SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 11
Downloaden Sie, um offline zu lesen
1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
รหัสวิชา ง33201 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 5
ปีการศึกษา 2562
ชื่อโครงงาน ความรู้เรื่องเอดส์และเอชไอวี
ชื่อผู้ทาโครงงาน
ชื่อ น.ส.เบญญาภรณ์ เครื่องกาศ เลขที่ 27 ชั้น 6 ห้อง 5
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 62
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
2
ใบงาน
การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
สมาชิกในกลุ่ม
1 น.ส.เบญญาภรณ์ เครื่องกาศ เลขที่ 27
คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้
ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย)
ความรู้เรื่องเอดส์และเอชไอวี
ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ)
AID & HIV
ประเภทโครงงาน โครงงานประเภทสารวจ
ชื่อผู้ทาโครงงาน น.ส.เบญญาภรณ์ เครื่องกาศ
ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 62
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน
(HIV) คือ โรคจากการที่ร่างกายได้รับเชื้อไวรัสเอชไอวี ซึ่งเป็นสาเหตุของโรคเอดส์) ซึ่งทั่วโลกเริ่มรู้จักโรค
เอดส์ ประมาณปี ค.ศ. 1981 ทั้งนี้การติดเชื้อไวรัสเอชไอวีพบได้ในทุกอายุ ตั้งแต่ทารกในครรภ์ไปจนถึงผู้สูงอายุ โดย
โรคจากติดเชื้อเอชไอวี พบได้ทั่วโลก เป็นโรคระบาด และเป็นโรคติดต่อ โรคเอดส์มีรายงานครั้งแรกในประเทศ
สหรัฐอเมริกาในราวเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2524 โดยศูนย์ควบคุมโรคติดต่อแห่งสหรัฐอเมริกา พบว่ามีกลุ่มชายรักชาย
ร่วมเพศ จานวน 5 คนป่วยเป็นปอดบวมจากเชื้อนิวโมซิสติสคารินิโอ (Pneumocystis Carinii) ภายในอีก 1 เดือน
ต่อมามีรายงานว่าหนุ่มรักร่วมเพศอีก 26 รายป่วยเป็นมะเร็งของหลอดเลือด ซึ่งตามปกติโรคนี้มักเป็นกับคนสูงอายุ
ชายหนุ่มที่ป่วยทุกรายไม่เคยมีโรคประจาตัวที่ร้ายแรงมาก่อนและไม่เคยได้รับยาประเภทกดระบบภูมิคุ้มกันของ
ร่างกายมาก่อน และเมื่อได้รับการตรวจชันสูตรทางห้องปฏิบัติการพบว่าการทางานของเซลล์ทาหน้าที่เกี่ยวข้องกับภูมิ
ต้านทานโลกไม่ได้ทาหน้าที่ตามปกติ และแม้ว่าจะได้รับการรักษาอย่างดีที่สุด แต่ผู้ป่วยเหล่านี้ก็ไม่มีใครรอดแม้แต่ราย
เดียว ทั้งนี้เป็นเพราะระบบภูมิคุ้มกันโรคเสื่อม หรือบกพร่อง จึงมีผู้เสนอให้เรียกโรคนี้ว่า Acquired Immune
Deficiency Syndrome หรือ AIDS และตั้งแต่ปี 2525 เป็นต้นมาก็มีความเชื่อกันว่า โรคนี้จะต้องมีความเกี่ยวกับ
พฤติกรรมทางเพศที่ผิดปกติจาพวกรักร่วมเพศ และพฤติกรรมเกี่ยวกับการเสพยาเสพติดอย่างแน่นอนต่อมามีการพบ
อีกว่าผู้ป่วยที่ได้รับการถ่ายเลือดก็เป็นโรคเอดส์ จึงทาให้เห็นแนวทางที่ชัดเจนยิ่งขึ้นในการที่จะศึกษาและเผยแพร่ถึง
วิธีการป้องกันการแพร่เชื้อและการติดต่อโรคได้อย่างละเอียด ด้วยเหตุนี้ผู้ศึกษาจึงมีความสนใจที่จะศึกษาความรู้
เกี่ยวกับเรื่องเอดส์และเอชไอวี จึงได้รวบรวมข้อมูล เนื้อหาความรู้เกี่ยวกับโรคเอดส์กับเอชไอวีและเพื่อจัดทาเป็นเว็บ
บล็อก เพื่อเผยแพร่ให้ผู้ที่สนใจในการป้องกันสุขภาพตนเองจากโรคร้ายชนิดนี้
3
วัตถุประสงค์
1.เพื่อศึกษาหาความรู้ของโรคเอดส์และเอชไอวี
2.เพื่อเป็นแนวทางในการปฏิบัติตนให้รอดพ้นจากโรคเอดส์และเอชไอวี
3.เพื่อเผยแพร่ความรู้ ความรู้เกี่ยวกับให้แก่ผู้อื่นได้
ขอบเขตโครงงาน
1. ศึกษาความเป็นมาของโรคเอดส์และเอชไอวี
2. ศึกษาพฤติกรรมที่เสี่ยงต่อบุคคลที่เป็นโรคเอดส์
3. ศึกษาอาการของโรคเอดส์
4. ศึกษาแนวทางป้องกันโรคเอดส์
หลักการและทฤษฎี
โรคเอดส์คือ อาการของโรคภูมิคุ้มกันบกพร่อง (AIDS : Acquired Immune Deficiency Syndrome) โดย
เกิดจากเชื้อไวรัสที่มีชื่อว่า ฮิวแมนอิมมิวโนเดฟีเชียนซีไวรัส (Human Immunodeficiency Virus : HIV) หรือเรียก
ง่าย ๆว่า เชื้อเอชไอวี (HIV) เมื่อเชื้อเอชไอวีเข้าสู่ร่างกาย จะเข้าไปทาลายเซลล์เม็ดเลือดขาว ซึ่งทาหน้าที่กาจัดสิ่ง
แปลกปลอมหรือเชื้อโรคที่เข้าสู่ร่างกาย เมื่อเซลล์เม็ดเลือดขาวถูกทาลายมากขึ้น จึงทาให้ผู้ป่วยมีภูมิคุ้มกันต่าลง จนใน
ที่สุดร่างกายไม่มีสามารถต่อสู้กับเชื้อโรคต่างๆ ที่เข้าสู่ร่างกายได้ จึงทาให้ผู้ป่วยที่ติดเชื้อเอชไอวีนั้นสามารถติดเชื้อได้
ง่ายขึ้น ส่งผลให้เป็นโรคติดเชื้ออื่นๆ ตามมา เช่น วัณโรค ปอดบวม เชื้อรา เป็นต้น โดยส่วนใหญ่ผู้ป่วยโรคเอดส์มัก
เสียชีวิตจากโรคแทรกซ้อนต่างๆ
เชื้อไวรัสเอชไอวีมีหลากหลายสายพันธุ์ โดยปัจจุบันค้นพบมากกว่า 10 สายพันธุ์ กระจายอยู่ทั่วโลก แต่สาย
พันธุ์ดั้งเดิมคือ เอชไอวี 1 (HIV-1) ซึ่งเป็นสายพันธุ์ที่แพร่ระบาดอยู่ในยุโรป แอฟริกากลาง และสหรัฐอเมริกา ส่วนเอช
ไอวี2 (HIV-2) แพร่ระบาดในแถบแอฟริกาตะวันตกเชื้อไวรัสเอชไอวีถูกค้นพบครั้งแรกที่แอฟริกา โดยค้นพบมานาน
กว่า 70 ปีแล้ว และปัจจุบันยังเป็นแหล่งที่พบเชื้อไวรัสเอชไอวีหลากหลายสายพันธุ์ที่สุดด้วย
4สายพันธุ์เอชไอวีที่พบมากที่สุดในโลกคือ สายพันธุ์ซี โดยมีมากถึง 40% ส าหรับพื้นที่ที่พบคือ ทวีปแอฟริกา อินเดีย
จีน และพม่า ส่วนในประเทศไทยนั้นพบเชื้อเอชไอวี 2 สายพันธุ์ คือ สายพันธุ์ เออี (A/E) หรือ (E) พบได้มากถึง 95%
โดยแพร่ระบาดจากการมีเพศสัมพันธ์ระหว่างชายกับหญิง และสายพันธุ์บี (B) มักเกิดการแพร่ระบาดในกลุ่ม LGBT
หรือผู้ที่ใช้เข็มฉีดยาร่วมกัน (ในกลุ่มผู้ใช้สารเสพติด)สาหรับสายพันธุ์ที่ไม่เคยพบในประเทศไทยคือ สายพันธุ์ซี แต่มี
การพบสายพันธุ์ระหว่าง อี-ซี ที่เป็นลูกผสมระหว่างสายพันธุ์อีในประเทศไทยกับสายพันธุ์ซี ซึ่งมีถิ่นกาเนิดในทวีป
แอฟริกา และเมื่อไม่นานมานี้ ได้ค้นพบเชื้อเอชไอวีสายพันธุ์ใหม่ ที่ไม่เคยตรวจพบที่ใดในโลกมาก่อน เป็นการผสม
ระหว่าง 3 สายพันธุ์ คือ เอ อี และจี เรียกว่า เอ อี จี(AE/G)
การติดต่อของโรคเอดส์มี 3 ทางดังนี้
1. การมีเพศสัมพันธ์กับผู้ที่มีเชื้อเอชไอวีการมีเพศสัมพันธ์กับผู้ติดเชื้อเอชไอวีเป็นสาเหตุหลักของการติดเชื้อ ไม่ว่าจะ
เป็นการมีเพศสัมพันธ์กับเพศใดก็ตามทั้งนี้จากข้อมูลของทางกองระบาดวิทยาระบุว่า 83% ของผู้ติดเชื้อเอชไอวีนั้น
ได้รับเชื้อมาจากการมีเพศสัมพันธ์ทั้งสิ้น
2. การรับเชื้อทางเลือด
การติดเชื้อเอชไอวีพบได้ใน 2 กรณี คือ
4
2.1 ใช้เข็มฉีดยาร่วมกัน หรือแม้แต่การใช้กระบอกฉีดยาร่วมกับผู้ติดเชื้อเอชไอวี ซึ่งพบบ่อยในกลุ่มผู้เสพสารเสพติด
หรือฉีดยาเข้าเส้น
2.2 รับเลือดมาจากการผ่าตัด หรือเพื่อรักษาโรคเลือดบางชนิด ในอดีตมีการติดเชื้อเอชไอวีจากช่องทางนี้
ค่อนข้างมาก เพราะยังไม่มีการตรวจเลือดที่ละเอียดนัก แต่ปัจจุบันได้มีการนาเลือดที่รับบริจาคไปหาตรวจหาเชื้อก่อน
ทุกครั้ง ทาให้อัตราการติดเชื้อจากการรับเลือดลดลงอย่างมาก
3. การติดต่อผ่านแม่สู่ลูก
เกิดจากแม่ที่มีเชื้อเอชไอวีอยู่แล้วตั้งครรภ์ โดยเชื้อเอชไอวีจะถ่ายทอดสู่ลูกขณะคลอด แต่ปัจจุบันได้ค้นพบวิธีการ
ป้องกันการแพร่เชื้อจากแม่สู่ลูกได้สาเร็จแล้ว โดยวิธีการรับประทานยาต้านไวรัสในช่วงตั้งครรภ์ จะช่วยลดความเสี่ยง
จากการติดเชื้อของทารกลงได้
ปัจจัยที่ทาให้ติดเชื้อโรคเอดส์
ปัจจัยที่ทาให้ติดเชื้อเอชไอวีมีหลายประการ คือ
ปริมาณเชื้อเอชไอวี หากได้รับเชื้อเอชไอวีในปริมาณมาก ก็จะทาให้มีโอกาสเสี่ยงต่อการติดเชื้อสูงตามไปด้วย โดยเชื้อ
เอชไอวีพบมากที่สุดในเลือด รองลงมาคือ น้าอสุจิและน้าในช่องคลอดมีบาดแผล หากมีบาดแผลบริเวณผิวหนังหรือ
ช่องปาก ย่อมทาให้มีโอกาสติดเชื้อสูงขึ้น (จากการมีเพศสัมพันธ์ทางช่องปาก) เพราะเชื้อเอชไอวี สามารถเข้าสู่
บาดแผลได้ความบ่อยในการสัมผัสเชื้อ หากมีการสัมผัสเชื้อไวรัสบ่อย โอกาสเสี่ยงที่จะติดเชื้อก็มีสูงขึ้น เช่น นักวิจัยที่
ต้องทาการทดลอง ศึกษาเกี่ยวกับเชื้อไวรัสเอชไอวี เป็นต้นการติดเชื้อแบบอื่น ๆ เช่น แผลเริม ซึ่งแผลชนิดนี้จะมีเม็ด
เลือดขาวอยู่ที่บริเวณแผลเป็นจานวนมาก ทาให้เพิ่มความเสี่ยงต่อการติดเชื้อได้ง่าย
ระยะของโรคเอดส์
โดยทั่วไป เมื่อผู้ป่วยได้รับเชื้อเอชไอวีแล้ว อาการของโรคที่ปรากฎจะแบ่งได้เป็น 3 ระยะ ดังนี้
1. ระยะไม่ปรากฏอาการ
เรียกอีกอย่างว่า ระยะติดเชื้อไม่ปรากฏอาการ ในระยะนี้ผู้ที่ติดเชื้อนั้นจะไม่ปรากฏอาการผิดปกติใดๆ จึงดู
เหมือนคนมีสุขภาพแข็งแรงปกติ แต่อาจมีอาการป่วยเล็กน้อย โดยเฉลี่ยนั้น จากระยะแรกเข้าสู่ระยะที่ 2 จะใช้เวลา
ประมาณ 7– 8 ปี แต่ในบางรายอาจไม่แสดงอาการนานถึง 10 ปี ระยะนี้จึงเป็นระยะที่ผู้ที่ติดเชื้อสามารถแพร่เชื้อให้
บุคคลอื่นได้มากที่สุด เพราะว่าผู้ที่ติดเชื้อส่วนใหญ่ไม่ทราบว่าตัวเองติดเชื้อแล้ว
2. ระยะมีอาการสัมพันธ์กับโรคเอดส์
เราเรียกระยะนี้ว่า ระยะปรากฏอาการ ในระยะนี้จะตรวจพบผลเลือดบวก และมีอาการผิดปกติปรากฏให้เห็น
เช่นต่อมน้าเหลืองโตติดต่อกันนานหลายเดือน มีเชื้อราในช่องปาก โดยเฉพาะกระพุ้งแก้ม และเพดานปาก เป็นงูสวัด
หรือแผลเริมชนิดลุกลาม มีอาการเจ็บป่วยเรื้อรัง โดยไม่ทราบสาเหตุเกิน 1 เดือน เช่น มีไข้ ท้องเสีย ผิวหนังอักเสบ
น้าหนักลด และอื่น ๆ ในระยะนี้อาจมีอาการอยู่เป็นปี ก่อนพัฒนาลุกลามในระยะต่อไป
3. ระยะเอดส์เต็มขั้นหรือระยะโรคเอดส์
ในระยะนี้ระบบภูมิคุ้มกันของร่างกายจะเสียหายอย่างมาก จนร่างกายไม่สามารถขจัดเชื้อโรคต่างๆ ที่เข้าสู่
