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวง
 
โครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวงโครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวง
 
โครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวงโครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวง
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
โครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวงโครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวง
 
โครงการฝนหลวง 3 มี.ค.55
โครงการฝนหลวง 3 มี.ค.55โครงการฝนหลวง 3 มี.ค.55
โครงการฝนหลวง 3 มี.ค.55
 
โครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวงโครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวง
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
โครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวงโครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวง
 
โครงการชั่งหัวมัน
โครงการชั่งหัวมันโครงการชั่งหัวมัน
โครงการชั่งหัวมัน
 
การพัฒนาตามแนวพระราชดำริ
การพัฒนาตามแนวพระราชดำริการพัฒนาตามแนวพระราชดำริ
การพัฒนาตามแนวพระราชดำริ
 
โครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวงโครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวง
 
โครงการในพระราชดำริงานคอม
โครงการในพระราชดำริงานคอมโครงการในพระราชดำริงานคอม
โครงการในพระราชดำริงานคอม
 
วิจัยแก้ไขปัญหาหมอกควันจังหวัดพะเยา
วิจัยแก้ไขปัญหาหมอกควันจังหวัดพะเยาวิจัยแก้ไขปัญหาหมอกควันจังหวัดพะเยา
วิจัยแก้ไขปัญหาหมอกควันจังหวัดพะเยา
 
ฝายชะลอน้ำตามแนวพระราชดำรัส
ฝายชะลอน้ำตามแนวพระราชดำรัสฝายชะลอน้ำตามแนวพระราชดำรัส
ฝายชะลอน้ำตามแนวพระราชดำรัส
 
โครงการกังหันน้ำชัยพัฒนา
โครงการกังหันน้ำชัยพัฒนาโครงการกังหันน้ำชัยพัฒนา
โครงการกังหันน้ำชัยพัฒนา
 

Ähnlich wie โครงการในพระราชดำริฝนหลวง

โครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวงโครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวงWannaporn Sukthawee
 
โครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวงโครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวงWannaporn Sukthawee
 
โครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวงโครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวงWannaporn Sukthawee
 
โครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวงโครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวงWannaporn Sukthawee
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1amloveyou
 
โครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวงโครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวงChutikan Mint
 
ปรากฏการทางลมฟ้าอากาศ
ปรากฏการทางลมฟ้าอากาศปรากฏการทางลมฟ้าอากาศ
ปรากฏการทางลมฟ้าอากาศdnavaroj
 
แบบฝึกหัดทบทวนก่อนสอบกลางภาค2 ม.1 2 55
แบบฝึกหัดทบทวนก่อนสอบกลางภาค2 ม.1 2 55แบบฝึกหัดทบทวนก่อนสอบกลางภาค2 ม.1 2 55
แบบฝึกหัดทบทวนก่อนสอบกลางภาค2 ม.1 2 55krupornpana55
 
นักสืบสายลม
นักสืบสายลมนักสืบสายลม
นักสืบสายลมTaweesak Poochai
 
การวัดปริมาณน้ำฝน
การวัดปริมาณน้ำฝนการวัดปริมาณน้ำฝน
การวัดปริมาณน้ำฝนdnavaroj
 
เศรษฐกิจพอเพียง ม.4 7 เลขที่31
เศรษฐกิจพอเพียง ม.4 7 เลขที่31เศรษฐกิจพอเพียง ม.4 7 เลขที่31
เศรษฐกิจพอเพียง ม.4 7 เลขที่31eeveaeef
 
เศรษฐกิจพอเพียง ม.4 7 เลขที่31
เศรษฐกิจพอเพียง ม.4 7 เลขที่31เศรษฐกิจพอเพียง ม.4 7 เลขที่31
เศรษฐกิจพอเพียง ม.4 7 เลขที่31eveaeef
 
แบบฝึกหัดทบทวนก่อนสอบกลางภาค2 ม.1 2 55
แบบฝึกหัดทบทวนก่อนสอบกลางภาค2 ม.1 2 55แบบฝึกหัดทบทวนก่อนสอบกลางภาค2 ม.1 2 55
แบบฝึกหัดทบทวนก่อนสอบกลางภาค2 ม.1 2 55krupornpana55
 
อุณหภูมิของอากาศ
อุณหภูมิของอากาศอุณหภูมิของอากาศ
อุณหภูมิของอากาศKhwankamon Changwiriya
 
งานไอเอสที่ต้องใช้ส่งภายในอาทิตย์นี้สิ่งจำเป็น
งานไอเอสที่ต้องใช้ส่งภายในอาทิตย์นี้สิ่งจำเป็นงานไอเอสที่ต้องใช้ส่งภายในอาทิตย์นี้สิ่งจำเป็น
งานไอเอสที่ต้องใช้ส่งภายในอาทิตย์นี้สิ่งจำเป็นfocuswirakarn
 
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64Wichai Likitponrak
 
9789740336686
97897403366869789740336686
9789740336686CUPress
 
โครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวงโครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวงField_28178
 
พายุฟ้าคะนอง
พายุฟ้าคะนองพายุฟ้าคะนอง
พายุฟ้าคะนองdnavaroj
 

Ähnlich wie โครงการในพระราชดำริฝนหลวง (20)

โครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวงโครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวง
 
โครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวงโครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวง
 
โครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวงโครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวง
 
โครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวงโครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวง
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
โครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวงโครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวง
 
ปรากฏการทางลมฟ้าอากาศ
ปรากฏการทางลมฟ้าอากาศปรากฏการทางลมฟ้าอากาศ
ปรากฏการทางลมฟ้าอากาศ
 
Sci31101 cloud
Sci31101 cloudSci31101 cloud
Sci31101 cloud
 
แบบฝึกหัดทบทวนก่อนสอบกลางภาค2 ม.1 2 55
แบบฝึกหัดทบทวนก่อนสอบกลางภาค2 ม.1 2 55แบบฝึกหัดทบทวนก่อนสอบกลางภาค2 ม.1 2 55
แบบฝึกหัดทบทวนก่อนสอบกลางภาค2 ม.1 2 55
 
นักสืบสายลม
นักสืบสายลมนักสืบสายลม
นักสืบสายลม
 
การวัดปริมาณน้ำฝน
การวัดปริมาณน้ำฝนการวัดปริมาณน้ำฝน
การวัดปริมาณน้ำฝน
 
เศรษฐกิจพอเพียง ม.4 7 เลขที่31
เศรษฐกิจพอเพียง ม.4 7 เลขที่31เศรษฐกิจพอเพียง ม.4 7 เลขที่31
เศรษฐกิจพอเพียง ม.4 7 เลขที่31
 
เศรษฐกิจพอเพียง ม.4 7 เลขที่31
เศรษฐกิจพอเพียง ม.4 7 เลขที่31เศรษฐกิจพอเพียง ม.4 7 เลขที่31
เศรษฐกิจพอเพียง ม.4 7 เลขที่31
 
แบบฝึกหัดทบทวนก่อนสอบกลางภาค2 ม.1 2 55
แบบฝึกหัดทบทวนก่อนสอบกลางภาค2 ม.1 2 55แบบฝึกหัดทบทวนก่อนสอบกลางภาค2 ม.1 2 55
แบบฝึกหัดทบทวนก่อนสอบกลางภาค2 ม.1 2 55
 
อุณหภูมิของอากาศ
อุณหภูมิของอากาศอุณหภูมิของอากาศ
อุณหภูมิของอากาศ
 
งานไอเอสที่ต้องใช้ส่งภายในอาทิตย์นี้สิ่งจำเป็น
งานไอเอสที่ต้องใช้ส่งภายในอาทิตย์นี้สิ่งจำเป็นงานไอเอสที่ต้องใช้ส่งภายในอาทิตย์นี้สิ่งจำเป็น
งานไอเอสที่ต้องใช้ส่งภายในอาทิตย์นี้สิ่งจำเป็น
 
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
 
9789740336686
97897403366869789740336686
9789740336686
 
โครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวงโครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวง
 
