SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 14
บทที่ 8 
การสร้างระบบแสดงผลข้อมูล 
ในเนื้อหาที่ผ่านมา เราได้ผ่านขั้นตอนการกำหนดเว็บไซต์สำหรับการพัฒนาเว็บแอพพลิเคชั่น PHP_MySQL และการ 
กำหนดการติดต่อกับฐานข้อมูลมาแล้ว เนื้อหาในบทนี้จะกล่าวถึงการสร้างเว็บเพจที่สามารถเรียกใช้ข้อมูลจากตารางใน 
ฐานข้อมูลมาแสดงผลบนเว็บเพจ 
ระบบแสดงผลข้อมูล คือเว็บเพจที่ทำหน้าที่ในการเรียกข้อมูลจากตาราง (Table) ในฐานข้อมูล นำมาแสดงผลบนหน้า 
เว็บเพจ 
รูปแสดงไฟล์ที่เกี่ยวข้องกับระบบแสดงผลข้อมูล 
ระบบแสดงผลข้อมูลในส่วนที่จะอธิบายนี้ จะประกอบด้วยไฟล์ 2 ไฟล์ 
list.php ทำหน้าที่แสดงข้อมูลพนักงานหน้าละหลายเร็คคอร์ด มีลิงค์สำหรับคลิกส่ง URL Parameter ไปยัง 
ไฟล์ detail.php เพื่อดูรายละเอียดพนักงานแต่ละคน 
detail.php ทำหน้าแสดงรายละเอียดของพนักงานแต่ละคน โดยรับค่า URL Parameter จากไฟล์ list.php 
การสร้างระบบแสดงข้อมูลที่ยกมาอธิบายในที่นี้ แบ่งเป็นขั้นตอนได้ดังต่อไปนี้ 
1. การสร้างตารางสำหรับแสดงผลข้อมูล 
2. การแทรก Recordset (Query) ลงในเว็บเพจ 
3. การแทรกสคริปต์สำหรับแสดงผลข้อมูลลงในเว็บเพจ 
4. การตรวจสอบว่ามีข้อมูลสำหรับแสดงผลหรือไม่ 
5. การวนลูปแสดงผลซ้ำ (Repeat) 
6. การค้นหาข้อมูลที่ต้องการแสดงรายละเอียดทีละ 1 เร็คคอร์ด 
7. การแทรกสคริปต์สำหรับแสดงผลข้อมูลทีละ 1 เร็คคอร์ดลงในเว็บเพจ 
8. การส่งและรับค่า URL Parameter เพื่อระบุเร็คคอร์ดที่ต้องการแสดงผล 
9. การใช้งานระบบแสดงผลข้อมูล 
dulyawat@hotmail.com การสร้างระบบแสดงผลข้อมูล 50
(1) การสร้างตารางสำหรับแสดงผลข้อมูล 
ขั้นตอนนี้ จะเป็นการสร้างตารางสำหรับแสดงผลข้อมูล โดยจะเป็นการแสดงข้อมูลทีละหลายๆ เร็คคอร์ดลงในเว็บ 
เพจ พร้อมทั้งมีการปรับแต่งรูปแบบโดยใช้เครื่องมือของ Dreamweaver 
ขั้นตอน: 
1. เริ่มต้นที่โปรแกรม Dreamweaver คลิกเมนู File > New จะปรากฏไดอะล็อก New Document ขึ้นมา ให้คลิกแท็บ 
General เลือก Dynamic Page > PHP หลังจากนั้นคลิกปุ่ม Create บันทึกเป็นไฟล์ list.php 
2. เลือกเมนู Modify > Page Properties… เมื่อปรากฏไดอะล็อก Page Properties ขึ้นมา ให้กำหนด Properties ของเว็บเพจ ดัง 
รายละเอียดด้านล่างนี้ หลังจากนั้นคลิกปุ่ม OK 
ค่าของไดอะล็อก 
ค่าที่กำหนด 
Appearance > Background Image 
images/bkg_list.gif 
Title/Encoding > Title 
List Employees 
Title/Encoding > Document Type (DTD) 
None 
Title/Encoding > Encoding 
Thai (Windows) 
ตารางแสดงการกำหนดค่าในไดอะล็อก Page Properties 
3. แทรกตาราง HTML สำหรับแสดงผล โดยคลิกเมนู Insert > Table เมื่อปรากฏไดอะล็อก Table ขึ้นมา ให้กำหนดค่าดังนี้ 
ค่าของไดอะล็อก 
ค่าที่กำหนด 
Rows 
3 
Columns 
4 
Table width 
770 pixel 
Border thichness 
1 pixels 
Cell padding 
1 
Cell spacing 
1 
ตารางแสดงการกำหนดค่าในไดอะล็อก Table 
dulyawat@hotmail.com การสร้างระบบแสดงผลข้อมูล 51
รูปแสดงการกำหนดค่าในไดอะล็อก Table 
4. ปรับแต่งตารางโดยการแทรกไฟล์รูปภาพ และข้อความลงในตารางและส่วนต่างๆ ของเว็บเพจ 
เมื่อเสร็จแล้วจะได้เว็บเพจ ดังรูปด้านล่าง 
Document Title 
title_list.gif 
รูปแสดงหน้าเว็บเพจ list.php 
NOTE: เปิดไฟล์ htmltable.htm ในขั้นตอนที่ผ่านมา หรือ PHPWEBlabssolutionslab01_basichtmlhtmltable.htm 
ขึ้นมาแล้วบันทึกเป็นไฟล์ PHPWEBlist.php (หากปรากฏไดอะล็อก Update Links? ให้คลิก No) 
dulyawat@hotmail.com การสร้างระบบแสดงผลข้อมูล 52
(2) การแทรก Recordset (Query) ลงในเว็บเพจ 
การแทรก Recordset (Query) คือ ขั้นตอนการแทรกสคริปต์ PHP สำหรับการสร้างเร็คคอร์ดเซ็ต เพื่อนำข้อมูลจากเร็ค 
คอร์ดเซ็ต มาแสดงบนเว็บเพจ ซึ่งจะกล่าวถึงในขั้นตอนต่อไป 
ขั้นตอน: 
1. คลิกที่เมนู Windows > Bindings หลังจากนั้นให้คลิกเครื่องหมายบวก เลือกเมนู Recordset (Query) 
2. เมื่อปรากฏไดอะล็อก Recordset ขึ้นมา ให้กำหนดค่าต่างๆ ดังรายละเอียดข้างล่างนี้ หลังจากนั้นให้บันทึกไฟล์ list.php 
ค่าของไดอะล็อก 
ค่าที่กำหนด 
Name 
rsEmp 
Connection 
dbconn 
Table 
employees 
Columns 
All 
Filter 
None 
Sort 
firstname , Ascending 
ตารางแสดงการกำหนดค่าไดอะล็อก Recordset 
รูปแสดงการเลือกเมนู 
Recordset (Query) 
รูปแสดงการกำหนดค่าไดอะล็อก Recordset 
dulyawat@hotmail.com การสร้างระบบแสดงผลข้อมูล 53
(3) การแทรกสคริปต์สำหรับแสดงผลข้อมูลลงในเว็บเพจ 
การแทรกสคริปต์สำหรับแสดงผลข้อมูล ก็คือการแทรกสคริปต์ PHP สำหรับนำเอาข้อมูลจากเร็คคอร์ดเซ็ตที่ได้จาก 
ขั้นตอนที่แล้ว มาแสดงผลข้อมูลในเว็บเพจ 
ขั้นตอน: 
1. คลิกไปที่เมนู Windows > Bindings หลังจากนั้นให้คลิกเครื่องหมายบวก หน้ารายการ Recordset (rsEmp) จะ 
