SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 30
Downloaden Sie, um offline zu lesen
FINAL PROJECT วิชา 802214
การศึกษาและสํารวจเพื่อการออกแบบ
ปรับปรุงภูมิลักษณ์
โจทย์
“สนามเด็กเล่นธรรมชาติ”
631710121 จิณณ์ศุธร เสวะกะ
ที่มาของโครงการ
เนื่องจากพื้นที่ในมหาวิทยาลัยเชียงใหม่มีพื้นที่สีเขียวจำนวนมาก
นอกจากนั้นยังเป็นพื้นที่รวมตัวของนักศึกษา คนเชียงใหม่ เเละ นัก
ท่องเที่ยว ผู้คนส่วนใหญ่นิยมเข้ามาออกกำลังกายเเละชมวิวเเต่ยังมี
พื้นที่รองรับเด็กอยู่น้อยจึงมึงเเนวคิดสร้างสนามเด็กเล่นธรรมชาติ
เพื่อให้เด็กได้เล่นเครื่องเล่นเเละศึกษาธรรมชาติ
631710121 จิณณ์ศุธร เสวะกะ
ความหมายของสนามเด็กเล่น
CPSC (U.S. CONSUMER PRODUCT SAFETY COMMISSION, 2003) ได้ให้
ความหมายของสนามเด็กเล่นว่าเป็นสถานที่ที่เปิดโอกาสให้เด็กได้เล่น ได้พัฒนา
กระบวนการ การทดลอง และทักษะของตนเอง และสถานที่นั้นต้องท้ายทายต่อ
ความสามารถของเด็ก
บุญเยี่ยม จิตรตอน ( 2524) กล่าวว่า สนามเด็กเล่น คือ พื้นที่ที่จัดให้เด็กได้เล่น
อย่างเต็มที่ เพื่อช่วยให้เด็กมีสุขภาพดี
631710121 จิณณ์ศุธร เสวะกะ
ความหมายของธรรมชาติ
ธรรมชาติ หมายถึง สิ่งที่เกิดมีและเป็นอยู่ตามธรรมดา
ของสิ่งนั้น ๆปัจจุบัน คำว่า "ธรรมชาติ" มักแสดงถึง
ธรณีวิทยา ต้นไม้ และสัตว์ป่า
631710121 จิณณ์ศุธร เสวะกะ
ข้อมูลโครงการ
ชื่อโครงการ : สนามเด็กเล่นธรรมชาติ
วัตถุประสงค์ :
1. เพื่อให้เด็กได้สนุกเพลิดเพลินกับเครื่องเล่นในพื้นที่เเละอยู่ภายใต้
การดูเเลของผู้ปกครอง
2.เพื่อให้เด็กได้เรียนรู้เรื่องพืชพรรณสมุนไพร
ลักษณะ : พื้นที่นันทนาการ พื้นที่เรียนรู้
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับจากโครงการ :
1. ส่งเสริมการออกกำลังกายของเด็ก
2.ส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็ก
3.เพิ่มประโยชน์ของพื้นที่ให้มีการใช้งานที่หลากหลายมากขึ้น
631710121 จิณณ์ศุธร เสวะกะ
พื้นที่ที่ให้เด็ก
ได้เรียนรู้ธรรมชาติ
อย่างสนุกเพลิดเพลิน
ปลอดภัย
ภายใต้การดูแลของผู้
ปกครอง
CONCEPT SITE AREA
150-200 SQUARE METERS
USER
3-15 YEAR
631710121 จิณณ์ศุธร เสวะกะ
SITE SELECTION
1. เข้าถึงได้ง่าย เดืนทางสะดวก