พายุฟ้าคะนอง
พายุฟ้าคะนองพายุฟ้าคะนอง
พายุฟ้าคะนอง
 

โครงการในพระราชดำริฝนหลวง

  • 1. 1 โครงการในพระราชดำา ริ ฝนหลวง ความเป็น มาของโครงการพระราชดำา ริฝ นหลวง โครงการพระราชดำา ริ ฝ นหลวง เป็ น โครงการที่ ก่ อ กำาเนิดจากพระมหากรุณาธิคุณ ที่ทรงห่วงใยในความทุกข์ยาก ของพสกนิ ก รในท้ อ งถิ่ น ทุ ร กั น ดาร ที่ ต้ อ งประสบปั ญ หา ขาดแคลนนำ้า เพื่ออุปโภคบริโภค และเกษตรกรรม อันเนื่องมา จากภาวะแห้งแล้งซึ่งมีสาเหตุมาจาก ความผันแปร และคลาด เคลื่อนของฤดูกาลตามธรรมชาติ กล่าวคือ ฤดูฝนเริ่มต้นล่าเกิน ไป หรือหมดเร็วกว่าปกติหรือฝนทิ้งช่วงยาวในช่วงฤดูฝน จาก พระราชกรณียกิจ ในการเสด็จพระราชดำา เนินเยี่ยมพสกนิกร ในทุ ก ภู มิ ภ าคอย่ า งต่ อ เนื่ อ งสมำ่า เสมอ นั บ แต่ เ สด็ จ ขึ้ น เถลิ ง ถวัลย์ราชสมบัติ จนตราบเท่าทุกวันนี้ ทรงพบเห็นว่าภาวะแห้ง แล้ง ได้ทวีความถี่ และมีแนวโน้มว่าจะรุนแรงยิ่งขึ้นตามลำาดับ เพราะนอกจากความผันแปร และคลาดเคลื่อนของฤดูกาลตาม ธรรมชาติ แ ล้ ว การตั ด ไม้ ทำา ลายป่ า ยั ง เป็ น สาเหตุ ใ ห้ ส ภาพ แวดล้อมทางธรรมชาติเปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว ซึ่งสร้าง ความเดือดร้อนให้แก่ราษฎรในทุกภาคของประเทศ ทำา ความ เสีย หายแก่เ ศรษฐกิจ โดยรวมของชาติ เ ป็ น มู ล ค่ า มหาศาลใน แต่ละปี
  • 2. 2 ตามที่ ท รงเล่ า ไว้ ใ น RAINMAKING STORY จาก พ.ศ. 2498 เป็นต้นมา ทรงศึกษาค้นคว้า และวิจัยทางเอกสาร ทั้งด้านวิชาการอุตุนิยมวิทยา และมีการดัดแปรสภาพอากาศ ซึ่ ง ทรงรอบรู้ และเชี่ ย วชาญ เป็ น ที่ ย อมรั บ ทั้ ง ใน และต่ า ง ประเทศ จนทรงมั่ น พระทั ย จึ ง พระราชทานแนวคิ ด นี้ แ ก่ ม.ร.ว.เทพฤทธิ์ เทวกุ ล ผู้ เ ชี่ ย วชาญในการวิ จั ย ประดิ ษ ฐ์ ท าง ด้านเกษตรวิศวกรรมของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ขณะนั้น ในปี ถั ด มา ทรงพระกรุ ณ าโปรดเกล้ า โปรดกระหม่ อ ม ให้ ห า ลู่ทางที่จะทำาให้เกิดการทดลองปฏิบัติการในท้องฟ้าให้เป็นไป ได้ จนกระทั่ ง ถึ ง ปี พ.ศ. 2512 กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ได้จัดตั้งหน่วยบิน ปราบศัตรูพืชกรมการข้าว และพร้อมที่จะ ให้การสนับสนุน ในการสนองพระราชประสงค์ ม.ร.ว.เทพฤทธิ์ เทวกุล จึงได้นำาความขึ้นกราบบังคมทูลพระกรุณาทรงทราบว่า พร้ อ มที่ จ ะดำา เนิ น การ ตามพระราชประสงค์ แ ล้ ว ดั ง นั้ น ในปี เดียวกันนั้นเอง ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ทำา การทดลอง ปฏิบัติการจริงในท้องฟ้าเป็นครั้งแรก เมื่อวันที่ 1-2 กรกฎาคม 2512 โดยกระทรวงเกษตรและสหกรณ์แต่งตั้งให้ ม.ร.ว.เทพ ฤทธิ์ เทวกุล เป็นผู้อำานวยการโครงการ และหัวหน้าคณะปฏิบัติ การทดลอง เป็นคนแรก และเลือกพื้นที่วนอุทยานเขาใหญ่เป็น พื้นที่ทดลองเป็ นแห่ง แรก โดยทดลองหยอดก้อ นนำ้า แข็ง แห้ง (dry ice หรือ solid carbondioxide) ขนาดไม่เกิน 1 ลูกบาศก์ นิ้ ว เ ข้ า ไ ป ใ น ย อ ด เ ม ฆ สู ง ไ ม่ เ กิ น 10,000 ฟุ ต ที่ ล อ ย กระจัดกระจายอยู่เหนือพื้นที่ทดลองในขณะนั้น ทำาให้กลุ่มเมฆ ทดลองเหล่ า นั้ น มี ก ารเปลี่ ย นแปลงทางฟิ สิ ก ส์ ข องเมฆอย่ า ง เห็นได้ชัดเจน เกิดการกลั่นรวมตัวกันหนาแน่น และก่อยอดสูง ขึ้ น เป็ น เมฆฝนขนาดใหญ่ ในเวลาอั น รวดเร็ ว แล้ ว เคลื่ อ นตั ว ตามทิ ศ ทางลม พ้ น ไปจากสายตา ไม่ ส ามารถสั ง เกตได้ เนื่องจากยอดเขาบัง แต่จากการติดตามผลโดยการสำารวจทาง ภาคพื้น ดิน และได้รับรายงานยืนยันด้ว ยวาจาจากราษฎรว่ า เกิดฝนตกลงสู่พื้นที่ทดลองวนอุทยานเขาใหญ่ในที่สุด นับเป็น นิมิตหมายบ่งชี้ให้เห็นว่า การบังคับเมฆให้เกิดฝนเป็นสิ่งที่เป็น ไปได้
  • 3. 3 เทคโนโลยีฝ นหลวง เทคโนโลยีฝนหลวงเป็นเทคนิค หรือ วิชาการที่เกี่ยวกับ การดัดแปลงสภาพอากาศ โดยเน้นการทำาฝน เพื่อเพิ่มปริมาณ ฝนตก (Rain enhancement) และ/หรือ เพื่อให้ฝนตกกระจา ยอย่ า งสมำ่า เสมอ (Rain redistribution) สำา หรั บ ป้ อ งกั น หรื อ บรรเทาภาวะแห้งแล้งที่เกิดจากฝนแล้ง หรือฝนทิ้งช่วงนั้น เป็น วิชาการที่ใหม่สำาหรับประเทศไทยและของโลก ข้อมูลหลักฐาน (evidence) ที่ใช้พิสูจน์ยืนยัน เพื่อให้เกิดการยอมรับในระดับ นักวิชาการและผู้บริหารระดับสูง ถึงผลปฏิบัติการฝนหลวงทั้ง ทางด้ า นกายภาพ (Physic) และด้ า นสถิ ติ (Statistic) มี น้ อ ย มาก ดังนั้น ในระยะแรกเริ่มของการทดลองและวิจัย กรรมวิธี การปฏิ บัติ การฝนหลวง พระบาทสมเด็จ พระเจ้ า อยู่ หั ว จึ งได้ ทรงติดตามผลการวางแผนการทดลองปฏิบัติการ การสังเกต จากรายงานแทบทุ ก ครั้ ง โดยใกล้ ชิ ด ทรงหาความรู้ แ ละ ป ร ะ ส บ ก า ร ณ์ จ า ก นั ก วิ ช า ก า ร ที่ ท ร ง คุ ณ วุ ฒิ ท า ง ด้ า น อุตุนิยมวิทยา โดยได้รับสั่งให้เชิญ พล.ร.ท.สนิท เวสารัชนันท์ ร.น. อดีตอธิบดีก รมอุตุ นิยมวิท ยา พล.ร.ต.พิณ พันธุ ทวี ร.น. พร้อมด้วยนักวิชาการอื่นๆ มาเป็นคณะทำา งานถวายความคิด เห็น วิเคราะห์ผลปฏิบัติการที่ทางคณะปฏิบัติการฝนหลวงได้ ทดลองสั ง เกตผลการเปลี่ ย นแปลงแล้ ว ทำา รายงานเสนอเป็ น ประจำา กรรมวิธ ีก ารทำา ฝนหลวง (ฝนเทีย ม ) กรรมวิ ธี ก ารทำา ฝนหลวงในประเทศไทยที่ ใ ช้ เ ป็ น หลั ก ใน ปัจจุบัน สรุปได้ ดังนี้
  • 4. 4 ขั้น ตอนที่ห นึ่ง : ก่อ เมฆ เป็นการดัดแปรสภาพอากาศเพื่อเร่งหรือเสริมการเกิด เมฆ โดยการโปรยสารเคมี ผงละเอี ยดของเกลื อโซเดีย มคลอ ไรด์ (NaCl) ที่ระดับความสูง 7,000 ฟุต ในท้องฟ้าโปร่งใสที่มี ความชื้ น สั ม พั ท ธ์ ไ ม่ น้ อ ยกว่ า 60 เปอร์ เ ซ็ น ต์ ผงของเกลื อ โซเดียมคลอไรด์ ซึ่งมีคุณสมบัติในการดูดความชื้นได้ดี จะทำา หน้ า ที่ เ สริ ม ประสิ ท ธิ ภ าพของแกนกลั่ น ตั ว ในบรรยากาศ (Cloud Condensation Nuclei) เ รี ย ก ย่ อ ว่ า CCN ทำา ใ ห้ กระบวนการดูดซับความชื้นในอากาศให้กลายเป็นเม็ดนำ้าเกิด เร็วขึ้นกว่าธรรมชาติ และเกิดกลุ่มเมฆจำานวนมาก ซึ่งเมฆเหล่า นี้จะพัฒนาเป็นเมฆก้อนใหญ่ในเวลาต่อมา ขั้น ตอนที่ส อง : เลี้ย งให้อ ้ว น เป็นการดัดแปรสภาพอากาศ เพื่อเร่งหรือเสริมการ เพิ่มขนาดของเมฆและขนาดของเม็ดนำ้า ในก้อนเมฆ จะปฏิบัติ การเมื่ อ เมฆที่ ก่ อ ตั ว จากขั้ น ตอนที่ 1 หรื อ เมฆเดิ ม ที่ มี อ ยู่ ต าม ธรรมชาติ ก่อยอดสูงถึงระดับ 10,000 ฟุต โดยการโปรยสาร เคมีผงแคลเซียมคลอไรด์ (CaCl2) เข้าไปในกลุ่มเมฆที่ระดับ 8,000 ฟุต ผงแคลเซี่ยมคลอไรด์ซึ่งมีคุณสมบัติดูดความชื้นได้ ดี จะดูดซับความชื้นและเม็ดนำ้าขนาดเล็กในก้อนเมฆให้กลาย เป็ น เม็ ด นำ้า ขนาดใหญ่ ในขณะเดี ย วกั น จะเกิ ด ปฏิ กิ ริ ย าคาย ความร้อน ซึ่งเป็นคุณสมบัติเฉพาะของสารแคลเซี่ยมคลอไรด์ เมื่อละลายนำ้า ความร้อนที่เกิดขึ้นจะเพิ่มอัตราเร็วของกระแส อากาศไหลขึ้น (Updraft) ในก้อนเมฆ ทั้งขนาดเม็ดนำ้าที่โตขึ้น และความเร็วของกระแสอากาศไหลขึ้นที่เพิ่มขึ้น จะเป็นปัจจัย เ ร่ ง ก ร ะ บ ว น ก า ร ช น กั น แ ล ะ ร ว ม ตั ว กั น (Collision and coalescence process) ของเม็ดนำ้า ทำา ให้เม็ดนำ้า ขนาดใหญ่ จำา นวนมากเกิ ด ขึ้ น ในก้ อ นเมฆ และยอดเมฆพั ฒ นาตั ว สู ง ขึ้ น ในขั้ น นี้ เมฆจะมี ข นาดใหญ่ ขึ้ น และก่ อ ยอดสู ง ขึ้ น ไปได้ ม าก น้อยแค่ไหน ขึ้นอยู่กับการทรงตัวของบรรยากาศในแต่ละวัน ซึ่งแบ่งออกได้เป็น 2 ลักษณะ คือ ในบางวันเมฆจะไม่สามารถ ก่อยอดสูงเกินระดับอุณหภูมิจุดเยือกแข็ง ( 0 องศาเซลเซียส) หรือประมาณ 18,000 ฟุต เรียกว่า เมฆอุ่น (Warm Cloud) ใน
