SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 65
ในระบบแค่ส่วนหนึ่ง แต่ส่วนใหญ่ชีวิตคน อยู่กับการศึกษานอกระบบหรือการเรียนรู้จากสังคมตามความต้องการของ
ตนเอง หรือเรียนรู้จากสภาพแวดล้อม ทั้งการสื่อสารมวลชนและจากคนรอบข้าง เมื่อคุณธรรมค่อยๆ จางหายไปจาก
สังคมไทย อบาย(มาร) ต่างๆ ค่อยเข้ามาทดแทน เป็นเงามืดบดบังความมีสติปัญญา และทิศทางการเรียนรู้
(สัมมาทิฏฐิ) หากนาเอาเกณฑ์หลักธรรม ในมรรค 8 มาเทียบ ถือได้ว่า คน มีคุณภาพลดลง แต่ถ้าหาก เอาเทคโนโลยี
มาเป็นเกณฑ์ จะเห็นได้ชัดว่า คนพัฒนาสูงขึ้น ดังนั้นการมองในภาพรวมในความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์แล้ว สอดคล้อง
กับคากล่าวของ ท่าน พุทธทาสภิกขุ ว่า "การศึกษาหมาหางด้วน..." หมายความว่า การศึกษาที่ขาดคุณธรรม แม้มี
2 รัฐบาล ที่ผ่านมาจะกาหนดปรัชญาว่า "ความรู้ คู่คุณธรรม" และ "คุณธรรม นาความรู้" ก็ตาม แต่ในเชิงปฏิบัติ
คุณธรรมในแต่ละศาสนารวมทั้งบุคลากรทางศาสนาก็อยู่ส่วนศาสนา การศึกษาก็อยู่ส่วนการศึกษา เป็นการศึกษาที่แยก
ส่วนจากหลักธรรม จึงไม่แปลกเลยที่ผู้มีหน้าที่นาทางวิญญาณ จะเบี่ยงเบนหน้าที่ไปเอากะพี้ธรรมที่ไม่ใช่หลักธรรม มา
ปลุกระดม โฆษณา อย่างเป็นธุรกิจ เช่นเดียวกับวงการศึกษา ที่เน้นการประชาสัมพันธ์ การเข้าเรียน ที่ไม่มีการประกัน
คุณภาพเมื่อจบออกมา การศึกษาไทยอิงอยู่กับรัฐ และนโยบายของนักการเมือง การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างและ
นโยบายมีอย่างต่อเนื่อง ขาดการเชื่อมต่อ ระหว่างรัฐบาลและรัฐมนตรี จะเห็นได้จากข้อมูลการเปลี่ยนรัฐมนตรี
กระทรวงศึกษาธิการค่อนข้างบ่อยที่สุดในรัฐบาลไทย อาจเป็นสาเหตุประการหนึ่งที่ความต่อเนื่องในการจัดการศึกษาไม่
สอดคล้องกับความเป็นจริงของสังคม เป็นไปเพื่อความหวือหวา ชั่วครั้งชั่วคราว แต่ความเป็นจริง การศึกษา เป็นการ
เรียนรู้อย่างต่อเนื่อง ในชีวิตคนๆ หนึ่ง ตั้งแต่แรกเกิดจน กระทั่งตาย ซึ่งอิงการศึกษาในระบบเฉพาะเพื่อมีใบรับรอง
คุณวุฒิ หากว่าใบรับรองคุณวุฒิดังกล่าวขาดซึ่งคุณภาพแล้ว จะเอาอะไรเป็นหลักประกันได้ว่า การศึกษามีคุณภาพ ...
Sustainable
Development and
Public Health
Management Watcharin
Chongkonsatit
M.B.A., M.Ed.
Certificate in Health
Management
พัฒนาการของสังคมไทย
ยุคก่อนการปฏิรูป
สุโขทัย-รัชกาลที่ 4
1826-2426
ยุคปฏิรูป
รัชกาลที่ 5 - รัชกาลที่ 9
2426-2536
ยุคปฏิรูป
รัชกาลที่ 9 - ปัจจุบัน
2536-ปัจจุบัน
อนาคต
ยุคเกษตรกรรม
Agricultural era
ยุคอุตสาหกรรม
Industrial era
ยุคข้อมูลสารสนเทศ
Information era
อิทธิพลของจีนและอินเดีย อิทธิพลของอังกฤษและฝรั่งเศส
อิทธิพลของสหรัฐอเมริกาและรัสเซีย อิทธิพลของสหรัฐอเมริกา/สหภาพยุโรป
อิทธิพลของเอเซีย
?
ยุคล่าอาณานิคม สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 2 สงครามเย็น
Globalization
MulticulturalAge of exploration
เส้นทางสายไหม
การปฏิวัติอุตสาหกรรม
Post-agricultural Post-industrialization Post-information
New economic
BRICK
ASEAN
?
ยุคเกษตรกรรม
ผลิต สินค้าเกษตร ข้าว พืชไร่ พืชสวน เลี้ยงสัตว์ การทอผ้า
ลักษณะการผลิต เป็นการผลิตเพื่อการบริโภคในครัวเรือน ถ้าเหลือก็นาไปแลกเปลี่ยน
วิธีการ ใช้แรงงานของคน/สัตว์ และมีการขนถ่ายสินค้าโดยใช้เรือ เกวียน
การสื่อสาร นกพิราบ คนส่งข่าวสาร สัญญาณไฟ/ควัน
ระบบการค้าขาย แลกเปลี่ยนระหว่างสินค้าต่อสินค้า
ศูนย์กลาง/ที่พัก วัด หมู่บ้าน ชุมชน
ลักษณะของคน ไม่เร่งรีบ ไม่เคร่งครัด มีการช่วยเหลือร่วมมือ มีการพึ่งพาอาศัยกัน ประนีประนอม มีคนกลางในการต่อรอง ไม่เน้นเรื่องผลประโยชน์
ปรับปรุงจาก ไพฑูรย์ สินลารัตน์, 2554
ยุคอุตสาหกรรม
ผลิต สินค้าอุปโภค บริโภค สินค้าอุตสาหกรรมจากโรงงานของอังกฤษ และฝรั่งเศษ
ลักษณะการผลิต
การปลูกสินค้าเกษตรกรรมเพื่อการค้าขาย ผลผลิตดีๆ ที่มีคุณภาพใช้ในการส่งออกเพื่อค้าขาย ผลิตเพื่อการพาณิชย์ มุ่งให้เกิดกาไร
สูงสุด
วิธีการ เครื่องจักรกล เรือกลไฟ รถไฟ เครื่องจักรไอน้า
การสื่อสาร โทรเลข ไปรษณีย์
ระบบการค้าขาย
ระบบเงินตรา ธนบัตร มีร้านค้าขายของชาวตะวันตก
มีธนาคารแห่งแรก คือ แบงก์สยามกัมมาจล
ศูนย์กลาง/ที่พัก ตลาด มีโรงแรมแห่งแรกเกิดขึ้น
ลักษณะของคน เร่งรีบ มีความเคร่งครัดเรื่องเวลา?? ต่างคนต่างอยู่ สังคมเป็นเรื่องของการต่อรองเพื่อผลประโยชน์
ปรับปรุงจาก ไพฑูรย์ สินลารัตน์, 2554
ยุคข้อมูลข่าวสาร (โลกาภิวัตน์)
ผลิต สินค้าอิเล็กทรอนิกส์ สินค้าบริการ Throw-away industry
ลักษณะการผลิต มุ่งให้เกิดกาไรสูงสุด
วิธีการ ผลิตด้วยคอมพิวเตอร์ควบคุม ขนส่งด้วยเครื่องบิน
การสื่อสาร E-mail โทรศัพท์ไร้สาย เครือข่ายสังคม (Social network)
ระบบการค้าขาย E-commerce
ศูนย์กลาง/ที่พัก ห้างสรรพสินค้า โลกดิจิตอล
ลักษณะของคน ต่างคนต่างอยู่
