SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 7
Downloaden Sie, um offline zu lesen
1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
รหัสวิชา ง33201 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 5
ปีการศึกษา 2562
ชื่อโครงงาน”การสารวจสาเหตุของการเกิดโรคอาหารเป็นในเป็นนักเรียน”
ชื่อผู้ทาโครงงาน
ชื่อนาย ญาณกร บุญเกิด เลขที่ 4 ชั้นม. 6 ห้อง6
นางสาว สิริณัฎฐ์ กันทะวงค์ เลขที่ 10ชั้นม. 6 ห้อง6
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 62
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
2
ใบงาน
การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
สมาชิกในกลุ่ม
นาย ญาณกร บุญเกิด เลขที่ 4
นางสาว สิริณัฎฐ์ กันทะวงค์ เลขที่ 10
คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้
ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย)
การสารวจสาเหตุของการเกิดโรคอาหารเป็นในเป็นนักเรียน
ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ)
Survey of food poisoning causes in students
ประเภทโครงงาน :สารวจ
ชื่อผู้ทาโครงงานนาย ญาณกร บุญเกิด
นางสาว สิริณัฎฐ์ กันทะวงค์
ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน 4สัปดาห์
● ที่มาและความสาคัญของโครงงาน
โครงงงานนนี้มีที่มาจากการที่ผมซึ่งเป็นหัวหน้าห้องทาการเช็ครายชื่อของเพื่อนๆในห้องอยู่หลายครั้งแล้วผมก็
จะพบว่ามีหลายครั้งที่เพื่อนๆของผมนั้นต้องลาป่วยเพราะการเป็นโรคอาหารเป็นพิษทาให้เพื่อนๆของผมต้องเสียทั้ง
เวลาเรียน เวลาไปรักษาตัว ทาให้เพื่อนๆนั้นมาเรียนไม่ทันจึงต้องไปตาเนื้อหาเองซึ่งบางทีอาจทาให้เพื่อนของผมต้อง
เสียทั้งเวลาไปเรียนเพิ่มและเสียเวลาเรียนเนื้อหาที่เรียนอยู่และอาจจะเสียเงินเพิ่มเพื่อไปเรียนเพิ่มอีกด้วย จึงทาให้ผม
เห็นว่าโรคนี้นั้นเป็นโรคอาหารเป็นพิษนั้นสามารถเกิดขึ้นได้ง่ายและเกิดขึ้นกับคนทั่วไป. และทาให้ผู้คนนั้นต้องทั้ง
เสียเวลาทั้งเงินทองหรือเสียสิ่งต่างๆที่ตัวเองควรจะได้รับในขณะที่เป็นโรคนั้น ทั้งนี้ผมจึงได้ไปสอบถามเพื่อนที่เป็นโรค
นี้ถึงอาการที่เกิดขึ้นของคนเป็นโรคอาหารเป็นพิษ. ผมได้ข้อมูลมาว่าอาการของโรคนี้คือมีการเวียนหัว คลื่นไส้
อาเจียน และถ่ายไม่หยุด ด้วยอาการที่ว่ามานั้นทาให้ผู้ที่เป็นโรคอาหารเป็นพิษมีอากรอ่อนเพลียอย่างหนักตามมาด้วย
ดังนั้นผมจึงต้องหาสาเหตุของโรคนี้ว่าทาไมโรคนี้ถึงเกิดขึ้นได้และเกิดจากอะไรเพื่อที่จะได้ทาการป้องกันและรณรงค์
ไม่ให้เกิดขึ้นโรคนี้อีกมันจึงเป็นสาเหตุที่ทาให้ผมมาทาโครงงานเริ่องนี้ เพื่อหาสาเหตุการเกิดโรคอาหารเป็นพิษขึ้นมา
3
วัตถุประสงค์
1. เพื่อให้รู้ถึงสาเหตุจองโรคอาหารเป็นพิษ
2. รู้ถึงสาเหตุเพื่อให้หาถึงแนวทางป้องกันโรคอาหารเป็นพิษ
ขอบเขตโครงงาน
ศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับโรคอาหารเป็นพิษและสาเหตุของโรงอาหารเป็นพิษจากบทความ งานวิจัย และข้อมูลที่
เกี่ยวข้อง
หลักการและทฤษฎี
อาหารเป็นพิษ (Food Poisoning) เกิดจากการรับประทานอาหารหรือดื่มน้าที่มีการปนเปื้อน ทาให้เกิดอาการ
คลื่นไส้ อาเจียน ท้องเสีย หรือปวดท้อง ซึ่งอาการส่วนใหญ่มักไม่ร้ายแรง แต่หากเกิดอาการรุนแรงขึ้นก็อาจทาให้
ร่างกายเสียน้าและเกลือแร่จนเป็นอันตรายได้ โดยอาหารเป็นพิษเป็นเรื่องใกล้ตัวที่สามารถเกิดขึ้นได้กับคนทุกเพศ ทุก
วัย ตั้งแต่เด็กจนถึงผู้สูงอายุ โดยเฉพาะในประเทศเขตร้อนอย่างเมืองไทยที่เชื้อโรคสามารถเจริญเติบโตได้เป็นอย่างดี
ดังนั้น จึงควรระมัดระวังในการรับประทานอาหารอยู่เสมอ เพื่อป้องกันการเกิดภาวะนี้
อาการของอาหารเป็นพิษ
ผู้ที่ได้รับเชื้อส่วนใหญ่จะแสดงอาการภายใน 1-2 วัน ขึ้นอยู่กับประเภทและปริมาณของเชื้อที่ร่างกายได้รับเข้าไป โดย
อาจมีอาการหลังรับประทานอาหารไม่กี่ชั่วโมง หรือนานเป็นสัปดาห์หากได้รับเชื้อรุนแรง
โดยอาการป่วยของผู้ที่เผชิญภาวะอาหารเป็นพิษ มีดังนี้
รู้สึกพะอืดพะอม คลื่นไส้ อาเจียนติดต่อกันหลายครั้ง หรืออาเจียนเป็นเลือด
มีอาการปวดท้องแบบบิดเกร็งเป็นพัก ๆ เนื่องจากการบีบตัวของลาไส้
ถ่ายท้อง ถ่ายมีมูกหรือเลือดปน
ไม่อยากอาหาร
มีอาการสูญเสียน้า เช่น รู้สึกเหนื่อยง่าย อ่อนเพลีย วิงเวียนศีรษะ หมดเรี่ยวแรง ปากแห้ง ตาโบ๋ กระหายน้าบ่อย
ปัสสาวะน้อย เป็นต้น
มีอาการทางระบบประสาท เช่น มองเห็นไม่ชัด แขนเป็นเหน็บ หรือกล้ามเนื้ออ่อนแรง เป็นต้นทั้งนี้ ผู้ป่วยที่มีอาการ
รุนแรงดังต่อไปนี้ ควรรีบไปพบแพทย์ทันที และไม่ควรซื้อยามารับประทานเอง เพราะอาจทาให้อาการแย่ลงได้
มีสัญญาณของภาวะขาดน้า เช่น ปากแห้ง กระหายน้าอย่างมาก ปัสสาวะน้อยหรือไม่ปัสสาวะเลย ปัสสาวะมีสีเข้ม หัว
ใจเต้นเร็ว ความดันโลหิตต่า อ่อนเพลีย วิงเวียนศีรษะ และหน้ามืด เป็นต้น