  • 5. 5 บางวั น เมฆจะสามารถก่ อ ยอดขึ้ น ไปสู ง กว่ า ระดั บ อุ ณ หภู มิ จุ ด เยื อ กแข็ ง เช่ น ถึ ง ระดั บ 20,000 ฟุ ต เรี ย กว่ า เมฆเย็ น (Cold Cloud) ซึ่งภายในยอดเมฆจะประกอบด้ ว ยเม็ ด นำ้า เย็ น จั ด (Super cooled droplet) ที่ มี อุ ณ ห ภู มิ ตำ่า ถึ ง - 8 อ ง ศ า เซลเซียส ขั้น ตอนที่ส าม : โจมตี เป็นการดัดแปรสภาพอากาศ เพื่อเร่งให้เมฆเกิดเป็นฝน ซึ่งสามารถกระทำา ได้ 3 วิธี ขึ้นอยู่กับคุ ณสมบั ติข องเมฆ และ ชนิดของเครื่องบินที่มีอยู่ ดังนี้ • วิธ ีท ี่ 1 "โ จ ม ตีเ ม ฆ อุ่น แ บ บ แ ซ น ด์ว ิช " ถ้าเป็นเมฆ อุ่น เมื่อเมฆแก่ตัว ยอดเมฆจะอยู่ที่ระดับ 10,000 ฟุต หรือ สู ง กว่ า เล็ ก น้ อ ย และเคลื่ อ นตั ว เข้ า สู่ พื้ น ที่ เ ป้ า หมาย จะ ทำาการโจมตีโดยวิธี Sandwich คือ ใช้เครื่องบิน 2 เครื่อง เครื่องหนึ่งโปรยผงโซเดียมคลอไรด์ (NaCl) ทับยอดเมฆ หรือไหล่เมฆที่ระดับ 9,000 ฟุต หรือ ไม่เกิน 10,000 ฟุต อีกเครื่องหนึ่งโปรยผงยูเรีย (Urea) ที่ฐานเมฆ ทำามุมเยื้อง กัน 45 องศา เมฆจะเริ่มตกเป็นฝนลงสู่พื้นดิน • วิธ ีท ี่ 2 "โ จ ม ตีเ ม ฆ เ ย็น แ บ บ ธ ร ร ม ด า " ถ้าเป็น เมฆ เย็นและมีเครื่องบินเมฆเย็นเพียงเครื่องเดียว เมื่อเมฆเย็น พัฒนายอดสูงขึ้นเลยระดับ 20,000 ฟุต ไปแล้ว จะทำาการ โจมตีโดยการยิงพลุสารเคมี ซิลเวอร์ไอโอไดด์ (AgI) เข้า สู่ ย อดเมฆ ที่ ร ะดั บ ความสู ง ประมาณ 21,500 ฟุ ต ซึ่ ง มี อุ ณ หภู มิ ร ะหว่ า ง -8 ถึ ง 12 องศาเซลเซี ย ส มี ก ระแส อากาศไหลขึ้นสูงกว่า 1,000 ฟุตต่อนาที และมีปริมาณนำ้า เย็นจัดไม่ตำากว่า 1 กรัมต่อลูกบาศก์เมตร ซึ่งเป็นเงื่อนไข เหมาะสม อนุภาคของสาร AgI จะทำาหน้าที่เป็นแกนเยือก แข็ง (Ice Nuclei) และเมื่อสัมผัสกับเม็ดนำ้าเย็นจัดในบอด เมฆ จะทำา ให้ เ ม็ ด นำ้า เหล่ า นั้ น กลายเป็ น นำ้า แข็ ง และคาย ความร้ อ นแฝงออกมา ซึ่ ง ความร้ อ นดั ง กล่ า วจะเป็ น พลังงานผลักดันให้ยอดเมฆเจริญสูงขึ้นไปอีก และมีการ ชัก นำา อากาศชื้ น เข้ า สู่ ฐ านเมฆเพิ่ ม ขึ้ น ในขณะเดี ย วกั น เม็ดนำ้าที่กลายเป็นนำ้าแข็ง จะมีความดันไอที่ผิวตำ่ากว่าเม็ด
  • 6. 6 นำ้า เย็ น จั ด ทำา ให้ ไ อนำ้า ระเหยจากเม็ ด นำ้า ไปเกาะที่ เ ม็ ด นำ้า แข็ง และเม็ดนำ้า แข็งจะเจริญเติบโตได้เร็วเป็นก้อนนำ้า แข็งที่มีนำ้า หนักเพิ่มขึ้น และจะล่วงหล่นลงสู่เบื้องล่าง ซึ่ง จะละลายเป็นเม็ดนำ้าฝน เมื่อผ่านชั้นอุณหภูมิเยือกแข็งลง มาที่ฐานเมฆ และเกิดเป็นฝนตกลงสู่พื้นดิน • วิ ธ ี ท ี่ 3 "โ จ ม ตี เ ม ฆ เ ย็ น แ บ บ ซู เ ป อ ร์ แ ซ น ด์ วิ ช " หากเป็นเมฆเย็น และมีเครื่องบินครบทั้งชนิดเมฆอุ่นและ เมฆเย็น เมื่อเมฆเย็นพัฒนายอดสูงขึ้นเลยระดับ 20,000 ฟุต ไปแล้ว จะทำาการโจมตีโดยการผสมผสานวิธีที่ 1 และ 2 ในเวลาเดี ย วกั น กล่ า วคื อ เครื่ อ งบิ น เมฆเย็ น จะยิ ง พลุ สารเคมี ซิลเวอร์ไ อโอไดด์ (Agl) เข้าสู่ ยอดเมฆ ที่ร ะดั บ ความสู ง ประมาณ 21,500 ฟุ ต ส่ ว นเครื่ อ งบิ น เมฆอุ่ น 1 เครื่อง จะโปรยสารเคมีโซเดียมคลอไรด์ที่ระดับไหล่เมฆ (ประมาณ 9,000 - 10,000 ฟุต) และเครื่องบินเมฆอุ่นอีก 1 เครื่อง จะโปรยสารเคมีผงยูเรียที่ระดับชิดฐานเมฆ ทำา มุมเยื้อ งกั น 45 องศา วิ ธีก ารนี้ จ ะทำา ให้ป ระสิ ท ธิ ภ าพใน การเพิ่มปริมาณนำ้าฝนสูงยิ่งขึ้น และเทคนิคนี้โปรดเกล้าฯ ให้เรียกชื่อว่า SUPER SANDWICH ขั้น ตอนที่ส ี่ : เพิ่ม ฝน การโจมตีเมฆในขั้น ตอนที่ 3 ทั้งสามวิ ธี อาจจะทำา ให้ ฝนใกล้จะตกหรือเริ่มตกแล้ว ขั้นตอนที่ 4 นี้ จะเร่งการตกของ ฝนและเพิ่ ม ปริ ม าณนำ้า โดยการโปรยเกล็ ด นำ้า แข้ ง แห้ ง (Dry ice) ที่ระดับใต้ฐานเมฆประมาณ 1,000 ฟุต เกล็ดนำ้า แข็งแห้ง ซึ่ ง มี อุ ณ หภู มิ ตำ่า ถึ ง -78 องศาเซลเซี ย ส จะปรั บ อุ ณ หภู มิ ข อง บรรยากาศระหว่างฐานเมฆกับพื้นดินให้เย็นลง ทำาให้ฐานเมฆ ยิ่งลดระดับตำ่าลง ฝนจะตกในทันที หรือที่ตกอยู่แล้ว จะมีอัตรา การตกของฝนสูงขึ้น ลดอัตราการระเหยของเม็ดฝนขณะล่วง หล่นลงสู่พื้นดิน และทำาให้ฝนตกต่อเนื่องเป็นเวลานานขึ้นและ หนาแน่นยิ่งขึ้น สารเคมีท ี่ใ ช้ใ นการทำา ฝนหลวง
  • 7. 7 สารเคมีที่นำาไปใช้ในการทำาฝนหลวงได้มีการวิเคราะห์ วิ จั ย อย่ า งถี่ ถ้ ว นถึ ง ผลกระทบว่ า เป็ น อั น ตรายต่ อ สิ่ ง มี ชี วิ ต ทั้ ง มนุษย์ พืชและสัตว์ ตลอดจนก่อให้เกิดมลภาวะต่อสิ่งแวดล้อม หรื อ ไม่ สารเคมี ทุ ก ชนิ ด ที่ ใ ช้ ใ นปั จ จุ บั น เป็ น สารเคมี ที่ มี คุณสมบัติดูดซับความชื้นได้ดี และเมื่อดูดซับความชื้นจะทำาให้ อุ ณ หภู มิ สู ง ขึ้ น หรื อ ตำ่า ลงแตกต่ า งกั น เพื่ อ ให้ เ ลื อ กชนิ ด และ ปริมาณใช้ได้ตามความเหมาะสมกับสภาพอากาศและขั้นตอน กรรมวิธีในขณะนั้ น ในรูปอนุภาคแบบผงและสารละลาย ทำา ห น้ า ที่ เ ป็ น แ ก น ก ลั่ น ตั ว ข อ ง เ ม ฆ (Clound condensation nuclei) ซึ่งมีลักษณะเป็นแกนแข็งและสารละลายเข้มข้น หรือ ใช้ ส ารเคมี ที่ มี อุ ณ หภู มิ ตำ่า กว่ า จุ ด เยื อ กแข็ ง ชั ก นำา ให้ ห ยดนำ้า หรือสารละลายเข้มข้นกลายเป็นหยดนำ้า แข็ง (Ice nuclei) ดัง นั้นสารเคมีที่ใช้จึงแบ่งออกเป็น 3 ประเภทคือ 1. ส า ร เ ค มี ป ร ะ เ ภ ท ค า ย ค ว า ม ร้ อ น ห รื อ ทำา ใ ห้ อุณ หภูม ิส ูง ขึ้น (Exothermic chemical) สารเคมี ช นิ ด นี้ เ มื่ อ ดู ด ซั บ ความชื้ น แล้ ว จะเกิ ด ปฏิ กิ ริ ย า ทำา ให้ อุ ณ หภู มิ สู ง ขึ้ น จะใช้ ส ารเคมี ป ระเภทนี้ เ พื่ อ ดั ด แปร สภาพอากาศให้ เ กิ ด ความเปลี่ ย นแปลงพลั ง ความร้ อ นที่ ทำาให้มวลอากาศเคลื่อนที่ (Thermodynamic) ด้วยการเพิ่ม ความร้อนอย่างฉับพลันที่เกิดจากปฏิกิริยา (Sensible heat) และความร้ อ นแฝงที่ เ กิ ด จากการกลั่ น ตั ว ของไอนำ้า รอบ อนุภาคสารเคมีที่เป็นแกนกลั่นตัวด้วย เมื่อเสริมกับความร้อน จากแสงอาทิ ตย์ จะทำา ให้ มวลอากาศในบริ เวณที่ โ ปรยสาร เคมี นี้ มี อุ ณ หภู มิ สู ง และเกิ ด การลอยตั ว ขึ้ น (Updraft) ได้ ดี กว่ า บริ เ วณที่ ไ ม่ ไ ด้ โ ปรยสารเคมี อุ ณ หภู มิ อ ากาศที่ สู ง ขึ้ น เพียง 0.1 องศาเซลเซียส จะมีผลที่ทำาให้เกิดการลอยตัวของ อากาศได้ ปัจจุบันนี้มีใช้ในการทำา ฝนเทียมในประเทศไทย 3 ชนิด คือ แคลเซียมคาร์ไบด์ (Calcium carbide ; CaC2) , แคลเซี ย มคลอไรด์ (Calcium Chloride ; CaCl2) และ แคลเซียมออกไซด์ (Calcium oxide ; CaO)
  • 8. 8 2. ส า ร เ ค มี ป ร ะ เ ภ ท ดู ด ก ลื น ค ว า ม ร้ อ น ห รื อ ทำา ใ ห้ อุณ หภูม ิต ำ่า ลง (Endothermic chemicals) สารเคมีประเภทนี้เมื่อดูดซับความชื้นแล้วจะเกิดปฏิกิริยา ทำา ให้ อุ ณ หภู มิ ตำ่า ลง จะใช้ ส ารเคมี ป ระเภทนี้ เ พื่ อ ให้ เ กิ ด ประสิ ท ธิ ภ าพในการดู ด ซั บ ความชื้ น แล้ ว กลายเป็ น แกน สารละลายเข้ ม ข้ น ที่ มี อุ ณ หภู มิ ตำ่า กว่ า อุ ณ หภู มิ ก ลั่ น ตั ว ซึ่ ง ทำาให้ประสิทธิภาพในการกลั่นตัวสูงขึ้น และทำาให้การเจริญ ของเม็ดนำ้า ในก้ อนเมฆมี ข นาดใหญ่ เ ร็ ว ขึ้ น และความร้ อ น แฝงที่ปล่อยออกมาจากการกลั่นตัวจะทำา ให้เกิดการลอยตัว ขึ้นของมวลอากาศและทำา ให้เกิดกระบวนการกลั่นตัวอย่าง ต่อเนื่อง นอกจากนี้กระบวนการชนและรวมตัวกันของเม็ด นำ้าให้เจริญใหญ่ขึ้นจะเสริมกระบวนการกลั่นตัวในขั้นเลี้ยง ให้อ้วน(Fatten) และเกิดกระบวนการแตกตัวของเม็ดนำ้า ที่ เจริ ญ ขึ้ น จนมี ข นาดใหญ่ จ นกระทั่ ง ความตึ ง ผิ ว (Surface tension) ไม่สามารถคงอยู่ได้ หรือตกลงปะทะกับกระแสลม ที่ลอยตัวขึ้น เม็ดนำ้าที่มีขนาดใหญ่นั้น จะแตกตัวเองเป็นเม็ด นำ้าขนาดเล็ก ๆ เพิ่มปริมาณแกนกลั่นตัวสารละลายเข้มข้นที่ เจือจางลอยตัวกลั บขึ้นไปเจริ ญใหม่ และเจริญขึ้นเป็น เม็ ด นำ้า ขนาดใหญ่ จ นกลายเป็ น ฝนตกลงมาหรื อ เกิ ด การแตก ตัวอย่างต่อเนื่องเป็นปฏิกิริยาลูกโซ่ กลไกหรือกระบวนการ ดังกล่าวเป็ นการขยายขนาดเมฆและเพิ่มปริมาณให้สูงขึ้น (Rain enhancement ) ปั จจุ บัน ในการปฏิบั ติก ารมี การใช้ สารเคมีประเภทนี้อยู่ 3 ชนิด คือ ยูเรีย ( Urea ; CO(NH2)2 ) , แอมโมเนี ย มไนเทรต ( Ammoniumnitrate ; NH4NO3 ) และ นำ้าแข็งแห้ง ( Dry ice ; CO2(s) ) 3. สารเคมีท ี่ท ำา หน้า ที่ด ูด ซับ ความชื้น ประการเดีย ว ส า ร เ ค มี ป ร ะ เ ภ ท นี้ เ มื่ อ เ กิ ด ป ฏิ กิ ริ ย า แ ล้ ว เ กิ ด ก า ร เปลี่ยนแปลงทางอุณหภูมิน้อยมาก จึงทำาหน้าที่เป็นแกนกลั่น ตั ว และกลายเป็ นแกนกลั่ นตั ว แบบสารละลายเข้ ม ข้ น เป็น สารที่ ใ ช้ ใ นทุ ก ขั้ น ตอนของกรรมวิ ธี ก่ อ กวน เลี้ ย งให้ อ้ ว น และโจมตี จากการกลั่นตัวจะคายความร้อนแฝง ทำา ให้เกิด การลอยตั ว ขึ้ น ของมวลอากาศก่ อ ให้ เ กิ ด ขบวนการกลั่ น