ปรับปรุงจาก ไพฑูรย์ สินลารัตน์, 2554
The keys trends to shape your future
• The age of instant communications
• A world without economic borders
• 4 steps to one world economy
• The new service society
• From big to small
• The new age of leisure
• The changing shape of work
• Women in leadership
• The decade of brain
• Cultural nationalism
• The growing underclass
• The active aging of the population
• The new do-it-yourself boom
• Cooperative enterprise
Gordon Dryden, 1997
Trends in 2008
• Trend 1: Fueling the future
• Trend 2: The innovation economy
• Trend 3: The next workforce
• Trend 4: Longevity medicine
• Trend 5: Weird science
• Trend 6: Securing the future
• Trend 7: The future globalization-Cultures in collision
• Trend 8: The future of climate change
• Trend 9: The future of individualization
• Trend 10:The future of American and China James Canton, 2006
V-U-C-A world
Volatility
(ความผันผวน)
Uncertainty
(ความไม่แน่นอน)
Complexity
(ความซับซ้อน)
Ambiguity
(ความคลุมเครือ)
ทัศนะทางการเมือง
เน้นทางด้านสังคม
 กษัตริยนิยม
(Royalism/Monachism)
 เสรีนิยม (Liberalism)
 อนุรักษ์นิยม (Conservatism)
 เผด็จการฟาสซิสต์ (Facism)
เน้นทางด้านเศรษฐกิจ
 ทุนนิยม (Capitalism)
 สังคมนิยม (Communism)
 ลัทธิเลนิน
 ลัทธิสตาลิน
 ลัทธิเหมา
เสือทั้ง 4 ของเอเซีย NICs
สิงคโปร์ มาเลเซีย
เกาหลีใต้ ไต้หวัน
การพัฒนาจากเศรษฐกิจเป็ นฐาน
เพื่อการแก้ปัญหา
ทศวรรษแห่งการพัฒนา ระยะที่ 1
(พ.ศ. 2503 - 2513)
วิกฤติการพัฒนา
•ทรัพยากรธรรมชาติร่องหรอลง
•ของเสีย สารพิษ และมลภาวะ
เพิ่มขึ้น
•ประชากรก่อปัญหาอย่างต่อเนื่อง
ความไม่รู้
ความ
ยากจน
ความ
เจ็บป่วย
Sustainable development
Sustainable development is development
which meets the needs of the present
generation without compromising the
ability of future generations to meets
their own needs.
แนวคิดที่ 1
ความต้องการของมนุษย์
แนวคิดที่ 2
ขีดจากัดของสิ่งแวดล้อม
แนวคิดที่ 3
ความยุติธรรมในสังคม
Intergenerational equity
Intragenerational equity
เศรษฐศาสตร์ของความพอดี
The economics of enough
เศรษฐศาสตร์แบบยิ่งมากยิ่งดี
The economics of more and more
“โลกเรานี้มีทรัพยากรเพียงพอสาหรับตอบสนองความต้องการของมนุษย์ แต่มีไม่
เพียงพอสาหรับความโลภของมนุษย์”
มหาตมะ คานธี
Shift of social development
Government
sector
Public sector
Policy
Law and
regulation
Empathy
Participation
Achievemen
t
People centered
developmentNon-
governme
nt
organizati
on
Business
organizati
onPeople
organizati
on
People
participati
on
ทุนทาง
กายภาพ
(Physica
l capital)
ทุนมนุษย์
(Human
capital)
ทุนทาง
ธรรมชาติ
(Natural
capital)
ทุนทาง
สังคม
(Social
capital)
การพัฒนาที่ยั่งยืน
Sustainable
development
การอยู่ดีมีสุขของสังคม
คุณภาพสิ่งแวดล้อม การพัฒนาเศรษฐกิจที่ยั่งยืน
การเติบโตที่ยั่งยืน
(Sustainable growth)
ความมีชีวิตชีวา
(Vitality)
ประสิทธิภาพ
(Efficiency)
ความเป็นธรรม
(Equity)
การแข่งขันและการร่วมมือ
(Competition/Cooperati
on)
หลักการเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
• การฟื้นฟูความเจริญเติบโต
• การเปลี่ยนแปลงคุณภาพของการเจริญเติบโต
• การบูรณาการเรื่องของสิ่งแวดล้อมสู่การตัดสินใจ
• การรักษาระดับจานวนประชากร
• การกาหนดทิศทางใหม่ของเทคโนโลยี และการบริหารความเสี่ยง
• การอนุรักษ์และการขยายฐานทรัพยากร
• การปฎิรูปความสัมพันธ์ด้านเศรษฐกิจระหว่างประเทศ
• การสร้างความร่วมมือที่เข้มแข็งระหว่างประเทศ
Brundtland Commission, WCED
การพัฒนาที่ยั่งยืนในบริบทไทย
การบริหารจัดการ
ทรัพยากรธรรมชาติ
และสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน
การพัฒนาเศรษฐกิจ
อย่างยั่งยืน
การพัฒนาสังคม
อย่างยั่งยืน
BearableEquitable
Viable
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง วัฒนธรรมไทย
สภาพสังคมไทยค่านิยมไทย
การพัฒนาเศรษฐกิจอย่างยั่งยืน
การเติบโตอย่างมีคุณภาพ
การเติบโตอย่างมี
เสถียรภาพ
การเติบโตอย่างมี
ดุลยภาพ
ด้านมหภาค
มีเสถียรภาพด้านการเงินและการคลังทาให้เอื้อต่อการลงทุน และการดาเนินธุรกิจ
อย่างมีประสิทธิภาพ และสามารถแข่งขันได้
ด้านจุลภาค
มีการเลือกผลิตอย่างชาญฉลาด ให้ความสาคัญกับการพัฒนาอุตสาหกรรมและการ
บริการ โดยมีเป้ าหมายที่ศักยภาพในการผลิตภายในที่สอดคล้องกับความต้องการ
เสถียรภาพภายใน
ได้แก่ อัตราเงินเฟ้ อต่า ไม่ผันผวน หนี้สาธารณะอยู่ในฐานะที่จัดการได้
เสถียรภาพด้านต่างประเทศ