ส่วนเด็กและทารกที่มีภาวะขาดน้า นอกจากอาการผิดปกติข้างต้นแล้ว อาจมีอาการอื่น ๆ ร่วมด้วย เช่น ตาโบ๋ ขม่อม
ยุบ มีน้าตาไหลออกมาน้อยหรือไม่มีน้าตาขณะร้องไห้ เป็นต้น
4
ท้องเสียติดต่อกัน 3 วันในผู้ใหญ่ หรือท้องเสียติดต่อกัน 24 ชั่วโมงในเด็ก โดยอาการไม่ดีขึ้น
อาเจียนถี่หรืออาเจียนอย่างต่อเนื่องนานกว่า 12 ชั่วโมง
มีเลือดปนในอาเจียนหรืออุจจาระ
ตามัวหรือมองเห็นไม่ชัด
ปวดท้องอย่างรุนแรง โดยอาการปวดไม่ลดลงหลังจากอุจจาระไปแล้ว
ท้องเสียร่วมกับมีไข้สูงเกิน 38 องศาเซลเซียส
นอกจากนี้ บุคคลที่อยู่ในกลุ่มเสี่ยงควรรีบไปพบแพทย์ทันทีหากพบว่ามีอาการบ่งชี้ของภาวะอาหารเป็นพิษ ได้แก่
ผู้หญิงตั้งครรภ์ ผู้สูงอายุ เด็กอายุน้อยกว่า 5 ปี ผู้ที่มีระบบภูมิคุ้มกันร่างกายอ่อนแออย่างผู้ป่วยโรคมะเร็งหรือติดเชื้อ
เอชไอวี รวมถึงผู้ที่มีโรคประจาตัวเรื้อรัง เช่น โรคลาไส้อักเสบเรื้อรัง โรคลิ้นหัวใจ โรคเบาหวาน โรคไต เป็นต้น
อาหารเป็นพิษ rs
สาเหตุของอาหารเป็นพิษ
ส่วนใหญ่ภาวะอาหารเป็นพิษเกิดจากการรับประทานอาหารและน้าดื่มที่มีการปนเปื้อนของเชื้อแบคทีเรีย ไวรัส หรือ
ปรสิต ซึ่งเชื้อที่มักเป็นสาเหตุของภาวะอาหารเป็นพิษ คือ
ซาลโมเนลลา (Salmonella) พบมากในเนื้อสัตว์ดิบ ไข่ดิบ นม และผลิตภัณฑ์ที่ทาจากนม เชื้อนี้ทาให้เกิดอาการ
ท้องเสีย ถ่ายมีมูก คลื่นไส้ อาเจียน และมีไข้ ภายในเวลา 4-7 วัน
เอสเชอริเชีย โคไล (Escherichia Coli) หรืออีโคไล (E. Coli) บางสายพันธ์ุ เช่น สายพันธุ์ Enteropathogenic E.
Coli สายพันธุ์ Enterotoxic E.Coli (ETEC) และสายพันธุ์ Shiga toxin-producing E. Coli เป็นต้น โดยพบมากใน
เนื้อสัตว์ดิบ ซึ่งทาให้เกิดอาการถ่ายเหลวเป็นน้า ปวดมวนท้อง และอาเจียน ภายในเวลา 1-10 วัน
คลอสติเดียม โบทูลินัม (Clostridium Botulinum) เชื้อนี้เจริญเติบโตได้ดีในสภาวะแวดล้อมที่มีออกซิเจนน้อย จึงมัก
พบในอาหารที่บรรจุในภาชนะปิดสนิท โดยเฉพาะอาหารกระป๋องที่ผ่านกระบวนการผลิตที่ไม่ถูกสุขลักษณะ เช่น
หน่อไม้ปี๊บ หน่อไม้ดอง ผักกาดดอง เนื้อสัตว์แปรรูป เป็นต้น โดยสารพิษที่สร้างจากเชื้อชนิดนี้มักทาให้ผู้ป่วยอาเจียน
ถ่ายท้อง ตาพร่ามัว มองเห็นภาพซ้อน กล้ามเนื้ออ่อนแรง และบางครั้งอาจรุนแรงจนเกิดภาวะหายใจล้มเหลวและ
เสียชีวิตได้
ชิเกลล่า (Shigella) พบการปนเปื้อนทั้งในผลิตภัณฑ์อาหารสด น้าดื่มที่ไม่สะอาด รวมไปถึงอาหารสดที่สัมผัสกับคนที่
มีเชื้อโดยตรง เพราะเชื้อชนิดนี้สามารถกระจายจากคนหนึ่งไปสู่อีกบุคคลหนึ่งได้ ซึ่งจะทาให้เกิดอาการคลื่นไส้
อาเจียน ปวดมวนท้อง หลังจากรับประทานอาหารที่ปนเปื้อนเชื้อภายใน 7 วัน
ไวรัสที่ก่อโรคในทางเดินอาหาร (Enteric Viruses) ประกอบด้วยไวรัสหลายชนิด เช่น ไวรัสโนโร (Norovirus) ที่มัก
ปนเปื้อนได้ทั้งในอาหารสด สัตว์น้าที่มีเปลือก และน้าดื่มที่ไม่สะอาด โดยจะแสดงอาการภายใน 1-2 วัน หรือเชื้อไวรัส
ตับอักเสบ เอ (Hepatitis A) ที่สามารถติดต่อด้วยการได้รับเชื้อจากอาหารสดที่สัมผัสกับบุคคลที่มีเชื้อโดยตรง ภายใน
2-3 สัปดาห์ เป็นต้น
5
นอกจากนี้ ภาวะอาหารเป็นพิษในผู้ป่วยบางรายก็อาจเกิดจากสารพิษที่สร้างขึ้นโดยเชื้อโรค พืชที่มีพิษ หรือสารเคมี
เช่น สารตะกั่ว ยาฆ่าแมลง เห็ดพิษ สารหนู หรือสารปรอท เป็นต้น
การวินิจฉัยอาการอาหารเป็นพิษ
แพทย์จะวินิจฉัยโดยพิจารณาจากหลายปัจจัยประกอบกัน ทั้งอาการของผู้ป่วย อาหารที่รับประทาน ระยะเวลาที่มี
อาการ ประวัติของผู้ป่วย และการตรวจร่างกายอย่างละเอียด
ในกรณีที่ผู้ป่วยมีอาการรุนแรงหรือเรื้อรัง แพทย์จะตรวจหาเชื้อในห้องปฏิบัติการเพิ่มเติม ดังนี้
การตรวจเลือด หรือตรวจปริมาณแอนติบอดี้ในเลือด ใช้ในกรณีที่ผู้ป่วยมีอาการที่รุนแรงมากกว่าอาเจียนและท้องเสีย
หรือมีภาวะขาดน้าและเกลือแร่ เพื่อตรวจหาปริมาณเกลือแร่ในเลือดและตรวจการทางานของไต หรือในกรณีที่เสี่ยง
ต่อการติดเชื้อไวรัสตับอักเสบ อาจตรวจการทางานของตับเพิ่มเติมด้วย
การตรวจอุจจาระ เพื่อตรวจหาชนิดของเชื้อโรคด้วยกล้องจุลทรรศน์ ใช้เมื่อผู้ป่วยมีการติดเชื้อในระบบทางเดินอาหาร
เช่น เชื้อแบคทีเรีย เชื้อไวรัส เชื้อรา หรือเชื้อปรสิต เป็นต้น
การรักษาอาหารเป็นพิษ
ผู้ป่วยส่วนใหญ่มีอาการดีขึ้นได้ด้วยการดูแลตัวเองที่บ้าน โดยปฎิบัติตามคาแนะนาดังต่อไปนี้
นอนหลับพักผ่อนให้เพียงพอ และดูแลไม่ให้ร่างกายขาดน้า โดยดื่มน้าเปล่ามาก ๆ หรือจิบน้าบ่อย ๆ เพื่อชดเชยการ
สูญเสียน้าจากอาการท้องร่วงและอาเจียน
ดื่มน้าผสมผงเกลือแร่ หรือ ORS ซึ่งเป็นสารที่มีเกลือและน้าตาลกลูโคสเป็นส่วนประกอบหลัก ใช้เพื่อทดแทนน้าและ
แร่ธาตุบางชนิดที่สูญเสียไปจากการอาเจียนและถ่ายอุจจาระ โดยให้จิบทีละน้อยตลอดทั้งวันควบคู่กับการรับประทาน
อาหารตามปกติ และสามารถดื่มได้จนกว่าจะหยุดอาเจียนหรือกลับมาถ่ายอุจจาระแบบเป็นก้อนแล้ว