  • 9. 9 ตัวอย่างต่อเนื่องเช่นเดียวกัน ตัวอย่างสารเคมีประเภทนี้ เช่น เกลือ ( Sodium chloride ; NaCl ) ประโยชน์ข องการทำา ฝนหลวง เพื่อ การเกษตร ช่ วยแก้ ไขปั ญ หาขาดแคลนนำ้า ในช่ ว งที่ เ กิ ด ภาวะฝน แล้ ง หรือฝนทิ้ง ช่วงยาวนาน ซึ่งมีผ ลกระทบต่ อแหล่ งผลิ ต ทางการเกษตรที่กำา ลังให้ผลผลิต เช่น แถบจังหวัดจันทบุรี หรือเพชรบุรี และประจวบคีรีขันธ์ ช่วยเพิ่มปริมาณนำ้าให้กับ บริ เ วณพื้ น ที่ ลุ่ ม รั บ นำ้า ของแม่ นำ้า สายต่ า ง ๆที่ ป ริ ม าณนำ้า ต้นทุนลดน้อยลง เช่น แม่นำ้าปิง วัง ยม น่าน โดยเฉพาะในปี ที่ เ กิ ด วิ ก ฤตขาดแคลนนำ้า ที่ เ ขื่ อ นสิ ริ กิ ติ์ จั ง หวั ด อุ ต รดิ ต ถ์ สามารถเก็ บ นำ้า จากการทำา ฝนเที ย มได้ ถึ ง 4,204.18 ล้ า น ลูกบาศก์เมตร ในขณะที่ก่อนทำาฝนเทียมนั้นมีนำ้าเหลือเพียง 3,497.79 ล้านลูกบาศก์เท่านั้น เพื่อ การอุป โภคบริโ ภค ภาวะความต้ อ งการนำ้า ทั้ ง จากนำ้า ฝน และอ่ า งเก็ บ นำ้า ห้ว ย หนอง คลอง บึ ง เป็น ความต้อ งการที่ สำา คัญ ของผู้ ค น อย่ า งยิ่ ง การขาดแคลนนำ้า กิ น นำ้า ใช้ มี ค วามรุ น แรงมากใน ภาคตะวั น ออกเฉี ย งเหนื อ เนื่ อ งจากคุ ณ สมบั ติ ข องดิ น ใน ภูมิภ าคนี้เ ป็ นดิ นร่ วนปนทรายไม่ สามารถอุ้ม นำ้า ได้ จึ งได้มี การทำา ฝนเทียมขึ้นเพื่อช่วยให้ประชาชนในภู มิภ าคนี่ไ ด้มี นำ้าเพื่อการอุปโภคบริโภคในช่วงที่เกิดการขาดแคลน เสริม สร้า งเส้น ทางคมนาคมทางนำ้า
  • 10. 10 การขาดปริมาณนำ้าส่งผลมาถึงระดับนำ้าในแม่นำ้า ลดตำ่า ลง บางแห่ ง ตื้ น เขิ น จนไม่ ส ามารถสั ญ จรไปมาทางเรื อ ได้ เช่น ทางนำ้า ในแม่นำ้า เจ้าพระยาบางตอน ในปัจจุบันการทำา ฝนเที ย มเพื่ อ เพิ่ ม ปริ ม าณนำ้า ให้ กั บ บริ เ วณดั ง กล่ า วจึ ง เป็ น เรื่องสำาคัญยิ่ง เพราะการขนส่งทางนำ้าสิ้นค่าใช้จ่ายน้อยกว่า ทางอื่ น และการทางจราจรทางบกนั บ วั น แต่ จ ะมี ปั ญ หา รุนแรงมากขึ้นทุกขณะ ป้อ งกัน และบำา บัด ภาวะมลพิษ ของสิ่ง แวดล้อ ม หากนำ้า ในแม่นำ้า เจ้า พระยาลดน้อ ยลงมากนำ้า เค็ม จาก ทะเลอ่าวไทยก็จะไหลหนุนเนื่องเข้าไปแทนที่ทำา ให้เกิดนำ้า กร่อยขึ้น และเกิดความเสียหายแก่เกษตรกรเป็นจำานวนมาก จึงจำา เป็นที่จะต้องปล่อยนำ้า จากเขื่อนภูมิพลเพื่อ ผลักดัน นำ้า เค็มมิให้หนุนเข้ามาทำาความเสียหาย และช่วยบรรเทาภาวะ สิ่ ง แวดล้ อ มที่ เ ป็ น พิ ษ อั น เกิ ด จากการระบายนำ้า เสี ย ทิ้ ง ลงสู่ แม่ นำ้า เจ้ าพระยา และขยะมูล ฝอยที่ ผู้ค นทิ้ง ลงในแม่ นำ้า กั น อย่ า งมากมายนั้ น ปริ ม าณนำ้า จากการทำา ฝนเที ย มจะช่ ว ย ผลักดันออกสู่ท้องทะเล ทำาให้มลภาวะจากนำ้าเสียเจือจางลง คำา ถามชวนคิด 1. การทดลองทำา ฝนหลวงเป็น ครั้ง แรกเกิด ขึ้น ที่ใ ด และมีว ิธ ีก ารอย่า งไร 2. NaCl ทำา หน้า ที่อ ะไรในขั้น ตอนก่อ เมฆ 3. Updraft ใ น ขั้ น ต อ น เ ลี้ ย ง ใ ห้ อ้ ว น เ กิ ด ขึ้ น ไ ด้ อย่า งไร และส่ง ผลต่อ การเร่ง กระบวนการใด 4. เมฆอุ่น และ เมฆเย็น คือ อะไร 5. AgI ทำา หน้า ที่อ ะไรบ้า งในกรรมวิธ ีท ำา ฝนหลวง 6. SUPER SANDWISH คือ อะไร 7. การเพิ่ม ฝน ทำา ได้อ ย่า งไร 8. ย ก ตั ว อ ย่ า ง ส า ร เ ค มี ท ี่ ใ ช้ ท ำา ฝ น ห ล ว ง ป ร ะ เ ภ ท Endothermic chemical
  • 11. 11 9. เกลือ ช่ว ยในการทำา ฝนหลวงได้อ ย่า งไร 10. ฝ น ห ล ว ง ช่ ว ย บำา บั ด ภ า ว ะ ม ล พิ ษ ใ น สิ่ ง แวดล้อ มได้อ ย่า งไร โครงการพระราชดำา ริ “หญ้า แฝก : พืช ที่ม ีผ ลต่อ สิ่ง แวดล้อ มโลก” ใ น อ ดี ต ปั ญ ห า ก า ร ช ะ ล้ า ง พั ง ท ล า ย ข อ ง ดิ น ใ น ประเทศไทยเรานั้น เป็นปัญหาที่รุนแรงมากเนื่องจากพื้นที่ ประมาณหนึ่ ง ในสามของประเทศหรื อ ประมาณ 100 ล้ า น ไร่!!! มีปัญหาการชะล้างพังทลายสูง โดยสาเหตุสำา คัญที่ก่อ ให้เกิดการชะล้างพังทลายของดิน เนื่องมาจากนำ้าฝนที่ไหล บ่าจะกัดเซาะและพัดพาหน้าดินซึ่งมีธาตุอาหารพืชและปุ๋ย สูญเสียไปทำาให้การเพาะปลูกได้รับผลผลิตตำ่า และถ้าปล่อย ทิ้ งไว้ โดยมิได้ ทำา การป้ อ งกั น แก้ ไ ข หน้า ดิน ก็จ ะถู ก ชะล้ า ง พัดพาไปจนหมด จนไม่สามารถทำา การเกษตรได้อีกต่อไป นอกจากนี้ ยังมีสาเหตุจากการใช้พื้นดินเป็นเวลานานโดย ขาดการดู แ ลรั ก ษา การบุ ก รุ ก ทำา ลายป่ า การเพาะปลู ก ที่ ปราศจากการป้องกันการชะล้างพังทลายของดิน ตลอดจน การเพิ่มของประชากรและการขยายตัวของภาคธุรกิจ ทำาให้ เกิด การขยายการเกษตรไปสู่พื้ น ที่ สู ง ด้วยสาเหตุดั งกล่า ว จึงเกิดปัญหาการชะล้างพังทลายและความเสื่อมโทรมของ ดิน ซึ่งทวีความรุนแรงมากขึ้นจนอยู่ในขั้นวิกฤติ และด้วย พระมหากรุณาธิคุณของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวที่ได้ ทรงตระหนั ก ถึ ง ความสำา คั ญ และจำา เป็ น ในการที่ จ ะต้ อ งมี มาตรการในการแก้ ไ ขปั ญ หาดั ง กล่ า ว ในปี พุ ท ธศั ก ราช
  • 12. 12 2534 จึงทรงมีพระราชดำาริว่า “เนื่องจากหญ้าแฝกเป็นพืชที่ มีระบบรากลึกแผ่กระจายลงไปในดินตรง ๆ เป็นแผงเหมือน กำา แพง ซึ่ งช่ วยกรองตะกอนดิ น และรั ก ษาหน้ า ดิ น ได้ ดี จึ ง ควรนำา มาใช้ ใ นการอนุ รั ก ษ์ ดิ น และนำ้า รวมทั้ ง ปรั บ สภาพ แวดล้ อ มดิ น ให้ ดี ขึ้ น ” โดยให้ ศึ ก ษาดำา เนิ น การทั้ ง ในพื้ น ที่ เพาะปลู ก และในพื้ น ที่ ป่ า ไม้ โดยพระองค์ ไ ด้ ท รงทอด พระเนตรการทดลองเกี่ยวกับหญ้าแฝกอยู่เป็นระยะ ๆ และ ได้ พ ระราชทานทรั พ ย์ ส่ ว นพระองค์ จำา นวน 10,000 ล้ า น เหรียญสหรัฐให้กับธนาคารโลกผ่านทางเครือข่ายข่าวสาร หญ้าแฝก เพื่อสนับสนุนการวิจัยเกี่ยวกับหญ้าแฝกอีกด้วย คุ ณสมบั ติ เ ด่ น ของหญ้ า แฝกคื อ เป็น หญ้ า ที่ มี ค วาม ทนทาน ปลูกง่าย ขึ้นได้ดีในดินหลาย ๆ ประเภท ทั้งในดินดี และดินเลว แม้กระทั่งในดินที่เป็นดินเปรี้ยว ดินเค็ม ดินด่าง ดินทราย หรือดิ นปนลู กรั ง เป็นต้ น หญ้าแฝกจะขึ้น เป็ นกอ โคนกออัดกันแน่น มีการเจริญเติบโตจากกอเล็กเป็นกอใหญ่ โ ด ย ก า ร แ ต ก ห น่ อ เ ส้ น ผ่ า ศู น ย์ ก ล า ง ก อ ป ร ะ ม า ณ 30 เซนติเมตร จากแนวพระราชดำาริและการส่งเสริมการศึกษาวิจัย หญ้าแฝกของพระองค์ท่านนี้เอง ที่ช่วยแก้ปัญหาดินชะล้าง พั ง ทลายและความเสื่ อ มโทรมของดิ น ลงได้ ส่ ง ผลให้ ชี วิ ต ความเป็ น อยู่ ข องเกษตรกรดี ขึ้ น เป็ น ลำา ดั บ พระปรี ช า สามารถในการนำาเอาความรู้ความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี ม าใช้ ใ นการแก้ ไ ขปั ญ หาประเทศของ พระองค์ท่านนั้นยังมีอีกมากมาย คำา ถาม จ า ก เ รื่ อ ง ร า ว แ ล ะ จ า ก ก า ร ค้ น ค ว้ า จ ง วิ เ ค ร า ะ ห์ กระบวนการทางวิท ยาศาสตร์เ กี่ย วกับ เรื่อ งแฝก