ได้แก่ ทุนสารองเงินตราระหว่างประเทศอยู่ในระดับพอเพียง มูลค่านาเข้ารายเดือน
ทาให้อัตราการแลกเปลี่ยนมีเสถียรภาพ มีปัจจัยการผลิตที่ไม่ทาลายสิ่งแวดล้อม
การพัฒนาสังคมที่ยั่งยืน
การพัฒนาคนและสิ่งแวดล้อมให้เชื่อมโยงกับการพัฒนาเศรษฐกิจ ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อมอย่างสมดุล
การพัฒนาคนให้มีผลิตภาพ (Productivity) สูงขึ้น สามารถปรับตัวรู้เท่าทันการ
เปลี่ยนแปลงที่จะนาไปสู่การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตและการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจของ
ประเทศอย่างยั่งยืน มีจิตสานึก พฤติกรรม และวิถีชีวิตที่ไม่ทาลายทรัพยากรธรรมชาติ และ
สิ่งแวดล้อม
การพัฒนาให้มีคุณภาพชีวิต (Quality of life) ที่ดีสามารถพึ่งพาตนเองได้อย่างมั่นคง มี
ระบบการจัดการทางสังคมที่เสริมสร้างการมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วนของสังคมในการพัฒนา มี
การนาทุนทางสังคมและทุนทางธรรมชาติมาประยุกต์ใช้อย่างเหมาะสม
ยุทธศาสตร์สู่การพัฒนาที่ยั่งยืน
• พลวัตแห่งความสมดุล
• ความตระหนักและความเข้าใจของมหาชน
• วิถีการดาเนินชีวิต
• หลักจริยธรรมและวัฒนธรรมที่จาเป็น
• ยุทธศาสตร์การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน
• ยุทธศาสตร์การพัฒนาเศรษฐกิจอย่างยั่งยืน
• ยุทธศาสตร์การพัฒนาสังคมอย่างยั่งยืน
• ดัชนีวัดการพัฒนาที่ยั่งยืน
พลวัตแห่งความสมดุล
สิ่งแวดล้อมธรรมชาติ
ความต้องการในการพัฒนาของ
มนุษย์
เพิ่มขีดความสามารถในการรองรับของ
ธรรมชาติ
ลดความต้องการการใช้
ทรัพยากรธรรมชาติ
ปี 2000 ประชากร 6,000 ล้านคน
ปี 2030 ประชากร 9,000 ล้านคน
การพัฒนาที่ยั่งยืน
Supply Demand
ความเข้าใจและความตระหนักของมหาชน
ประเด็นท้องถิ่น
Local issues
ประเด็นระดับโลก
Global issues
มหาชนผู้ที่ไม่ต้องการรับรู้
ผู้ที่ไม่เห็นด้วย
มหาชนผู้ต้องการรับรู้
ผู้ที่เห็นด้วย
เชื่อมโยง
โน้มน้าว
ในสังคมประชาธิปไตย การปฏิบัติที่ส่งผลต่อการพัฒนาที่ยั่งยืนขึ้นอยู่กับความตระหนัก ความเข้าใจ และการสนับสนุนของมหาชน
การแก้ปัญหาอิทธิพลของผู้เสียประโยชน์จาเป็นต้องใช้วิธีการเชิงประชาธิปไตย
(Democratic means)
การแก้ปัญหาความสลับซับซ้อนของข้อความรู้ หรือข่าวสารเกี่ยวกับการพัฒนาที่ยั่งยืนจะต้อง
เริ่มต้นด้วยการนาเสนอปัญหาซึ่งประชาชนรู้สึกและเข้าใจ ในระดับท้องถิ่น (Local
issues) เพื่อเป็นพื้นฐานไปสู่ความเข้าใจในปัญหาซับซ้อนระดับชาติ (Country issues)
และระดับโลก (Global issues)
การแก้ปัญหากลยุทธ์การสื่อสารที่ไม่เหมาะสมควรนาเสนอปัญหาในลักษณะที่แสดงให้เห็นว่า
สามารถจัดการแก้ไขได้ด้วยการปฏิบัติที่มีความรับผิดชอบ (Manageable through
responsible conduct) โดยการนาเสนอทางออกในการแก้ปัญหาที่เป็นไปได้
(Realistic solution) และวิธีการปฏิบัติในการป้ องกัน (Means to take preventive
action)
วิถีการดาเนินชีวิต
ขึ้นอยู่กับ
• ระดับการเปลี่ยนทัศนคติและพฤติกรรมของประชาชนทั้งใน
บทบาทผู้ผลิตและผู้บริโภค
• การรับผิดชอบร่วม
• การปฏิบัติหน้าที่ในฐานะพลเมือง และพลโลกที่ดี
ประสิทธิผลของการเสริมสร้างความตระหนักของมหาชน
เกี่ยวกับการพัฒนาที่ยั่งยืน
• เปลี่ยนรูปแบบการผลิตและการบริโภคของประชาชนรายบุคคล
ด้วยวิธีการบริโภคที่แตกต่าง เช่น การใช้ผลิตภัณฑ์ที่คงทน
(Longer life products) การใช้ผลิตสีเขียว (Green
product) ซึ่งบริโภคพลังงานน้อยกว่า
• ต้องมีการตัดสินใจร่วมเชิงนโยบายและการปฏิบัติที่เหมาะสมจาก
องค์การภาครัฐและภาคเอกชน
• พลเมืองในสังคมประชาธิปไตยสามารถแสดงบทบาทที่เข้มแข็งใน
การตัดสินใจร่วมเพื่อกาหนดนโยบายสาธารณะ การพัฒนาระเบียบ
กฏหมายภาษีและนโยบายการเงินของประเทศที่จะเสริมสร้างการ
พัฒนาที่ยั่งยืนได้โดยการเลือกตั้งผู้แทนที่เข้าใจ
เปลี่ยนวิถีการดาเนินชีวิตไปสู่วิถีชีวิตที่ยั่งยืน
(Sustainable lifestyles)
หลักจริยธรรมและวัฒนธรรมที่จาเป็ น
หลักจริยธรรมของเวลา (Ethic of timing) ที่จาเป็ นต้อง
เริ่มลงมือปฏิบัติให้เกิดการพัฒนาที่ยั่งยืนก่อนที่จะไม่มีเวลา
หรือก่อนที่จะสายเกินไป
“Take action before reaching the point of no
point of no return.”
หลักจริยธรรมและวัฒนธรรมที่จาเป็ นสาหรับการพัฒนาที่
ยั่งยืน
ได้แก่
• สิทธิและความรับผิดชอบของมนุษย์
• ความเป็นธรรมของคนรุ่นปัจจุบันและคนรุ่นหลัง
• ความเป็นปึกแผ่น
• ความยุติธรรม
• ประชาธิปไตย
• เสรีภาพในการแสดงออกและความใจกว้าง
• ความทนทาน หรือความอดทน
ยุทธศาสตร์การพัฒนาสังคมอย่างยั่งยืน
 ยุทธศาสตร์การพัฒนาศักยภาพคน มุ่งให้คนมีคุณภาพและรู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลงโดยการเสริมสร้าง
กระบวนการเรียนรู้ เสริมสร้างศักยภาพสถาบันการศึกษา ปรับระบบการผลิตกาลังคนระดับกลางและ
ระดับสูงให้มีความเชื่อมโยงกับเป้ าหมายของการพัฒนา