2. เป็นพื้นที่สีเขียวธรรมชาติ
3. เป็นพื้นที่โล่งผู้ปกครองคอยสอดส่องได้
4. เป็นพื้นที่ปลอดภัยสำหรับเด็ก
631710121 จิณณ์ศุธร เสวะกะ
SITE SELECTION SITE A
ลานว่างข้างโรงอาหารคณะมนุษยศาสตร์
631710121 จิณณ์ศุธร เสวะกะ
SWOT
STRENGTHS
-มีพื้นที่สีเขียว
-ใกล้อ่างเเก้วเเละอ่างชมพู
-ใกล้ร้านกาเเฟ
-การเข้าถึงง่าย
-อยู่ใกล้โรงอาหาร
WEAKNESS
-เป็นพื้นที่ที่มีการทิ้งขยะในอดีต
-มีเสียงของรถรบกวน
-มีควันฝุ่นละอองจากรถ
OPPORTUNITIES THREATS
-เป็นพื้นที่สาธารณะ
สนามเด็กเล่นธรรมชาติ
เรียนรู้ธรรมชาติภายใต้
การดูแลของผู้ปกครอง
-อาจมีผู้คน
เข้ามาจอดรถ
-ไม่สามารถคาดเดา
การแพร่เชื้อของ
โรคระบาดที่จะเกิดขึ้น
ในอนาคต
SITE A
631710121 จิณณ์ศุธร เสวะกะ
VIEW SITE A
631710121 จิณณ์ศุธร เสวะกะ
ข้อมูลของ SITE A
ความลาดชัน : 1138 – 1137 ฟุต ความชัน 0%
ความสามารถในการระบายน้ำ : อยู่ในระดับปานกลาง เพราะพื้นเป็นพื้นดิน
คุณภาพดิน : คุณภาพดินอยู่ในระดับเเย่ปานกลางเพราะผู้คนชอบมาทิ้งขยะบริเวนี้
คุณภาพน้ำ : ไม่มีน้ำในบริเวณ
คุณภาพอากาศ : อยู่ใกล้ถนนแต่มีต้นไม้คอยบังมลพิษ คุณภาพปานกลาง
คุณภาพเสียง : อยู่ใกล้ถนน คุณภาพปานกลาง
พืชพรรณในพื้นที่ : ต้นจามจุรี ต้นชงโค ต้นหางนกยูง
สัตว์ในพื้นที่ : ไม่มี
คุณภาพสิ่งแวดล้อม : ค่อนข้างดีเพราะมีต้นไม้ใหญ่อยู่บริเวญSITE
การเข้าถึง : เข้าถึงง่ายเพราะอยู่ใกล้ถนน
สาธารณูปโภค : ไม่มีสาธารณูปโภค
บทบาทหน้าที่ของพื้นที่เดิม :พื้นที่จอดรถของคนที่เจะเข้ามาใช้อ่างแก้ว
สภาพสังคมข้างเคียง :อยู่ระหว่างอ่างแก้วและอ่างเก็บน้ำตาดชมพ
มีร้านกาแฟอยู่บริเวณใกล้เคียงมีคนเดินผ่านบ่อย
ความปลอดภัย : มีคนผ่านตลอดเวลาจึงปลอดภัย อาจจำเป็นต้องระวังรถที่ขับผ่าน
กิจกรรมอื่นๆรอบพื้นที่ : เดินและมีคนวิ่งออกกำลังกาย
ค่าใช้จ่ายที่อาจเกิดในการปรับปรุงพื้นที่ : ค่าปรับปรุงคุณภาพดิน
ความเป็นไปได้ของการเข้ามาใช้งาน : สะดวกเพราะอยู่ใกล้อ่างแก้วและอ่างเก็บน้ำตาดชมพู
631710121 จิณณ์ศุธร เสวะกะ
SITE SELECTION SITE B
ลานตรงข้ามตึกภาควิชาคอมพิวเตอร์
631710121 จิณณ์ศุธร เสวะกะ
SWOT
STRENGTHS
-มีพื้นที่สีเขียว
-ใกล้อ่างเเก้ว
เเละลานควายยิ้ม