ปรากฏชื่อฟิลด์ของตารางในฐานข้อมูล ให้คลิกเลือกและแทรกฟิลด์ลงเว็บเพจ เพื่อแสดงผลข้อมูล ตามขั้นตอน ดังรูป 
ด้านล่าง 
คอลัมน์ของตาราง 
ฟิลด์ของ Recordset (rsEmp) 
ชื่อ-นามสกุล 
firstname, lastname 
แผนก 
deptid 
โทรศัพท์ 
phone , extension 
ตารางแสดงการเลือกฟิลด์จากเร็คคอร์ดเซ็ตวางลงในเว็บเพจ 
รูปแสดงการเลือกฟิลด์จากเร็คคอร์ดเซ็ตวางลงในเว็บเพจ 
2. บันทึกไฟล์ list.php 
3. สามารถทดสอบดูผลการทำงานได้ โดยกดปุ่ม F12 จากหน้าจอ Dreamweaver 
dulyawat@hotmail.com การสร้างระบบแสดงผลข้อมูล 54
(4) การตรวจสอบว่ามีข้อมูลสำหรับแสดงผลหรือไม่ 
การตรวจสอบข้อมูลก่อนการแสดง จะเป็นขั้นตอนที่ช่วยให้เว็บแอพพลิเคชั่นน่าใช้ยิ่งขึ้น หากการตรวจสอบไม่พบ 
ข้อมูลที่จะแสดงผล ควรมีข้อความแจ้งผู้ใช้งานว่า “ไม่มีข้อมูล” 
ขั้นตอน: 
1. คลิกที่เมนู Window > Server Behaviors หลังจากนั้นให้คลิกเครื่องหมายบวก เพื่อเลือกเมนู 
Show Region > Show If Recordset Is Not Empty 
รูปการกำหนดการตรวจสอบว่ามีข้อมูลหรือไม่ 
รูปการเลือกเมนู Server Behaviors เพื่อตรวจสอบว่ามีข้อมูลหรือไม่ 
dulyawat@hotmail.com การสร้างระบบแสดงผลข้อมูล 55
(5) การวนลูปแสดงผลซ้ำ (Repeat) 
ในขั้นตอนที่แล้ว หากลองทดสอบการทำงานของเว็บเพจ จะเป็นว่ามีการแสดงผลข้อมูลออกมาจำนวน 1 เร็คคอร์ด 
ซึ่งที่จริงแล้ว ข้อมูลอาจจะมีมากกว่า 1 เร็คคอร์ดก็ได้ ดังนั้นในขั้นตอนนี้ จะเป็นการกำหนดให้เว็บเพจแสดงผลวนซ้ำจนกว่า 
จะครบทุกเร็คคอร์ด 
ขั้นตอน: 
1. เริ่มต้นที่หน้าจอ Dreamweaver เปิดไฟล์ list.php ให้คลิกเลือกบริเวณที่ต้องการแสดงผลข้อมูลวนซ้ำ คือบรรทัดที่ 2 
ของตาราง เพื่อให้ตำแหน่งของเคอร์เซอร์อยู่ภายในบริเวณบรรทัดที่แสดงผล หลังจากนั้นให้คลิกเลือกแท็ก <TR> บน 
Tag Selector 
รูปการกำหนดการวนลูปแสดงผลซ้ำ 
2. จากนั้นคลิกที่เมนู Window > Server Behaviors หลังจากนั้นให้คลิกเครื่องหมายบวก เพื่อเลือกเมนู Repeat Region 
เมื่อปรากฏไดอะล็อก Repeat Region ให้กำหนดค่าต่างๆ ดังรายละเอียดข้างล่างนี้ หลังจากนั้นให้คลิกปุ่ม OK 
รูปการกำหนดแสดงผลทุกเร็คคอร์ด 
รูปแสดงการกำหนด Repeat Region 
dulyawat@hotmail.com การสร้างระบบแสดงผลข้อมูล 56
3. บันทึกไฟล์ list.php 
4. ทดสอบการทำงานของไฟล์ list.php โดยการกด F12 
(6) การค้นหาข้อมูลที่ต้องการแสดงรายละเอียดทีละ 1 เร็คคอร์ด 
การแทรกสคริปต์ค้นหาข้อมูลนี้ จะเป็นการแทรกลงในไฟล์ detail.php เพื่อนำเอาข้อมูลพนักงานออกมาแสดง 
รายละเอียดในเว็บเพจทีละเร็คคอร์ด โดยเงื่อนไขการค้นหาข้อมูลนั้น จะใช้ฟิลด์ employeeid ของตารางในฐานข้อมูล 
เปรียบเทียบกับค่า URL Parameter "empid" ที่ถูกส่งมาจากไฟล์ list.php 
ขั้ 
นตอน: 
1. เริ่มต้นที่โปรแกรม Dreamweaver คลิกเมนู File > New จะปรากฏไดอะล็อก New Document ขึ้นมา ให้คลิกแท็บ 
General คลิกเลือก Dynamic Page > PHP หลังจากนั้นคลิกปุ่ม Create บันทึกเป็นไฟล์ detail.php 
2. แทรกตาราง HTML สำหรับแสดงข้อมูลลงในเว็บเพจ โดยให้มีหน้าเว็บเพจ ดังรูป 
Document Title 
รูปแสดงแบบตารางสำหรับแสดงผลข้อมูล 
NOTE: เปิดไฟล์ htmltable2.htm จากขั้นตอนที่ผ่านมา หรือ PHPWEBlabssolutionslab01_basichtmlhtmltable2.htm 
ขึ้นมาแล้วบันทึกเป็นไฟล์ PHPWEBdetail.php (หากปรากฏไดอะล็อก Update Links? ให้คลิก No) 
Imagestitle_detail.gif 
dulyawat@hotmail.com การสร้างระบบแสดงผลข้อมูล 57
3. เลือกเมนู Modify > Page Properties เมื่อปรากฏไดอะล็อก Page Properties ขึ้นมา ให้กำหนด Properties ของเว็บเพจ ดัง 
รายละเอียดด้านล่างนี้ หลังจากนั้นคลิกปุ่ม OK 
ค่าของไดอะล็อก 
ค่าที่กำหนด 
images/bkg_detail.gif 
Appearance > Background Image 
Employee Details 
Title/Encoding > Title 
Title/Encoding > Document Type (DTD) 
None 
Title/Encoding > Encoding 
Thai (Windows) 
4. คลิกที่เมนู Window > Bindings หลังจากนั้นให้คลิกปุ่มเครื่องหมายบวก และเลือกรายการ Recordset (Query) 
เมื่อปรากฏไดอะล็อก Recordset ขึ้นมา ให้กำหนดค่าต่างๆ ดังรายละเอียดข้างล่างนี้ หลังจากนั้นให้คลิกปุ่ม OK 
ค่าของไดอะล็อก 
ค่าที่กำหนด 
Name 
rsEmp 
Connection 
dbconn 
Table 
employees 
Column 
All 
Filter 
employeeid และ = 
U 
RL Parameter 
empid 
รูปแสดงไดอะล็อก Recordset 
5. บันทึกไฟล์ detail.php 
(7) การแทรกสคริปต์สำหรับแสดงผลข้อมูลทีละ 1 เร็คคอร์ดลงในเว็บเพจ 
การแทรกสคริปต์ในขั้นตอนนี้ จะกระทำในไฟล์ detail.php จะเป็นการแทรกสคริปต์สำหรับนำเอาฟิลด์จากการสร้าง 
Recordset ในขั้นตอนการค้นหาข้อมูลที่ต้องการแสดงรายละเอียดทีละ 1 เร็คคอร์ด มาแสดงผลในเว็บเพจ โดยวิธีการจะคล้าย 