รับประทานยาแก้ท้องเสีย โดยผู้ป่วยอาจใช้ยาแก้ท้องเสียภายใต้คาแนะนาของแพทย์หรือเภสัชกรเพื่อช่วยบรรเทา
อาการท้องเสียควบคู่ไปกับการดื่มน้าและผงเกลือแร่ซึ่งเป็นการรักษาหลัก อย่างยา Diosmectite ที่มีงานวิจัยบางส่วน
พบว่าผู้ป่วยเด็กที่เป็นโรคอุจจาระร่วงเฉียบพลันที่มีอาการไม่รุนแรงมาก มีความถี่ในการถ่ายอุจจาระลดลงหลังจากใช้
ยา Diosmectite ซึ่งยาชนิดนี้มีคุณสมบัติช่วยดูดซับสารพิษในระบบทางเดินอาหารและอาจช่วยยับยั้งเชื้อโรคที่ทาให้
เกิดโรคอุจจาระร่วงได้ ทั้งเชื้อแบคทีเรีย ไวรัส และสารอื่น ๆ
รับประทานยาแก้ท้องเสีย โดยผู้ป่วยอาจใช้ยาแก้ท้องเสียภายใต้คาแนะนาของแพทย์หรือเภสัชกร
ทั้งนี้ ในกรณีที่อาหารเป็นพิษเกิดจากการติดเชื้อแบคทีเรีย หรือมีอาการรุนแรงขึ้นจนต้องเข้ารับการรักษาใน
โรงพยาบาล แพทย์จะให้น้าเกลือทางหลอดเลือดเมื่อมีภาวะเสียน้าและเกลือแร่ รวมทั้งอาจให้ยาปฏิชีวนะ ยาบรรเทา
อาการคลื่นไส้อาเจียน หรือรักษาด้วยวิธีอื่น ๆ ตามสาเหตุต่อไป
ภาวะแทรกซ้อนของอาหารเป็นพิษ
6
ภาวะอาหารเป็นพิษอาจทาให้เกิดภาวะขาดน้าและเกลือแร่จากการถ่ายท้องและการอาเจียน หรืออาจทาให้ผู้ป่วยบาง
รายรับประทานอาหารไม่ได้ ซึ่งอาจทาให้ร่างกายเกิดภาวะช็อกและเป็นอันตรายต่อชีวิตได้ โดยเฉพาะในเด็กเล็ก คน
สูงอายุ หรือผู้มีโรคประจาตัวเรื้อรัง เช่น โรคหัวใจ โรคเบาหวาน เป็นต้น นอกจากนี้ เชื้อโรคบางชนิดยังก่อให้เกิด
อาการรุนแรงต่ออวัยวะอื่น ๆ ได้ด้วย เช่น เชื้ออีโคไลชนิดรุนแรง (Shiga Toxin-Producing E. Coli) ที่ทาให้เม็ดเลือด
แดงแตกและไตวาย จนอาจถึงแก่ชีวิตได้ เป็นต้น
การป้องกันอาหารเป็นพิษ
อาหารที่เรารับประทานกันเสี่ยงถูกปนเปื้อนได้ทุกขั้นตอน ตั้งแต่การเพาะปลูก การเก็บเกี่ยว การเตรียมอาหาร การ
ปรุงอาหาร การจาหน่าย ตลอดจนการบริโภค ดังนั้น การรักษาความสะอาดจึงเป็นหัวใจสาคัญที่ช่วยให้ห่างไกลจาก
อาหารเป็นพิษ
เพื่อหลีกเลี่ยงการเผชิญภาวะอาหารเป็นพิษ ควรทาตามหลักปฏิบัติดังต่อไปนี้
ดูแลอนามัยส่วนบุคคล
ความสะอาดเริ่มต้นได้ด้วยตนเอง โดยควรล้างมือก่อนและหลังรับประทานให้เป็นนิสัย หรือหลังสัมผัสสิ่งสกปรกและ
เชื้อโรคจากแหล่งต่าง ๆ รอบตัว เช่น จับราวบันได กดปุ่มลิฟต์ สัมผัสใกล้ชิดกับผู้ป่วยโรคต่าง ๆ เป็นต้น
บริโภคอาหารที่ถูกสุขลักษณะ
ควรเลือกรับประทานอาหารที่ปรุงสุก สดใหม่ หรือผ่านความร้อนเพื่อช่วยฆ่าเชื้อโรคที่ปนเปื้อนในอาหารก่อน
รับประทาน หากรับประทานอาหารไม่หมด ควรเก็บอาหารเข้าตู้เย็น ไม่วางทิ้งไว้ในอุณหภูมิห้อง เพราะอาจทาให้เชื้อ
โรคเจริญเติบโตได้ เมื่อต้องการรับประทานอีกครั้งจึงนามาอุ่นให้ร้อนก่อน นอกจากนี้ การรับประทานอาหารนอกบ้าน
ก็ควรเลือกร้านอาหารที่สะอาด คนทาอาหารแต่งตัวเหมาะสม สถานที่ถูกสุขลักษณะ และอ่านฉลากผลิตภัณฑ์อาหาร
เพื่อตรวจสอบวันหมดอายุก่อนรับประทานเสมอ
จัดเก็บและเตรียมอาหารอย่างปลอดภัย
ดูแลรักษาความสะอาดบริเวณที่เตรียมอาหาร ปรุงอาหารหรือเก็บอาหารให้ถูกสุขอนามัย เช่น แยกเก็บเนื้อสดออก
จากอาหารชนิดอื่น ๆ เพราะเชื้อแบคทีเรียส่วนใหญ่อยู่ในอาหารจาพวกนี้ หรือล้างผักและผลไม้ให้สะอาด ให้
ปราศจากสิ่งสกปรก ยาฆ่าแมลง สารเคมี หรือสารตกค้างต่าง ๆ ก่อนนามารับประทานหรือปรุงอาหาร รวมถึงเก็บ
รักษาอาหารประเภทที่บูดเสียง่ายให้อยู่ในอุณหภูมิที่เหมาะสม มีความเย็นทั่วถึง เช่น แกงกะทิ อาหารทะเล อาหาร
สด เป็นต้น ในกรณีที่เดินทางไกล อาจใส่อาหารในกล่องโฟมที่มีน้าแข็ง และอาจใช้กระเป๋าเก็บความเย็นหรือใช้เจล
เก็บความเย็น
7
วิธีดาเนินงาน
แนวทางการดาเนินงาน
ไปสอบถามผู้ป่วยโรคอาหารเป็นพิษ ว่าก่อนเป็นได้รับประทานอาหารประเภทไหนมา รายละเอียดของอาหาร
ว่าเป็นยังไง และความเหมือนกันในแต่ล่ะผู้ป่วยแล้วนามาหาความความเป็นไปได้ ที่จะเป็นต้นเหตุของโรค
เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้
-โทรศัพท์มือถือ
-คอมพิวเตอร์
งบประมาณ
500 บาท
ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน
ลาดับ
ที่
ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ
1 2 3 4 5 6 7 8 9
1
0
1
1
12
1
3
1
4
1
5
16 17
1 คิดหัวข้อโครงงาน
2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล
3 จัดทาโครงร่างงาน
4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน
5 ปรับปรุงทดสอบ
6 การทาเอกสารรายงาน
7 ประเมินผลงาน
8 นาเสนอโครงงาน
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ได้รู้ว่าสาเหตุของโรคอาหารเป็นพิษคืออะไร และนามาเป็นวิธีป้องกันไม่ให้คนอื่นเป็นโรคนี้อี
สถานที่ดาเนินการ
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย
กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง
กลุ่มสาระวิทยาศาสตร์
กลุ่มสาระสุขศึกษา
แหล่งอ้างอิง
https://www.pobpad.com/อาหารเป็นพิษ