-ใกล้ที่จอดรถ
-การเข้าถึงง่าย
-มีรางน้ำจึงระบายน้ำได้ดี
-อยู่ใกล้ศาลาธรรม
WEAKNESS
-อยู่ใกล้รางน้ำจึงมียุงจำนวนมาก
-มีเสียงของรถรบกวน
-มีควันฝุ่นละอองจากรถ
-ในตอนกลางคืนไม่มีเเสงไฟ
OPPORTUNITIES THREATS
-เป็นพื้นที่สาธารณะ
สนามเด็กเล่นธรรมชาติ
เรียนรู้ธรรมชาติภายใต้
การดูแลของผู้ปกครอง
-ไม่สามารถคาดเดา
การแพร่เชื้อของ
โรคระบาดที่จะเกิดขึ้น
ในอนาคต
SITE B
631710121 จิณณ์ศุธร เสวะกะ
VIEW SITE B
631710121 จิณณ์ศุธร เสวะกะ
ข้อมูลของ SITE B
ความลาดชัน : 1099 – 1096 ฟุต ความชัน 0%
ความสามารถในการระบายน้ำ : อยู่ในระดับดี เพราะพื้นเป็นพื้นดินและอยู่ใกล้รางระบายน้ำ
คุณภาพดิน : คุณภาพดินอยู่ในระดับดีเพราะมีต้นไม้จำนวนมากและไม่มีคนทิ้งขยะ
คุณภาพน้ำ : น้ำไหลและใส มีใบไม้อยู่ประปราย
คุณภาพอากาศ : คุณภาพดี อยู่ใกล้ถนนแต่มีต้นไม้ในบริเวณมาก
คุณภาพเสียง : อยู่ใกล้ถนน คุณภาพปานกลาง
พืชพรรณในพื้นที่ : ต้นทองกวาว ต้นสัก ต้นจามจุรี ต้นเสี้ยวป่า
สัตว์ในพื้นที่ : ไม่มี อาจจะมีผู้คนเอาสุนัขมาเดินเล่นประปราย
คุณภาพสิ่งแวดล้อม : ค่อนข้างดีเพราะมีต้นไม้หลากหลายอยู่บริเวญSITE แต่มียุงอยู่เป็น
จำนวนมากเพราะใกล้รางน้ํา
การเข้าถึง : เข้าถึงง่ายเพราะอยู่ใกล้ถนนและที่จอดรถของลานควายยิ้ม
สาธารณูปโภค : ไม่มีสาธารณูปโภค
บทบาทหน้าที่ของพื้นที่เดิม : พื้นที่ที่อยู่บริเวณหลังศาลาธรรมทำหน้าที่เป็นทางเชื่อมระหว่างที่
จอดรถแล้วศาลาธรรม
สภาพสังคมข้างเคียง :อยู่ใกล้ที่จอดรถลานควายยิ้มมีคนเดินข้ามระหว่างศาลาธรรมและที่จอด
รถประปราย
ความปลอดภัย : อยู่ใกล้ถนนและที่จอดรถจึงปลอดภัย ต้องทำราวกันตกป้องกันเด็กตก
กิจกรรมอื่นๆรอบพื้นที่ : เดิน และ มีคนน้ำสุนัขมาเดินเล่นประปราย
ค่าใช้จ่ายที่อาจเกิดในการปรับปรุงพื้นที่ : ค่าใช้จ่ายเพื่อลดจำนวนของยุง และ ทำที่ป้องกันหม้อ
ไฟฟ้าแรงสูง
ความเป็นไปได้ของการเข้ามาใช้งาน : สะดวกเพราะอยู่ใกล้ที่จอดรถและลานควายยิ้ม 631710121 จิณณ์ศุธร เสวะกะ
SITE SELECTION SITE C
ลานใต้ต้นไม้ข้างภาควิชาฟิสิกส์เเละวัสดุศาสตร์
631710121 จิณณ์ศุธร เสวะกะ
SWOT
STRENGTHS
-มีพื้นที่สีเขียว
-ใกล้ตึกเรียน
-ใกล้สวนปาล์ม
-การเข้าถึงง่าย