  • 13. 13 โ ค ร ง ก า ร พ ร ะ ร า ช ดำา ริ เ ขื่ อ น ป่ า สั ก ชลสิท ธิ์ "แม่น ำ้า ป่า สัก " เป็นแม่นำ้าสายสำาคัญที่สุดสายหนึ่งของ ชาวจังหวัดลพบุรีและสระบุรี ประชาชนจะได้ประโยชน์จาก แม่นำ้าป่าสักอย่างมหาศาล ไม่ว่าจะเป็นด้านเกษตรกรรมหรือ การประมง แต่ในช่วงเดือนสิงหาคม - เดือนตุลาคมของทุกปี
  • 14. 14 จะเกิดนำ้า ท่วมฉับพลันในหลายพื้นที่ของจังหวัดลพบุรี เช่น ตำาบลมะนาวหวาน ตำาบลหนองบัว อำาเภอพัฒนานิคม ตำาบล ลำานารายณ์ อำาเภอชัยบาดาล และหมู่บ้านใกล้เคียงอีก รวม ไ ป ถึ ง จั ง ห วั ด ส ร ะ บุ รี จั ง ห วั ด พ ร ะ น ค ร ศ รี อ ยุ ธ ย า กรุ ง เทพมหานครและปริ ม ณฑล สำา หรั บ ในช่ ว งเดื อ น มกราคม - เดือนพฤษภาคม พื้นที่ในลุ่มนำ้าป่าสักก็จะประสบ ภาวะแห้งแล้ง ขาดแคลนนำ้า ใช้เพื่อการเกษตร และอุปโภค บ ริ โ ภ ค ในปี 2508 กรมชลประทานได้เริ่มศึกษาโครงการเขื่อน เก็บกักนำ้า แม่นำ้าป่าสัก แต่เนื่องจากค่าใช้จ่ายสูงจึงได้ระงับ โครงการฯ พระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู่ หั ว ทรงมี พ ระราช กรณี ย กิ จ มากมายหลายด้ า น แต่ ห ลายครั้ ง ที่ พ ระองค์ ท่ า น เสด็จพระราชดำาเนินมาเยี่ยมราษฎรจังหวัดลพบุรีด้วยความ ห่ ว งใย และได้ เ สด็ จ ไปทอดพระเนตรพื้ น ที่ ใ นเขตอำา เภอ ชั ย บ า ด า ล จั ง ห วั ด ล พ บุ รี ที่ กำา ลั ง ป ร ะ ส บ ปั ญ ห า อ ยู่ ด้วยสายพระเนตรอันยาวไกล และด้วยความห่วงใยใน พสกนิกร ของประชาชน ด้วยพระอัจฉริยภาพที่ลำ้า ลึ กและ เป็ นพระมหากษั ตริ ย์นั กพั ฒนาที่ ยิ่ง ใหญ่ ทรงแก้ ปัญ หาให้ "ค ว า ม โ ห ด ร้ า ย " ของแม่ นำ้า ป่ า สั ก กลั บ กลายเป็ น "ค ว า ม สงบเสงี่ย ม " ที่น่านิยม พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงหา ทางแก้ไขปัญหาความเดือดร้อนของประชาชน เมื่อวันที่ 19 กุ ม ภาพั น ธ์ พ.ศ.2532 พระองค์ ท่ า นได้ มี พ ระราชดำา ริ ใ ห้ กรมชลประทานดำา เนิ น การศึ ก ษาความเหมาะสมของ โครงการเขื่อนกักเก็บ นำ้า แม่นำ้า ป่ าสักอย่างเร่งด่วน เพื่อแก้ ปัญหาความขาดแคลนนำ้า เป็นประโยชน์ต่อพื้นที่เพาะปลูก แ ล ะ บ ร ร เ ท า อุ ท ก ภั ย ที่ เ กิ ด ขึ้ น วันที่ 1 กรกฎาคม 2535 กรมชลประทานได้ว่าจ้างกลุ่ม บริ ษั ท ที่ ป รึ ก ษา ศึ ก ษา ความเหมาะสมและผลกระทบสิ่ ง แวดล้อมของโครงการเขื่อนเก็บนำ้าป่าสัก รวมทั้งแผนปฏิบัติ การแก้ไข พัฒนาสิ่งแวดล้อม โดยมีสำานักงานคณะกรรมการ พิเศษ เพื่อประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำาริ
  • 15. 15 เป็นแกนกลางในการดำา เนินงานสนับสนุนด้านงบประมาณ ต่อมาพระเจ้าอยู่หัวได้พระราชทาน พระราชดำา รัสเนื่องใน วโรกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา เมื่อวันที่ 4 ธันวาคม พ.ศ. 2536 ว่า ...ปัญหาเรื่องภัยแล้งนี้จะเป็นปัญหาที่แก้ไม่ได้ และหมู่ นี้ก็พูดกันอย่างขวัญเสียว่าอีกหน่อยต้องปันส่วนนำ้าหรือต้อง ตัดนำ้าประปา อันนี้สำาหรับกรุงเทพฯ ดังนั้นต้องหาแนวทาง แก้ไข ซึงปัญหานี้ต้องวางแผนมาเป็นเวลาหลายปีแล้ว ถ้า ่ หากว่าได้ปฏิบัติในวันนี้ เราก็ไม่ต้องพูดถึงการขาดแคลนนำ้า โครงการโดยเฉพาะนั้นก็มี และโครงการนั้นได้ยืนยันมาเมื่อ เดือนกว่าแล้วที่นราธิวาส ได้วางโครงการและแม้เป็น โครงการที่ไม่ได้แก้ปีนี้ หรือปีหน้า แต่ถ้าทำาอย่างดีประมาณ 5 หรือ 6 ปี ปัญหานำ้าขาดแคลนในกรุงเทพฯจะหมดไปโดย สิ้นเชิง อาจจะนึกว่า 5-6 ปี นั้นนาน ความจริงไม่นานและ ระหว่างนี้เราก็พยายามแก้ไขเฉพาะหน้าไปเรื่อย แต่ถ้ามี ความหวังว่า 5-6 ปีปัญหานี้คงหมดไปก็คงมีกำาลังใจที่จะฟัน ฟ่าชีวิตต่อไป ที่ว่า 5-6 ปีนี้ ความจริงได้เริ่มโครงการนี้มากว่า 5-6 ปี โครงการที่คิดจะทำานี้บอกได้ ไม่กล้าพูดมาหลายปีแล้ว เพราะเดี๋ยวจะมีการคัดค้านจากผู้เชี่ยวชาญจากผู้ที่ต่อต้าน การทำาโครงการแต่โครงการนี้เป็นโครงการที่อยู่ในวิสัยที่จะ ทำาได้ แม้จะต้องเสียค่าใช้จ่ายไม่ใช่น้อย แต่ถ้าดำาเนินไป เดี๋ยวนี้อีก 5-6 ปี ข้างหน้าเราก็สบาย แต่ถ้าไม่ทำาในอีก 5-6 ปี ข้างหน้าราคาค่าสร้าง ค่าดำาเนินการก็จะขึ้นไป 2 เท่า 3 เท่า ลงท้ายก็จะต้องประวิงต่อไป และเมื่อประวิงต่อไปไม่ได้ ทำา เราก็ต้องอดนำ้าแน่ จะกลายเป็นทะเลทราย แล้วเราก็จะ อพยพไปที่ไหนไม่ได้ โครงการนี้คือสร้างอ่างเก็บนำ้า 2 แห่ง แห่งหนึ่งคือแม่นำ้าป่าสัก อีกแห่งคือแม่นำ้านครนายก สอง แห่งรวมกันจะเก็บกักนำ้าเหมาะสมพอเพียงสำาหรับการ บริโภค การใช้ในเขตกรุงเทพฯ และเขตใกล้เคียงที่ราบลุ่ม ของประเทศไทยนี้ สำาหรับการใช้นำ้านั้น ต้องทราบว่าแต่ละ คนใช้อยู่อย่างสบายพอสมควร โดยเฉลี่ย คนหนึ่งใช้วันละ
  • 16. 16 200 ลิตรถ้าคำานวณดูว่า วันละ 200 ลิตรนี้ 5 คน ก็ใช้ 1,000 ลิตร คือ หนึ่งลูกบาศก์เมตรต่อวัน ถ้าปีหนึ่งคูณ 365 ก็หมายความว่า 5 คนใช้ในหนึ่งปี 365 ลูกบาศก์เมตรใน กรุงเทพฯและในบริเวณใกล้เคียงนี้เรานับเอาคร่าว ๆ ว่ามี 10 ล้านคน 10 ล้านคนก็คูณเข้าไป ก็เป็น 730 ล้าน ลูกบาศก์เมตรฉะนั้นถ้าเราเก็บกัก 730 ล้านลูกบาศก์เมตร ในเขื่อน เราก็จะสามารถที่จะบริการคนในละแวกนี้ คนใน ภาคกลางใกล้กรุงเทพฯนี้ได้ตลอดไป แล้วก็ไม่มีความ ขาดแคลนเขื่อนป่าสักที่ตอนแรกวางแผนให้จุได้ 1,350 ล้านลูกบาศก์เมตร แต่แก้ไปแก้มาก็เหลือ 750 ล้านกว่า ๆ ตามตัวเลขที่ให้ไว้นี้ แม้เขื่อนป่าสักเขื่อนเดียวก็พอ พอ สำาหรับการบริโภคแน่นอน ไม่แห้ง ถ้าเติมอีกโครงการที่ นครนายก จะได้อีก 240 ล้านลูกบาศก์เมตร ก็เกินพอ... ประโยชน์ข องเขื่อ นเก็บ กัก นำ้า แม่น ำ้า ป่า สัก 1. เป็นแหล่งสำา หรับอุ ปโภคบริโภคของชุมชนต่าง ๆ ในเขตจังหวัด ลพบุรี และจังหวัด สระบุ รี (ลำา นารายณ์ พัฒนานิ คม วังม่ วง แก่งคอย และชุมชนขนาดย่อมใกล้เคียง) 2. เ ป็ น แ ห ล่ ง นำ้า สำา ห รั บ ก า ร เ ก ษ ต ร ใ น พื้ น ที่ ชลประทานที่จะเกิดขึ้นใหม่ ในเขตจั ง หวั ด ลพบุ รี แ ละสระบุ รี 135,5000 ไร่ (แก่ ง คอย- บ้ า น ห ม อ 80,000 ไ ร่ ,พั ฒ น า นิ ค ม 35,500 ไ ร่ แ ล ะ พัฒนานิคม-แก่งคอย 20,000 ไร่) 3. เ ป็ น แ ห ล่ ง นำ้า เ ส ริ ม สำา ห รั บ พื้ น ที่ โ ค ร ง ก า ร ชลประทานเดิม ในทุ่ง เจ้าพระยาฝั่งตะวันออกตอนล่าง เนื้อที่ประมาณ 2,200,000 ไร่ (ทำาให้ลดการใช้นำ้าจากแม่นำ้าเจ้าพระยานำานำ้าจากแม่นำ้า ป่าสักไปใช้ในแถบจังหวัดลพบุรีและสระบุรีโดยตรง) 4. ช่ ว ยป้ อ งกั น อุ ท กภั ย ให้ พื้ น ที่ ริ ม แม่ นำ้า ป่ า สั ก ใน เขตจังหวัดลพบุรีและ สระบุรีและยังมีผลช่วยบรรเทาอุทกภัยในพื้นที่ตอนล่างของ แม่นำ้าเจ้าพระยารวมถึงกรุงเทพมหานครและปริมณฑลด้วย 5. เป็ น แหล่ ง นำ้า เพื่ อ การอุ ต สาหกรรมในเขตจั ง หวั ด ลพบุรีและสระบุรี