 ยุทธศาสตร์พัฒนาระบบการคุ้มครองสังคม มุ่งป้ องกัน ช่วยเหลือ และพัฒนาผู้ที่ได้รับผลกระทบจากการ
พัฒนาที่ไม่ยั่งยืน โดยการสร้างหลักประกันความมั่งคั่งในการดารงชีวิต เสริมสร้างระบบการคุ้มครองทาง
สังคมอย่างต่อเนื่อง วางแผนจัดบริการและสวัสดิการให้สอดคล้องกับประชนชนแต่ละช่วงวัย
 ยุทธศาสตร์การสร้างระบบการบริหารจัดการสังคมที่ดี มุ่งเสริมสร้างความเข้มเข็งขององค์กรภาคประชา
สังคม ภาคธุรกิจ และภาคเอกชนให้มากขึ้น โดยการพัฒนาระบบธรรมาภิบาลในองค์กรทุกกลุ่มให้มีความ
รับผิดชอบต่อสังคม มีกติกาในการทางานร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้ง
 ยุทธศาสตร์การเสริมสร้างและพัฒนาทุนทางสังคม มุ่งการใช้ทุนทางสังคมให้เป็นประโยชน์ต่อการพัฒนา
โดยการศึกษาวิเคราะห์และพัฒนาทุนทางสังคมให้เกิดมูลค่าเพิ่มอย่างต่อเนื่อง อันจะเป็นฐานในการพึ่งพา
ตนเองอย่างยั่งยืน
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
“ในการพัฒนาประเทศนั้น จาเป็นต้องทาตามลาดับขั้น เริ่มด้วยการสร้างพื้นฐาน คือ
ความมีกินมีใช้ของประชาชนก่อนด้วยวิธีการประหยัดระมัดระวัง แต่ถูกต้องตามหลักวิชา
เมื่อพื้นฐานเกิดขึ้นมั่นคงพอควรแล้ว การช่วยเหลือสนับสนุนประชาชนในการประกอบ
อาชีพและตั้งตัวให้มีความพอกินพอใช้ก่อนอื่นเป็นพื้นฐานนั้นเป็นสิ่งสาคัญอย่างยิ่งยวด
เพราะผู้ที่มีอาชีพและฐานะเพียงพอที่จะพึ่งตนเองย่อมสามารถสร้างความเจริญก้าวหน้า
ระดับที่สูงขึ้นต่อไปโดยแน่นอน ส่วนการถือหลักที่จะส่งเสริมความเจริญ ให้ค่อยเป็นค่อย
ไปตามลาดับด้วยความรอบคอบระมัดระวังและประหยัดนั้น ก็เพื่อป้ องกันการผิดพลาด
ล้มเหลว”
พระบรมราโชวาทเมื่อวันที่ 19 กรกฎาคม 2517
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
พระบรมราโชวาทเมื่อวันที่ 4 ธันวาคม 2517
“ให้เมืองไทยอยู่แบบพออยู่พอกิน ไม่ใช่ว่ารุ่งเรืองอย่างยอด แต่ว่ามีความพออยู่พอกิน มีความสงบ
เปรียบเทียบกับประเทศอื่นๆ ถ้าเรารักความพออยู่พอกินนี้ได้ เราก็ยอดยิ่งยวด”
3 ห่วง 2 เงื่อนไข
ความพอประมาณ
ความมีเหตุผล การมีภูมิคุ้มกันในตัว
เงื่อนไขความรู้
รอบรู้ รอบคอบ ระมัดระวัง
เงื่อนไขคุณธรรม
ซื่อสัตย์ สุจริต ขยัน อดทน แบ่งปัน
ชีวิต เศรษฐกิจ สังคม
สมดุล มั่นคง ยั่งยืน
ทางสายกลาง
จิรายุ อิสรางกูร ณ อยุธยา, 2548
ความรอบรู้ คือ มีความรู้
ทางวิชาการอย่างรอบ
ด้าน เพื่อใช้เป็น
ประโยชน์พื้นฐาน
นาไปใช้ปฏิบัติอย่าง
พอเพียงความรอบคอบ คือ มี
การวางแผนโดยสามารถ
ที่จะนาความรู้และหลัก
วิชามีพิจารณาเชื่อมโยง
กัน
ความระมัดระวัง คือ มี
สติตระหนักถึงการ
เปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นได้
รู้เท่าทันเหตุการณ์ที่
เปลี่ยนแปลง
ความพอประมาณ คือ ความพอดี ยืนด้วยลาแข้งของ
ตนเอง มีการกระทาไม่มากเกินไป/ไม่น้อยเกินไป ไม่
สร้างความเดือดร้อนให้แก่ตนเอง พร้อมรับการ
เปลี่ยนแปลง
ความมีเหตุมีผล คือ การตัดสินใจเกี่ยวกับความ
พอประมาณ มองระยะยาว คานึงถึงความเสี่ยง
การมีภูมิคุ้มกันในตัว คือ การเตรียมตัวพร้อมรับ
ผลกระทบที่คาดว่าจะเกิดขึ้นจากการเปลี่ยนแปลง
ด้านต่างๆ
บทบาทของรัฐกับการพัฒนา
การป้ องกันการรุกรานจากต่างประเทศ
การรักษาความสงบเรียบร้อยของ
สังคม
การสร้างสาธารณูปโภคที่เอกชนไม่
สามารถทาได้
กลไกตลาด
เสรีนิยม
แผนฯ 1
2504-
2509
แผนฯ 2
2510-
2514
แผนฯ 3
2515-
2519
แผนฯ 4
2520-
2524
แผนฯ 5
2525-
2529
แผนฯ 6
2530-
2534
แผนฯ 7
2535-
2539
แผนฯ 8
2540-
2544
แผนฯ 9
2545-
2549
แผนฯ 10
2550-
2554
ยุคเปลี่ยนผ่านสู่กระบวนทัศน์ใหม่
ยึดการปฏิบัติตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ซึ่งมุ่งสู่
สังคมอยู่เย็นเป็นสุขร่วมกัน
ยึดคนเป็นศูนย์กลาง เน้นการมีส่วนร่วม ใช้เศรษฐกิจเป็น
เครื่องมือพัฒนาคน
เน้นเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ มุ่งพัฒนาภูมิภาค และ
ชนบท
ยุคประชาธิปไตย
เน้นการพัฒนาเศรษฐกิจควบคู่
กับการพัฒนาทางสังคม
ยุคทองของการวางแผน
เน้นการเติบโตทางเศรษฐกิจด้วย
การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน
ยุคผันผวนทางการเมือง
แผนฯ 11
2555-
2559
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 9
จุดแข็ง
•ภาคประชาชนและพลังท้องถิ่นมีความเข้มแข็งมากขึ้น
•สื่อทั้งกระแสหลักและกระแสรองมีเสรีภาพมากขึ้น
•ฐานการผลิตทางเกษตรมีความหลากหลาย
•มีธุรกิจบริการที่มีความเชี่ยวชาญ
•แหล่งท่องเที่ยวมีคุณภาพ และมีเอกลักษณ์ความเป็นไทย
•มีวัฒนธรรมที่โดดเด่น
•ภูมิปัญญาท้องถิ่นที่สั่งสมเป็นปึกแผ่น
•มีสถาบันหลักยึดเหนี่ยวทางจิตใจ
โอกาสและภัยคุกคาม
•การเปลี่ยนแปลงของระบบเศรษฐกิจโลก
•การรวมกลุ่มในภูมิภาค
•การเข้าสู่สังคมฐานความรู้จุดอ่อน
•การรวมศูนย์กลาง (Centralization) ของระบบบริหารเศรษฐกิจ การเมือง และราชการ
•การขาดประสิทธิภาพ กฎหมายล้าสมัย