-อยู่ใกล้ที่จอดรถ
WEAKNESS
-ในพื้นที่มีสายไฟฟ้า
ระโยงระยาง
-มีเสียงของรถรบกวน
-มีควันฝุ่นละอองจากรถ
-ในตอนกลางคืนไม่มีเเสงไฟ
-อาจมีกิ่งไม้หล่นใส่
เพราะอยู่ใต้ต้นไม้ใหญ่
OPPORTUNITIES THREATS
-เป็นพื้นที่สาธารณะ
สนามเด็กเล่นธรรมชาติ
เรียนรู้ธรรมชาติภายใต้
การดูแลของผู้ปกครอง
-ไม่สามารถคาดเดา
การแพร่เชื้อของ
โรคระบาดที่จะเกิดขึ้น
ในอนาคต
SITE C
631710121 จิณณ์ศุธร เสวะกะ
VIEW SITE C
631710121 จิณณ์ศุธร เสวะกะ
ข้อมูลของ SITE C
ความสามารถในการระบายน้ำ : อยู่ในระดับดี เพราะอยู่ใกล้สวนปาล์มเป็นพื้นที่เก็บน้ำและเป็นที่ต่ำ
คุณภาพดิน : คุณภาพดินอยู่ในระดับดีเพราะมีต้นไม้จำนวนมากมีใบไม้ที่ร่วงจากต้นไม้จำนวนมากและไม่มีคนทิ้งขยะ
คุณภาพน้ำ : ไม่มีน้ำในบริเวณ
คุณภาพอากาศ : คุณภาพดี อยู่ใกล้ถนนแต่มีต้นไม้ในบริเวณมาก
คุณภาพเสียง : อยู่ใกล้ถนน คุณภาพปานกลาง
พืชพรรณในพื้นที่ : ต้นหางนกยูง ต้นสนประดิพัทธ์ เเละ ต้นไม้ใหญ่หมายตา
สัตว์ในพื้นที่ : ไม่มี สัตว์ในพื้นที่
คุณภาพสิ่งแวดล้อม : ค่อนข้างดีเพราะมีต้นไม้หลากหลายอยู่บริเวญSITE มีสายไฟระโยงระยางในบริเวณข้างถนน
การเข้าถึง : เข้าถึงง่ายเพราะอยู่ใกล้ถนน หรือ สามารถเดินเข้าSITEจากฝั่ งคณะวิทย์
สาธารณูปโภค : ไม่มีสาธารณูปโภค
บทบาทหน้าที่ของพื้นที่เดิม : พื้นที่ที่อยู่บริเวณตึกวิทย์ภาคฟิสิกส์ทำหน้าที่เป็นทางเชื่อมระหว่างภาควิชาฟิสิกส์และสวนปาล์ม
สภาพสังคมข้างเคียง :อยู่ใกล้ตึกเรียนมีนักศึกษาเดินผ่านอยู่ประปราย และ มีผู้คนเดินผ่านเพื่อออกกำลังกายต่อที่สวนปาล์ม
ความปลอดภัย : อยู่ใกล้ถนน และ ตึกเรียน จึงปลอดภัย
กิจกรรมอื่นๆรอบพื้นที่ : เดินผ่าน มีคนวิ่งผ่าน
ค่าใช้จ่ายที่อาจเกิดในการปรับปรุงพื้นที่ : ค่าใช้จ่ายปรับปรุงเพราะมีสายไฟระโยงระยางในพื้นที่
ความเป็นไปได้ของการเข้ามาใช้งาน : สะดวกเพราะอยู่ใกล้ถนนและตึกเรียนผ่านทางเดิน
631710121 จิณณ์ศุธร เสวะกะ
มีเเสงสว่างในตอนเย็น
เป็นพื้นที่เปิดโล่งมองเห็นง่าย
ไม่มีสายไฟหรือระบบไฟฟ้าในพื้นที่
ไม่มีทางลาดชัน
POINT
ไม่อยู่ใกล้ถนนจนเกินไป
1. Safety
SITE CRITERIA
SITE A SITE B SITE C
25
5
5
5
5
3
5
5
5
1
4
3
2
3
5
2
3
5 2 4 3
631710121 จิณณ์ศุธร เสวะกะ