กับขั้นตอนการทำไฟล์ list.php 
dulyawat@hotmail.com การสร้างระบบแสดงผลข้อมูล 58
ขั้ 
นตอนการแทรกสคริปต์สำหรับแสดงผลข้อมูลทีละ 1 เร็คคอร์ดลงในเว็บเพจ: 
1. เริ่มต้นที่ไฟล์ detail.php คลิกที่เมนู Window > Bindings หลังจากนั้นให้คลิกเครื่องหมายบวก หน้ารายการ 
Recordset (rsEmp) จะปรากฏชื่อฟิลด์ ให้คลิกเลือกและแทรกฟิลด์ลงเว็บเพจ เพื่อแสดงผลข้อมูล ตามขั้นตอนที่เคยทำใน 
ไฟล์ list.php ที่ผ่านมา ดังรูป 
รูปการแสดงผลข้อมูลในตาราง (Bindings) 
2. สำหรับฟิลด์ photo ซึ่งเก็บชื่อไฟล์รูปภาพพนักงาน เช่น Amit_Kelly.jpg เราต้องการให้แสดงในลักษณะรูปภาพ โดยให้ 
เอาไฟล์รูปภาพ photosAmit_Kelly.jpg มาแสดงบนเว็บเพจ ให้คลิกที่เมนู Insert > Image จะปรากฏไดอะล็อก 
Select Image Source ให้กำหนดค่าต่างๆ ดังตารางด้านล่าง หลังจากนั้นให้คลิกปุ่ม OK 
ค่าของไดอะล็อก 
ค่าที่กำหนด 
Select File Name From 
Data Sources 
Field 
photo 
Format 
None 
photos/<?php echo $row_rsEmp[‘photo’]; ?> 
URL 
ตารางแสดงการกำหนดค่าในไดอะล็อก Select Image Source เพื่อแสดงไฟล์รูปภาพ 
(1) คลิกตำแหน่งที่ต้องการแสดงผล 
(2) คลิกฟิลด์ที่ต้องการแสดงผล 
(3) คลิกปุ่ม Insert 
dulyawat@hotmail.com การสร้างระบบแสดงผลข้อมูล 59
รูปแสดงการกำหนดค่าในไดอะล็อก Select Image Source เพื่อแสดงไฟล์รูปภาพ 
(8) การส่งและรับค่า URL Parameter เพื่อระบุเร็คคอร์ดที่ต้องการแสดงผล 
ขั้นตอนนี้ ก็คือการทำให้ไฟล์เว็บเพจ 2 ไฟล์ list.php และ detail.php สามารถเชื่อมโยงเพื่อส่งและรับค่า URL 
Parameter กันได้นั่นเอง 
ขั้ 
นตอนการสง่และรับค่า URL Parameter เพื่อระบุเร็คคอร์ดที่ต้องการแสดงผล: 
1. เริ่มต้นที่โปรแกรม Dreamweaver เปิดไฟล์ list.php ขึ้นมา แล้วลากเม้าส์ทำไฮไลต์ตำแหน่งแสดงผลฟิลด์ firstname และ 
lastname ดังรูป 
ร 
ูปแสดงการลากเม้าส์ทำไฮไลต์ฟิลด์ firstname และ lastname 
(1) คลิกเลือก Data sources 
(2) คลิกเลือกฟิลด์ photo 
(3) ระบุชื่อโฟลเดอร์ photos/ หน้าชื่อฟิลด์ 
ลากเม้าส์ทำไฮไลต์ฟิลด์ firstname , lastname 
dulyawat@hotmail.com การสร้างระบบแสดงผลข้อมูล 60
2. เปิดไดอะล็อก Properties โดยคลิกที่เมนู Window > Properties จะปรากฏไดอะล็อก Properties ขึ้นมา ให้คลิกไอคอนรูป 
Folder สีเหลือง (Browse for File) ที่ตำแหน่งช่อง Link เพื่อสร้างไฮเปอร์ลิงค์สำหรับ URL Parameter ไปหาไฟล์ 
detail.php 
รูปแสดง Property ของลิงค์บริเวณที่ลากเม้าส์ฟิลด์ firstname และ lastname 
3. เมื่อปรากฏไดอะล็อก Select File ขึ้นมา ให้คลิกเลือกไฟล์ detail.php เป็นการกำหนดว่าจะส่งค่า URL Parameter ไปที่ 
ไฟล์นี้ หลังจากนั้นให้คลิกปุ่ม Parameters… ที่ด้านล่างของไดอะล็อก Select File เพื่อกำหนดการส่งค่า URL Parameter 
(1) คลิก detail.php 
(2) คลิก Parameters… 
รูปแสดงขั้นตอนการสร้างลิงค์ พร้อมกับการกำหนด "Parameters…" 
4. เมื่อปรากฏไดอะล็อก Parameters ขึ้นมา ที่ช่อง Name ให้พิมพ์ชื่อ URL Parameter ที่ต้องการจะส่งไป ในที่นี้ให้เรา 
พิมพ์ empid หลังจากนั้นให้ไปที่ช่อง Value เพื่อกำหนดค่าที่จะส่งไป ในที่นี้เราต้องการกำหนดค่าให้เปลี่ยนไปแบบ 
Dynamic ตามข้อมูลที่แสดงในแต่ละเร็คคอร์ด ให้คลิกปุ่ม Dynamic Data ที่ช่อง Value 
dulyawat@hotmail.com การสร้างระบบแสดงผลข้อมูล 61
รูปแสดงขั้นตอนการสร้างลิงค์ พร้อมกับการกำหนด "Parameters…" 
ค่าของไดอะล็อก 
ค่าที่กำหนด 
Name 
empid 
<?php echo $row_rsEmp['employeeid']; ?> 
Value 
ตารางแสดงการกำหนดค่า URL Parameter ในไดอะล็อก “Parameters” 
5. เมื่อปรากฏไดอะล็อก Dynamic Data ขึ้นมา ให้คลิกเลือกฟิลด์ employeeid จาก Recordset (rsEmp) 
หลังจากนั้นคลิกปุ่ม OK 
รูปแสดงการเลือกฟิลด์ employeeid จาก Recordset 
6. บันทึกไฟล์ list.php ก็เป็นเสร็จขั้นตอนการกำหนดการส่งค่า URL Parameter 
dulyawat@hotmail.com การสร้างระบบแสดงผลข้อมูล 62
dulyawat@hotmail.com การสร้างระบบแสดงผลข้อมูล 63 
7. ขั้นตอนสุดท้ายคือกำหนดให้ไฟล์ detail.php รับค่า URL Parameter ที่ส่งมาจากไฟล์ list.php ซึ่งวิธีการทำนั้น เราได้ทำ 
ผ่านมาแล้วให้ย้อนกลับไปดูในขั้นตอน "การค้นหาข้อมูลที่ต้องการแสดงรายละเอียดทีละ 1 เร็คคอร์ด" จะเห็นได้ว่า เรา 
ได้มีการเรียกใช้ URL Parameter “empid” ซึ่งก็คือค่า URL Parameter ที่ส่งไปจากไฟล์ list.php นั่นเอง 
(9) การใช้งานระบบแสดงผลข้อมูล 
เริ่มต้นโดยใช้โปรแกรม Dreamweaver เปิดไฟล์ list.php ขึ้นมา แล้วกดปุ่ม F12 โปรแกรม Internet Explorer จะถูก 
เปิดขึ้นมาเรียกใช้งานไฟล์ list.php ให้ทดสอบคลิกที่ข้อมูล ชื่อ-นามสกุลของพนักงานแต่ละคน จะปรากฏหน้าเว็บเพจแสดง 
รายละเอียดประวัติข้อมูลพนักงานทีละคน