ร่างกายได้ส่งผลให้ผู้ติดเชื้อป่วยเป็นโรคต่างๆ ได้ง่ายขึ้น ซึ่งการติดเชื้อแทรกซ้อนนี้ก็มีหลากหลายรูปแบบ
หากติดเชื้อวัณโรคที่ปอด อาการที่พบคือ ผู้ป่วยจะมีไข้เรื้อรัง ไอเป็นเลือด แต่ถ้าเป็นการติดเชื้อเยื้อหุ้มสมองอักเสบ
จะมีอาการปวดศีรษะอย่างรุนแรง อาเจียน คอแข็ง คลื่นไส้ และถ้าเป็นอาการที่เกี่ยวกับระบบประสาท จะมีอาการ
ซึมเศร้า แขนขาอ่อนแรง ความจาเสื่อม ซึ่งพบว่าผู้ป่วยโรคเอดส์ในระยะสุดท้ายนี้ จะมีชีวิตอยู่ได้เพียง
1 – 2 ปีเท่านั้น
5
1.ระยะตั้งต้นเมื่อติดเชื้อไวรัสใหม่ๆ หรือ ระยะติดเชื้อปฐมภูมิ อาการผิดปกติของผู้ป่วยในระยะแรกนี้จะมีน้อย และ
สามารถหายไปเองได้ในเวลา 2 ถึง 4 สัปดาห์ ได้แก่ เจ็บคอ ปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ มี ไข้ต่าๆ อ่อนเพลีย น้าหนักลด
เล็กน้อย ถ่ายอุจจาระเหลว ต่อมน้าเหลืองโต ซึ่งมีความคล้ายคลึงกับอาการของ โรคไข้หวัดใหญ่ ทาให้วินิจฉัยถูกต้อง
ได้ยาก ระยะแรกนี้ยังไม่เรียกว่า โรคเอดส์ (Primary infection) เป็นระยะที่ไวรัสเข้าไปใน “ทีเซลล์” และทาให้เซลล์
เหล่านี้ตายเป็นจานวนมาก ทาให้ “ทีเซลล์” ในเลือดลดจานวนลง เชื้อไวรัสจะแพร่กระจายไปทั่วร่างกาย และกระตุ้น
ระบบภูมิคุ้มกันต้านทานที่สร้างแอนติบอดี ให้สร้างแอนติบอดี้ต่อเชื้อไวรัสขึ้นมาภายในเวลา 3 ถึง 7 สัปดาห์ หลังจาก
ติดเชื้อ ซึ่งแอนติบอดีนี้สามารถตรวจพบได้จากเลือด และเป็นสิ่งที่ใช้ในการวินิจฉัยการติดเชื้อไวรัสชนิดนี้ที่ชัดเจนมาก
2.ระยะติดเชื้อเรื้อรัง การติดเชื้อฉวยโอกาส อย่างรุนแรง ผู้ติดเชื้ออาจจะมีเชื้อราขึ้นที่ลิ้น หรือมี วัณโรค ปอดกาเริบ
โรคเริม หรือโรคงูสวัด เกิดขึ้นได้ แต่อาการมักไม่รุนแรงมาก และมักจะรักษาโรคเหล่านี้ได้ผล ระยะนี้ของโรคก็ยังไม่
เรียกโรคเอดส์ เช่นกัน (Chronic infection) หรือระยะสงบทางคลินิก (Clinical latency) ระยะนี้ เชื้อไวรัสจะเข้าไป
อยู่ในต่อมน้าเหลือง และในม้าม และจะแบ่งตัวเพิ่มปริมาณในอวัยวะทั้งสองนี้เป็นส่วนใหญ่ ปริมาณของ CD 4
positive T-cell ในเลือด จะค่อยๆลดจานวนลงอย่างช้าๆ ระบบภูมิคุ้ม กันต้านทานโรคของร่างกาย จะไม่สามารถ
กาจัดเชื้อไวรัสได้ เพราะ CD 4 positive T-cell จะลดจานวนลงเรื่อยๆ ระยะนี้ส่วนใหญ่จะกินเวลานาน 7-10 ปี โดย
ที่ผู้ติดเชื้อไม่มีอาการผิดปกติชัดเจน นอกจากนั้นการได้รับยาต้านไวรัสอย่างสม่าเสมอจะเป็นการทาให้ผู้ติดเชื้อมีชีวิต
อยู่ในระยะนี้ได้ยาวนานยิ่งขึ้นกว่าแต่ก่อนสมัยที่ยังไม่มีการค้นพบยาต้านเชื้อไวรัส ซึ่งในระยะนี้ เซลล์ CD 4 positive
T-cell ยังไม่ต่ามากจนเป็นสาเหตุ
3.ระยะที่เป็นโรคเอดส์ ท้องเสีย ถ่ายอุจจาระเหลวเป็นประจา ปริมาณของ CD 4 positive T-cell จะต่ามาก ส่วน
ใหญ่ต่ากว่า 200 เซลล์ต่อไมโครลิตร และจะมีการติดเชื้อฉวยโอกาส ในอวัยวะสาคัญอย่างรุนแรง เช่น ปอด มีอาการ
ทางสมอง และมีมะเร็งชนิดต่างๆเกิดขึ้นได้ ที่พบบ่อย คือ โรคมะเร็งคาโปซิซาร์โคมา (Kaposi sarcoma) และ
โรคมะเร็งต่อมน้าเหลือง ระยะนี้เป็นระยะที่ระบบภูมิคุ้มกันต้านทานโรคของร่างกายถูกทาลายเกือบทั้งหมดโดยเชื้อ
ไวรัสนี้ ปริมาณเชื้อไวรัสในเลือดจะสูงขึ้นอย่างรวดเร็ว ผู้ป่วยจะมีไข้เรื้อรังนานเป็นเดือนๆ อ่อนเพลียมาก น้าหนักตัว
ลดลงอย่างรวดเร็ว
สรุป ก็คือระยะที่ 1 และ 2 ของการติดเชื้อไวรัสเอชไอวี ยังไม่เรียกว่าเป็นโรคเอดส์ เราจะเรียกระยะที่ 3 ของโรคว่า
เป็นโรคเอดส์เท่านั้น
การป้องกันการติดเชื้อเอชไอวี
โรคเอดส์เป็นโรคที่สามารถป้องกันได้ เพียงท าความเข้าใจให้ถูกต้อง และปฏิบัติตามหลักดังต่อไปนี้
-ใช้ถุงยางอนามัยทุกครั้งที่มีเพศสัมพันธ์
-มีคู่นอนเพียงคนเดียว
-ก่อนแต่งงาน หรือมีบุตร ควรมีการตรวจร่างกาย และตรวจเลือด
-งดใช้สารเสพติดทุกชนิด โดยเฉพาะการใช้เข็ดฉีดยาร่วมกับผู้อื่น
เอชไอวีและเอดส์คืออะไร
โรคเอดส์เป็นระยะสุดท้ายของการติดเชื้อเอชไอวี เอชไอวีซึ่งย่อมาจากคาว่า human immunodeficiency virus
เป็นเชื้อไวรัส ในขณะที่โรคเอดส์หรือ acquired immune deficiency syndrome คือกลุ่มอาการของโรคที่เกิดจาก
การติดเชื้อเอชไอวีซึ่งเกิดขึ้นเมื่อระบบภูมิคุ้มกันของร่างกายถูกเชื้อไวรัสทาลายจนร่างกายของผู้ป่วยไม่สามารถต่อสู้
กับเชื้อโรคทั้งหลายที่เข้าสู่ร่างกายได้
6
ผลกระทบของเอชไอวีและเอดส์ที่มีต่อร่างกายมนุษย์
เมื่อร่างกายติดเชื้อเอชไอวี เชื้อเอชไอวีจะโจมตีระบบภูมิคุ้มกันของร่างกาย ทาให้ระบบภูมิคุ้มกันของร่างกายอ่อนแอ
ลงจนไม่สามารถต่อสู้กับเชื้อโรคที่เข้าสู่ร่างกายได้ จนในที่สุดเชื้อไวรัสจะโจมตีร่างกายทั้งหมด
เป้าหมายของเอชไอวีคือการทาลายเซลล์ที่มีหน้าที่ต่อสู้กับเชื้อโรคและการติดเชื้อไวรัสต่างๆ เซลล์นี้มีชื่อว่า CD4
(หรือเซลล์ T-helper) เป็นเซลล์เม็ดเลือดขาวที่มีความสาคัญต่อการทางานของระบบภูมิคุ้มกันของร่างกาย เอชไอวี
ทาให้ระบบภูมิคุ้มกันร่างกายของผู้ติดเชื้ออ่อนแอลงจนทาให้เกิดโรคต่างๆได้ง่าย ในขณะที่คนที่มีระบบภูมิคุ้มกัน
ร่างกายที่แข็งแรงจะสามารถต่อสู้กับเชื้อโรคเหล่านี้ได้ดีกว่า
ความช้าเร็วของการดาเนินโรคและผลกระทบที่เชื้อเอชไอวีมีต่อร่างกายขึ้นอยู่กับผู้ติดเชื้อแต่ละคน ปัจจัยหลาย
อย่างเช่น สุขภาพและอายุ รวมถึงความช้าเร็วในการได้รับการรักษา ล้วนเป็นปัจจัยที่มีผลต่อการดาเนินโรคทั้งสิ้น คน
บางคนสามารถติดเชื้อเอชไอวีนานหลายปีโดยไม่มีอาการของโรคเอดส์
ปัจจัยที่อาจทาให้การติดเชื้อเอชไอวีพัฒนาเป็นอาการของโรคเอดส์รวดเร็วขึ้นนั้น ยังคงรวมถึงปัจจัยทางกรรมพันธุ์
การมีอายุมากขึ้น ภาวะโภชนาการไม่ดี หรือติดเชื้อร่วมกับโรคอื่น เช่น ตับอักเสบซีหรือวัณโรค
การติดเชื้อเอชไอวี
คนสามารถติดเชื้อเอชไอวีโดยการสัมผัสกับเลือด น้าอสุจิ ของเหลวจากช่องคลอด หรือแม้แต่น้านมแม่ สาเหตุการ
แพร่เชื้อส่วนใหญ่มาจากการมีเพศสัมพันธ์และการใช้เข็มฉีดยาร่วมกัน หรือส่งผ่านจากแม่สู่ลูกระหว่างการตั้งครรภ์
ดังนั้นจึงเป็นเรื่องสาคัญที่คนควรมีเพศสัมพันธ์อย่างปลอดภัยและหลีกเลี่ยงการสัมผัสกับเข็มฉีดยาที่ไม่ได้ผ่านการฆ่า
เชื้อโรค ไม่ว่าจะระหว่างการไปพบแพทย์หรือการใช้เพื่อนันทนาการ
ยังมีความเข้าใจผิดเกี่ยวกับสาเหตุของการติดเชื้อเอชไอวี ไม่ว่าจะเป็นการติดเชื้อเอชไอวีจากการจับมือทักทาย การ
กอด การจูบ การจาม การใช้ห้องน้าร่วมกัน การใช้ภาชนะและช้อนส้อมร่วมกันหรือการสัมผัสในรูปแบบอื่นๆที่ไม่ทา
ให้ติดเชื้อเอชไอวี การทากิจกรรมที่กล่าวมานี้ ไม่สามารถทาให้ติดเชื้อเอชไอวีได้
การติดเชื้อเอชไอวี 3 ระยะ
ระยะเฉียบพลัน (Acute HIV Infectious) เป็นระยะแรกของการติดเชื้อเอชไอวี เกิดขึ้นระหว่าง 2-4 สัปดาห์หลังจาก
ติดเชื้อ ในระยะนี้ผู้ติดเชื้อจานวนมากจะเริ่มมีอาการคล้ายเป็นไข้หวัดใหญ่ เช่น มีไข้ เจ็บคอ ต่อมน้าเหลืองโต ปวด
เมื่อยตามร่างกาย มีผื่นและปวดหัว อาการเหล่านี้เรียกว่า acute retroviral syndrome หรือ ARS เกิดขึ้นจากการที่
ร่างกายตอบสนองต่อการติดเชื้อเอชไอวี
ในระยะนี้ เชื้อไวรัสจะเพิ่มจานวนอย่างมากในร่างกาย ทาให้เซลล์ CD4 ในร่างกายลดจานวนลงอย่างรวดเร็ว เป็น
ระยะที่มีความเสี่ยงสูงมากที่ผู้ติดเชื้อจะแพร่กระจายไวรัสไปยังผู้อื่น ดังนั้นจึงจาเป็นต้องป้องกันการแพร่กระจายของ
เชื้อเอชไอวี
7
อย่างไรก็ตาม หลังจากระยะเฉียบพลัน ระบบภูมิคุ้มกันของร่างกายจะค่อยๆ ทาให้ปริมาณของเชื้อไวรัสอยู่ในระดับ
คงที่ หรือเรียกว่า viral set point หมายความว่าเชื้อไวรัสมีปริมาณที่คงที่ในร่างกายและปริมาณเซลล์ CD4 เริ่ม
เพิ่มขึ้นอีกครั้งหนึ่ง แต่จะไม่สูงเท่ากับก่อนติดเชื้อ
ระยะถัดมาคือ ระยะสงบทางคลินิก (Clinical Latency Stage) เป็นระยะที่เชื้อไวรัสอยู่ในร่างกายโดยไม่แสดงอาการ
ใดๆ หรืออย่างมากที่สุดคือมีอาการเพียงเล็กน้อย บางครั้งเรียกระยะนี้ว่า ระยะติดเชื้อเรื้อรัง (chronic HIV
infection) หรือ ระยะติดเชื้อโดยไม่มีอาการ (asymptomatic HIV infection) ในระยะนี้ไวรัสจะเพิ่มปริมาณมากขึ้น
ในระดับต่า และมักจะใช้เวลานานถึง 10 ปี แต่สาหรับผู้ติดเชื้อบางคนอาจใช้เวลาน้อยกว่านั้น
ระยะสุดท้ายคือ ระยะโรคเอดส์ (AIDS) เป็นระยะที่การติดเชื้อเอชไอวีได้พัฒนาเป็นโรคเอดส์
ระบบภูมิคุ้มกันที่แข็งแรงมีปริมาณเซลล์ CD4 อยู่ระหว่าง 500 ถึง 1,600 ในขณะที่ผู้ป่วยโรคเอดส์มี CD4 ต่ากว่า
200 เมื่อถึงจุดนี้ระบบภูมิคุ้มกันได้ถูกทาลายอย่างรุนแรงจนผู้ป่วยมีอาการติดเชื้อฉวยโอกาส (opportunistic
infections) ซึ่งเกิดจากเชื้อโรคที่ไม่ก่อให้เกิดโรคในคนที่มีระบบภูมิคุ้มกันที่แข็งแรง แต่จะทาให้เกิดโรคกับผู้ที่ระบบ
ภูมิคุ้มกันอ่อนแอ แต่ไม่ว่าผู้ติดเชื้อมีปริมาณ CD4 เท่าใดก็ตาม หากมีอาการติดเชื้อฉวยโอกาสอย่างใดอย่างหนึ่งหรือ
มากกว่าถือว่าผุ้ติดเชื้อนั้นเป็นโรคเอดส์
การรักษาการติดเชื้อเอชไอวีและโรคเอดส์
ในปัจจุบันยังไม่มีวิธีการรักษาการติดเชื้อเอชไอวีและโรคเอดส์ให้หายขาดได้ แต่มียาหลายชนิดที่ช่วยรักษาอาการติด
เชื้อเอชไอวี
มียารักษาอาการติดเชื้อเอชไอวีและโรคเอดส์ที่ได้รับการรับรองมากกกว่า 25 ชนิด เรียกว่า ยาต้านรีโทรไวรัส
(antiretroviral drugs หรือเรียกย่อว่า ARV) ซึ่งทาหน้าที่ยับยั้งหรือต้านการแบ่งตัวของเชื้อ เอชไอวี รวมถึงช่วยลด
ความเสี่ยงในการแพร่กระจายโรคสู่คนอื่น