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

โครงงานงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ใบฝรั่งลดผมร่วง
โครงงานงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ใบฝรั่งลดผมร่วงโครงงานงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ใบฝรั่งลดผมร่วง
โครงงานงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ใบฝรั่งลดผมร่วงchanon leedee
 
บท4ตอบสนองพืช
บท4ตอบสนองพืชบท4ตอบสนองพืช
บท4ตอบสนองพืชWichai Likitponrak
 
บท3 พันธุเทคโน
บท3 พันธุเทคโนบท3 พันธุเทคโน
บท3 พันธุเทคโนWichai Likitponrak
 
Lessonplanunit5animalgrowth kr uwichai62
Lessonplanunit5animalgrowth kr uwichai62Lessonplanunit5animalgrowth kr uwichai62
Lessonplanunit5animalgrowth kr uwichai62Wichai Likitponrak
 
บท2 ยีนเเละโครโมโซม
บท2 ยีนเเละโครโมโซมบท2 ยีนเเละโครโมโซม
บท2 ยีนเเละโครโมโซมWichai Likitponrak
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์thitichaya24
 

Was ist angesagt? (19)

Lesson2 plantrepro wichaitu62
Lesson2 plantrepro wichaitu62Lesson2 plantrepro wichaitu62
Lesson2 plantrepro wichaitu62
 
Pptgst uprojectbanana62
Pptgst uprojectbanana62Pptgst uprojectbanana62
Pptgst uprojectbanana62
 
โครงงานงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ใบฝรั่งลดผมร่วง
โครงงานงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ใบฝรั่งลดผมร่วงโครงงานงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ใบฝรั่งลดผมร่วง
โครงงานงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ใบฝรั่งลดผมร่วง
 
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project
 
656 pre3
656 pre3656 pre3
656 pre3
 
Lesson3 plantgrowth2
Lesson3 plantgrowth2Lesson3 plantgrowth2
Lesson3 plantgrowth2
 
Lesson2 plantrepro
Lesson2 plantreproLesson2 plantrepro
Lesson2 plantrepro
 
บท4ตอบสนองพืช
บท4ตอบสนองพืชบท4ตอบสนองพืช
บท4ตอบสนองพืช
 
Pitchayaporn N.
Pitchayaporn N.Pitchayaporn N.
Pitchayaporn N.
 
บท3 พันธุเทคโน
บท3 พันธุเทคโนบท3 พันธุเทคโน
บท3 พันธุเทคโน
 
Lesson1 celldivision2561
Lesson1 celldivision2561Lesson1 celldivision2561
Lesson1 celldivision2561
 
Lesson2 plantrepro2
Lesson2 plantrepro2Lesson2 plantrepro2
Lesson2 plantrepro2
 
1 ecosystem 2
1 ecosystem 21 ecosystem 2
1 ecosystem 2
 
Lessonplanunit5animalgrowth kr uwichai62
Lessonplanunit5animalgrowth kr uwichai62Lessonplanunit5animalgrowth kr uwichai62
Lessonplanunit5animalgrowth kr uwichai62
 
2560 project
2560 project2560 project
2560 project
 
Lessonplan 4animalreproduce2
Lessonplan 4animalreproduce2Lessonplan 4animalreproduce2
Lessonplan 4animalreproduce2
 
บท2 ยีนเเละโครโมโซม
บท2 ยีนเเละโครโมโซมบท2 ยีนเเละโครโมโซม
บท2 ยีนเเละโครโมโซม
 
M6 144 60_4
M6 144 60_4M6 144 60_4
M6 144 60_4
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 