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

บทที่ 2 (21 02-56) okรันเลขแล้ว(แก้เหมายเลขหน้าด้วย ตั้งแต่หน้า 9 เป็นต้นไป )...
บทที่ 2 (21 02-56) okรันเลขแล้ว(แก้เหมายเลขหน้าด้วย ตั้งแต่หน้า 9 เป็นต้นไป )...บทที่ 2 (21 02-56) okรันเลขแล้ว(แก้เหมายเลขหน้าด้วย ตั้งแต่หน้า 9 เป็นต้นไป )...
บทที่ 2 (21 02-56) okรันเลขแล้ว(แก้เหมายเลขหน้าด้วย ตั้งแต่หน้า 9 เป็นต้นไป )...
Sarawut Panchon
 
ใช้งานโปรแกรม Microsoft word2007
ใช้งานโปรแกรม Microsoft word2007ใช้งานโปรแกรม Microsoft word2007
ใช้งานโปรแกรม Microsoft word2007
tanongsak
 
การใช้งาน Microsoft office word 2007
การใช้งาน Microsoft office word 2007การใช้งาน Microsoft office word 2007
การใช้งาน Microsoft office word 2007
sirirat khamthanet
 
การสร้างคำสั่งอย่างง่าย (แมโคร)
การสร้างคำสั่งอย่างง่าย (แมโคร)การสร้างคำสั่งอย่างง่าย (แมโคร)
การสร้างคำสั่งอย่างง่าย (แมโคร)
kruthanyaporn
 
งานคอมกลุ่ม6
งานคอมกลุ่ม6งานคอมกลุ่ม6
งานคอมกลุ่ม6
Aum Forfang
 
หน่วยที่ 7 การสร้างคำสั่งอย่างง่าย
หน่วยที่ 7 การสร้างคำสั่งอย่างง่ายหน่วยที่ 7 การสร้างคำสั่งอย่างง่าย
หน่วยที่ 7 การสร้างคำสั่งอย่างง่าย
kruthanyaporn
 
คู่มือการใช้งาน Word 2007
คู่มือการใช้งาน Word 2007คู่มือการใช้งาน Word 2007
คู่มือการใช้งาน Word 2007
chanoncm2555
 
ใบความรู้ Spreadsheets googledocs
ใบความรู้ Spreadsheets googledocsใบความรู้ Spreadsheets googledocs
ใบความรู้ Spreadsheets googledocs
Aiice Pimsupuk
 

Was ist angesagt? (13)

บทที่ 2 (21 02-56) okรันเลขแล้ว(แก้เหมายเลขหน้าด้วย ตั้งแต่หน้า 9 เป็นต้นไป )...
บทที่ 2 (21 02-56) okรันเลขแล้ว(แก้เหมายเลขหน้าด้วย ตั้งแต่หน้า 9 เป็นต้นไป )...บทที่ 2 (21 02-56) okรันเลขแล้ว(แก้เหมายเลขหน้าด้วย ตั้งแต่หน้า 9 เป็นต้นไป )...
บทที่ 2 (21 02-56) okรันเลขแล้ว(แก้เหมายเลขหน้าด้วย ตั้งแต่หน้า 9 เป็นต้นไป )...
 
ใช้งานโปรแกรม Microsoft word2007
ใช้งานโปรแกรม Microsoft word2007ใช้งานโปรแกรม Microsoft word2007
ใช้งานโปรแกรม Microsoft word2007
 
การใช้งาน Microsoft office word 2007
การใช้งาน Microsoft office word 2007การใช้งาน Microsoft office word 2007
การใช้งาน Microsoft office word 2007
 
การสร้างคำสั่งอย่างง่าย (แมโคร)
การสร้างคำสั่งอย่างง่าย (แมโคร)การสร้างคำสั่งอย่างง่าย (แมโคร)
การสร้างคำสั่งอย่างง่าย (แมโคร)
 
งานคอมกลุ่ม6
งานคอมกลุ่ม6งานคอมกลุ่ม6
งานคอมกลุ่ม6
 
การใช้งาน Ms office 2010
การใช้งาน Ms office 2010การใช้งาน Ms office 2010
การใช้งาน Ms office 2010
 
หน่วยที่ 7 การสร้างคำสั่งอย่างง่าย
หน่วยที่ 7 การสร้างคำสั่งอย่างง่ายหน่วยที่ 7 การสร้างคำสั่งอย่างง่าย
หน่วยที่ 7 การสร้างคำสั่งอย่างง่าย
 
คู่มือการใช้ Google Docs
คู่มือการใช้ Google Docsคู่มือการใช้ Google Docs
คู่มือการใช้ Google Docs
 
การใช้ Google docs เพื่อการเรียนการสอน
การใช้ Google docs เพื่อการเรียนการสอนการใช้ Google docs เพื่อการเรียนการสอน
การใช้ Google docs เพื่อการเรียนการสอน
 
Web dreamcs5
Web dreamcs5Web dreamcs5
Web dreamcs5
 
คู่มือการใช้งาน Word 2007
คู่มือการใช้งาน Word 2007คู่มือการใช้งาน Word 2007
คู่มือการใช้งาน Word 2007
 
วิธีการใช้งาน Google docs
วิธีการใช้งาน Google docs วิธีการใช้งาน Google docs
วิธีการใช้งาน Google docs
 
ใบความรู้ Spreadsheets googledocs
ใบความรู้ Spreadsheets googledocsใบความรู้ Spreadsheets googledocs
ใบความรู้ Spreadsheets googledocs
 

Andere mochten auch

Blackman_Resume Business
Blackman_Resume BusinessBlackman_Resume Business
Blackman_Resume Business
Robyn Blackman
 
samrat resume updated on 28th july 2015
samrat resume updated on 28th july 2015samrat resume updated on 28th july 2015
samrat resume updated on 28th july 2015
Samrat Vijayvargiya
 
[Done] star theory
[Done] star theory[Done] star theory
[Done] star theory
vren88
 
GUSASpotlight_AnniversaryEdition_November2015
GUSASpotlight_AnniversaryEdition_November2015GUSASpotlight_AnniversaryEdition_November2015
GUSASpotlight_AnniversaryEdition_November2015
Elyse Adams
 
YP Presence Plus New Pre-Sales Scan
YP Presence Plus New Pre-Sales ScanYP Presence Plus New Pre-Sales Scan
YP Presence Plus New Pre-Sales Scan
Kev Carter
 
Oracle Certified Professional, Java SE 5 Programmer
Oracle Certified Professional, Java SE 5 ProgrammerOracle Certified Professional, Java SE 5 Programmer
Oracle Certified Professional, Java SE 5 Programmer
adarshkumarsingh83
 
해외카지노 ox600 ˛ CΘM 해외카지노
해외카지노 ox600 ˛ CΘM 해외카지노해외카지노 ox600 ˛ CΘM 해외카지노
해외카지노 ox600 ˛ CΘM 해외카지노
krthrghgfh
 
Offre 123rendezvous pour les rencontres d'affaires
Offre 123rendezvous pour les rencontres d'affairesOffre 123rendezvous pour les rencontres d'affaires
Offre 123rendezvous pour les rencontres d'affaires
Vincent Prosper
 
BASF Procees Improvement
BASF Procees ImprovementBASF Procees Improvement
BASF Procees Improvement
R W
 
Burlesque stereotypes evidence
Burlesque stereotypes evidenceBurlesque stereotypes evidence
Burlesque stereotypes evidence
vren88
 
Sang_Kim_Resume_May_30
Sang_Kim_Resume_May_30Sang_Kim_Resume_May_30
Sang_Kim_Resume_May_30
sang kim
 

Andere mochten auch (19)

Blackman_Resume Business
Blackman_Resume BusinessBlackman_Resume Business
Blackman_Resume Business
 
samrat resume updated on 28th july 2015
samrat resume updated on 28th july 2015samrat resume updated on 28th july 2015
samrat resume updated on 28th july 2015
 
[Done] star theory
[Done] star theory[Done] star theory
[Done] star theory
 
GUSASpotlight_AnniversaryEdition_November2015
GUSASpotlight_AnniversaryEdition_November2015GUSASpotlight_AnniversaryEdition_November2015
GUSASpotlight_AnniversaryEdition_November2015
 