•การทุจริต ความเสื่อมโทรมทางจริยธรรม และศีลธรรม
•คุณภาพการศึกษายังไม่ก้าวหน้า
•ความเหลื่อมล้าของการกระจายรายได้
•ความขัดแย้งทางสังคม สังคมตกอยู่ในกระแสวัตถุนิยม
•ความเสื่อมโทรมของทรัพยากรธรรมชาติ
วัตถุประสงค์
• เพื่อพื้นฟูเศรษฐกิจให้มีเสถียรภาพและมีภูมิคุ้มกัน สร้างความเข้มแข็งของภาคการเงิน ความมั่นคงและเสถียรภาพของฐานะการคลัง ปรับ
โครงสร้างเศรษฐกิจเพื่อให้เศรษฐกิจระดับฐานรากมีความเข้มแข็งและสามารถพึ่งตนเองได้มากขึ้น ตลอดจนเพิ่มสมรรถนะของระบบ
เศรษฐกิจโดยรวมให้สามารถแข่งขันได้และก้าวทันเศรษฐกิจสมัยใหม่
• เพื่อวางรากฐานการพัฒนาประเทศให้เข้มแข็ง ยั่งยืน สามารถพึ่งตนเองได้อย่างรู้เท่าทันโลก ดดยการพัฒนาคุณภาพคน ปฏิรูปการศึกษา
ปฏิรูประบบสุขภาพ สร้างระบบภูมิคุ้มกันทางสังคม รวมทั้งการเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชนและเครือข่ายชุมชน ให้เกิดการเชื่อมโยง
การพัฒนาชนบทและเมืองอย่างยั่งยืน มีการดูแลจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ควบคู่กับการพัฒนาวิทยาศาสตร์และ
เทคโนโลยีที่เหมาะสมกับคนไทย
วัตถุประสงค์ (ต่อ)
• เพื่อให้เกิดการบริหารจัดการที่ดีในสังคมไทยทุกระดับ เป็นพ้ืนฐานให้การพัฒนาประเทศเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ มีความโปร่งใส
สามารถตรวจสอบได้ เน้นการปฏิรูประบบบริหารจัดการภาครัฐ การบริหารจัดการที่ดีของภาคเอกชน การมีส่วนร่วมของภาคประชาชนใน
กระบวนการพัฒนา การสร้างระบบการเมืองที่รับผิดชอบต่อสังคม และลดการประพฤติมิชอบ
• เพื่อแก้ปัญหาความยากจนและเพิ่มศักยภาพและโอกาสของคนไทยในการพึ่งพาตนเอง ให้ได้รับโอกาสในการศึกษาและบริการทางสังคม
อย่างเป็นธรรมและทั่วถึง สร้างอาชีพ รายได้ ยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชน ให้ชุมชนและประชาชนมีส่วนร่วมในการพัฒนาและปรับ
กลไกภาครัฐให้เอื้อต่อการแก้ปัญหา
เป้ าหมาย
เป้ าหมายดุลยภาพทางเศรษฐกิจ
เป้ าหมายการยกระดับคุณภาพชีวิต
เป้ าหมายการบริหารจัดการที่ดี
เป้ าหมายการลดความยากจน
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 10
วิสัยทัศน์การพัฒนาประเทศ
สังคมคุณภาพ
สร้างทุกคนให้เป็นคนดี คนเก่ง พร้อมด้วย
คุณธรรม จริยธรรม มีวินัย รับผิดชอบ มีจิต
สาธารณะ พึ่งตนเองได้ มีเมืองและชุมชนน่า
อยู่ มีระบบดี มีประสิทธิภาพ ระบบ
เศรษฐกิจมีเสถียรภาพ มีความเข้มแข็ง และ
แข่งขันได้ ระบบการบริหารโปร่งใส
ตรวจสอบได้ และมีความเป็นธรรม
สังคมแห่งภูมิปัญญาและการเรียนรู้
เปิดโอกาสให้คนไทยคิดเป็น ทาเป็น มี
เหตุผล สร้างสรรค์เป็น เรียนรู้ได้ตลอดชีวิต
รู้เท่าทัน พร้อมรับการเปลี่ยนแปลง สามารถ
สั่งสมทุนทางปัญญา รักษาและต่อยอดภูมิ
ปัญญาท้องถิ่นได้อย่างเหมาะสม
สังคมสมานฉันท์และเอื้ออาทรต่อกัน
ธารงไว้ซึ่งคุณธรรม คุณค่าของเอกลักษณ์
ทางสังคมไทยที่พึ่งพา เกื้อกูล รู้รัก สามัคคี
มีจารีตประเพณีที่ดีงาม เอื้ออาทร ภาคภูมิใจ
ในชาติและท้องถิ่น สถาบันครอบครัวและ
เครือข่ายชุมชนมีความเข้มแข็ง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
สังคมอยู่เย็นเป็นสุขร่วมกัน
การมีส่วนร่วมของภาคประชาชน ระบบการบริหารจัดการที่ดี การใช้ศักยภาพด้านเอกลักษณ์วัฒนธรรมไทย
การพัฒนาคุณภาพคน
การพัฒนาชุมชนและ
แก้ปัญหาความยากจน
ด้านธรรมาภิบาล
การสร้างความมั่นคงของ
ฐานทรัพยากรธรรมชาติ
และสิ่งแวดล้อม
ด้านเศรษฐกิจ
เรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท
เข้าใจ เข้าถึง พัฒนา
“...ให้ทุกฝ่ายทาความเข้าใจ
พยายามเข้าถึงประชาชน
และร่วมกันพัฒนา...”
แนวคิด “เข้าใจ”
• ทาความเข้าใจในปรัชญา แนวคิดที่อยู่เบื้องหลังงานที่ทา อันจะนาไปสู่การเกิดปัญญา จากนั้น
จะทาให้เกิดศรัทธา ความเชื่อมั่นในสิ่งที่ทาว่าจะยังประโยชน์ให้แก่สังคมชุมชนอย่างแท้จริง
• ทาความเข้าใจในกลุ่มเป้ าหมายให้ละเอียด อันจะนาไปสู่ความสาเร็จในการสร้างบทบาทอันพึง
ประสงค์ของกลุ่มเป้ าหมายต่างๆ
• ทาความเข้าใจถึงสภาวะแวดล้อมอย่างลึกซึ้ง อันจะนาไปสู่การวางมาตรการทางสังคมต่างๆ ซึ่งมี
ความจาเป็นมากสาหรับการแก้ปัญหาสุขภาพปัจจุบัน
ทาความเข้าใจปรัชญาสาธารณสุข
การพัฒนาที่
ยั่งยืน
ความเสมอ
ภาค
คนเป็น
ศูนย์กลาง
ความคุ้มค่า
ยุทธศาสตร์สาธารณสุขมีที่มาจากปรัชญา 4 ประการ
ทาความเข้าใจกลุ่มเป้ าหมายอย่างละเอียด
 ใครคือกลุ่มเป้ าหมาย (ผู้ที่มี หรือเสี่ยงที่จะมีปัญหาทางสุขภาพ)
 คนในชุมชนมีจิตสานึกเรื่องสุขภาพที่แตกต่างกัน แม้กระทั่งในกลุ่มผู้นาชุมชน อาสาสมัคร
สาธารณสุข
 การมีส่วนร่วมของคนในชุมชน และกลุ่มเป้ าหมาย
แนวคิด “เข้าถึง”
กลุ่มที่มีปัญหา
กลุ่มที่จะช่วยแก้ปัญหา
สิ่งที่ควรพิจารณาในแนวคิด “เข้าถึง”
ระบบสื่อสาร
การสร้างและใช้สื่อมวลชน
การถ่ายโอนหน้าที่ของผู้ส่งสาร
เศรษฐพุฒิ สุทธิวาทนฤพุฒิ
ศิริกัญญา ตันสกุล
มูลนิธิสถาบันอนาคตไทยศึกษา