Ähnlich wie Comnmmn

2562 final-project_02_kamolchanok
2562 final-project_02_kamolchanok 2562 final-project_02_kamolchanok
2562 final-project_02_kamolchanok KamolchanokPhanlek
 
หน่อไม้ฝรั่ง
หน่อไม้ฝรั่งหน่อไม้ฝรั่ง
หน่อไม้ฝรั่งTanutkit Kinruean
 
หน่อไม้ฝรั่ง
หน่อไม้ฝรั่งหน่อไม้ฝรั่ง
หน่อไม้ฝรั่งTanutkit Kinruean
 
ใบงานคอม
ใบงานคอมใบงานคอม
ใบงานคอมiamauummm
 
2558 project-มิ้น
2558 project-มิ้น2558 project-มิ้น
2558 project-มิ้นKanokwan Rapol
 
2562 project-15-jarukan (2)
2562 project-15-jarukan (2)2562 project-15-jarukan (2)
2562 project-15-jarukan (2)KUMBELL
 
กิจกรรมที่5 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่5 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์กิจกรรมที่5 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่5 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Guy Prp
 
กิจกรรมที่1 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่1 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์กิจกรรมที่1 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่1 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์tangkwakamonwan
 
โครงงานคอมเทอม2
โครงงานคอมเทอม2โครงงานคอมเทอม2
โครงงานคอมเทอม2nampingtcn
 
2562 final-project computer
2562 final-project computer2562 final-project computer
2562 final-project computertataaaz
 

Ähnlich wie Comnmmn (20)

2559 project 612-04_08
2559 project 612-04_082559 project 612-04_08
2559 project 612-04_08
 
2562 final-project_02_kamolchanok
2562 final-project_02_kamolchanok 2562 final-project_02_kamolchanok
2562 final-project_02_kamolchanok
 
หน่อไม้ฝรั่ง
หน่อไม้ฝรั่งหน่อไม้ฝรั่ง
หน่อไม้ฝรั่ง
 
หน่อไม้ฝรั่ง
หน่อไม้ฝรั่งหน่อไม้ฝรั่ง
หน่อไม้ฝรั่ง
 
ใบงานคอม
ใบงานคอมใบงานคอม
ใบงานคอม
 
2558 project-มิ้น
2558 project-มิ้น2558 project-มิ้น
2558 project-มิ้น
 
Thitiporn1
Thitiporn1Thitiporn1
Thitiporn1
 
Nut1
Nut1Nut1
Nut1
 
2558 project
2558 project 2558 project
2558 project
 
2562 project-15-jarukan (2)
2562 project-15-jarukan (2)2562 project-15-jarukan (2)
2562 project-15-jarukan (2)
 
Final project
Final projectFinal project
Final project
 
กิจกรรมที่5 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่5 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์กิจกรรมที่5 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่5 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
Project1
Project1Project1
Project1
 
กิจกรรมที่1 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่1 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์กิจกรรมที่1 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่1 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
2560project
2560project2560project
2560project
 
โครงงานคอมเทอม2
โครงงานคอมเทอม2โครงงานคอมเทอม2
โครงงานคอมเทอม2
 
2561 project -2
2561 project -22561 project -2
2561 project -2
 
2561 project 609
2561 project 6092561 project 609
2561 project 609
 
Projectcom 2560
Projectcom 2560Projectcom 2560
Projectcom 2560
 
2562 final-project computer
2562 final-project computer2562 final-project computer
2562 final-project computer
 

Mehr von Yannakorn (9)

Com03
Com03Com03
Com03
 
Com02
Com02Com02
Com02
 
Nwepngo
NwepngoNwepngo
Nwepngo
 
Comm
CommComm
Comm
 
Comm (1)
Comm (1)Comm (1)
Comm (1)
 