YP Presence Plus New Pre-Sales Scan
YP Presence Plus New Pre-Sales ScanYP Presence Plus New Pre-Sales Scan
YP Presence Plus New Pre-Sales Scan
 
Oracle Certified Professional, Java SE 5 Programmer
Oracle Certified Professional, Java SE 5 ProgrammerOracle Certified Professional, Java SE 5 Programmer
Oracle Certified Professional, Java SE 5 Programmer
 
해외카지노 ox600 ˛ CΘM 해외카지노
해외카지노 ox600 ˛ CΘM 해외카지노해외카지노 ox600 ˛ CΘM 해외카지노
해외카지노 ox600 ˛ CΘM 해외카지노
 
Fibroide par nasser
Fibroide par nasserFibroide par nasser
Fibroide par nasser
 
Expoooopptx
ExpoooopptxExpoooopptx
Expoooopptx
 
Apresentação Torneio Futebol Arte
Apresentação Torneio Futebol Arte Apresentação Torneio Futebol Arte
Apresentação Torneio Futebol Arte
 
Offre 123rendezvous pour les rencontres d'affaires
Offre 123rendezvous pour les rencontres d'affairesOffre 123rendezvous pour les rencontres d'affaires
Offre 123rendezvous pour les rencontres d'affaires
 
BASF Procees Improvement
BASF Procees ImprovementBASF Procees Improvement
BASF Procees Improvement
 
Burlesque stereotypes evidence
Burlesque stereotypes evidenceBurlesque stereotypes evidence
Burlesque stereotypes evidence
 
Sang_Kim_Resume_May_30
Sang_Kim_Resume_May_30Sang_Kim_Resume_May_30
Sang_Kim_Resume_May_30
 
jaiween_kumar_new
jaiween_kumar_newjaiween_kumar_new
jaiween_kumar_new
 
Xenia Lab Semplicissimo
Xenia Lab SemplicissimoXenia Lab Semplicissimo
Xenia Lab Semplicissimo
 
Manajemen persediaan
Manajemen persediaanManajemen persediaan
Manajemen persediaan
 
SaaS India Struggling with Inbound Lead Response
SaaS India Struggling with Inbound Lead ResponseSaaS India Struggling with Inbound Lead Response
SaaS India Struggling with Inbound Lead Response
 
UOL - Projeto Placar UOL
UOL - Projeto Placar UOLUOL - Projeto Placar UOL
UOL - Projeto Placar UOL
 

Ähnlich wie Dw ch08 display_records

หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 การสร้างแบบสอบถามวิชา การจัดการฐานข้อมูล
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 การสร้างแบบสอบถามวิชา การจัดการฐานข้อมูลหน่วยการเรียนรู้ที่ 7 การสร้างแบบสอบถามวิชา การจัดการฐานข้อมูล
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 การสร้างแบบสอบถามวิชา การจัดการฐานข้อมูล
chaiwat vichianchai
 
20100806 wordpress-server2 go
20100806 wordpress-server2 go20100806 wordpress-server2 go
20100806 wordpress-server2 go
taweesit doh
 
20100806 wordpress-server2 go
20100806 wordpress-server2 go20100806 wordpress-server2 go
20100806 wordpress-server2 go
vongboonrod
 
20100806 wordpress-server2 go
20100806 wordpress-server2 go20100806 wordpress-server2 go
20100806 wordpress-server2 go
vongboonrod
 
wordpress-server2
wordpress-server2 wordpress-server2
wordpress-server2
Nan Anan
 
20100806 wordpress-server2 go
20100806 wordpress-server2 go20100806 wordpress-server2 go
20100806 wordpress-server2 go
architechture
 
Microsoft access
Microsoft accessMicrosoft access
Microsoft access
komolpalin
 
การสร้างเว็บด้วย Macromedia dreamweaver8
การสร้างเว็บด้วย Macromedia dreamweaver8การสร้างเว็บด้วย Macromedia dreamweaver8
การสร้างเว็บด้วย Macromedia dreamweaver8
doraemonbookie
 
Joomla-installation
Joomla-installationJoomla-installation
Joomla-installation
So Pias
 

Ähnlich wie Dw ch08 display_records (20)

แนะนำการใช้โปรแกรมสำเร็จรูป Microsoft Access 2010
แนะนำการใช้โปรแกรมสำเร็จรูป Microsoft Access 2010แนะนำการใช้โปรแกรมสำเร็จรูป Microsoft Access 2010
แนะนำการใช้โปรแกรมสำเร็จรูป Microsoft Access 2010
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 การสร้างแบบสอบถามวิชา การจัดการฐานข้อมูล
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 การสร้างแบบสอบถามวิชา การจัดการฐานข้อมูลหน่วยการเรียนรู้ที่ 7 การสร้างแบบสอบถามวิชา การจัดการฐานข้อมูล
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 การสร้างแบบสอบถามวิชา การจัดการฐานข้อมูล
 
20100806 wordpress-server2 go
20100806 wordpress-server2 go20100806 wordpress-server2 go
20100806 wordpress-server2 go
 
20100806 wordpress-server2 go
20100806 wordpress-server2 go20100806 wordpress-server2 go
20100806 wordpress-server2 go
 
20100806 wordpress-server2 go
20100806 wordpress-server2 go20100806 wordpress-server2 go
20100806 wordpress-server2 go
 
20100806 wordpress-server2 go
20100806 wordpress-server2 go20100806 wordpress-server2 go
20100806 wordpress-server2 go
 
20100806 wordpress-server2 go
20100806 wordpress-server2 go20100806 wordpress-server2 go
20100806 wordpress-server2 go
 
wordpress-server2
wordpress-server2 wordpress-server2
wordpress-server2
 
20100806 wordpress-server2 go
20100806 wordpress-server2 go20100806 wordpress-server2 go
20100806 wordpress-server2 go
 
Microsoft access
Microsoft accessMicrosoft access
Microsoft access
 
การพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Lect 05
การพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Lect 05การพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Lect 05
การพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Lect 05
 
lesson3 JSP
lesson3 JSPlesson3 JSP
lesson3 JSP
 
php5new
php5newphp5new
php5new
 
คู่มือ Joomla
คู่มือ Joomlaคู่มือ Joomla
คู่มือ Joomla
 
Joomla
JoomlaJoomla
Joomla
 
Webbasic
WebbasicWebbasic
Webbasic
 
การสร้างเว็บด้วย Macromedia dreamweaver8
การสร้างเว็บด้วย Macromedia dreamweaver8การสร้างเว็บด้วย Macromedia dreamweaver8
การสร้างเว็บด้วย Macromedia dreamweaver8
 
Cent os
Cent osCent os
Cent os
 
PHP & Dreamweaver ch03
PHP & Dreamweaver  ch03 PHP & Dreamweaver  ch03
PHP & Dreamweaver ch03
 
Joomla-installation
Joomla-installationJoomla-installation
Joomla-installation
 

Mehr von Webidea Petchtharat (10)

โครงการอบรม Rpi โดย บริษัท หาดใหญ่โรบ็อท จำกัด
โครงการอบรม Rpi โดย บริษัท หาดใหญ่โรบ็อท จำกัดโครงการอบรม Rpi โดย บริษัท หาดใหญ่โรบ็อท จำกัด
โครงการอบรม Rpi โดย บริษัท หาดใหญ่โรบ็อท จำกัด
 
Socialnetwork
SocialnetworkSocialnetwork
Socialnetwork
 
Dreamweaver แนะโปรแกรมและวิธีใช้
Dreamweaver แนะโปรแกรมและวิธีใช้Dreamweaver แนะโปรแกรมและวิธีใช้
Dreamweaver แนะโปรแกรมและวิธีใช้
 