1

2

3

4

5

6

7

8

9

10
 

ครอบครัวที่จนที่สุด 10%
มีรายได้เฉลี่ย 4,300 บาท/เดือน
ครอบครัวที่รวยที่สุด 10%
มีรายได้เฉลี่ย 90,000 บาท/เดือน
ประเทศไทยมี 22 ล้านครัวเรือน
•รายได้ต่ากว่า 5,300 บาท/เดือน
•40% มีชายชราเป็นหัวหน้า
ครอบครัว โดยมีรายได้หลักจากเงินที่
ลูกหลานส่งมาให้
•1 ใน 4 เป็นครอบครัวเกษตรกร
•รายได้ต่ากว่า 13,000 บาท/
เดือน (12,000-15,000)
•มีหัวหน้าครอบครัวทาอาชีพเสมียน
พนักงานขาย (20%) พ่อค้า แม่ค้า
พนักงานโรงงาน (16%)
•40% ของหัวหน้าครอบครัวทา
อาชีพเฉพาะทาง (แพทย์/วิศวกร)
•12% เป็นเถ้าแก่ หรือเจ้าของ
กิจการ
Thailand Future Foundation, 2

1

2

3

4

5

6

7

8

9

10
 
ครอบครัวที่จนที่สุด 10%
มีรายได้เฉลี่ย 4,300 บาท/เดือน
ครอบครัวที่รวยที่สุด 10%
มีรายได้เฉลี่ย 90,000 บาท/เดือน
Thailand Future Foundation, 2
ปัญหาความเหลื่อมล้าไม่ได้ดีขึ้นเลย จาก 3 ทศวรรษที่ผ่าน
มา
ครอบครัวที่จนที่สุด 10%
มีรายได้เฉลี่ย 1,429 บาท/เดือน
ครอบครัวที่รวยที่สุด 10%
มีรายได้เฉลี่ย 28,808 บาท/เดือน
พ.ศ.2529
19.65 เท่า
3.126 เท่า2.985 เท่า
พ.ศ.2554
21.11 เท่า
ความแตกต่างทางรายได้ของครอบครัวที่จนที่สุด 10% กับ
ครอบครัวที่รวยที่สุด 10% ในปี 2529 และ 2554
2529 2554
หน่วย: บาท/เดือน (ปรับผลอัตราเงินเฟ้ อโดยใช้ดัชนีราคาปี 2554
28,808
1,429 4,266
90,048
ครอบครัวที่รวยที่สุด
10%
ครอบครัวที่จนที่สุด
10%
ช่องว่างทางรายได้ไม่ได้ลดลงเลย
ความแตกต่างทางรายได้ของครอบครัวที่รวย
ที่สุด 10% กับครอบครัวที่จนที่สุด 10%
อยู่ที่ประมาณ 20 เท่า (2529) แต่เพิ่ม
เป็น 21 เท่า (2554) แสดงว่าครอบครัว
ที่สุดที่สุด 10% ต้องทางานถึง 21 เดือน
เพื่อให้ได้รายได้เท่ากับครอบครัวที่รวยที่สุด
10% หามาได้ใน 1 เดือน
Thailand National Consensus, 19
Thailand National Consensus, 20
รายได้เฉลี่ยของครอบครัวไทยประมาณ 23,000 บาทต่อเดือน
0.0
10.0
20.0
30.0
40.0
รายได้ของครัวเรือนไทยปี 2554
Thailand Bangkok Central North North-east South
ถ้ามีใครถามว่ารายได้ของครอบครัวคนไทยประมาณกี่บาทต่อเดือน ตัวเลขแรกที่คนมักจะนึกถึงก็คือ
รายได้เฉลี่ย รายได้เฉลี่ยครอบครัวไทยตกประมาณ 23,000 บาทต่อเดือน แต่ตัวเลขนี้น่าจะเป็น
ตัวแทนของรายได้ครอบครัวของคนทั้งประเทศหรือไม่ ณ รายได้เฉลี่ยที่ 23,000 บาท เราพบว่ามี
เพียงครอบครัวไม่ถึง 30% ที่มีรายได้สูงกว่า และคนส่วนมากราว 2 ใน 3 ได้รายได้น้อยกว่านี้
0
10
20
30
40
50
60
less than 10,000 10,001-20,000 20,001-30,000 30,001-40,000 40,001-50,000 50,001-60,000 60,001-70,000 70,001-80,000 80,001-90,000 90,001-100,000 More than 100,000
การกระจายรายได้ของครอบครัวคนไทย
Series 1
รายได้ที่คนส่วนมากได้รับ 7,000-8,000 บาท
รายได้ของครอบครัวกึ่งกลาง (Median)
15,000 บาท
รายได้ของครอบครัวเฉลี่ย (Mean) 23,000
บาท
ยังมีความเหลื่อมล้าในด้านโอกาสการเข้าถึงการศึกษา
และการสาธารณสุขที่มีคุณภาพ
โอกาสในการเข้าถึงการศึกษาที่มีคุณภาพ โอกาสในการเข้าถึงการสาธารณสุขที่มี
คุณภาพ
3
เท่า
คือ โอกาสที่จะได้เรียนต่อในระดับ
ปริญญาตรีระหว่างเด็กจากครอบครัวที่
รวยที่สุด 20% กับเด็กจากครอบครัว
ที่ยากจนที่สุด 20%
2
เท่า
คือ โอกาสที่จะสอบผ่านวิชาเลขขั้นต่า
ของการสอบ PISA ระหว่างเด็กจาก
ครอบครัวที่รวยที่สุด 20% กับเด็ก
จากครอบครัวที่ยากจนที่สุด 20%
5
เท่า
คือจานวนหมอต่อประชากรระหว่าง
โรงพยาบาลในกรุงเทพกับภาคอีสาน
9
เท่า
คือ จานวนเครื่อง MRI ต่อประชากร
ของโรงพยาบาลในกรุงเทพ ต่อ ภาค
อีสาน
ความเหลื่อมล้าที่สาคัญที่สุดที่ควรแก้คือความเหลื่อมล้าด้านโอกาส
“ความเหลื่อมล้าทั้ง 2 แบบเป็นสิ่งที่ต้องได้รับการแก้ไข แต่ความไม่เท่าเทียมกันในแบบแรก
ยังเป็นเรื่องพอรับได้ เพราะระบบตลาดจะเป็นกลไกที่ท้าให้แต่ละคนได้รับผลลัพธ์ต่างกันตาม
ความสามารถ ตราบใดที่รัฐยังเข้ามาควบคุมไม่ให้มีความแตกต่างมากจนเกินไป แต่สาหรับ
ความไม่เท่าเทียมกันด้านโอกาสนั้นมีแต่ผลเสีย หากความเหลื่อมล้านี้เกิดขึ้นกับคนต่างชาติ
พันธุ์ ศาสนา วรรณะ หรือเพศใดเพศหนึ่ง ความอยุติธรรมเช่นนี้จึงขัดต่อความสงบสุขของ
สังคมและก่อให้เกิดความไม่สงบทางการเมืองได้ อันเป็นผลให้เกิดความแตกแยก และยิ่งท้า
ให้การพัฒนาเศรษฐกิจชะงักงัน”
Commission on Growth and Development (2011)
ปัจจุบันมีความพยายามอย่างเป็นรูปธรรมเพื่อลดความเหลื่อม
ล้าอะไรบ้าง
Production of dentists in
Thailand
4,961
1,9741,064
1,313
430
Dentists in Thailand (By region)
in 2012
Bangkok Central Southern
Northern North-Eastern
600-700
dental
graduates
11,607
dentists
in 2012
37%
13%
50%
Dentists in Thailand (By sector)
in 2012
Ministry of Public Health
Other government sectors
Private
การพัฒนา
 เป็นกระบวนการเปลี่ยนแปลงที่มีมิติครอบคลุมการเปลี่ยนแปลงด้านต่างๆ ของสังคม
ได้แก่ ด้านเศรษฐกิจ การเมือง การศึกษา ศาสนา ครอบครัว เครือญาติ วิทยาศาสตร์
และเทคโนโลยี บรรทัดฐาน ค่านิยม กฎเกณฑ์ข้อบังคับของสังคม
 แนวทางการพัฒนากระแสหลักถูกใช้เป็นแนวทางการพัฒนาประเทศต่างๆ โดยมอง
สังคมเหมือนสิ่งมีชีวิตที่ประกอบด้วยส่วนต่างๆ ซึ่งทาหน้าที่อย่างเป็นระบบ
 ผลของการเปลี่ยนแปลงเป็นการพึ่งพิงระหว่างกันและของส่วนประกอบต่างๆ ใน
สังคม
เป้ าหมายของการพัฒนา
 การสร้างชุมชนให้สามารถพึ่งพาตนเองได้
 ควบคุมการใช้ทรัพยากร (ธรรมชาติ) และไม่ก่อให้เกิดผลต่อ
สิ่งแวดล้อม
 มีอานาจต่อรองทางเศรษฐกิจ สังคม และการเมืองกับชุมชนภายนอก
 การเพิ่มระดับความเป็นประชาธิปไตย ลดอานาจการควบคุมจาก
ส่วนกลาง และเพิ่มอานาจการปกครองตนเองให้แก่ท้องถิ่น
Decentralization
Decentralization is the process of
dispersing decision-making
governance closer to the people
and/or citizens. It includes the
dispersal of administration or
governance in sectors or areas like
engineering, management science
, political science, political
economy, sociology and
economics. Decentralization is also
possible in the dispersal of
Deconc
en-
tration
Delegation
Devoluti
on
Administrative decentralization
Deconcentra
tion
Devolution
Delegation
Deconcentration is the weakest form of decentralization and is used most frequently in
unitary states—redistributes decision making authority and financial and management
responsibilities among different levels of the national government. It can merely shift
responsibilities from central government officials in the capital city to those working in
regions, provinces or districts, or it can create strong field administration or local
administrative capacity under the supervision of central government ministries.
Delegation is a more extensive form of decentralization. Through delegation central governments
transfer responsibility for decision-making and administration of public functions to semi-autonomous
organizations not wholly controlled by the central government, but ultimately accountable to it.
Governments delegate responsibilities when they create public enterprises or corporations, housing
authorities, transportation authorities, special service districts, semi-autonomous school districts,
regional development corporations, or special project implementation units. Usually these organizations
have a great deal of discretion in decision-making. They may be exempted from constraints on regular
civil service personnel and may be able to charge users directly for services.
Devolution is an administrative type of decentralisation. When governments devolve functions, they
transfer authority for decision-making, finance, and management to quasi-autonomous units of local
government with corporate status. Devolution usually transfers responsibilities for services to local
governments that elect their own elected functionaries and councils, raise their own revenues, and have
independent authority to make investment decisions. In a devolved system, local governments have
clear and legally recognized geographical boundaries over which they exercise authority and within
which they perform public functions. Administrative decentralization always underlies most cases of
political decentralization.
Human securities
Freedom
Freedom from want Freedom from fear
จะต้องปฏิวัติภายใน สร้างฐานความคิด
ขึ้นใหม่ โดยพัฒนามนุษย์ให้เป็นอิสระ
อย่างแท้จริง คือข้างในมีความสุขอิสระ
สันโดษ สมถะเป็น ข้างนอกอยู่อย่าง
พึ่งพาอาศัย เกื้อกูลกันไปกับคนอื่นและ
ธรรมชาติ ปรับฐานระบบความสัมพันธ์
กับธรรมชาติให้ถูกต้อง
1 การพัฒนาที่ยั่งยืน