Comm
CommComm
Comm
 
at33
at33at33
at33
 
at22
at22at22
at22
 
AT1
AT1AT1
AT1
 

Comnmmn

  • 1. 1 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา ง33201 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 5 ปีการศึกษา 2562 ชื่อโครงงาน”การสารวจสาเหตุของการเกิดโรคอาหารเป็นในเป็นนักเรียน” ชื่อผู้ทาโครงงาน ชื่อนาย ญาณกร บุญเกิด เลขที่ 4 ชั้นม. 6 ห้อง6 นางสาว สิริณัฎฐ์ กันทะวงค์ เลขที่ 10ชั้นม. 6 ห้อง6 ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 62 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
  • 2. 2 ใบงาน การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ สมาชิกในกลุ่ม นาย ญาณกร บุญเกิด เลขที่ 4 นางสาว สิริณัฎฐ์ กันทะวงค์ เลขที่ 10 คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้ ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) การสารวจสาเหตุของการเกิดโรคอาหารเป็นในเป็นนักเรียน ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) Survey of food poisoning causes in students ประเภทโครงงาน :สารวจ ชื่อผู้ทาโครงงานนาย ญาณกร บุญเกิด นางสาว สิริณัฎฐ์ กันทะวงค์ ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน 4สัปดาห์ ● ที่มาและความสาคัญของโครงงาน โครงงงานนนี้มีที่มาจากการที่ผมซึ่งเป็นหัวหน้าห้องทาการเช็ครายชื่อของเพื่อนๆในห้องอยู่หลายครั้งแล้วผมก็ จะพบว่ามีหลายครั้งที่เพื่อนๆของผมนั้นต้องลาป่วยเพราะการเป็นโรคอาหารเป็นพิษทาให้เพื่อนๆของผมต้องเสียทั้ง เวลาเรียน เวลาไปรักษาตัว ทาให้เพื่อนๆนั้นมาเรียนไม่ทันจึงต้องไปตาเนื้อหาเองซึ่งบางทีอาจทาให้เพื่อนของผมต้อง เสียทั้งเวลาไปเรียนเพิ่มและเสียเวลาเรียนเนื้อหาที่เรียนอยู่และอาจจะเสียเงินเพิ่มเพื่อไปเรียนเพิ่มอีกด้วย จึงทาให้ผม เห็นว่าโรคนี้นั้นเป็นโรคอาหารเป็นพิษนั้นสามารถเกิดขึ้นได้ง่ายและเกิดขึ้นกับคนทั่วไป. และทาให้ผู้คนนั้นต้องทั้ง เสียเวลาทั้งเงินทองหรือเสียสิ่งต่างๆที่ตัวเองควรจะได้รับในขณะที่เป็นโรคนั้น ทั้งนี้ผมจึงได้ไปสอบถามเพื่อนที่เป็นโรค นี้ถึงอาการที่เกิดขึ้นของคนเป็นโรคอาหารเป็นพิษ. ผมได้ข้อมูลมาว่าอาการของโรคนี้คือมีการเวียนหัว คลื่นไส้ อาเจียน และถ่ายไม่หยุด ด้วยอาการที่ว่ามานั้นทาให้ผู้ที่เป็นโรคอาหารเป็นพิษมีอากรอ่อนเพลียอย่างหนักตามมาด้วย ดังนั้นผมจึงต้องหาสาเหตุของโรคนี้ว่าทาไมโรคนี้ถึงเกิดขึ้นได้และเกิดจากอะไรเพื่อที่จะได้ทาการป้องกันและรณรงค์ ไม่ให้เกิดขึ้นโรคนี้อีกมันจึงเป็นสาเหตุที่ทาให้ผมมาทาโครงงานเริ่องนี้ เพื่อหาสาเหตุการเกิดโรคอาหารเป็นพิษขึ้นมา
  • 3. 3 วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้รู้ถึงสาเหตุจองโรคอาหารเป็นพิษ 2. รู้ถึงสาเหตุเพื่อให้หาถึงแนวทางป้องกันโรคอาหารเป็นพิษ ขอบเขตโครงงาน ศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับโรคอาหารเป็นพิษและสาเหตุของโรงอาหารเป็นพิษจากบทความ งานวิจัย และข้อมูลที่ เกี่ยวข้อง หลักการและทฤษฎี อาหารเป็นพิษ (Food Poisoning) เกิดจากการรับประทานอาหารหรือดื่มน้าที่มีการปนเปื้อน ทาให้เกิดอาการ คลื่นไส้ อาเจียน ท้องเสีย หรือปวดท้อง ซึ่งอาการส่วนใหญ่มักไม่ร้ายแรง แต่หากเกิดอาการรุนแรงขึ้นก็อาจทาให้ ร่างกายเสียน้าและเกลือแร่จนเป็นอันตรายได้ โดยอาหารเป็นพิษเป็นเรื่องใกล้ตัวที่สามารถเกิดขึ้นได้กับคนทุกเพศ ทุก วัย ตั้งแต่เด็กจนถึงผู้สูงอายุ โดยเฉพาะในประเทศเขตร้อนอย่างเมืองไทยที่เชื้อโรคสามารถเจริญเติบโตได้เป็นอย่างดี ดังนั้น จึงควรระมัดระวังในการรับประทานอาหารอยู่เสมอ เพื่อป้องกันการเกิดภาวะนี้ อาการของอาหารเป็นพิษ ผู้ที่ได้รับเชื้อส่วนใหญ่จะแสดงอาการภายใน 1-2 วัน ขึ้นอยู่กับประเภทและปริมาณของเชื้อที่ร่างกายได้รับเข้าไป โดย อาจมีอาการหลังรับประทานอาหารไม่กี่ชั่วโมง หรือนานเป็นสัปดาห์หากได้รับเชื้อรุนแรง โดยอาการป่วยของผู้ที่เผชิญภาวะอาหารเป็นพิษ มีดังนี้ รู้สึกพะอืดพะอม คลื่นไส้ อาเจียนติดต่อกันหลายครั้ง หรืออาเจียนเป็นเลือด มีอาการปวดท้องแบบบิดเกร็งเป็นพัก ๆ เนื่องจากการบีบตัวของลาไส้ ถ่ายท้อง ถ่ายมีมูกหรือเลือดปน ไม่อยากอาหาร มีอาการสูญเสียน้า เช่น รู้สึกเหนื่อยง่าย อ่อนเพลีย วิงเวียนศีรษะ หมดเรี่ยวแรง ปากแห้ง ตาโบ๋ กระหายน้าบ่อย ปัสสาวะน้อย เป็นต้น มีอาการทางระบบประสาท เช่น มองเห็นไม่ชัด แขนเป็นเหน็บ หรือกล้ามเนื้ออ่อนแรง เป็นต้นทั้งนี้ ผู้ป่วยที่มีอาการ รุนแรงดังต่อไปนี้ ควรรีบไปพบแพทย์ทันที และไม่ควรซื้อยามารับประทานเอง เพราะอาจทาให้อาการแย่ลงได้ มีสัญญาณของภาวะขาดน้า เช่น ปากแห้ง กระหายน้าอย่างมาก ปัสสาวะน้อยหรือไม่ปัสสาวะเลย ปัสสาวะมีสีเข้ม หัว ใจเต้นเร็ว ความดันโลหิตต่า อ่อนเพลีย วิงเวียนศีรษะ และหน้ามืด เป็นต้น ส่วนเด็กและทารกที่มีภาวะขาดน้า นอกจากอาการผิดปกติข้างต้นแล้ว อาจมีอาการอื่น ๆ ร่วมด้วย เช่น ตาโบ๋ ขม่อม ยุบ มีน้าตาไหลออกมาน้อยหรือไม่มีน้าตาขณะร้องไห้ เป็นต้น