การรักษาอาการติดเชื้อเอชไอวีประกอบด้วยการใช้ยาต้านไวรัสในกลุ่ม ARV หลายชนิดรวมกันเพื่อต่อสู้กับการติดเชื้อ
หรือเรียกว่า Antiretroviral therapy (ART) วิธีการนี้เป็นการรักษาโรคโดยการควบคุมไวรัสไม่ให้ขยายพันธุ์ ทาให้ผู้
ติดเชื้อมีชีวิตที่ยืนยาวขึ้น นอกจากนี้ยังช่วยลดความเสี่ยงในการแพร่กระจายเชื้อสู่คนอื่น ในปัจจุบันวงการแพทย์
แนะนาให้ผู้ติดเชื้อเอชไอวีทุกคนรับการรักษาด้วย ยา ARV
หากกังวลว่าตัวเองอาจติดเชื้อเอชไอวีภายในระยะเวลา 72 ชั่วโมง (3 วัน) สามารถใช้ยา ARV หลังสัมผัสโรค (post-
exposure prophylaxis หรือชื่อย่อว่า PEP) เพื่อลดโอกาสในการติดเชื้อ ผู้มีความเสี่ยงในการติดเชื้อจาเป็นต้องได้รับ
ยาให้เร็วที่สุดภายในเวลา 3 วันหลังจากสัมผัสเชื้อเอชไอวีเพื่อให้การป้องกันมีประสิทธิผล
นอกจากนี้ ยา ARV สามารถใช้ป้องกันการติดเชื้อเอชไอวีก่อนสัมผัสโรค (Pre-exposure prophylaxis หรือชื่อย่อว่า
PrEP) ใช้ในผู้ไม่มีเชื้อเอชไอวีแต่มีความเสี่ยงต่อการติดเชื้อเอชไอวีสูง และต้องการป้องกันการติดเชื้อเอชไอวี ผู้มีความ
เสี่ยงในการติดเชื้อต้องรับประทานยาทุกวันเพื่อลดความเสี่ยงในการติดเชื้อ
8
ทาไมจึงจาเป็นต้องทาการตรวจเลือดหาเชื้อเอชไอวี
ไม่ว่าด้วยเหตุผลใดก็ตาม หากคุณกังวลเพียงเล็กน้อยว่าคุณอาจติดเชื้อเอชไอวี คุณควรทาการตรวจเลือด เป็นวิธีการที่
รวดเร็วและง่ายดายและบริการฟรีในหลายๆ แห่ง
วิธีการเดียวที่จะรู้ว่าคุณติดเชื้อเอชไอวีหรือไม่คือการตรวจเลือดเพื่อหาเชื้อเอชไอวี การตรวจเลือดแต่เนิ่นๆ ช่วยลด
ความกังวลใจและทาให้คุณได้รับการดูแลรักษาที่ถูกต้อง
หากคุณติดเชื้อเอชไอวี การได้รับการวินิจฉัยแต่เริ่มแรกทาให้คุณสามารถดูแลสุขภาพของตัวเองและคู่ครองรวมถึงคน
อื่นที่คุณห่วงใย ถึงแม้ผลเลือดจะบ่งชี้ว่าคุณมีการติดเชื้อ การได้รู้ว่าตัวเองมีการติดเชื้อจะทาให้คุณสามารถดูแลรักษา
สุขภาพของตัวเองและใช้ชีวิตอย่างเหมาะสม
อาการของโรคเอดส์
อาการของโรคเอดส์มีดังนี้
ปอดอักเสบ
สูญเสียความจา อาการซึมเศร้าและอาการทางระบบประสาทอื่นๆ
ท้องเสียเรื้อรังนานกว่าหนึ่งสัปดาห์
เหนื่อยผิดปกติ
อาการไข้ที่กลับมาเป็นซ้าๆ
เหงื่อออกตอนกลางคืน
น้าหนักลดอย่างรวดเร็ว
มีผื่นตามผิวหนัง ในช่องปาก จมูกและเปลือกตา
แผลที่ริมฝีปาก อวัยวะเพศและทวารหนัก
อาการบวมที่ต่อมน้าเหลืองบริเวณคอ รักแร้และขาหนีบ
ความหมายของ “เอชไอวี” (HIV)
เชื้อเอชไอวี (Human Immunodeficiency Virus) คือ ไวรัสที่จะเข้าไปกัดกินทาลายเซลล์เม็ดเลือดขาว ทาให้
ภูมิคุ้มกันบกพร่อง
ความหมายของ “เอดส์” (AIDS)
เอดส์ (Acquired Immunodeficiency Syndrome - AIDS) คือกลุ่มอาการของการติดเชื้อโรคแทรกซ้อนต่างๆ เมื่อ
ระบบภูมิคุ้มกันของร่างกายถูกเชื้อเอชไอวีทาลาย จนไม่สามารถต้านทานเชื้อโรคที่เข้าสู่ร่างกายเหล่านี้ได้
9
ติดเชื้อเอชไอวี ≠ โรคเอดส์
หากผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวี ไม่จาเป็นจะต้องเป็นโรคเอดส์เสมอไป เพราะหากตรวจพบว่าติดเชื้อได้เร็วผ่านการตรวจ
เลือด สามารถรักษาได้ด้วยการทานยาต้านไวรัส เมื่อทาการรักษาแล้ว อาจไม่สามารถตรวจพบเชื้อเอชไอวีในร่างกาย
ได้อีก เมื่อตรวจไม่เจอก็เท่ากับไม่แพร่เชื้อสู่ผู้อื่นได้
นอกจากนี้ หากผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีทาการรักษาด้วยยาต้านไวรัสอย่างถูกต้อง และต่อเนื่อง จะมีสุขภาพร่างกายที่
แข็งแรงสมบูรณ์ มีอายุขัยยืนยาวเท่ากับผู้ที่ไม่มีเชื้อ และอาจไม่จาเป็นต้องทานยาต้านไวรัสไปตลอดชีวิต เพราะหาก
ตรวจไม่พบเชื้ออีก ก็สามารถหยุดทานยาได้ แต่แพทย์อาจนัดพบเพื่อตรวจร่างกายเป็นระยะๆ
“เอชไอวี รู้เร็ว รักษาได้”
การติดต่อของเชื้อเอชไอวี จากคนสู่คน
เชื้อเอชไอวีสามารถติดต่อจากคนหนึ่งไปสู่อีกคนหนึ่งได้ผ่านสารคัดหลั่ง เช่น เลือดของผู้ป่วย ที่เข้าสู่ร่างกายอีกคน
ผ่านการใช้เข็มฉีดยาร่วมกัน ซึมผ่านเข้าบาดแผลสดๆ การให้นมบุตรจากแม่ที่ติดเชื้อสู่ลูก เป็นต้น แต่โอกาสที่จะติด
เชื้อก็ไม่ 100% เสมอไป
ส่วนการกอด จูบ (ในกรณีที่ไม่มีแผลในปาก หรือเป็นการจูบแลกลิ้น แลกน้าลายกัน) ทานข้าวร่วมกัน จานเดียวกัน ใช้
ช้อนส้อม แก้วหน้าร่วมกัน ใช้สบู่ แชมพู ยาสีฟันร่วมกัน ไอจามใส่กัน หรือการมีเพศสัมพันธ์โดยใช้ถุงยางอนามัย (ที่ยัง
อยู่ในสภาพดีพร้อมใช้งาน) ไม่ทาให้เกิดการติดเชื้อเอชไอวีได้
เพื่อเป็นการป้องกันการกระจายของการติดเชื้อ สิ่งที่ควรป้องกันไว้ก่อนเหล่านี้ควรปฏิบัติให้เป็นกิจวัตรประจาวันที่
บ้าน;
ทุกๆคนในบ้านควรล้างมือหลังการใช้ห้องส้วมและก่อนการเตรียม อาหาร
สวมุถงมือทุกครั้งเมื่อต้องทาความสะอาดเลือดและของเหลวอื่น ๆ ของร่างกาย ทาความสะอาดพื้นที่นั้นด้วยกระดาษ
เช็ดมือก่อน ตามด้วยการล้างด้วยน้าสบู่ และในขั้นสุดท้าย พื้นที่นั้นควรได้รับการฆ่าเชื้อโรคด้วยน้ายาบลีช (น้ายาฟอก
ขาวที่เรียกบลีช, Bleach) โดยทาตามคาแนะนาที่ภาชนะบรรจุบอกไว้ เช็ดบริเวณนั้นให้แห้งด้วยกระดาษเช็ดมือที่
สะอาด
ผ้าปูที่นอน ผ้าเช็ดตัวและเสื้อผ้าที่เปื้อนเลือดหรือของเหลวอื่นๆของร่างกาย ควรแยกซักต่างหาก
หลีกเลี่ยงการจูบและการสัมผัสใกล้ชิดกับผู้ที่เป็นหวัดหรือเป็นไข้ และเด็กที่เป็นโรคต่างๆ เช่น อีสุกอีใส คางทูมหรือ
หัด
จะมีเพศสัมพันธ์ได้ไหม
การมีเชื้อเอชไอวีไม่ได้หมายความว่าคุณจะต้องงดการมีเพศสัมพันธ์ อย่างไรก็ตามคุณอาจจะต้องมีการปรับเปลี่ยน
พฤติกรรมในการมีเพศสัมพันธ์บ้างบางอย่าง
มีหลายๆสิ่งที่ควรพิจารณาดังนี้
คุณจาเป็นต้องปกป้องคู่นอนของคุณจากการติดเชื้อเอชไอวี ถ้าหากเขา/เธอไม่มีเชื้อเอชไอวีโดยการมีเพศสัมพันธ์อย่าง
ปลอดภัย
10
การมีเพศสัมพันธ์อย่างปลอดภัยหมายถึง การใข้ถุงยางอนามัย (Condom) แผ่นแดม (Dam) และสารหล่อลื่นที่ใช้น้า
เป็นส่วนประกอบหลัก (Water based lubricant) ทุกครั้งที่มีเพศสัมพันธ์ ถุงยางอนามัยทาหน้าที่เป็นเกราะป้องกัน
เชื้อไวรัสเอชไอวีที่อยู่ในเลือด น้าอสุจิหรือของเหลวในช่องคลอดของคุณ ไม่ให้เข้าสู่กระแสเลือดของคู่นอนของคุณ
เพศสัมพันธ์ทางปาก (Oral sex) มีโอกาสน้อยมากในการแพร่เชื้อเอชไอวี อย่างไรก็ตามหากคู่นอนของคุณมีรอยบาด
หรือแผลในปาก หรือเพิ่งทาฟันมา การใช้ถุงยางอนามัยและแผ่นแดมเป็นวิธีที่ปลอดภัยที่สุดในการมีเพศสัมพันธ์ทาง
ปาก
การบาบัดรักษาเอชไอวีที่มีประสิทธิภาพ (เช่น ปริมาณเชื้อไวรัสในเลือดของคุณมีอยู่ต่ามากทาให้การตรวจสอบหา
ไวรัลโหลดไม่สามารถตรวจจับได้) ช่วยลดความเสี่ยงในการแพร่เชื้อได้ ปรึกษาแพทย์ของคุณสาหรับข้อมูลเพิ่มเติม
การจูบ กอด และการร่วมกันสาเร็จความใคร่ด้วยตัวเองและการนวดต่างๆถือเป็นการมีเพศสัมพันธ์อย่างปลอดภัย
ในบางรัฐหรือเขตที่คุณอาศัยอยู่ ในทางกฏหมายคุณอาจต้องแจ้งให้คู่นอนของคุณรู้ว่าคุณมีเชื้อเอชไอวี ถึงแม้ว่าคุณ
ตั้งใจจะมีเพศสัมพันธ์อย่างปลอดภัยก็ตาม สภาโรคเอดส์ในแต่ละรัฐหรือแต่ละเขตส่วนใหญ่จะสามารถแนะนาคุณ
เพิ่มเติมได้ ต้องการทราบข้อมูลล่าสุดเกี่ยวกับกฏหมายและเอชไอวี โปรดติดต่อ ศูนย์กฏหมายเชื้อเอชไอวี/โรคเอดส์
HIV/AIDS Legal Centre.
การบอกกับใครว่าคุณมีเชื้อเอชไอวีเป็นเรื่องยากและลาบากใจ ปรึกษากับแพทย์ของคุณ หรือนักสังคมสงเคราะห์
วิธีดาเนินงาน
แนวทางการดาเนินงาน
1.คิดหัวข้อโครงงานเพื่อนาเสนอครูที่ปรึกษาโครงงาน
2.ศึกษาและค้นคว้าหาข้อมูลเกี่ยวกับหัวข้อที่สนใจ และจัดเก็บข้อมูลเพื่อทาเนื้อหา
3.จัดทาโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
4.รายงานความก้าวหน้าเป็นระยะๆ ซึ่งครูที่ปรึกษาจะให้ข้อแนะนาต่างๆและนามาปรับปรุงแก้ไข
5.จัดทาเอกสารรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
6.นาเสนอโครงงานให้ครูที่ปรึกษาได้ประเมินผลงานเครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้
เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้
1.คอมพิวเตอร์
2.โทรศัพท์มือถือ
3.สมุดและเครื่องเขียน
งบประมาณ
-
11
ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน
ลาดับ
ที่
ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ
1 2 3 4 5 6 7 8 9
1
0
1
1
1
3
1
4
1
5
16 17
1 คิดหัวข้อโครงงาน
2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล
3 จัดทาโครงร่างงาน
4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน
5 ปรับปรุงทดสอบ
6 การทาเอกสารรายงาน
7 ประเมินผลงาน
8 นาเสนอโครงงาน
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.ได้รับความรู้เกี่ยวกับเรื่องเอดส์และเอชไอวี
2.สามารถเผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับเรื่องเอดส์และเอชไอวีได้อย่างถูกต้อง
3.ได้รู้จักการทางานเป็นทีม การออกแบบการท างานร่วมกัน
สถานที่ดาเนินการ
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย
กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง
1.สุขศึกษาและพลศึกษา
2.ชีววิทยา
แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน)
มูลนิธิเอ็มพลัส.2562.[ออนไลน์].เข้าถึงได้จาก:
https://www.mplusthailand.com/hivaids/%E0%B8%A3%E0%B8%B9%E0%B9%89%E0%B8%88%E0%
B8%B1%E0%B8%81-hiv/.(26 พฤศจิกายน 2562)
กองบรรณาธิการ HONESTDOCS.2559.[ออนไลน์].เข้าถึงได้จาก :
https://www.honestdocs.co/aids-hiv-infection-and-prevention.( 26 พฤศจิกายน 2562)