  • 17. 17 6. อ่ า งเก็ บ นำ้า ที่ เ กิ ด ขึ้ น จะเป็ น แหล่ ง เพาะพั น ธุ์ ป ลา และเป็นแหล่งประมง นำ้าจืดขนาดใหญ่ 7. ช่ วยการคมนาคมทางนำ้า ในแม่ นำ้า ป่ า สั ก ตอนล่ า ง และการแก้ไขปัญหา นำ้าเสีย 8. เป็ น แหล่ ง นำ้า ช่ ว ยเสริ ม เพื่ อ แก้ ไ ขปั ญ หาการ ขาดแคลนนำ้าอุปโภคบริโภคในเขตกรุงเทพฯและ ปริมณฑล 9. เป็นแหล่งท่องเที่ยวที่สำาคัญ 10. ทำา ให้ เ ศรษฐกิ จ ของจั ง หวั ด ลพบุ รี และจั ง หวั ด สระบุรีขยายตัวมากขึ้น เป็นที่น่าปลาบปลื้มที่พระองค์ทรงเป็นห่วงพสกนิกรชาว จังหวัดลพบุรีและจังหวัดใกล้เคียงถึงประโยชน์ที่ราษฎรของ พระองค์ จ ะได้ รั บ จากโครงการนี้ ณ พื้ น ที่ ซึ่ ง เคยปรากฏ ความแห้งแล้ง สลับภาวะนำ้าท่วม อันส่งผลให้ประชาชนต้อง มี ชี วิ ต อยู่ อ ย่ า งลำา บากทุ ก ข์ ย าก บั ด นี้ ได้ มี เ ขื่ อ นดิ น ขนาด ใหญ่ซึ่งมีความสูงกว่า 31 ม. และยาวเกือบ 5,000 ม. มาตั้ง เป็ น แนวกั้ น นำ้า อยู่ ใ นแม่ นำ้า ป่ า สั ก พร้ อ มอ่ า งเก็ บ นำ้า ขนาด ใหญ่ ที่ มี ค วามจุ นำ้า ได้ สู ง สุ ด ถึ ง 960 ล้ า น ลบ.ม. เพื่ อ นำา ความอุดมสมบูรณ์มาสู่พื้นที่ที่เคยประสบความแห้งแล้ง โดย มีอาคารพิพิธภัณฑ์ลุ่มนำ้า ป่าสัก เป็นสถานที่จัดแสดงสภาพ ชีวิตผู้คนในอดีต ที่เคยใช้ชีวิตร่วมกันอยู่ในบริเวณลุ่มนำ้าป่า สั ก แห่ ง นี้ สำา หรั บ ให้ ค นรุ่ น หลั ง ได้ ศึ ก ษาร่ อ งรอยแห่ ง อารยธรรม ไว้เตือนจำาและเตือนใจคนในรุ่นปัจจุบัน และใน อนาคตมิให้ทำา ลายทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอีก ต่อไป คำา ถ า ม ใ น ก า ร ส ร้ า ง เ ขื่ อ น จำา เ ป็ น จ ะ ต้ อ ง มี ค ว า ม รู้ เ กี่ ย ว กั บ ฟิ สิ ก ส์ ใ น เ รื่ อ ง ใ ด บ้ า ง นั ก เ รี ย น สามารถศึก ษาได้จ ากกิจ กรรมด้า นล่า ง
  • 18. 18 ตัว อย่า งรูป ของเขื่อ นใน ประเทศไทย
  • 19. 19 เขือ นบาง ่ ลาง เขือ นรัช ช ประภา เขื่อ นวชิล า ลงกรณ เขื่อ นขุน ด่า น ปราการ 1. ให้นักเรียนสังเกตรูปเขื่อน ด้านบน แล้วพิจารณาว่าทำาไมจึงมีลักษณะการสร้างเขื่อน เป็นเช่นนั้น .................................................................................... .................................................................................... .................................................................................... .................................................................................... ......................
  • 20. 20 .................................................................................... .................................................................................... .................................................................................... .................................................................................... ...................... .................................................................................... .................................................................................... .................................................................................... .................................................................................... ...................... .................................................................................... .................................................................................... .................................................................................... .................................................................................... ...................... .................................................................................... .................................................................................... .................................................................................... .................................................................................... ...................... .................................................................................... .................................................................................... .................................................................................... .................................................................................... ...................... .................................................................................... .................................................................................... .................................................................................... .................................................................................... ...................... .................................................................................... .................................................................................... ....................................................................................
  • 21. 21 .................................................................................... ...................... .................................................................................... .................................................................................... .................................................................................... .................................................................................... ...................... .................................................................................... .................................................................................... ........... .................................................................................... .................................................................................... ........... .................................................................................... .................................................................................... .................................................................................... .................................................................................... ...................... .................................................................................... .................................................................................... ........... .................................................................................... .................................................................................... ........... .................................................................................... .................................................................................... .................................................................................... .................................................................................... ...................... .................................................................................... .................................................................................... ...........