Weitere ähnliche Inhalte

Ähnlich wie 1 การพัฒนาที่ยั่งยืน

ภัยคุกคามความมั่นคงแห่งชาติ
ภัยคุกคามความมั่นคงแห่งชาติภัยคุกคามความมั่นคงแห่งชาติ
ภัยคุกคามความมั่นคงแห่งชาติTeeranan
 
บ้านเพชร พระราม 2 --เศรษฐกิจพอเพียงวิถีแห่งความสมดุลpart2
บ้านเพชร พระราม 2  --เศรษฐกิจพอเพียงวิถีแห่งความสมดุลpart2บ้านเพชร พระราม 2  --เศรษฐกิจพอเพียงวิถีแห่งความสมดุลpart2
บ้านเพชร พระราม 2 --เศรษฐกิจพอเพียงวิถีแห่งความสมดุลpart2freelance
 
Se(การคลัง 7 55)
Se(การคลัง 7 55)Se(การคลัง 7 55)
Se(การคลัง 7 55)Taraya Srivilas
 
โลกหลังโควิด-19: บริบทใหม่ในมุมมองไทยและต่างประเทศ
โลกหลังโควิด-19: บริบทใหม่ในมุมมองไทยและต่างประเทศโลกหลังโควิด-19: บริบทใหม่ในมุมมองไทยและต่างประเทศ
โลกหลังโควิด-19: บริบทใหม่ในมุมมองไทยและต่างประเทศKlangpanya
 
51298376 raaylaeiiydh-ngwichaakaar-2-20354-prablaasud2
51298376 raaylaeiiydh-ngwichaakaar-2-20354-prablaasud251298376 raaylaeiiydh-ngwichaakaar-2-20354-prablaasud2
51298376 raaylaeiiydh-ngwichaakaar-2-20354-prablaasud2Pisan Chueachatchai
 
World issues 160155
World issues 160155World issues 160155
World issues 160155Teeranan
 
World issues
World issuesWorld issues
World issuesTeeranan
 
9789740329817
97897403298179789740329817
9789740329817CUPress
 
ยุทธศาสตร์การพัฒนาของสิงคโปร์ในยุคบูรพาภิวัตน์ : บทเรียนต่อประเทศไทย
ยุทธศาสตร์การพัฒนาของสิงคโปร์ในยุคบูรพาภิวัตน์ : บทเรียนต่อประเทศไทยยุทธศาสตร์การพัฒนาของสิงคโปร์ในยุคบูรพาภิวัตน์ : บทเรียนต่อประเทศไทย
ยุทธศาสตร์การพัฒนาของสิงคโปร์ในยุคบูรพาภิวัตน์ : บทเรียนต่อประเทศไทยKlangpanya
 
ใบกิจกรรม เรื่อง มิติโลก 8 ด้าน
ใบกิจกรรม เรื่อง  มิติโลก 8 ด้านใบกิจกรรม เรื่อง  มิติโลก 8 ด้าน
ใบกิจกรรม เรื่อง มิติโลก 8 ด้านPrapatsorn Chaihuay
 
ใบกิจกรรม เรื่อง มิติโลก 8 ด้าน
ใบกิจกรรม เรื่อง  มิติโลก 8 ด้านใบกิจกรรม เรื่อง  มิติโลก 8 ด้าน
ใบกิจกรรม เรื่อง มิติโลก 8 ด้านPrapatsorn Chaihuay
 
บทที่ 2-แก้ใหม่ครั้งที่
บทที่ 2-แก้ใหม่ครั้งที่บทที่ 2-แก้ใหม่ครั้งที่
บทที่ 2-แก้ใหม่ครั้งที่T Ton Ton
 
บทบาทของกองทัพในทศวรรษหน้า
บทบาทของกองทัพในทศวรรษหน้าบทบาทของกองทัพในทศวรรษหน้า
บทบาทของกองทัพในทศวรรษหน้าTeeranan
 
วิชาสังคมวิทยา02
วิชาสังคมวิทยา02วิชาสังคมวิทยา02
วิชาสังคมวิทยา02Jaji Biwty
 
วิชาสังคมวิทยา 002
วิชาสังคมวิทยา 002วิชาสังคมวิทยา 002
วิชาสังคมวิทยา 002Jaji Biwty
 
การวิเคราะห์แนวโน้มและการเปลี่ยนแปลงด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไทยในอนาคต
การวิเคราะห์แนวโน้มและการเปลี่ยนแปลงด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไทยในอนาคตการวิเคราะห์แนวโน้มและการเปลี่ยนแปลงด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไทยในอนาคต
การวิเคราะห์แนวโน้มและการเปลี่ยนแปลงด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไทยในอนาคตTor Jt
 
ทุนทางสังคมกับการปฏิรูปประเทศไทย
ทุนทางสังคมกับการปฏิรูปประเทศไทยทุนทางสังคมกับการปฏิรูปประเทศไทย
ทุนทางสังคมกับการปฏิรูปประเทศไทยKlangpanya
 
9789740330479
97897403304799789740330479
9789740330479CUPress
 
9789740330479
97897403304799789740330479
9789740330479CUPress
 

Ähnlich wie 1 การพัฒนาที่ยั่งยืน (20)

ภัยคุกคามความมั่นคงแห่งชาติ
ภัยคุกคามความมั่นคงแห่งชาติภัยคุกคามความมั่นคงแห่งชาติ
ภัยคุกคามความมั่นคงแห่งชาติ
 