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

ใบงานที่5
ใบงานที่5ใบงานที่5
ใบงานที่5Kittinan42
 
Influenza
 Influenza Influenza
InfluenzaNutvipa
 
การพัฒนาไอโฟน
การพัฒนาไอโฟนการพัฒนาไอโฟน
การพัฒนาไอโฟนNuttida Meepo
 
2558 project
2558 project 2558 project
2558 project Beem HaHa
 
กิจกรรมที่ 1
กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมที่ 1
กิจกรรมที่ 1 msyttt
 
final project for M.6 2019-2020
final project for M.6 2019-2020final project for M.6 2019-2020
final project for M.6 2019-2020PapimolChotechob
 
2562 final-project 17
2562 final-project 172562 final-project 17
2562 final-project 17ssuserbed7e4
 
2562 final-project 09-issariya
2562 final-project 09-issariya2562 final-project 09-issariya
2562 final-project 09-issariyaguntjetnipat
 
โครงงาน โรคไข้เลือดออก
โครงงาน โรคไข้เลือดออกโครงงาน โรคไข้เลือดออก
โครงงาน โรคไข้เลือดออกFrench Natthawut
 
ผลของการเรียนบนเครือข่ายที่พัฒนาตามแนวคอนสตรัคติวิสต์
ผลของการเรียนบนเครือข่ายที่พัฒนาตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ ผลของการเรียนบนเครือข่ายที่พัฒนาตามแนวคอนสตรัคติวิสต์
ผลของการเรียนบนเครือข่ายที่พัฒนาตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ Sathapron Wongchiranuwat
 
2562 final-project 01...
2562 final-project 01...2562 final-project 01...
2562 final-project 01...ssuser72ad1c1
 
2562 final-project -new2
2562 final-project -new22562 final-project -new2
2562 final-project -new2ssusera79710
 

Was ist angesagt? (20)

คอมแพท
คอมแพทคอมแพท
คอมแพท
 
ใบงานที่5
ใบงานที่5ใบงานที่5
ใบงานที่5
 
Influenza
 Influenza Influenza
Influenza
 
Aaaaaaaaaaa
AaaaaaaaaaaAaaaaaaaaaa
Aaaaaaaaaaa
 
การพัฒนาไอโฟน
การพัฒนาไอโฟนการพัฒนาไอโฟน
การพัฒนาไอโฟน
 
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project
 
2558 project
2558 project 2558 project
2558 project
 
Planict2552 2556
Planict2552 2556Planict2552 2556
Planict2552 2556
 
2559 project 609-สริตา
2559 project 609-สริตา2559 project 609-สริตา
2559 project 609-สริตา
 
2559project 609 สริตา
2559project 609 สริตา2559project 609 สริตา
2559project 609 สริตา
 
กิจกรรมที่ 1
กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมที่ 1
กิจกรรมที่ 1
 
final project for M.6 2019-2020
final project for M.6 2019-2020final project for M.6 2019-2020
final project for M.6 2019-2020
 
2562 final-project 17
2562 final-project 172562 final-project 17
2562 final-project 17
 
2562 final-project 09-issariya
2562 final-project 09-issariya2562 final-project 09-issariya
2562 final-project 09-issariya
 
โครงงาน โรคไข้เลือดออก
โครงงาน โรคไข้เลือดออกโครงงาน โรคไข้เลือดออก
โครงงาน โรคไข้เลือดออก
 
ผลของการเรียนบนเครือข่ายที่พัฒนาตามแนวคอนสตรัคติวิสต์
ผลของการเรียนบนเครือข่ายที่พัฒนาตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ ผลของการเรียนบนเครือข่ายที่พัฒนาตามแนวคอนสตรัคติวิสต์
ผลของการเรียนบนเครือข่ายที่พัฒนาตามแนวคอนสตรัคติวิสต์
 
2562 final-project 01...
2562 final-project 01...2562 final-project 01...
2562 final-project 01...
 