  • 22. 22 .................................................................................... .................................................................................... ........... .................................................................................... .................................................................................... .................................................................................... .................................................................................... ...................... .................................................................................... .................................................................................... ........... 2. ให้นักเรียนนำาขวดนำ้าเปล่ามาเจาะรูที่ระดับความสูงต่างๆ (3–4 รู) ใส่นำ้าจนเต็มแล้วสังเกตการไหลของนำ้าแต่ละรูที่ เจาะไว้ ดังรูปด้านล่าง - ทำาไมนำ้าจึงพุ่งออกจากรูที่เจาะไว้ แล้วสังเกตการ พุ่งออกของนำ้าในแต่ละรูว่ามีลักษณะอย่างไรและเหตุใดจึง เป็นเช่นนั้น .................................................................................... ....................................................................................
  • 23. 23 .................................................................................... .................................................................................... ...................... .................................................................................... .................................................................................... .................................................................................... .................................................................................... ...................... .................................................................................... .................................................................................... .................................................................................... .................................................................................... ...................... .................................................................................... .................................................................................... .................................................................................... .................................................................................... ...................... .................................................................................... .................................................................................... .................................................................................... .................................................................................... ...................... 3. แรงที่นำ้ากระทำาต่อผนังเขื่อนที่ระดับความลึกต่าง ๆ กันมี ค่าเท่ากันหรือไม่ นักเรียนจะมีวิธีการหาแรงดันฉลี่ยที่ผนัง เขื่อนได้อย่างไร แล้วเกี่ยวข้องกับลักษณะของเขื่อนที่ นักเรียนเห็นในรูปได้อย่างไร .................................................................................... ....................................................................................
  • 24. 24 .................................................................................... .................................................................................... ...................... .................................................................................... .................................................................................... .................................................................................... .................................................................................... ...................... .................................................................................... .................................................................................... .................................................................................... .................................................................................... ...................... .................................................................................... .................................................................................... .................................................................................... .................................................................................... ...................... .................................................................................... .................................................................................... .................................................................................... .................................................................................... ...................... .................................................................................... .................................................................................... .................................................................................... .................................................................................... ...................... .................................................................................... .................................................................................... .................................................................................... .................................................................................... ......................
  • 25. 25 .................................................................................... .................................................................................... .................................................................................... .................................................................................... ...................... .................................................................................... .................................................................................... .................................................................................... .................................................................................... ...................... โครงการพระราชดำาริ สะพานพระราม 8 โครงการสะพานพระร าม 8 เป็นโครงการตามแนว พระราชดำา ริเพื่ อแก้ไ ขปั ญหาการสัญ จรของประชาชนใน กรุงเทพมหานครให้ได้รับความสะดวกยังผลสู่ภาพรวมของ ประเทศทั้งด้านสั งคม และเศรษฐกิจ ดั ง พระราชดำา รั ส พระบาทสมเด็ จ พระเจ้าอยู่หัว เมื่อวันที่ 22 มีนาคม 2537 ความว่า “สำาหรับการจราจรเครื่องมือ นั้นสำาคัญที่สุดคือถนนก็ต้องมีถนนที่