บ้านเพชร พระราม 2 --เศรษฐกิจพอเพียงวิถีแห่งความสมดุลpart2
บ้านเพชร พระราม 2  --เศรษฐกิจพอเพียงวิถีแห่งความสมดุลpart2บ้านเพชร พระราม 2  --เศรษฐกิจพอเพียงวิถีแห่งความสมดุลpart2
บ้านเพชร พระราม 2 --เศรษฐกิจพอเพียงวิถีแห่งความสมดุลpart2
 
Se(การคลัง 7 55)
Se(การคลัง 7 55)Se(การคลัง 7 55)
Se(การคลัง 7 55)
 
โลกหลังโควิด-19: บริบทใหม่ในมุมมองไทยและต่างประเทศ
โลกหลังโควิด-19: บริบทใหม่ในมุมมองไทยและต่างประเทศโลกหลังโควิด-19: บริบทใหม่ในมุมมองไทยและต่างประเทศ
โลกหลังโควิด-19: บริบทใหม่ในมุมมองไทยและต่างประเทศ
 
51298376 raaylaeiiydh-ngwichaakaar-2-20354-prablaasud2
51298376 raaylaeiiydh-ngwichaakaar-2-20354-prablaasud251298376 raaylaeiiydh-ngwichaakaar-2-20354-prablaasud2
51298376 raaylaeiiydh-ngwichaakaar-2-20354-prablaasud2
 
World issues 160155
World issues 160155World issues 160155
World issues 160155
 
World issues
World issuesWorld issues
World issues
 
9789740329817
97897403298179789740329817
9789740329817
 
ยุทธศาสตร์การพัฒนาของสิงคโปร์ในยุคบูรพาภิวัตน์ : บทเรียนต่อประเทศไทย
ยุทธศาสตร์การพัฒนาของสิงคโปร์ในยุคบูรพาภิวัตน์ : บทเรียนต่อประเทศไทยยุทธศาสตร์การพัฒนาของสิงคโปร์ในยุคบูรพาภิวัตน์ : บทเรียนต่อประเทศไทย
ยุทธศาสตร์การพัฒนาของสิงคโปร์ในยุคบูรพาภิวัตน์ : บทเรียนต่อประเทศไทย
 
ใบกิจกรรม เรื่อง มิติโลก 8 ด้าน
ใบกิจกรรม เรื่อง  มิติโลก 8 ด้านใบกิจกรรม เรื่อง  มิติโลก 8 ด้าน
ใบกิจกรรม เรื่อง มิติโลก 8 ด้าน
 
ใบกิจกรรม เรื่อง มิติโลก 8 ด้าน
ใบกิจกรรม เรื่อง  มิติโลก 8 ด้านใบกิจกรรม เรื่อง  มิติโลก 8 ด้าน
ใบกิจกรรม เรื่อง มิติโลก 8 ด้าน
 
บทที่ 2-แก้ใหม่ครั้งที่
บทที่ 2-แก้ใหม่ครั้งที่บทที่ 2-แก้ใหม่ครั้งที่
บทที่ 2-แก้ใหม่ครั้งที่
 
บทบาทของกองทัพในทศวรรษหน้า
บทบาทของกองทัพในทศวรรษหน้าบทบาทของกองทัพในทศวรรษหน้า
บทบาทของกองทัพในทศวรรษหน้า
 
ปรัชญาและปรัชญาการศึกษา
ปรัชญาและปรัชญาการศึกษาปรัชญาและปรัชญาการศึกษา
ปรัชญาและปรัชญาการศึกษา
 
วิชาสังคมวิทยา02
วิชาสังคมวิทยา02วิชาสังคมวิทยา02
วิชาสังคมวิทยา02
 
วิชาสังคมวิทยา 002
วิชาสังคมวิทยา 002วิชาสังคมวิทยา 002
วิชาสังคมวิทยา 002
 
การวิเคราะห์แนวโน้มและการเปลี่ยนแปลงด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไทยในอนาคต
การวิเคราะห์แนวโน้มและการเปลี่ยนแปลงด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไทยในอนาคตการวิเคราะห์แนวโน้มและการเปลี่ยนแปลงด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไทยในอนาคต
การวิเคราะห์แนวโน้มและการเปลี่ยนแปลงด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไทยในอนาคต
 
ทุนทางสังคมกับการปฏิรูปประเทศไทย
ทุนทางสังคมกับการปฏิรูปประเทศไทยทุนทางสังคมกับการปฏิรูปประเทศไทย
ทุนทางสังคมกับการปฏิรูปประเทศไทย
 
9789740330479
97897403304799789740330479
9789740330479
 
9789740330479
97897403304799789740330479
9789740330479
 

Mehr von Watcharin Chongkonsatit

Mehr von Watcharin Chongkonsatit (20)

Sale person's communication
Sale person's communicationSale person's communication
Sale person's communication
 
Enneagram
Enneagram Enneagram
Enneagram
 
Organization Theory
Organization TheoryOrganization Theory
Organization Theory
 
A Manager's Challenge (11)
A Manager's Challenge (11)A Manager's Challenge (11)
A Manager's Challenge (11)
 
A Manager's Challenge (7)
A Manager's Challenge (7)A Manager's Challenge (7)
A Manager's Challenge (7)
 
A Manager's Challenge (16)
A Manager's Challenge (16)A Manager's Challenge (16)
A Manager's Challenge (16)
 
A Manager's Challenge (14)
A Manager's Challenge (14)A Manager's Challenge (14)
A Manager's Challenge (14)
 
A Manager's Challenge (18)
A Manager's Challenge (18)A Manager's Challenge (18)
A Manager's Challenge (18)
 
A Manager's Challenge (6)
A Manager's Challenge (6)A Manager's Challenge (6)
A Manager's Challenge (6)
 
A Manager's Challenge (17)
A Manager's Challenge (17)A Manager's Challenge (17)
A Manager's Challenge (17)
 
A Manager's Challenge (2)
A Manager's Challenge (2)A Manager's Challenge (2)
A Manager's Challenge (2)
 
A Manager's Challenge (8)
A Manager's Challenge (8)A Manager's Challenge (8)
A Manager's Challenge (8)
 
A Manager's Challenge (10)
A Manager's Challenge (10)A Manager's Challenge (10)
A Manager's Challenge (10)
 
A Manager's Challenge (9)
A Manager's Challenge (9)A Manager's Challenge (9)
A Manager's Challenge (9)
 
A Manager's Challenge (14)
A Manager's Challenge (14)A Manager's Challenge (14)
A Manager's Challenge (14)
 
A Manager's Challenge (3)
A Manager's Challenge (3)A Manager's Challenge (3)
A Manager's Challenge (3)
 
A Manager's Challenge (15)
A Manager's Challenge (15)A Manager's Challenge (15)
A Manager's Challenge (15)
 
A Manager's Challenge (12)
A Manager's Challenge (12)A Manager's Challenge (12)
A Manager's Challenge (12)
 
A Manager's Challenge (1)
A Manager's Challenge (1)A Manager's Challenge (1)
A Manager's Challenge (1)
 
A Manager's Challenge (4)
A Manager's Challenge (4)A Manager's Challenge (4)
A Manager's Challenge (4)
 

1 การพัฒนาที่ยั่งยืน

Hinweis der Redaktion

  1. Dentist, in Thai oral health service system, is one of the most important health profession that is expected to involve in the general health promotion, and perform the activities for create and maintenance good oral hygiene especially dental caries and periodontitis. There are 9 accredited dental schools in Thailand which are able to produce 600 to 700 dental graduates a year. In 2012, there are 11,607 active dentists in Thailand. //Almost half of the dentists in Thailand are in Bangkok region. //This chart demonstrated that 50% of dentists are in the private sector.