Project1
Project1Project1
Project1
 
หยก
หยกหยก
หยก
 
2562 final-project -new2
2562 final-project -new22562 final-project -new2
2562 final-project -new2
 

Ähnlich wie 2562 final-project

2562 final-project 19-nuttapath
2562 final-project 19-nuttapath2562 final-project 19-nuttapath
2562 final-project 19-nuttapathnutKT
 
วิชญาพร1
วิชญาพร1วิชญาพร1
วิชญาพร1Wichayaporn02
 
2562 final-project 17
2562 final-project 172562 final-project 17
2562 final-project 17KUMBELL
 
โรคติดต่อทางเพสสัมพันธุ์
โรคติดต่อทางเพสสัมพันธุ์โรคติดต่อทางเพสสัมพันธุ์
โรคติดต่อทางเพสสัมพันธุ์Pack Matapong
 
Influenza
InfluenzaInfluenza
InfluenzaNutvipa
 
โครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงานโครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงานTippatai
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Phimwaree
 
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project pleng.mu
 
2562 final-project 46-609_chitsanupa
2562 final-project 46-609_chitsanupa2562 final-project 46-609_chitsanupa
2562 final-project 46-609_chitsanupaSaiparnChitsanupa
 
ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5Ffim Radchasan
 
กิจกรรมที่5 อาหารที่มีประโยชน์ต่อสุขภาพ
กิจกรรมที่5 อาหารที่มีประโยชน์ต่อสุขภาพกิจกรรมที่5 อาหารที่มีประโยชน์ต่อสุขภาพ
กิจกรรมที่5 อาหารที่มีประโยชน์ต่อสุขภาพpaifahnutya
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Mindpppimm
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Mindpppimm
 
2562 final-project
2562 final-project2562 final-project
2562 final-projectwaralee29
 

Ähnlich wie 2562 final-project (20)

Germ in toilet
Germ in toiletGerm in toilet
Germ in toilet
 
งาน2
งาน2งาน2
งาน2
 
Cf
CfCf
Cf
 
2562 final-project 19-nuttapath
2562 final-project 19-nuttapath2562 final-project 19-nuttapath
2562 final-project 19-nuttapath
 
วิชญาพร1
วิชญาพร1วิชญาพร1
วิชญาพร1
 
2562 final-project 17
2562 final-project 172562 final-project 17
2562 final-project 17
 
Beopgjeopf
BeopgjeopfBeopgjeopf
Beopgjeopf
 
โรคติดต่อทางเพสสัมพันธุ์
โรคติดต่อทางเพสสัมพันธุ์โรคติดต่อทางเพสสัมพันธุ์
โรคติดต่อทางเพสสัมพันธุ์
 
Influenza
InfluenzaInfluenza
Influenza
 
โครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงานโครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงาน
 
Eng
EngEng
Eng
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project
 
2562 final-project 46-609_chitsanupa
2562 final-project 46-609_chitsanupa2562 final-project 46-609_chitsanupa
2562 final-project 46-609_chitsanupa
 
Pingpong
PingpongPingpong
Pingpong
 
ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5
 
กิจกรรมที่5 อาหารที่มีประโยชน์ต่อสุขภาพ
กิจกรรมที่5 อาหารที่มีประโยชน์ต่อสุขภาพกิจกรรมที่5 อาหารที่มีประโยชน์ต่อสุขภาพ
กิจกรรมที่5 อาหารที่มีประโยชน์ต่อสุขภาพ
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
2562 final-project
2562 final-project2562 final-project
2562 final-project
 

2562 final-project

  • 1. 1 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา ง33201 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 5 ปีการศึกษา 2562 ชื่อโครงงาน ความรู้เรื่องเอดส์และเอชไอวี ชื่อผู้ทาโครงงาน ชื่อ น.ส.เบญญาภรณ์ เครื่องกาศ เลขที่ 27 ชั้น 6 ห้อง 5 ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 62 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
  • 2. 2 ใบงาน การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ สมาชิกในกลุ่ม 1 น.ส.เบญญาภรณ์ เครื่องกาศ เลขที่ 27 คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้ ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) ความรู้เรื่องเอดส์และเอชไอวี ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) AID & HIV ประเภทโครงงาน โครงงานประเภทสารวจ ชื่อผู้ทาโครงงาน น.ส.เบญญาภรณ์ เครื่องกาศ ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 62 ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (HIV) คือ โรคจากการที่ร่างกายได้รับเชื้อไวรัสเอชไอวี ซึ่งเป็นสาเหตุของโรคเอดส์) ซึ่งทั่วโลกเริ่มรู้จักโรค เอดส์ ประมาณปี ค.ศ. 1981 ทั้งนี้การติดเชื้อไวรัสเอชไอวีพบได้ในทุกอายุ ตั้งแต่ทารกในครรภ์ไปจนถึงผู้สูงอายุ โดย โรคจากติดเชื้อเอชไอวี พบได้ทั่วโลก เป็นโรคระบาด และเป็นโรคติดต่อ โรคเอดส์มีรายงานครั้งแรกในประเทศ สหรัฐอเมริกาในราวเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2524 โดยศูนย์ควบคุมโรคติดต่อแห่งสหรัฐอเมริกา พบว่ามีกลุ่มชายรักชาย ร่วมเพศ จานวน 5 คนป่วยเป็นปอดบวมจากเชื้อนิวโมซิสติสคารินิโอ (Pneumocystis Carinii) ภายในอีก 1 เดือน ต่อมามีรายงานว่าหนุ่มรักร่วมเพศอีก 26 รายป่วยเป็นมะเร็งของหลอดเลือด ซึ่งตามปกติโรคนี้มักเป็นกับคนสูงอายุ ชายหนุ่มที่ป่วยทุกรายไม่เคยมีโรคประจาตัวที่ร้ายแรงมาก่อนและไม่เคยได้รับยาประเภทกดระบบภูมิคุ้มกันของ ร่างกายมาก่อน และเมื่อได้รับการตรวจชันสูตรทางห้องปฏิบัติการพบว่าการทางานของเซลล์ทาหน้าที่เกี่ยวข้องกับภูมิ ต้านทานโลกไม่ได้ทาหน้าที่ตามปกติ และแม้ว่าจะได้รับการรักษาอย่างดีที่สุด แต่ผู้ป่วยเหล่านี้ก็ไม่มีใครรอดแม้แต่ราย เดียว ทั้งนี้เป็นเพราะระบบภูมิคุ้มกันโรคเสื่อม หรือบกพร่อง จึงมีผู้เสนอให้เรียกโรคนี้ว่า Acquired Immune Deficiency Syndrome หรือ AIDS และตั้งแต่ปี 2525 เป็นต้นมาก็มีความเชื่อกันว่า โรคนี้จะต้องมีความเกี่ยวกับ พฤติกรรมทางเพศที่ผิดปกติจาพวกรักร่วมเพศ และพฤติกรรมเกี่ยวกับการเสพยาเสพติดอย่างแน่นอนต่อมามีการพบ อีกว่าผู้ป่วยที่ได้รับการถ่ายเลือดก็เป็นโรคเอดส์ จึงทาให้เห็นแนวทางที่ชัดเจนยิ่งขึ้นในการที่จะศึกษาและเผยแพร่ถึง วิธีการป้องกันการแพร่เชื้อและการติดต่อโรคได้อย่างละเอียด ด้วยเหตุนี้ผู้ศึกษาจึงมีความสนใจที่จะศึกษาความรู้ เกี่ยวกับเรื่องเอดส์และเอชไอวี จึงได้รวบรวมข้อมูล เนื้อหาความรู้เกี่ยวกับโรคเอดส์กับเอชไอวีและเพื่อจัดทาเป็นเว็บ บล็อก เพื่อเผยแพร่ให้ผู้ที่สนใจในการป้องกันสุขภาพตนเองจากโรคร้ายชนิดนี้
  • 3. 3 วัตถุประสงค์ 1.เพื่อศึกษาหาความรู้ของโรคเอดส์และเอชไอวี 2.เพื่อเป็นแนวทางในการปฏิบัติตนให้รอดพ้นจากโรคเอดส์และเอชไอวี 3.เพื่อเผยแพร่ความรู้ ความรู้เกี่ยวกับให้แก่ผู้อื่นได้ ขอบเขตโครงงาน 1. ศึกษาความเป็นมาของโรคเอดส์และเอชไอวี 2. ศึกษาพฤติกรรมที่เสี่ยงต่อบุคคลที่เป็นโรคเอดส์ 3. ศึกษาอาการของโรคเอดส์ 4. ศึกษาแนวทางป้องกันโรคเอดส์ หลักการและทฤษฎี โรคเอดส์คือ อาการของโรคภูมิคุ้มกันบกพร่อง (AIDS : Acquired Immune Deficiency Syndrome) โดย เกิดจากเชื้อไวรัสที่มีชื่อว่า ฮิวแมนอิมมิวโนเดฟีเชียนซีไวรัส (Human Immunodeficiency Virus : HIV) หรือเรียก ง่าย ๆว่า เชื้อเอชไอวี (HIV) เมื่อเชื้อเอชไอวีเข้าสู่ร่างกาย จะเข้าไปทาลายเซลล์เม็ดเลือดขาว ซึ่งทาหน้าที่กาจัดสิ่ง แปลกปลอมหรือเชื้อโรคที่เข้าสู่ร่างกาย เมื่อเซลล์เม็ดเลือดขาวถูกทาลายมากขึ้น จึงทาให้ผู้ป่วยมีภูมิคุ้มกันต่าลง จนใน ที่สุดร่างกายไม่มีสามารถต่อสู้กับเชื้อโรคต่างๆ ที่เข้าสู่ร่างกายได้ จึงทาให้ผู้ป่วยที่ติดเชื้อเอชไอวีนั้นสามารถติดเชื้อได้ ง่ายขึ้น ส่งผลให้เป็นโรคติดเชื้ออื่นๆ ตามมา เช่น วัณโรค ปอดบวม เชื้อรา เป็นต้น โดยส่วนใหญ่ผู้ป่วยโรคเอดส์มัก เสียชีวิตจากโรคแทรกซ้อนต่างๆ เชื้อไวรัสเอชไอวีมีหลากหลายสายพันธุ์ โดยปัจจุบันค้นพบมากกว่า 10 สายพันธุ์ กระจายอยู่ทั่วโลก แต่สาย พันธุ์ดั้งเดิมคือ เอชไอวี 1 (HIV-1) ซึ่งเป็นสายพันธุ์ที่แพร่ระบาดอยู่ในยุโรป แอฟริกากลาง และสหรัฐอเมริกา ส่วนเอช ไอวี2 (HIV-2) แพร่ระบาดในแถบแอฟริกาตะวันตกเชื้อไวรัสเอชไอวีถูกค้นพบครั้งแรกที่แอฟริกา โดยค้นพบมานาน กว่า 70 ปีแล้ว และปัจจุบันยังเป็นแหล่งที่พบเชื้อไวรัสเอชไอวีหลากหลายสายพันธุ์ที่สุดด้วย 4สายพันธุ์เอชไอวีที่พบมากที่สุดในโลกคือ สายพันธุ์ซี โดยมีมากถึง 40% ส าหรับพื้นที่ที่พบคือ ทวีปแอฟริกา อินเดีย จีน และพม่า ส่วนในประเทศไทยนั้นพบเชื้อเอชไอวี 2 สายพันธุ์ คือ สายพันธุ์ เออี (A/E) หรือ (E) พบได้มากถึง 95% โดยแพร่ระบาดจากการมีเพศสัมพันธ์ระหว่างชายกับหญิง และสายพันธุ์บี (B) มักเกิดการแพร่ระบาดในกลุ่ม LGBT หรือผู้ที่ใช้เข็มฉีดยาร่วมกัน (ในกลุ่มผู้ใช้สารเสพติด)สาหรับสายพันธุ์ที่ไม่เคยพบในประเทศไทยคือ สายพันธุ์ซี แต่มี การพบสายพันธุ์ระหว่าง อี-ซี ที่เป็นลูกผสมระหว่างสายพันธุ์อีในประเทศไทยกับสายพันธุ์ซี ซึ่งมีถิ่นกาเนิดในทวีป แอฟริกา และเมื่อไม่นานมานี้ ได้ค้นพบเชื้อเอชไอวีสายพันธุ์ใหม่ ที่ไม่เคยตรวจพบที่ใดในโลกมาก่อน เป็นการผสม ระหว่าง 3 สายพันธุ์ คือ เอ อี และจี เรียกว่า เอ อี จี(AE/G) การติดต่อของโรคเอดส์มี 3 ทางดังนี้ 1. การมีเพศสัมพันธ์กับผู้ที่มีเชื้อเอชไอวีการมีเพศสัมพันธ์กับผู้ติดเชื้อเอชไอวีเป็นสาเหตุหลักของการติดเชื้อ ไม่ว่าจะ เป็นการมีเพศสัมพันธ์กับเพศใดก็ตามทั้งนี้จากข้อมูลของทางกองระบาดวิทยาระบุว่า 83% ของผู้ติดเชื้อเอชไอวีนั้น ได้รับเชื้อมาจากการมีเพศสัมพันธ์ทั้งสิ้น 2. การรับเชื้อทางเลือด การติดเชื้อเอชไอวีพบได้ใน 2 กรณี คือ
  • 4. 4 2.1 ใช้เข็มฉีดยาร่วมกัน หรือแม้แต่การใช้กระบอกฉีดยาร่วมกับผู้ติดเชื้อเอชไอวี ซึ่งพบบ่อยในกลุ่มผู้เสพสารเสพติด หรือฉีดยาเข้าเส้น 2.2 รับเลือดมาจากการผ่าตัด หรือเพื่อรักษาโรคเลือดบางชนิด ในอดีตมีการติดเชื้อเอชไอวีจากช่องทางนี้ ค่อนข้างมาก เพราะยังไม่มีการตรวจเลือดที่ละเอียดนัก แต่ปัจจุบันได้มีการนาเลือดที่รับบริจาคไปหาตรวจหาเชื้อก่อน ทุกครั้ง ทาให้อัตราการติดเชื้อจากการรับเลือดลดลงอย่างมาก 3. การติดต่อผ่านแม่สู่ลูก เกิดจากแม่ที่มีเชื้อเอชไอวีอยู่แล้วตั้งครรภ์ โดยเชื้อเอชไอวีจะถ่ายทอดสู่ลูกขณะคลอด แต่ปัจจุบันได้ค้นพบวิธีการ ป้องกันการแพร่เชื้อจากแม่สู่ลูกได้สาเร็จแล้ว โดยวิธีการรับประทานยาต้านไวรัสในช่วงตั้งครรภ์ จะช่วยลดความเสี่ยง จากการติดเชื้อของทารกลงได้ ปัจจัยที่ทาให้ติดเชื้อโรคเอดส์ ปัจจัยที่ทาให้ติดเชื้อเอชไอวีมีหลายประการ คือ ปริมาณเชื้อเอชไอวี หากได้รับเชื้อเอชไอวีในปริมาณมาก ก็จะทาให้มีโอกาสเสี่ยงต่อการติดเชื้อสูงตามไปด้วย โดยเชื้อ เอชไอวีพบมากที่สุดในเลือด รองลงมาคือ น้าอสุจิและน้าในช่องคลอดมีบาดแผล หากมีบาดแผลบริเวณผิวหนังหรือ ช่องปาก ย่อมทาให้มีโอกาสติดเชื้อสูงขึ้น (จากการมีเพศสัมพันธ์ทางช่องปาก) เพราะเชื้อเอชไอวี สามารถเข้าสู่ บาดแผลได้ความบ่อยในการสัมผัสเชื้อ หากมีการสัมผัสเชื้อไวรัสบ่อย โอกาสเสี่ยงที่จะติดเชื้อก็มีสูงขึ้น เช่น นักวิจัยที่ ต้องทาการทดลอง ศึกษาเกี่ยวกับเชื้อไวรัสเอชไอวี เป็นต้นการติดเชื้อแบบอื่น ๆ เช่น แผลเริม ซึ่งแผลชนิดนี้จะมีเม็ด เลือดขาวอยู่ที่บริเวณแผลเป็นจานวนมาก ทาให้เพิ่มความเสี่ยงต่อการติดเชื้อได้ง่าย ระยะของโรคเอดส์ โดยทั่วไป เมื่อผู้ป่วยได้รับเชื้อเอชไอวีแล้ว อาการของโรคที่ปรากฎจะแบ่งได้เป็น 3 ระยะ ดังนี้ 1. ระยะไม่ปรากฏอาการ เรียกอีกอย่างว่า ระยะติดเชื้อไม่ปรากฏอาการ ในระยะนี้ผู้ที่ติดเชื้อนั้นจะไม่ปรากฏอาการผิดปกติใดๆ จึงดู เหมือนคนมีสุขภาพแข็งแรงปกติ แต่อาจมีอาการป่วยเล็กน้อย โดยเฉลี่ยนั้น จากระยะแรกเข้าสู่ระยะที่ 2 จะใช้เวลา ประมาณ 7– 8 ปี แต่ในบางรายอาจไม่แสดงอาการนานถึง 10 ปี ระยะนี้จึงเป็นระยะที่ผู้ที่ติดเชื้อสามารถแพร่เชื้อให้ บุคคลอื่นได้มากที่สุด เพราะว่าผู้ที่ติดเชื้อส่วนใหญ่ไม่ทราบว่าตัวเองติดเชื้อแล้ว 2. ระยะมีอาการสัมพันธ์กับโรคเอดส์ เราเรียกระยะนี้ว่า ระยะปรากฏอาการ ในระยะนี้จะตรวจพบผลเลือดบวก และมีอาการผิดปกติปรากฏให้เห็น เช่นต่อมน้าเหลืองโตติดต่อกันนานหลายเดือน มีเชื้อราในช่องปาก โดยเฉพาะกระพุ้งแก้ม และเพดานปาก เป็นงูสวัด หรือแผลเริมชนิดลุกลาม มีอาการเจ็บป่วยเรื้อรัง โดยไม่ทราบสาเหตุเกิน 1 เดือน เช่น มีไข้ ท้องเสีย ผิวหนังอักเสบ น้าหนักลด และอื่น ๆ ในระยะนี้อาจมีอาการอยู่เป็นปี ก่อนพัฒนาลุกลามในระยะต่อไป 3. ระยะเอดส์เต็มขั้นหรือระยะโรคเอดส์ ในระยะนี้ระบบภูมิคุ้มกันของร่างกายจะเสียหายอย่างมาก จนร่างกายไม่สามารถขจัดเชื้อโรคต่างๆ ที่เข้าสู่ ร่างกายได้ส่งผลให้ผู้ติดเชื้อป่วยเป็นโรคต่างๆ ได้ง่ายขึ้น ซึ่งการติดเชื้อแทรกซ้อนนี้ก็มีหลากหลายรูปแบบ หากติดเชื้อวัณโรคที่ปอด อาการที่พบคือ ผู้ป่วยจะมีไข้เรื้อรัง ไอเป็นเลือด แต่ถ้าเป็นการติดเชื้อเยื้อหุ้มสมองอักเสบ จะมีอาการปวดศีรษะอย่างรุนแรง อาเจียน คอแข็ง คลื่นไส้ และถ้าเป็นอาการที่เกี่ยวกับระบบประสาท จะมีอาการ ซึมเศร้า แขนขาอ่อนแรง ความจาเสื่อม ซึ่งพบว่าผู้ป่วยโรคเอดส์ในระยะสุดท้ายนี้ จะมีชีวิตอยู่ได้เพียง 1 – 2 ปีเท่านั้น