Dw ch09 display_multiplepages
Dw ch09 display_multiplepagesDw ch09 display_multiplepages
Dw ch09 display_multiplepages
 
Dw ch05 basic_php
Dw ch05 basic_phpDw ch05 basic_php
Dw ch05 basic_php
 
PHP & Dreamweaver ch04 basic_html
PHP & Dreamweaver  ch04 basic_htmlPHP & Dreamweaver  ch04 basic_html
PHP & Dreamweaver ch04 basic_html
 
PHP & Dreamweaver ch02 dw_installation
PHP & Dreamweaver  ch02 dw_installationPHP & Dreamweaver  ch02 dw_installation
PHP & Dreamweaver ch02 dw_installation
 
PHP&Dreamweaver 1-4
PHP&Dreamweaver 1-4PHP&Dreamweaver 1-4
PHP&Dreamweaver 1-4
 
PHP & Dreamweaver 1-3
PHP & Dreamweaver 1-3PHP & Dreamweaver 1-3
PHP & Dreamweaver 1-3
 
PHP&Dreamweaver 1-1
PHP&Dreamweaver 1-1PHP&Dreamweaver 1-1
PHP&Dreamweaver 1-1
 

Dw ch08 display_records

  • 1. บทที่ 8 การสร้างระบบแสดงผลข้อมูล ในเนื้อหาที่ผ่านมา เราได้ผ่านขั้นตอนการกำหนดเว็บไซต์สำหรับการพัฒนาเว็บแอพพลิเคชั่น PHP_MySQL และการ กำหนดการติดต่อกับฐานข้อมูลมาแล้ว เนื้อหาในบทนี้จะกล่าวถึงการสร้างเว็บเพจที่สามารถเรียกใช้ข้อมูลจากตารางใน ฐานข้อมูลมาแสดงผลบนเว็บเพจ ระบบแสดงผลข้อมูล คือเว็บเพจที่ทำหน้าที่ในการเรียกข้อมูลจากตาราง (Table) ในฐานข้อมูล นำมาแสดงผลบนหน้า เว็บเพจ รูปแสดงไฟล์ที่เกี่ยวข้องกับระบบแสดงผลข้อมูล ระบบแสดงผลข้อมูลในส่วนที่จะอธิบายนี้ จะประกอบด้วยไฟล์ 2 ไฟล์ list.php ทำหน้าที่แสดงข้อมูลพนักงานหน้าละหลายเร็คคอร์ด มีลิงค์สำหรับคลิกส่ง URL Parameter ไปยัง ไฟล์ detail.php เพื่อดูรายละเอียดพนักงานแต่ละคน detail.php ทำหน้าแสดงรายละเอียดของพนักงานแต่ละคน โดยรับค่า URL Parameter จากไฟล์ list.php การสร้างระบบแสดงข้อมูลที่ยกมาอธิบายในที่นี้ แบ่งเป็นขั้นตอนได้ดังต่อไปนี้ 1. การสร้างตารางสำหรับแสดงผลข้อมูล 2. การแทรก Recordset (Query) ลงในเว็บเพจ 3. การแทรกสคริปต์สำหรับแสดงผลข้อมูลลงในเว็บเพจ 4. การตรวจสอบว่ามีข้อมูลสำหรับแสดงผลหรือไม่ 5. การวนลูปแสดงผลซ้ำ (Repeat) 6. การค้นหาข้อมูลที่ต้องการแสดงรายละเอียดทีละ 1 เร็คคอร์ด 7. การแทรกสคริปต์สำหรับแสดงผลข้อมูลทีละ 1 เร็คคอร์ดลงในเว็บเพจ 8. การส่งและรับค่า URL Parameter เพื่อระบุเร็คคอร์ดที่ต้องการแสดงผล 9. การใช้งานระบบแสดงผลข้อมูล dulyawat@hotmail.com การสร้างระบบแสดงผลข้อมูล 50
  • 2. (1) การสร้างตารางสำหรับแสดงผลข้อมูล ขั้นตอนนี้ จะเป็นการสร้างตารางสำหรับแสดงผลข้อมูล โดยจะเป็นการแสดงข้อมูลทีละหลายๆ เร็คคอร์ดลงในเว็บ เพจ พร้อมทั้งมีการปรับแต่งรูปแบบโดยใช้เครื่องมือของ Dreamweaver ขั้นตอน: 1. เริ่มต้นที่โปรแกรม Dreamweaver คลิกเมนู File > New จะปรากฏไดอะล็อก New Document ขึ้นมา ให้คลิกแท็บ General เลือก Dynamic Page > PHP หลังจากนั้นคลิกปุ่ม Create บันทึกเป็นไฟล์ list.php 2. เลือกเมนู Modify > Page Properties… เมื่อปรากฏไดอะล็อก Page Properties ขึ้นมา ให้กำหนด Properties ของเว็บเพจ ดัง รายละเอียดด้านล่างนี้ หลังจากนั้นคลิกปุ่ม OK ค่าของไดอะล็อก ค่าที่กำหนด Appearance > Background Image images/bkg_list.gif Title/Encoding > Title List Employees Title/Encoding > Document Type (DTD) None Title/Encoding > Encoding Thai (Windows) ตารางแสดงการกำหนดค่าในไดอะล็อก Page Properties 3. แทรกตาราง HTML สำหรับแสดงผล โดยคลิกเมนู Insert > Table เมื่อปรากฏไดอะล็อก Table ขึ้นมา ให้กำหนดค่าดังนี้ ค่าของไดอะล็อก ค่าที่กำหนด Rows 3 Columns 4 Table width 770 pixel Border thichness 1 pixels Cell padding 1 Cell spacing 1 ตารางแสดงการกำหนดค่าในไดอะล็อก Table dulyawat@hotmail.com การสร้างระบบแสดงผลข้อมูล 51
  • 3. รูปแสดงการกำหนดค่าในไดอะล็อก Table 4. ปรับแต่งตารางโดยการแทรกไฟล์รูปภาพ และข้อความลงในตารางและส่วนต่างๆ ของเว็บเพจ เมื่อเสร็จแล้วจะได้เว็บเพจ ดังรูปด้านล่าง Document Title title_list.gif รูปแสดงหน้าเว็บเพจ list.php NOTE: เปิดไฟล์ htmltable.htm ในขั้นตอนที่ผ่านมา หรือ PHPWEBlabssolutionslab01_basichtmlhtmltable.htm ขึ้นมาแล้วบันทึกเป็นไฟล์ PHPWEBlist.php (หากปรากฏไดอะล็อก Update Links? ให้คลิก No) dulyawat@hotmail.com การสร้างระบบแสดงผลข้อมูล 52
  • 4. (2) การแทรก Recordset (Query) ลงในเว็บเพจ การแทรก Recordset (Query) คือ ขั้นตอนการแทรกสคริปต์ PHP สำหรับการสร้างเร็คคอร์ดเซ็ต เพื่อนำข้อมูลจากเร็ค คอร์ดเซ็ต มาแสดงบนเว็บเพจ ซึ่งจะกล่าวถึงในขั้นตอนต่อไป ขั้นตอน: 1. คลิกที่เมนู Windows > Bindings หลังจากนั้นให้คลิกเครื่องหมายบวก เลือกเมนู Recordset (Query) 2. เมื่อปรากฏไดอะล็อก Recordset ขึ้นมา ให้กำหนดค่าต่างๆ ดังรายละเอียดข้างล่างนี้ หลังจากนั้นให้บันทึกไฟล์ list.php ค่าของไดอะล็อก ค่าที่กำหนด Name rsEmp Connection dbconn Table employees Columns All Filter None Sort firstname , Ascending ตารางแสดงการกำหนดค่าไดอะล็อก Recordset รูปแสดงการเลือกเมนู Recordset (Query) รูปแสดงการกำหนดค่าไดอะล็อก Recordset dulyawat@hotmail.com การสร้างระบบแสดงผลข้อมูล 53