  • 4. 4 ท้องเสียติดต่อกัน 3 วันในผู้ใหญ่ หรือท้องเสียติดต่อกัน 24 ชั่วโมงในเด็ก โดยอาการไม่ดีขึ้น อาเจียนถี่หรืออาเจียนอย่างต่อเนื่องนานกว่า 12 ชั่วโมง มีเลือดปนในอาเจียนหรืออุจจาระ ตามัวหรือมองเห็นไม่ชัด ปวดท้องอย่างรุนแรง โดยอาการปวดไม่ลดลงหลังจากอุจจาระไปแล้ว ท้องเสียร่วมกับมีไข้สูงเกิน 38 องศาเซลเซียส นอกจากนี้ บุคคลที่อยู่ในกลุ่มเสี่ยงควรรีบไปพบแพทย์ทันทีหากพบว่ามีอาการบ่งชี้ของภาวะอาหารเป็นพิษ ได้แก่ ผู้หญิงตั้งครรภ์ ผู้สูงอายุ เด็กอายุน้อยกว่า 5 ปี ผู้ที่มีระบบภูมิคุ้มกันร่างกายอ่อนแออย่างผู้ป่วยโรคมะเร็งหรือติดเชื้อ เอชไอวี รวมถึงผู้ที่มีโรคประจาตัวเรื้อรัง เช่น โรคลาไส้อักเสบเรื้อรัง โรคลิ้นหัวใจ โรคเบาหวาน โรคไต เป็นต้น อาหารเป็นพิษ rs สาเหตุของอาหารเป็นพิษ ส่วนใหญ่ภาวะอาหารเป็นพิษเกิดจากการรับประทานอาหารและน้าดื่มที่มีการปนเปื้อนของเชื้อแบคทีเรีย ไวรัส หรือ ปรสิต ซึ่งเชื้อที่มักเป็นสาเหตุของภาวะอาหารเป็นพิษ คือ ซาลโมเนลลา (Salmonella) พบมากในเนื้อสัตว์ดิบ ไข่ดิบ นม และผลิตภัณฑ์ที่ทาจากนม เชื้อนี้ทาให้เกิดอาการ ท้องเสีย ถ่ายมีมูก คลื่นไส้ อาเจียน และมีไข้ ภายในเวลา 4-7 วัน เอสเชอริเชีย โคไล (Escherichia Coli) หรืออีโคไล (E. Coli) บางสายพันธ์ุ เช่น สายพันธุ์ Enteropathogenic E. Coli สายพันธุ์ Enterotoxic E.Coli (ETEC) และสายพันธุ์ Shiga toxin-producing E. Coli เป็นต้น โดยพบมากใน เนื้อสัตว์ดิบ ซึ่งทาให้เกิดอาการถ่ายเหลวเป็นน้า ปวดมวนท้อง และอาเจียน ภายในเวลา 1-10 วัน คลอสติเดียม โบทูลินัม (Clostridium Botulinum) เชื้อนี้เจริญเติบโตได้ดีในสภาวะแวดล้อมที่มีออกซิเจนน้อย จึงมัก พบในอาหารที่บรรจุในภาชนะปิดสนิท โดยเฉพาะอาหารกระป๋องที่ผ่านกระบวนการผลิตที่ไม่ถูกสุขลักษณะ เช่น หน่อไม้ปี๊บ หน่อไม้ดอง ผักกาดดอง เนื้อสัตว์แปรรูป เป็นต้น โดยสารพิษที่สร้างจากเชื้อชนิดนี้มักทาให้ผู้ป่วยอาเจียน ถ่ายท้อง ตาพร่ามัว มองเห็นภาพซ้อน กล้ามเนื้ออ่อนแรง และบางครั้งอาจรุนแรงจนเกิดภาวะหายใจล้มเหลวและ เสียชีวิตได้ ชิเกลล่า (Shigella) พบการปนเปื้อนทั้งในผลิตภัณฑ์อาหารสด น้าดื่มที่ไม่สะอาด รวมไปถึงอาหารสดที่สัมผัสกับคนที่ มีเชื้อโดยตรง เพราะเชื้อชนิดนี้สามารถกระจายจากคนหนึ่งไปสู่อีกบุคคลหนึ่งได้ ซึ่งจะทาให้เกิดอาการคลื่นไส้ อาเจียน ปวดมวนท้อง หลังจากรับประทานอาหารที่ปนเปื้อนเชื้อภายใน 7 วัน ไวรัสที่ก่อโรคในทางเดินอาหาร (Enteric Viruses) ประกอบด้วยไวรัสหลายชนิด เช่น ไวรัสโนโร (Norovirus) ที่มัก ปนเปื้อนได้ทั้งในอาหารสด สัตว์น้าที่มีเปลือก และน้าดื่มที่ไม่สะอาด โดยจะแสดงอาการภายใน 1-2 วัน หรือเชื้อไวรัส ตับอักเสบ เอ (Hepatitis A) ที่สามารถติดต่อด้วยการได้รับเชื้อจากอาหารสดที่สัมผัสกับบุคคลที่มีเชื้อโดยตรง ภายใน 2-3 สัปดาห์ เป็นต้น
  • 5. 5 นอกจากนี้ ภาวะอาหารเป็นพิษในผู้ป่วยบางรายก็อาจเกิดจากสารพิษที่สร้างขึ้นโดยเชื้อโรค พืชที่มีพิษ หรือสารเคมี เช่น สารตะกั่ว ยาฆ่าแมลง เห็ดพิษ สารหนู หรือสารปรอท เป็นต้น การวินิจฉัยอาการอาหารเป็นพิษ แพทย์จะวินิจฉัยโดยพิจารณาจากหลายปัจจัยประกอบกัน ทั้งอาการของผู้ป่วย อาหารที่รับประทาน ระยะเวลาที่มี อาการ ประวัติของผู้ป่วย และการตรวจร่างกายอย่างละเอียด ในกรณีที่ผู้ป่วยมีอาการรุนแรงหรือเรื้อรัง แพทย์จะตรวจหาเชื้อในห้องปฏิบัติการเพิ่มเติม ดังนี้ การตรวจเลือด หรือตรวจปริมาณแอนติบอดี้ในเลือด ใช้ในกรณีที่ผู้ป่วยมีอาการที่รุนแรงมากกว่าอาเจียนและท้องเสีย หรือมีภาวะขาดน้าและเกลือแร่ เพื่อตรวจหาปริมาณเกลือแร่ในเลือดและตรวจการทางานของไต หรือในกรณีที่เสี่ยง ต่อการติดเชื้อไวรัสตับอักเสบ อาจตรวจการทางานของตับเพิ่มเติมด้วย การตรวจอุจจาระ เพื่อตรวจหาชนิดของเชื้อโรคด้วยกล้องจุลทรรศน์ ใช้เมื่อผู้ป่วยมีการติดเชื้อในระบบทางเดินอาหาร เช่น เชื้อแบคทีเรีย เชื้อไวรัส เชื้อรา หรือเชื้อปรสิต เป็นต้น การรักษาอาหารเป็นพิษ ผู้ป่วยส่วนใหญ่มีอาการดีขึ้นได้ด้วยการดูแลตัวเองที่บ้าน โดยปฎิบัติตามคาแนะนาดังต่อไปนี้ นอนหลับพักผ่อนให้เพียงพอ และดูแลไม่ให้ร่างกายขาดน้า โดยดื่มน้าเปล่ามาก ๆ หรือจิบน้าบ่อย ๆ เพื่อชดเชยการ สูญเสียน้าจากอาการท้องร่วงและอาเจียน ดื่มน้าผสมผงเกลือแร่ หรือ ORS ซึ่งเป็นสารที่มีเกลือและน้าตาลกลูโคสเป็นส่วนประกอบหลัก ใช้เพื่อทดแทนน้าและ แร่ธาตุบางชนิดที่สูญเสียไปจากการอาเจียนและถ่ายอุจจาระ โดยให้จิบทีละน้อยตลอดทั้งวันควบคู่กับการรับประทาน อาหารตามปกติ และสามารถดื่มได้จนกว่าจะหยุดอาเจียนหรือกลับมาถ่ายอุจจาระแบบเป็นก้อนแล้ว รับประทานยาแก้ท้องเสีย โดยผู้ป่วยอาจใช้ยาแก้ท้องเสียภายใต้คาแนะนาของแพทย์หรือเภสัชกรเพื่อช่วยบรรเทา อาการท้องเสียควบคู่ไปกับการดื่มน้าและผงเกลือแร่ซึ่งเป็นการรักษาหลัก อย่างยา Diosmectite ที่มีงานวิจัยบางส่วน พบว่าผู้ป่วยเด็กที่เป็นโรคอุจจาระร่วงเฉียบพลันที่มีอาการไม่รุนแรงมาก มีความถี่ในการถ่ายอุจจาระลดลงหลังจากใช้ ยา Diosmectite ซึ่งยาชนิดนี้มีคุณสมบัติช่วยดูดซับสารพิษในระบบทางเดินอาหารและอาจช่วยยับยั้งเชื้อโรคที่ทาให้ เกิดโรคอุจจาระร่วงได้ ทั้งเชื้อแบคทีเรีย ไวรัส และสารอื่น ๆ รับประทานยาแก้ท้องเสีย โดยผู้ป่วยอาจใช้ยาแก้ท้องเสียภายใต้คาแนะนาของแพทย์หรือเภสัชกร ทั้งนี้ ในกรณีที่อาหารเป็นพิษเกิดจากการติดเชื้อแบคทีเรีย หรือมีอาการรุนแรงขึ้นจนต้องเข้ารับการรักษาใน โรงพยาบาล แพทย์จะให้น้าเกลือทางหลอดเลือดเมื่อมีภาวะเสียน้าและเกลือแร่ รวมทั้งอาจให้ยาปฏิชีวนะ ยาบรรเทา อาการคลื่นไส้อาเจียน หรือรักษาด้วยวิธีอื่น ๆ ตามสาเหตุต่อไป ภาวะแทรกซ้อนของอาหารเป็นพิษ
  • 6. 6 ภาวะอาหารเป็นพิษอาจทาให้เกิดภาวะขาดน้าและเกลือแร่จากการถ่ายท้องและการอาเจียน หรืออาจทาให้ผู้ป่วยบาง รายรับประทานอาหารไม่ได้ ซึ่งอาจทาให้ร่างกายเกิดภาวะช็อกและเป็นอันตรายต่อชีวิตได้ โดยเฉพาะในเด็กเล็ก คน สูงอายุ หรือผู้มีโรคประจาตัวเรื้อรัง เช่น โรคหัวใจ โรคเบาหวาน เป็นต้น นอกจากนี้ เชื้อโรคบางชนิดยังก่อให้เกิด อาการรุนแรงต่ออวัยวะอื่น ๆ ได้ด้วย เช่น เชื้ออีโคไลชนิดรุนแรง (Shiga Toxin-Producing E. Coli) ที่ทาให้เม็ดเลือด แดงแตกและไตวาย จนอาจถึงแก่ชีวิตได้ เป็นต้น การป้องกันอาหารเป็นพิษ อาหารที่เรารับประทานกันเสี่ยงถูกปนเปื้อนได้ทุกขั้นตอน ตั้งแต่การเพาะปลูก การเก็บเกี่ยว การเตรียมอาหาร การ ปรุงอาหาร การจาหน่าย ตลอดจนการบริโภค ดังนั้น การรักษาความสะอาดจึงเป็นหัวใจสาคัญที่ช่วยให้ห่างไกลจาก อาหารเป็นพิษ เพื่อหลีกเลี่ยงการเผชิญภาวะอาหารเป็นพิษ ควรทาตามหลักปฏิบัติดังต่อไปนี้ ดูแลอนามัยส่วนบุคคล ความสะอาดเริ่มต้นได้ด้วยตนเอง โดยควรล้างมือก่อนและหลังรับประทานให้เป็นนิสัย หรือหลังสัมผัสสิ่งสกปรกและ เชื้อโรคจากแหล่งต่าง ๆ รอบตัว เช่น จับราวบันได กดปุ่มลิฟต์ สัมผัสใกล้ชิดกับผู้ป่วยโรคต่าง ๆ เป็นต้น บริโภคอาหารที่ถูกสุขลักษณะ ควรเลือกรับประทานอาหารที่ปรุงสุก สดใหม่ หรือผ่านความร้อนเพื่อช่วยฆ่าเชื้อโรคที่ปนเปื้อนในอาหารก่อน รับประทาน หากรับประทานอาหารไม่หมด ควรเก็บอาหารเข้าตู้เย็น ไม่วางทิ้งไว้ในอุณหภูมิห้อง เพราะอาจทาให้เชื้อ โรคเจริญเติบโตได้ เมื่อต้องการรับประทานอีกครั้งจึงนามาอุ่นให้ร้อนก่อน นอกจากนี้ การรับประทานอาหารนอกบ้าน ก็ควรเลือกร้านอาหารที่สะอาด คนทาอาหารแต่งตัวเหมาะสม สถานที่ถูกสุขลักษณะ และอ่านฉลากผลิตภัณฑ์อาหาร เพื่อตรวจสอบวันหมดอายุก่อนรับประทานเสมอ จัดเก็บและเตรียมอาหารอย่างปลอดภัย ดูแลรักษาความสะอาดบริเวณที่เตรียมอาหาร ปรุงอาหารหรือเก็บอาหารให้ถูกสุขอนามัย เช่น แยกเก็บเนื้อสดออก จากอาหารชนิดอื่น ๆ เพราะเชื้อแบคทีเรียส่วนใหญ่อยู่ในอาหารจาพวกนี้ หรือล้างผักและผลไม้ให้สะอาด ให้ ปราศจากสิ่งสกปรก ยาฆ่าแมลง สารเคมี หรือสารตกค้างต่าง ๆ ก่อนนามารับประทานหรือปรุงอาหาร รวมถึงเก็บ รักษาอาหารประเภทที่บูดเสียง่ายให้อยู่ในอุณหภูมิที่เหมาะสม มีความเย็นทั่วถึง เช่น แกงกะทิ อาหารทะเล อาหาร สด เป็นต้น ในกรณีที่เดินทางไกล อาจใส่อาหารในกล่องโฟมที่มีน้าแข็ง และอาจใช้กระเป๋าเก็บความเย็นหรือใช้เจล เก็บความเย็น
  • 7. 7 วิธีดาเนินงาน แนวทางการดาเนินงาน ไปสอบถามผู้ป่วยโรคอาหารเป็นพิษ ว่าก่อนเป็นได้รับประทานอาหารประเภทไหนมา รายละเอียดของอาหาร ว่าเป็นยังไง และความเหมือนกันในแต่ล่ะผู้ป่วยแล้วนามาหาความความเป็นไปได้ ที่จะเป็นต้นเหตุของโรค เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ -โทรศัพท์มือถือ -คอมพิวเตอร์ งบประมาณ 500 บาท ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน ลาดับ ที่ ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 1 0 1 1 12 1 3 1 4 1 5 16 17 1 คิดหัวข้อโครงงาน 2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล 3 จัดทาโครงร่างงาน 4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน 5 ปรับปรุงทดสอบ 6 การทาเอกสารรายงาน 7 ประเมินผลงาน 8 นาเสนอโครงงาน ผลที่คาดว่าจะได้รับ ได้รู้ว่าสาเหตุของโรคอาหารเป็นพิษคืออะไร และนามาเป็นวิธีป้องกันไม่ให้คนอื่นเป็นโรคนี้อี สถานที่ดาเนินการ โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง กลุ่มสาระวิทยาศาสตร์ กลุ่มสาระสุขศึกษา แหล่งอ้างอิง https://www.pobpad.com/อาหารเป็นพิษ