  • 5. 5 1.ระยะตั้งต้นเมื่อติดเชื้อไวรัสใหม่ๆ หรือ ระยะติดเชื้อปฐมภูมิ อาการผิดปกติของผู้ป่วยในระยะแรกนี้จะมีน้อย และ สามารถหายไปเองได้ในเวลา 2 ถึง 4 สัปดาห์ ได้แก่ เจ็บคอ ปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ มี ไข้ต่าๆ อ่อนเพลีย น้าหนักลด เล็กน้อย ถ่ายอุจจาระเหลว ต่อมน้าเหลืองโต ซึ่งมีความคล้ายคลึงกับอาการของ โรคไข้หวัดใหญ่ ทาให้วินิจฉัยถูกต้อง ได้ยาก ระยะแรกนี้ยังไม่เรียกว่า โรคเอดส์ (Primary infection) เป็นระยะที่ไวรัสเข้าไปใน “ทีเซลล์” และทาให้เซลล์ เหล่านี้ตายเป็นจานวนมาก ทาให้ “ทีเซลล์” ในเลือดลดจานวนลง เชื้อไวรัสจะแพร่กระจายไปทั่วร่างกาย และกระตุ้น ระบบภูมิคุ้มกันต้านทานที่สร้างแอนติบอดี ให้สร้างแอนติบอดี้ต่อเชื้อไวรัสขึ้นมาภายในเวลา 3 ถึง 7 สัปดาห์ หลังจาก ติดเชื้อ ซึ่งแอนติบอดีนี้สามารถตรวจพบได้จากเลือด และเป็นสิ่งที่ใช้ในการวินิจฉัยการติดเชื้อไวรัสชนิดนี้ที่ชัดเจนมาก 2.ระยะติดเชื้อเรื้อรัง การติดเชื้อฉวยโอกาส อย่างรุนแรง ผู้ติดเชื้ออาจจะมีเชื้อราขึ้นที่ลิ้น หรือมี วัณโรค ปอดกาเริบ โรคเริม หรือโรคงูสวัด เกิดขึ้นได้ แต่อาการมักไม่รุนแรงมาก และมักจะรักษาโรคเหล่านี้ได้ผล ระยะนี้ของโรคก็ยังไม่ เรียกโรคเอดส์ เช่นกัน (Chronic infection) หรือระยะสงบทางคลินิก (Clinical latency) ระยะนี้ เชื้อไวรัสจะเข้าไป อยู่ในต่อมน้าเหลือง และในม้าม และจะแบ่งตัวเพิ่มปริมาณในอวัยวะทั้งสองนี้เป็นส่วนใหญ่ ปริมาณของ CD 4 positive T-cell ในเลือด จะค่อยๆลดจานวนลงอย่างช้าๆ ระบบภูมิคุ้ม กันต้านทานโรคของร่างกาย จะไม่สามารถ กาจัดเชื้อไวรัสได้ เพราะ CD 4 positive T-cell จะลดจานวนลงเรื่อยๆ ระยะนี้ส่วนใหญ่จะกินเวลานาน 7-10 ปี โดย ที่ผู้ติดเชื้อไม่มีอาการผิดปกติชัดเจน นอกจากนั้นการได้รับยาต้านไวรัสอย่างสม่าเสมอจะเป็นการทาให้ผู้ติดเชื้อมีชีวิต อยู่ในระยะนี้ได้ยาวนานยิ่งขึ้นกว่าแต่ก่อนสมัยที่ยังไม่มีการค้นพบยาต้านเชื้อไวรัส ซึ่งในระยะนี้ เซลล์ CD 4 positive T-cell ยังไม่ต่ามากจนเป็นสาเหตุ 3.ระยะที่เป็นโรคเอดส์ ท้องเสีย ถ่ายอุจจาระเหลวเป็นประจา ปริมาณของ CD 4 positive T-cell จะต่ามาก ส่วน ใหญ่ต่ากว่า 200 เซลล์ต่อไมโครลิตร และจะมีการติดเชื้อฉวยโอกาส ในอวัยวะสาคัญอย่างรุนแรง เช่น ปอด มีอาการ ทางสมอง และมีมะเร็งชนิดต่างๆเกิดขึ้นได้ ที่พบบ่อย คือ โรคมะเร็งคาโปซิซาร์โคมา (Kaposi sarcoma) และ โรคมะเร็งต่อมน้าเหลือง ระยะนี้เป็นระยะที่ระบบภูมิคุ้มกันต้านทานโรคของร่างกายถูกทาลายเกือบทั้งหมดโดยเชื้อ ไวรัสนี้ ปริมาณเชื้อไวรัสในเลือดจะสูงขึ้นอย่างรวดเร็ว ผู้ป่วยจะมีไข้เรื้อรังนานเป็นเดือนๆ อ่อนเพลียมาก น้าหนักตัว ลดลงอย่างรวดเร็ว สรุป ก็คือระยะที่ 1 และ 2 ของการติดเชื้อไวรัสเอชไอวี ยังไม่เรียกว่าเป็นโรคเอดส์ เราจะเรียกระยะที่ 3 ของโรคว่า เป็นโรคเอดส์เท่านั้น การป้องกันการติดเชื้อเอชไอวี โรคเอดส์เป็นโรคที่สามารถป้องกันได้ เพียงท าความเข้าใจให้ถูกต้อง และปฏิบัติตามหลักดังต่อไปนี้ -ใช้ถุงยางอนามัยทุกครั้งที่มีเพศสัมพันธ์ -มีคู่นอนเพียงคนเดียว -ก่อนแต่งงาน หรือมีบุตร ควรมีการตรวจร่างกาย และตรวจเลือด -งดใช้สารเสพติดทุกชนิด โดยเฉพาะการใช้เข็ดฉีดยาร่วมกับผู้อื่น เอชไอวีและเอดส์คืออะไร โรคเอดส์เป็นระยะสุดท้ายของการติดเชื้อเอชไอวี เอชไอวีซึ่งย่อมาจากคาว่า human immunodeficiency virus เป็นเชื้อไวรัส ในขณะที่โรคเอดส์หรือ acquired immune deficiency syndrome คือกลุ่มอาการของโรคที่เกิดจาก การติดเชื้อเอชไอวีซึ่งเกิดขึ้นเมื่อระบบภูมิคุ้มกันของร่างกายถูกเชื้อไวรัสทาลายจนร่างกายของผู้ป่วยไม่สามารถต่อสู้ กับเชื้อโรคทั้งหลายที่เข้าสู่ร่างกายได้
  • 6. 6 ผลกระทบของเอชไอวีและเอดส์ที่มีต่อร่างกายมนุษย์ เมื่อร่างกายติดเชื้อเอชไอวี เชื้อเอชไอวีจะโจมตีระบบภูมิคุ้มกันของร่างกาย ทาให้ระบบภูมิคุ้มกันของร่างกายอ่อนแอ ลงจนไม่สามารถต่อสู้กับเชื้อโรคที่เข้าสู่ร่างกายได้ จนในที่สุดเชื้อไวรัสจะโจมตีร่างกายทั้งหมด เป้าหมายของเอชไอวีคือการทาลายเซลล์ที่มีหน้าที่ต่อสู้กับเชื้อโรคและการติดเชื้อไวรัสต่างๆ เซลล์นี้มีชื่อว่า CD4 (หรือเซลล์ T-helper) เป็นเซลล์เม็ดเลือดขาวที่มีความสาคัญต่อการทางานของระบบภูมิคุ้มกันของร่างกาย เอชไอวี ทาให้ระบบภูมิคุ้มกันร่างกายของผู้ติดเชื้ออ่อนแอลงจนทาให้เกิดโรคต่างๆได้ง่าย ในขณะที่คนที่มีระบบภูมิคุ้มกัน ร่างกายที่แข็งแรงจะสามารถต่อสู้กับเชื้อโรคเหล่านี้ได้ดีกว่า ความช้าเร็วของการดาเนินโรคและผลกระทบที่เชื้อเอชไอวีมีต่อร่างกายขึ้นอยู่กับผู้ติดเชื้อแต่ละคน ปัจจัยหลาย อย่างเช่น สุขภาพและอายุ รวมถึงความช้าเร็วในการได้รับการรักษา ล้วนเป็นปัจจัยที่มีผลต่อการดาเนินโรคทั้งสิ้น คน บางคนสามารถติดเชื้อเอชไอวีนานหลายปีโดยไม่มีอาการของโรคเอดส์ ปัจจัยที่อาจทาให้การติดเชื้อเอชไอวีพัฒนาเป็นอาการของโรคเอดส์รวดเร็วขึ้นนั้น ยังคงรวมถึงปัจจัยทางกรรมพันธุ์ การมีอายุมากขึ้น ภาวะโภชนาการไม่ดี หรือติดเชื้อร่วมกับโรคอื่น เช่น ตับอักเสบซีหรือวัณโรค การติดเชื้อเอชไอวี คนสามารถติดเชื้อเอชไอวีโดยการสัมผัสกับเลือด น้าอสุจิ ของเหลวจากช่องคลอด หรือแม้แต่น้านมแม่ สาเหตุการ แพร่เชื้อส่วนใหญ่มาจากการมีเพศสัมพันธ์และการใช้เข็มฉีดยาร่วมกัน หรือส่งผ่านจากแม่สู่ลูกระหว่างการตั้งครรภ์ ดังนั้นจึงเป็นเรื่องสาคัญที่คนควรมีเพศสัมพันธ์อย่างปลอดภัยและหลีกเลี่ยงการสัมผัสกับเข็มฉีดยาที่ไม่ได้ผ่านการฆ่า เชื้อโรค ไม่ว่าจะระหว่างการไปพบแพทย์หรือการใช้เพื่อนันทนาการ ยังมีความเข้าใจผิดเกี่ยวกับสาเหตุของการติดเชื้อเอชไอวี ไม่ว่าจะเป็นการติดเชื้อเอชไอวีจากการจับมือทักทาย การ กอด การจูบ การจาม การใช้ห้องน้าร่วมกัน การใช้ภาชนะและช้อนส้อมร่วมกันหรือการสัมผัสในรูปแบบอื่นๆที่ไม่ทา ให้ติดเชื้อเอชไอวี การทากิจกรรมที่กล่าวมานี้ ไม่สามารถทาให้ติดเชื้อเอชไอวีได้ การติดเชื้อเอชไอวี 3 ระยะ ระยะเฉียบพลัน (Acute HIV Infectious) เป็นระยะแรกของการติดเชื้อเอชไอวี เกิดขึ้นระหว่าง 2-4 สัปดาห์หลังจาก ติดเชื้อ ในระยะนี้ผู้ติดเชื้อจานวนมากจะเริ่มมีอาการคล้ายเป็นไข้หวัดใหญ่ เช่น มีไข้ เจ็บคอ ต่อมน้าเหลืองโต ปวด เมื่อยตามร่างกาย มีผื่นและปวดหัว อาการเหล่านี้เรียกว่า acute retroviral syndrome หรือ ARS เกิดขึ้นจากการที่ ร่างกายตอบสนองต่อการติดเชื้อเอชไอวี ในระยะนี้ เชื้อไวรัสจะเพิ่มจานวนอย่างมากในร่างกาย ทาให้เซลล์ CD4 ในร่างกายลดจานวนลงอย่างรวดเร็ว เป็น ระยะที่มีความเสี่ยงสูงมากที่ผู้ติดเชื้อจะแพร่กระจายไวรัสไปยังผู้อื่น ดังนั้นจึงจาเป็นต้องป้องกันการแพร่กระจายของ เชื้อเอชไอวี
  • 7. 7 อย่างไรก็ตาม หลังจากระยะเฉียบพลัน ระบบภูมิคุ้มกันของร่างกายจะค่อยๆ ทาให้ปริมาณของเชื้อไวรัสอยู่ในระดับ คงที่ หรือเรียกว่า viral set point หมายความว่าเชื้อไวรัสมีปริมาณที่คงที่ในร่างกายและปริมาณเซลล์ CD4 เริ่ม เพิ่มขึ้นอีกครั้งหนึ่ง แต่จะไม่สูงเท่ากับก่อนติดเชื้อ ระยะถัดมาคือ ระยะสงบทางคลินิก (Clinical Latency Stage) เป็นระยะที่เชื้อไวรัสอยู่ในร่างกายโดยไม่แสดงอาการ ใดๆ หรืออย่างมากที่สุดคือมีอาการเพียงเล็กน้อย บางครั้งเรียกระยะนี้ว่า ระยะติดเชื้อเรื้อรัง (chronic HIV infection) หรือ ระยะติดเชื้อโดยไม่มีอาการ (asymptomatic HIV infection) ในระยะนี้ไวรัสจะเพิ่มปริมาณมากขึ้น ในระดับต่า และมักจะใช้เวลานานถึง 10 ปี แต่สาหรับผู้ติดเชื้อบางคนอาจใช้เวลาน้อยกว่านั้น ระยะสุดท้ายคือ ระยะโรคเอดส์ (AIDS) เป็นระยะที่การติดเชื้อเอชไอวีได้พัฒนาเป็นโรคเอดส์ ระบบภูมิคุ้มกันที่แข็งแรงมีปริมาณเซลล์ CD4 อยู่ระหว่าง 500 ถึง 1,600 ในขณะที่ผู้ป่วยโรคเอดส์มี CD4 ต่ากว่า 200 เมื่อถึงจุดนี้ระบบภูมิคุ้มกันได้ถูกทาลายอย่างรุนแรงจนผู้ป่วยมีอาการติดเชื้อฉวยโอกาส (opportunistic infections) ซึ่งเกิดจากเชื้อโรคที่ไม่ก่อให้เกิดโรคในคนที่มีระบบภูมิคุ้มกันที่แข็งแรง แต่จะทาให้เกิดโรคกับผู้ที่ระบบ ภูมิคุ้มกันอ่อนแอ แต่ไม่ว่าผู้ติดเชื้อมีปริมาณ CD4 เท่าใดก็ตาม หากมีอาการติดเชื้อฉวยโอกาสอย่างใดอย่างหนึ่งหรือ มากกว่าถือว่าผุ้ติดเชื้อนั้นเป็นโรคเอดส์ การรักษาการติดเชื้อเอชไอวีและโรคเอดส์ ในปัจจุบันยังไม่มีวิธีการรักษาการติดเชื้อเอชไอวีและโรคเอดส์ให้หายขาดได้ แต่มียาหลายชนิดที่ช่วยรักษาอาการติด เชื้อเอชไอวี มียารักษาอาการติดเชื้อเอชไอวีและโรคเอดส์ที่ได้รับการรับรองมากกกว่า 25 ชนิด เรียกว่า ยาต้านรีโทรไวรัส (antiretroviral drugs หรือเรียกย่อว่า ARV) ซึ่งทาหน้าที่ยับยั้งหรือต้านการแบ่งตัวของเชื้อ เอชไอวี รวมถึงช่วยลด ความเสี่ยงในการแพร่กระจายโรคสู่คนอื่น การรักษาอาการติดเชื้อเอชไอวีประกอบด้วยการใช้ยาต้านไวรัสในกลุ่ม ARV หลายชนิดรวมกันเพื่อต่อสู้กับการติดเชื้อ หรือเรียกว่า Antiretroviral therapy (ART) วิธีการนี้เป็นการรักษาโรคโดยการควบคุมไวรัสไม่ให้ขยายพันธุ์ ทาให้ผู้ ติดเชื้อมีชีวิตที่ยืนยาวขึ้น นอกจากนี้ยังช่วยลดความเสี่ยงในการแพร่กระจายเชื้อสู่คนอื่น ในปัจจุบันวงการแพทย์ แนะนาให้ผู้ติดเชื้อเอชไอวีทุกคนรับการรักษาด้วย ยา ARV หากกังวลว่าตัวเองอาจติดเชื้อเอชไอวีภายในระยะเวลา 72 ชั่วโมง (3 วัน) สามารถใช้ยา ARV หลังสัมผัสโรค (post- exposure prophylaxis หรือชื่อย่อว่า PEP) เพื่อลดโอกาสในการติดเชื้อ ผู้มีความเสี่ยงในการติดเชื้อจาเป็นต้องได้รับ ยาให้เร็วที่สุดภายในเวลา 3 วันหลังจากสัมผัสเชื้อเอชไอวีเพื่อให้การป้องกันมีประสิทธิผล นอกจากนี้ ยา ARV สามารถใช้ป้องกันการติดเชื้อเอชไอวีก่อนสัมผัสโรค (Pre-exposure prophylaxis หรือชื่อย่อว่า PrEP) ใช้ในผู้ไม่มีเชื้อเอชไอวีแต่มีความเสี่ยงต่อการติดเชื้อเอชไอวีสูง และต้องการป้องกันการติดเชื้อเอชไอวี ผู้มีความ เสี่ยงในการติดเชื้อต้องรับประทานยาทุกวันเพื่อลดความเสี่ยงในการติดเชื้อ