  • 5. (3) การแทรกสคริปต์สำหรับแสดงผลข้อมูลลงในเว็บเพจ การแทรกสคริปต์สำหรับแสดงผลข้อมูล ก็คือการแทรกสคริปต์ PHP สำหรับนำเอาข้อมูลจากเร็คคอร์ดเซ็ตที่ได้จาก ขั้นตอนที่แล้ว มาแสดงผลข้อมูลในเว็บเพจ ขั้นตอน: 1. คลิกไปที่เมนู Windows > Bindings หลังจากนั้นให้คลิกเครื่องหมายบวก หน้ารายการ Recordset (rsEmp) จะ ปรากฏชื่อฟิลด์ของตารางในฐานข้อมูล ให้คลิกเลือกและแทรกฟิลด์ลงเว็บเพจ เพื่อแสดงผลข้อมูล ตามขั้นตอน ดังรูป ด้านล่าง คอลัมน์ของตาราง ฟิลด์ของ Recordset (rsEmp) ชื่อ-นามสกุล firstname, lastname แผนก deptid โทรศัพท์ phone , extension ตารางแสดงการเลือกฟิลด์จากเร็คคอร์ดเซ็ตวางลงในเว็บเพจ รูปแสดงการเลือกฟิลด์จากเร็คคอร์ดเซ็ตวางลงในเว็บเพจ 2. บันทึกไฟล์ list.php 3. สามารถทดสอบดูผลการทำงานได้ โดยกดปุ่ม F12 จากหน้าจอ Dreamweaver dulyawat@hotmail.com การสร้างระบบแสดงผลข้อมูล 54
  • 6. (4) การตรวจสอบว่ามีข้อมูลสำหรับแสดงผลหรือไม่ การตรวจสอบข้อมูลก่อนการแสดง จะเป็นขั้นตอนที่ช่วยให้เว็บแอพพลิเคชั่นน่าใช้ยิ่งขึ้น หากการตรวจสอบไม่พบ ข้อมูลที่จะแสดงผล ควรมีข้อความแจ้งผู้ใช้งานว่า “ไม่มีข้อมูล” ขั้นตอน: 1. คลิกที่เมนู Window > Server Behaviors หลังจากนั้นให้คลิกเครื่องหมายบวก เพื่อเลือกเมนู Show Region > Show If Recordset Is Not Empty รูปการกำหนดการตรวจสอบว่ามีข้อมูลหรือไม่ รูปการเลือกเมนู Server Behaviors เพื่อตรวจสอบว่ามีข้อมูลหรือไม่ dulyawat@hotmail.com การสร้างระบบแสดงผลข้อมูล 55
  • 7. (5) การวนลูปแสดงผลซ้ำ (Repeat) ในขั้นตอนที่แล้ว หากลองทดสอบการทำงานของเว็บเพจ จะเป็นว่ามีการแสดงผลข้อมูลออกมาจำนวน 1 เร็คคอร์ด ซึ่งที่จริงแล้ว ข้อมูลอาจจะมีมากกว่า 1 เร็คคอร์ดก็ได้ ดังนั้นในขั้นตอนนี้ จะเป็นการกำหนดให้เว็บเพจแสดงผลวนซ้ำจนกว่า จะครบทุกเร็คคอร์ด ขั้นตอน: 1. เริ่มต้นที่หน้าจอ Dreamweaver เปิดไฟล์ list.php ให้คลิกเลือกบริเวณที่ต้องการแสดงผลข้อมูลวนซ้ำ คือบรรทัดที่ 2 ของตาราง เพื่อให้ตำแหน่งของเคอร์เซอร์อยู่ภายในบริเวณบรรทัดที่แสดงผล หลังจากนั้นให้คลิกเลือกแท็ก <TR> บน Tag Selector รูปการกำหนดการวนลูปแสดงผลซ้ำ 2. จากนั้นคลิกที่เมนู Window > Server Behaviors หลังจากนั้นให้คลิกเครื่องหมายบวก เพื่อเลือกเมนู Repeat Region เมื่อปรากฏไดอะล็อก Repeat Region ให้กำหนดค่าต่างๆ ดังรายละเอียดข้างล่างนี้ หลังจากนั้นให้คลิกปุ่ม OK รูปการกำหนดแสดงผลทุกเร็คคอร์ด รูปแสดงการกำหนด Repeat Region dulyawat@hotmail.com การสร้างระบบแสดงผลข้อมูล 56
  • 8. 3. บันทึกไฟล์ list.php 4. ทดสอบการทำงานของไฟล์ list.php โดยการกด F12 (6) การค้นหาข้อมูลที่ต้องการแสดงรายละเอียดทีละ 1 เร็คคอร์ด การแทรกสคริปต์ค้นหาข้อมูลนี้ จะเป็นการแทรกลงในไฟล์ detail.php เพื่อนำเอาข้อมูลพนักงานออกมาแสดง รายละเอียดในเว็บเพจทีละเร็คคอร์ด โดยเงื่อนไขการค้นหาข้อมูลนั้น จะใช้ฟิลด์ employeeid ของตารางในฐานข้อมูล เปรียบเทียบกับค่า URL Parameter "empid" ที่ถูกส่งมาจากไฟล์ list.php ขั้ นตอน: 1. เริ่มต้นที่โปรแกรม Dreamweaver คลิกเมนู File > New จะปรากฏไดอะล็อก New Document ขึ้นมา ให้คลิกแท็บ General คลิกเลือก Dynamic Page > PHP หลังจากนั้นคลิกปุ่ม Create บันทึกเป็นไฟล์ detail.php 2. แทรกตาราง HTML สำหรับแสดงข้อมูลลงในเว็บเพจ โดยให้มีหน้าเว็บเพจ ดังรูป Document Title รูปแสดงแบบตารางสำหรับแสดงผลข้อมูล NOTE: เปิดไฟล์ htmltable2.htm จากขั้นตอนที่ผ่านมา หรือ PHPWEBlabssolutionslab01_basichtmlhtmltable2.htm ขึ้นมาแล้วบันทึกเป็นไฟล์ PHPWEBdetail.php (หากปรากฏไดอะล็อก Update Links? ให้คลิก No) Imagestitle_detail.gif dulyawat@hotmail.com การสร้างระบบแสดงผลข้อมูล 57
  • 9. 3. เลือกเมนู Modify > Page Properties เมื่อปรากฏไดอะล็อก Page Properties ขึ้นมา ให้กำหนด Properties ของเว็บเพจ ดัง รายละเอียดด้านล่างนี้ หลังจากนั้นคลิกปุ่ม OK ค่าของไดอะล็อก ค่าที่กำหนด images/bkg_detail.gif Appearance > Background Image Employee Details Title/Encoding > Title Title/Encoding > Document Type (DTD) None Title/Encoding > Encoding Thai (Windows) 4. คลิกที่เมนู Window > Bindings หลังจากนั้นให้คลิกปุ่มเครื่องหมายบวก และเลือกรายการ Recordset (Query) เมื่อปรากฏไดอะล็อก Recordset ขึ้นมา ให้กำหนดค่าต่างๆ ดังรายละเอียดข้างล่างนี้ หลังจากนั้นให้คลิกปุ่ม OK ค่าของไดอะล็อก ค่าที่กำหนด Name rsEmp Connection dbconn Table employees Column All Filter employeeid และ = U RL Parameter empid รูปแสดงไดอะล็อก Recordset 5. บันทึกไฟล์ detail.php (7) การแทรกสคริปต์สำหรับแสดงผลข้อมูลทีละ 1 เร็คคอร์ดลงในเว็บเพจ การแทรกสคริปต์ในขั้นตอนนี้ จะกระทำในไฟล์ detail.php จะเป็นการแทรกสคริปต์สำหรับนำเอาฟิลด์จากการสร้าง Recordset ในขั้นตอนการค้นหาข้อมูลที่ต้องการแสดงรายละเอียดทีละ 1 เร็คคอร์ด มาแสดงผลในเว็บเพจ โดยวิธีการจะคล้าย กับขั้นตอนการทำไฟล์ list.php dulyawat@hotmail.com การสร้างระบบแสดงผลข้อมูล 58