  • 26. 26 เหมาะสมที่เครื่องควบคุมการจราจรไม่ใช่เรื่องของรัฐศาสตร์ หรือของตำารวจ หรือของศาล เป็นเรื่องของวิศวกรรมก็จะ ต้องให้ดีขึ้น คือหมายความว่าทำาให้ถนนดีขึ้น ให้สอดคล้อง ซึ่งเป็นการบ้านที่หนักสุด เพราะว่ากรุงเทพฯ ได้สร้างมาเป็น เวลา 200 ปีแล้ว ไม่ได้มแผนผังเมืองที่จริงๆ จัง ก็มีการ ี ผังเมืองของทางการ แต่ว่าก็ไม่ได้ประโยชน์มากนักเพราะ ว่าคนไทย ตามชือคนไทย คืออิสระบังคับกันไม่ได้ จะสร้าง ่ อะไรก็สร้าง อยากจะสร้างเดี๋ยวนี้ก็สร้างก็ไปขวางกับคนอื่น คือขวางทางอื่นอันนี้ก็เลยแก้ไม่ได้...” การก่อสร้างสะพานในบริเวณที่เป็นมหานครนั้นมีธรรมเนียม ปฏิบัติกันอยู่ คือ แต่ละสะพานจะต้องมีลักษณะโดดเด่นและ เป็นหนึ่ง ซึ่งลักษณะที่สวยงาม คือ จะต้องเป็นสะพานที่มี ตอม่ออยู่ในแม่นำ้าน้อยที่สุดหรือไม่มีเลย เช่นเดียวกับสะพาน พระราม 8 ซึ่งเป็นสะพาน ขึงเสาเดี่ยวแบบอสมมาตร โครงการสะพานพระราม๘ เป็นส่วนหนึ่งของโครงการจตุรทิศ แนวตะวันออกไปตะวัน ตก พระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู่ หั ว ได้ พ ระราชทานแผนที่ ใ ห้ กรุ ง เทพมหานคร ซึ่ ง ทรงเขี ย นแนวเส้ น ทางพระราชดำา ริ ด้วยลายพระหัตถ์ของพระองค์เอง เพื่อให้กรุงเทพมหานคร ไปศึกษาความเป็นไปได้ในการก่อสร้างตามพระราชดำาริ สำา หรับ แนวทางขึ้ นลงของสะพานด้ า นฝั่ ง พระนคร ใน ถนนวิสุทธิกษัตริย์บริเวณด้านข้างธนาคารแห่งประเทศไทย นั้น ทรงแนะนำาให้ศึกษารายละเอียดให้ดีเสียก่อนในบริเวณ
  • 27. 27 ที่เป็นทางแยกตัดกันของถนนวิสุทธิกษัตริย์กับถนนสามเสน ความว่าหากกรุงเทพมหานครจะขุดอุโมงค์ให้รถลอด ควร ระวังเรื่องปัญหานำ้าท่วมเท่านั้น พระราชทานนามสะพานนี้ว่า “ สะพานพระราม๘ ” เพื่อ เป็นการรำาลึกถึงพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล รัชกาลที่ ๘. จากการศึ ก ษาพบว่ า โ ค ร ง ก า ร ส ะ พ า น พ ร ะ ร า ม 8 ได้มี การนำาเอาระบบการก่อสร้างสะพานและเทคโนโลยีสมัยใหม่ เข้ามาใช้ ไม่ว่าจะเป็นการก่อสร้างในส่วนของฐานราก ของ ตัวโครงสร้างเสาสะพานจนกระทั่งการติดตั้งสายเคเบิล ซึ่ง ขั้ น ตอนการก่ อ สร้ า ง สะพานพระราม 8 เริ่ม จ า ก ก า ร ก่ อ ส ร้ า ง ฐานราก ได้ มี ก ารนำา เอาระบบระบายความ ร้ อ นด้ ว ย วิ ธี Cooling Pipe แ ล ะ ค อ น ก รี ต ผ ส ม เ ถ้ า ล อ ย (Fly Ash) ม า ใ ช้ ใ น ส่ ว น ของคอนกรี ต ฐานราก สำา หรั บ ตั วโครงสร้ า งเสาสะพานหลั ก มี ก ารนำา เสนอให้ ใ ช้ ระบบแบบและนั่งร้านที่สามารถประกอบแบบ หล่อคอนกรีต ถอดแบบและเคลื่อนแบบทั้งชุดไปยังที่จะหล่อคอนกรีต ด้วย ระบบ Climbing Form System เพื่อให้การก่อสร้างเป็นไป อย่างต่อเนื่องและรวดเร็ว และได้มีการก่อสร้างพื้ นสะพาน ช่วงด้านหลังเพื่อใช้เป็นพื้นที่ประกอบและติดตั้งสายเคเบิล ในการติดตั้งโครงสร้าง พื้นสะพานนั้นจะทำาพร้อมกับการดึง ส่ายเคเบิลตามขนาดแรงดึงที่ออกแบบไว้ที่ละช่วง พร้อมวาง แผ่นพื้นคอนกรีตเสริมเหล็ก ผูกเหล็กเสริมคอนกรีต และเท
  • 28. 28 คอนกรีตบริเวณรอยต่อของแผ่นพื้นทุกด้าน ดำาเนินเช่นนี้ไป เรื่อยๆ จนกระทั่งตัวสะพานถึงเสารับสะพาน บนฝั่งพระนคร ซึ่งการก่อสร้างสะพานพระราม 8 นี้จะเป็นการยกระดับการ ก่อสร้างในประเทศไทยให้ก้าวไปอีกขั้นด้วย ส ะ พ า น พ ร ะ ร า ม 8 ส ถ า ปั ต ย ก ร ร ม ง า น ...ข้ า ม เจ้า พระยา สะพานพระราม 8 เป็นสะพานข้าม แม่นำ้า เจ้าพระยาแห่ง ที่ 13 มีแนวสายทางเชื่อมต่อกับทางคู่ขนานลอยฟ้าบรมราช ชนนี ข้ า มแม่ นำ้า เจ้ า พระยาบริ เ วณโรงงานสุ ร าบางยี่ ขั น บรรจบกั บ ปลายถนนวิ สุ ท ธิ ก ษั ต ริ ย์ ใกล้ กั บ ธนาคารแห่ ง ประเทศไทย ซึ่ ง ได้ รั บ พระมหากรุ ณ าธิ คุ ณ จากพระบาท สมเด็ จ พระเจ้ า อยู่ หั ว ทรงมี พ ระราชดำา ริ เ มื่ อ วั น ที่ 15 ก.ค. 2538 ให้ ก รุ ง เทพมหานคร ก่ อ สร้ า งสะพานข้ า มแม่ นำ้า เจ้าพระยาเพิ่มอีก 1 แห่ง เพื่อบรรเทาการจราจรบนสะพาน พระปิ่ น เกล้ า รองรั บ การเดิ น ท าง เชื่ อ ม ต่ อ ระหว่ า ง ฝั่ ง พระนครกั บ ฝั่ ง ธนฯ และเป็ น จุ ด เชื่ อ มต่ อ โครงการพระ ร า ช ดำา ริ ต า ม แ น ว จ ตุ ร ทิ ศ สะพานพระราม 8 มีความยาวรวม 475 เมตร สูงเท่าสะพาน พระปิ่น เกล้า ลาดชันไม่เ กิน 3% เป็นสะพานหลั กช่ วงข้า ม แม่ นำ้า 300 เมตร สะพานยึ ด ช่ ว งบนบก 100 เมตร และ สะพานช่ ว งโครงสร้ า งยึ ด เสา 75 เมตร มี รู ป แบบโดดเด่ น สวยงามเพราะได้ออกแบบเป็นสะพานขึงแบบอสมมาตร ซึ่ง หมายความว่ามีเสาสะพานหลักเสาเดียวบนฝั่งธนฯ และมีเสา รับนำ้าหนัก 1 ต้น บนฝั่งพระนคร จึงไม่มีเสารับนำ้าหนักตั้งอยู่ ในแม่นำ้า เจ้าพระยา ทำา ให้ไม่มีปัญหาต่อการสัญจรทางนำ้า ช่วยป้องกันนำ้า ท่วมและระบบนิเวศนวิทยาในนำ้า รวมทั้งไม่ กระทบต่อการจัดตั้งขบวนเรือพระราชพิธี การรับนำ้า หนักของสะพาน ได้ติดตั้งสายเคเบิลระนาบคู่ 28 คู่ ขึงยึดพื้นช่วงข้ามแม่นำ้า และใช้สายเคเบิลระนาบเดี่ยว 28 เส้น ขึงยึดรั้งกับโครงสร้างยึดเสาสะพานบนฝั่งธนฯ เคเบิล
  • 29. 29 แต่ละเส้นประกอบด้วยสลิงตั้งแต่ 11-65 เส้น เมื่อเกิดปัญหา กั บ เคเบิ ล สามารถขึ ง หรื อ หย่ อ นได้ ง่ า ย ไม่ จำา เป็ น ต้ อ งปิ ด ก า ร จ ร า จ ร เ ห มื อ น ส ะ พ า น พ ร ะ ร า ม 9 เนื่องจากเคเบิลแต่ละเส้นใช้สลิง ภายในซึ่งเป็นขดลวดใหญ่ ทำา ให้ ดู แ ลบำา รุ ง รั ก ษาและซ่ อ มแซมยากกว่ า อี ก ทั้ ง สาย เคเบิ ล ของสะพานพระราม 8 ยั ง มี สี เ หลื อ งทอง สี ป ระจำา พระองค์ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เมื่อสะท้อนแสง จ ะ ส่ อ ง ป ร ะ ก า ย ส ว ย ง า ม โ ด ย เ ฉ พ า ะ ย า ม คำ่า คื น มาตรฐานความปลอดภัย ของสะพานพระราม 8 ด้านมาตรฐานความปลอดภัยก็ไม่เป็นรองเพราะบริษัทผู้รับ เหมาการั น ตี ว่า ได้ มี ก ารทดสอบแรงดึ ง ในลวดสลิ ง 1 ล้ า น ครั้ง โดยใช้แรงดึงปกติ 10 ตัน ไม่มีปัญหา และต้องใช้แรง ดึ ง ถึ ง 27 ตั น ล ว ด ส ลิ ง ถึ ง ข า ด แ ต่ ก็ แ ค่ 1% เ ท่ า นั้ น นอกจากนี้ได้มีการทดสอบแรงลม แรงสั่นสะเทือน ทิศทาง ลม รวมทั้งติดตั้งเครื่องวัดไว้ตลอด 24 ชม. เพื่อดูความผิด ป ก ติ ที่ จ ะ เ กิ ด ขึ้ น ความพิเ ศษของสะพานพระราม 8 ที่ น่ า ภาคภู มิ ใ จอี ก อย่ า งคื อ สะพานพระราม 8 เป็ น สะพานขึ ง แบบอสมมาตรที่ ติ ด อั น ดั บ 5 ของโลก รองจาก ประเทศเยอรมนี ซึ่งติดอันดับถึง 3 สะพาน และเนปาล โดย นับจากความยาวช่วงของสะพาน ส่วนสะพานพระราม 9 ซึ่ง เป็ น สะพานขึ ง ตั ว แรกแต่ เ ป็ น แบบสมมาตร เพราะมี 2 เสา ถือว่าอยู่ในอันดับที่ 18 ของโลก โดยนับความยาวช่วงของ สะพานได้ 450 เมตร ความโดดเด่ น สวยงาม ที่ เ กิ ด ขึ้ น ผสมผสานไปด้ ว ยศิ ล ปะ แบบไทย ๆ จากแนวคิดในการสร้างเพื่อเป็นพระบรมราชานุ ส ร ณ์ เ ฉ ลิ ม พ ร ะ เ กี ย ร ติ ใ น ห ล ว ง พ ร ะ บ า ท ส ม เ ด็ จ พระเจ้ า อยู่ หั ว อานั น ทมหิ ด ล รั ช กาลที่ 8 กทม. จึ ง ได้