  • 8. 8 ทาไมจึงจาเป็นต้องทาการตรวจเลือดหาเชื้อเอชไอวี ไม่ว่าด้วยเหตุผลใดก็ตาม หากคุณกังวลเพียงเล็กน้อยว่าคุณอาจติดเชื้อเอชไอวี คุณควรทาการตรวจเลือด เป็นวิธีการที่ รวดเร็วและง่ายดายและบริการฟรีในหลายๆ แห่ง วิธีการเดียวที่จะรู้ว่าคุณติดเชื้อเอชไอวีหรือไม่คือการตรวจเลือดเพื่อหาเชื้อเอชไอวี การตรวจเลือดแต่เนิ่นๆ ช่วยลด ความกังวลใจและทาให้คุณได้รับการดูแลรักษาที่ถูกต้อง หากคุณติดเชื้อเอชไอวี การได้รับการวินิจฉัยแต่เริ่มแรกทาให้คุณสามารถดูแลสุขภาพของตัวเองและคู่ครองรวมถึงคน อื่นที่คุณห่วงใย ถึงแม้ผลเลือดจะบ่งชี้ว่าคุณมีการติดเชื้อ การได้รู้ว่าตัวเองมีการติดเชื้อจะทาให้คุณสามารถดูแลรักษา สุขภาพของตัวเองและใช้ชีวิตอย่างเหมาะสม อาการของโรคเอดส์ อาการของโรคเอดส์มีดังนี้ ปอดอักเสบ สูญเสียความจา อาการซึมเศร้าและอาการทางระบบประสาทอื่นๆ ท้องเสียเรื้อรังนานกว่าหนึ่งสัปดาห์ เหนื่อยผิดปกติ อาการไข้ที่กลับมาเป็นซ้าๆ เหงื่อออกตอนกลางคืน น้าหนักลดอย่างรวดเร็ว มีผื่นตามผิวหนัง ในช่องปาก จมูกและเปลือกตา แผลที่ริมฝีปาก อวัยวะเพศและทวารหนัก อาการบวมที่ต่อมน้าเหลืองบริเวณคอ รักแร้และขาหนีบ ความหมายของ “เอชไอวี” (HIV) เชื้อเอชไอวี (Human Immunodeficiency Virus) คือ ไวรัสที่จะเข้าไปกัดกินทาลายเซลล์เม็ดเลือดขาว ทาให้ ภูมิคุ้มกันบกพร่อง ความหมายของ “เอดส์” (AIDS) เอดส์ (Acquired Immunodeficiency Syndrome - AIDS) คือกลุ่มอาการของการติดเชื้อโรคแทรกซ้อนต่างๆ เมื่อ ระบบภูมิคุ้มกันของร่างกายถูกเชื้อเอชไอวีทาลาย จนไม่สามารถต้านทานเชื้อโรคที่เข้าสู่ร่างกายเหล่านี้ได้
  • 9. 9 ติดเชื้อเอชไอวี ≠ โรคเอดส์ หากผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวี ไม่จาเป็นจะต้องเป็นโรคเอดส์เสมอไป เพราะหากตรวจพบว่าติดเชื้อได้เร็วผ่านการตรวจ เลือด สามารถรักษาได้ด้วยการทานยาต้านไวรัส เมื่อทาการรักษาแล้ว อาจไม่สามารถตรวจพบเชื้อเอชไอวีในร่างกาย ได้อีก เมื่อตรวจไม่เจอก็เท่ากับไม่แพร่เชื้อสู่ผู้อื่นได้ นอกจากนี้ หากผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีทาการรักษาด้วยยาต้านไวรัสอย่างถูกต้อง และต่อเนื่อง จะมีสุขภาพร่างกายที่ แข็งแรงสมบูรณ์ มีอายุขัยยืนยาวเท่ากับผู้ที่ไม่มีเชื้อ และอาจไม่จาเป็นต้องทานยาต้านไวรัสไปตลอดชีวิต เพราะหาก ตรวจไม่พบเชื้ออีก ก็สามารถหยุดทานยาได้ แต่แพทย์อาจนัดพบเพื่อตรวจร่างกายเป็นระยะๆ “เอชไอวี รู้เร็ว รักษาได้” การติดต่อของเชื้อเอชไอวี จากคนสู่คน เชื้อเอชไอวีสามารถติดต่อจากคนหนึ่งไปสู่อีกคนหนึ่งได้ผ่านสารคัดหลั่ง เช่น เลือดของผู้ป่วย ที่เข้าสู่ร่างกายอีกคน ผ่านการใช้เข็มฉีดยาร่วมกัน ซึมผ่านเข้าบาดแผลสดๆ การให้นมบุตรจากแม่ที่ติดเชื้อสู่ลูก เป็นต้น แต่โอกาสที่จะติด เชื้อก็ไม่ 100% เสมอไป ส่วนการกอด จูบ (ในกรณีที่ไม่มีแผลในปาก หรือเป็นการจูบแลกลิ้น แลกน้าลายกัน) ทานข้าวร่วมกัน จานเดียวกัน ใช้ ช้อนส้อม แก้วหน้าร่วมกัน ใช้สบู่ แชมพู ยาสีฟันร่วมกัน ไอจามใส่กัน หรือการมีเพศสัมพันธ์โดยใช้ถุงยางอนามัย (ที่ยัง อยู่ในสภาพดีพร้อมใช้งาน) ไม่ทาให้เกิดการติดเชื้อเอชไอวีได้ เพื่อเป็นการป้องกันการกระจายของการติดเชื้อ สิ่งที่ควรป้องกันไว้ก่อนเหล่านี้ควรปฏิบัติให้เป็นกิจวัตรประจาวันที่ บ้าน; ทุกๆคนในบ้านควรล้างมือหลังการใช้ห้องส้วมและก่อนการเตรียม อาหาร สวมุถงมือทุกครั้งเมื่อต้องทาความสะอาดเลือดและของเหลวอื่น ๆ ของร่างกาย ทาความสะอาดพื้นที่นั้นด้วยกระดาษ เช็ดมือก่อน ตามด้วยการล้างด้วยน้าสบู่ และในขั้นสุดท้าย พื้นที่นั้นควรได้รับการฆ่าเชื้อโรคด้วยน้ายาบลีช (น้ายาฟอก ขาวที่เรียกบลีช, Bleach) โดยทาตามคาแนะนาที่ภาชนะบรรจุบอกไว้ เช็ดบริเวณนั้นให้แห้งด้วยกระดาษเช็ดมือที่ สะอาด ผ้าปูที่นอน ผ้าเช็ดตัวและเสื้อผ้าที่เปื้อนเลือดหรือของเหลวอื่นๆของร่างกาย ควรแยกซักต่างหาก หลีกเลี่ยงการจูบและการสัมผัสใกล้ชิดกับผู้ที่เป็นหวัดหรือเป็นไข้ และเด็กที่เป็นโรคต่างๆ เช่น อีสุกอีใส คางทูมหรือ หัด จะมีเพศสัมพันธ์ได้ไหม การมีเชื้อเอชไอวีไม่ได้หมายความว่าคุณจะต้องงดการมีเพศสัมพันธ์ อย่างไรก็ตามคุณอาจจะต้องมีการปรับเปลี่ยน พฤติกรรมในการมีเพศสัมพันธ์บ้างบางอย่าง มีหลายๆสิ่งที่ควรพิจารณาดังนี้ คุณจาเป็นต้องปกป้องคู่นอนของคุณจากการติดเชื้อเอชไอวี ถ้าหากเขา/เธอไม่มีเชื้อเอชไอวีโดยการมีเพศสัมพันธ์อย่าง ปลอดภัย
  • 10. 10 การมีเพศสัมพันธ์อย่างปลอดภัยหมายถึง การใข้ถุงยางอนามัย (Condom) แผ่นแดม (Dam) และสารหล่อลื่นที่ใช้น้า เป็นส่วนประกอบหลัก (Water based lubricant) ทุกครั้งที่มีเพศสัมพันธ์ ถุงยางอนามัยทาหน้าที่เป็นเกราะป้องกัน เชื้อไวรัสเอชไอวีที่อยู่ในเลือด น้าอสุจิหรือของเหลวในช่องคลอดของคุณ ไม่ให้เข้าสู่กระแสเลือดของคู่นอนของคุณ เพศสัมพันธ์ทางปาก (Oral sex) มีโอกาสน้อยมากในการแพร่เชื้อเอชไอวี อย่างไรก็ตามหากคู่นอนของคุณมีรอยบาด หรือแผลในปาก หรือเพิ่งทาฟันมา การใช้ถุงยางอนามัยและแผ่นแดมเป็นวิธีที่ปลอดภัยที่สุดในการมีเพศสัมพันธ์ทาง ปาก การบาบัดรักษาเอชไอวีที่มีประสิทธิภาพ (เช่น ปริมาณเชื้อไวรัสในเลือดของคุณมีอยู่ต่ามากทาให้การตรวจสอบหา ไวรัลโหลดไม่สามารถตรวจจับได้) ช่วยลดความเสี่ยงในการแพร่เชื้อได้ ปรึกษาแพทย์ของคุณสาหรับข้อมูลเพิ่มเติม การจูบ กอด และการร่วมกันสาเร็จความใคร่ด้วยตัวเองและการนวดต่างๆถือเป็นการมีเพศสัมพันธ์อย่างปลอดภัย ในบางรัฐหรือเขตที่คุณอาศัยอยู่ ในทางกฏหมายคุณอาจต้องแจ้งให้คู่นอนของคุณรู้ว่าคุณมีเชื้อเอชไอวี ถึงแม้ว่าคุณ ตั้งใจจะมีเพศสัมพันธ์อย่างปลอดภัยก็ตาม สภาโรคเอดส์ในแต่ละรัฐหรือแต่ละเขตส่วนใหญ่จะสามารถแนะนาคุณ เพิ่มเติมได้ ต้องการทราบข้อมูลล่าสุดเกี่ยวกับกฏหมายและเอชไอวี โปรดติดต่อ ศูนย์กฏหมายเชื้อเอชไอวี/โรคเอดส์ HIV/AIDS Legal Centre. การบอกกับใครว่าคุณมีเชื้อเอชไอวีเป็นเรื่องยากและลาบากใจ ปรึกษากับแพทย์ของคุณ หรือนักสังคมสงเคราะห์ วิธีดาเนินงาน แนวทางการดาเนินงาน 1.คิดหัวข้อโครงงานเพื่อนาเสนอครูที่ปรึกษาโครงงาน 2.ศึกษาและค้นคว้าหาข้อมูลเกี่ยวกับหัวข้อที่สนใจ และจัดเก็บข้อมูลเพื่อทาเนื้อหา 3.จัดทาโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ 4.รายงานความก้าวหน้าเป็นระยะๆ ซึ่งครูที่ปรึกษาจะให้ข้อแนะนาต่างๆและนามาปรับปรุงแก้ไข 5.จัดทาเอกสารรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์ 6.นาเสนอโครงงานให้ครูที่ปรึกษาได้ประเมินผลงานเครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ 1.คอมพิวเตอร์ 2.โทรศัพท์มือถือ 3.สมุดและเครื่องเขียน งบประมาณ -
  • 11. 11 ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน ลาดับ ที่ ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 1 0 1 1 1 3 1 4 1 5 16 17 1 คิดหัวข้อโครงงาน 2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล 3 จัดทาโครงร่างงาน 4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน 5 ปรับปรุงทดสอบ 6 การทาเอกสารรายงาน 7 ประเมินผลงาน 8 นาเสนอโครงงาน ผลที่คาดว่าจะได้รับ 1.ได้รับความรู้เกี่ยวกับเรื่องเอดส์และเอชไอวี 2.สามารถเผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับเรื่องเอดส์และเอชไอวีได้อย่างถูกต้อง 3.ได้รู้จักการทางานเป็นทีม การออกแบบการท างานร่วมกัน สถานที่ดาเนินการ โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง 1.สุขศึกษาและพลศึกษา 2.ชีววิทยา แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน) มูลนิธิเอ็มพลัส.2562.[ออนไลน์].เข้าถึงได้จาก: https://www.mplusthailand.com/hivaids/%E0%B8%A3%E0%B8%B9%E0%B9%89%E0%B8%88%E0% B8%B1%E0%B8%81-hiv/.(26 พฤศจิกายน 2562) กองบรรณาธิการ HONESTDOCS.2559.[ออนไลน์].เข้าถึงได้จาก : https://www.honestdocs.co/aids-hiv-infection-and-prevention.( 26 พฤศจิกายน 2562)