  • 10. ขั้ นตอนการแทรกสคริปต์สำหรับแสดงผลข้อมูลทีละ 1 เร็คคอร์ดลงในเว็บเพจ: 1. เริ่มต้นที่ไฟล์ detail.php คลิกที่เมนู Window > Bindings หลังจากนั้นให้คลิกเครื่องหมายบวก หน้ารายการ Recordset (rsEmp) จะปรากฏชื่อฟิลด์ ให้คลิกเลือกและแทรกฟิลด์ลงเว็บเพจ เพื่อแสดงผลข้อมูล ตามขั้นตอนที่เคยทำใน ไฟล์ list.php ที่ผ่านมา ดังรูป รูปการแสดงผลข้อมูลในตาราง (Bindings) 2. สำหรับฟิลด์ photo ซึ่งเก็บชื่อไฟล์รูปภาพพนักงาน เช่น Amit_Kelly.jpg เราต้องการให้แสดงในลักษณะรูปภาพ โดยให้ เอาไฟล์รูปภาพ photosAmit_Kelly.jpg มาแสดงบนเว็บเพจ ให้คลิกที่เมนู Insert > Image จะปรากฏไดอะล็อก Select Image Source ให้กำหนดค่าต่างๆ ดังตารางด้านล่าง หลังจากนั้นให้คลิกปุ่ม OK ค่าของไดอะล็อก ค่าที่กำหนด Select File Name From Data Sources Field photo Format None photos/<?php echo $row_rsEmp[‘photo’]; ?> URL ตารางแสดงการกำหนดค่าในไดอะล็อก Select Image Source เพื่อแสดงไฟล์รูปภาพ (1) คลิกตำแหน่งที่ต้องการแสดงผล (2) คลิกฟิลด์ที่ต้องการแสดงผล (3) คลิกปุ่ม Insert dulyawat@hotmail.com การสร้างระบบแสดงผลข้อมูล 59
  • 11. รูปแสดงการกำหนดค่าในไดอะล็อก Select Image Source เพื่อแสดงไฟล์รูปภาพ (8) การส่งและรับค่า URL Parameter เพื่อระบุเร็คคอร์ดที่ต้องการแสดงผล ขั้นตอนนี้ ก็คือการทำให้ไฟล์เว็บเพจ 2 ไฟล์ list.php และ detail.php สามารถเชื่อมโยงเพื่อส่งและรับค่า URL Parameter กันได้นั่นเอง ขั้ นตอนการสง่และรับค่า URL Parameter เพื่อระบุเร็คคอร์ดที่ต้องการแสดงผล: 1. เริ่มต้นที่โปรแกรม Dreamweaver เปิดไฟล์ list.php ขึ้นมา แล้วลากเม้าส์ทำไฮไลต์ตำแหน่งแสดงผลฟิลด์ firstname และ lastname ดังรูป ร ูปแสดงการลากเม้าส์ทำไฮไลต์ฟิลด์ firstname และ lastname (1) คลิกเลือก Data sources (2) คลิกเลือกฟิลด์ photo (3) ระบุชื่อโฟลเดอร์ photos/ หน้าชื่อฟิลด์ ลากเม้าส์ทำไฮไลต์ฟิลด์ firstname , lastname dulyawat@hotmail.com การสร้างระบบแสดงผลข้อมูล 60
  • 12. 2. เปิดไดอะล็อก Properties โดยคลิกที่เมนู Window > Properties จะปรากฏไดอะล็อก Properties ขึ้นมา ให้คลิกไอคอนรูป Folder สีเหลือง (Browse for File) ที่ตำแหน่งช่อง Link เพื่อสร้างไฮเปอร์ลิงค์สำหรับ URL Parameter ไปหาไฟล์ detail.php รูปแสดง Property ของลิงค์บริเวณที่ลากเม้าส์ฟิลด์ firstname และ lastname 3. เมื่อปรากฏไดอะล็อก Select File ขึ้นมา ให้คลิกเลือกไฟล์ detail.php เป็นการกำหนดว่าจะส่งค่า URL Parameter ไปที่ ไฟล์นี้ หลังจากนั้นให้คลิกปุ่ม Parameters… ที่ด้านล่างของไดอะล็อก Select File เพื่อกำหนดการส่งค่า URL Parameter (1) คลิก detail.php (2) คลิก Parameters… รูปแสดงขั้นตอนการสร้างลิงค์ พร้อมกับการกำหนด "Parameters…" 4. เมื่อปรากฏไดอะล็อก Parameters ขึ้นมา ที่ช่อง Name ให้พิมพ์ชื่อ URL Parameter ที่ต้องการจะส่งไป ในที่นี้ให้เรา พิมพ์ empid หลังจากนั้นให้ไปที่ช่อง Value เพื่อกำหนดค่าที่จะส่งไป ในที่นี้เราต้องการกำหนดค่าให้เปลี่ยนไปแบบ Dynamic ตามข้อมูลที่แสดงในแต่ละเร็คคอร์ด ให้คลิกปุ่ม Dynamic Data ที่ช่อง Value dulyawat@hotmail.com การสร้างระบบแสดงผลข้อมูล 61
  • 13. รูปแสดงขั้นตอนการสร้างลิงค์ พร้อมกับการกำหนด "Parameters…" ค่าของไดอะล็อก ค่าที่กำหนด Name empid <?php echo $row_rsEmp['employeeid']; ?> Value ตารางแสดงการกำหนดค่า URL Parameter ในไดอะล็อก “Parameters” 5. เมื่อปรากฏไดอะล็อก Dynamic Data ขึ้นมา ให้คลิกเลือกฟิลด์ employeeid จาก Recordset (rsEmp) หลังจากนั้นคลิกปุ่ม OK รูปแสดงการเลือกฟิลด์ employeeid จาก Recordset 6. บันทึกไฟล์ list.php ก็เป็นเสร็จขั้นตอนการกำหนดการส่งค่า URL Parameter dulyawat@hotmail.com การสร้างระบบแสดงผลข้อมูล 62
  • 14. dulyawat@hotmail.com การสร้างระบบแสดงผลข้อมูล 63 7. ขั้นตอนสุดท้ายคือกำหนดให้ไฟล์ detail.php รับค่า URL Parameter ที่ส่งมาจากไฟล์ list.php ซึ่งวิธีการทำนั้น เราได้ทำ ผ่านมาแล้วให้ย้อนกลับไปดูในขั้นตอน "การค้นหาข้อมูลที่ต้องการแสดงรายละเอียดทีละ 1 เร็คคอร์ด" จะเห็นได้ว่า เรา ได้มีการเรียกใช้ URL Parameter “empid” ซึ่งก็คือค่า URL Parameter ที่ส่งไปจากไฟล์ list.php นั่นเอง (9) การใช้งานระบบแสดงผลข้อมูล เริ่มต้นโดยใช้โปรแกรม Dreamweaver เปิดไฟล์ list.php ขึ้นมา แล้วกดปุ่ม F12 โปรแกรม Internet Explorer จะถูก เปิดขึ้นมาเรียกใช้งานไฟล์ list.php ให้ทดสอบคลิกที่ข้อมูล ชื่อ-นามสกุลของพนักงานแต่ละคน จะปรากฏหน้าเว็บเพจแสดง รายละเอียดประวัติข้อมูลพนักงานทีละคน