มีวิวที่ดี
พืชพรรณในพื้นที่
ความสามารถในการระบายน้ำ
POINT
คุณภาพดิน
2. ปัจจัยด้านกายภาพ
SITE A SITE B SITE C
25
5
5
5
5
3
3
4
3
5
5
5
5
3
4
5
4
5 3 5 5
คุณภาพอากาศ
631710121 จิณณ์ศุธร เสวะกะ
รถฉุกเฉินสามารถเข้า-ออก
สะดวกจาก ถนนสายหลัก
ระบบสาธารณูปโภค ไฟฟ้า ประปา
เข้าถึงได้
POINT
มีทางเท้าเข้าถึงได้จากถนน
3. Accessibility
SITE A SITE B SITE C
15
5
5
8
5
4
4
4
3
3
3
4
4
4
5 4 5 5
ดับเพลิงสามารถเข้าถึงได้ง่าย
จากถนน สายหลัก
4. Utilities
มีทางเท้าจากพื้นที่ ในรัศมี 3 กม. 3 3 3 3
631710121 จิณณ์ศุธร เสวะกะ
ค่าใช้จ่ายในการถมที่
ความเหมาะสมขณะก่อสร้าง
POINT
ค่าใช้จ่ายที่อาจเกิดในการ
ปรับปรุงพื้นที่
5. Society and economy
SITE A SITE B SITE C
25
5
5
5
3
4
3
5
5
5
5
4
3
5 2 4 3
ผลกระทบกับพื้นที่รอบข้าง
ค่าใช้จ่ายในการดูแลและจัดการ
ต้นไม้ 5 4 3 2
รวมคะแนน
Percentage
98 71 78 77
100 72 80 79
631710121 จิณณ์ศุธร เสวะกะ
จากการวิเคราะห์พื้นที่ตั้งโครงการ พื้นที่ที่เหมาะสมกับการจัดตั้ง
โครงการมากที่สุดคือ SITE B ลานตรงข้ามตึกภาควิชาคอมพิวเตอร์
เนื่องจากลักษณะทางกายภาพเหมาะสม โดยมีพื้นที่สีเขียว บรรยากาศดี
ใกล้พื้นที่ สาธารณะ ลานควายยิ้ม เเละมีที่จอดรถ คมนาคมสะดวกและ
ลักษณะสังคมเป็นบริเวณที่มีกิจกรรม ใกล้จุดรองรับนักท่องเที่ยว
631710121 จิณณ์ศุธร เสวะกะ
พื้นที่ : 195 ตร.ม.
ทิศเหนือ : ศาลาธรรม
ทิศใต้ : ตึกภาควิชาวิทยาการ
คอมพิวเตอร์
ทิศตะวันออก : พื้นที่สีเขียว
ทิศตะวันตก : พื้นที่สีเขียวติด
ลานควายยิ้ม
สีผังเมืองสีเขียวขี้ม้า
เเปลว่า เป็นสถานศึกษา
631710121 จิณณ์ศุธร เสวะกะ
SITE B
631710121 จิณณ์ศุธร เสวะกะ
SITE ANALYSIS
631710121 จิณณ์ศุธร เสวะกะ
ZONING DIAGRAM
พื้นที่ปลูกพืชสมุนไพร
จุดนั่งรอของ
ผู้ปกครอง
เครื่องเล่น
บ่อทราย
พื้นที่ปลูกพืชสมุนไพร : เพื่อให้เด็กได้
เรียนรู้พืชพรรณสมุนไพร
631710121 จิณณ์ศุธร เสวะกะ
CIRCULATION
ทางเดินเท้า
631710121 จิณณ์ศุธร เสวะกะ
ข้อดี สิ่งที่ควรปรับปรุง
ข้อดี
-มีพื้นที่สีเขียวมีต้นไม้จำนวนมาก
-ใกล้อ่างเเก้ว
เเละลานควายยิ้ม
-มีที่จอดรถ
-มีรางน้ำจึงระบายน้ำได้ดี
-อยู่ใกล้ศาลาธรรม
-เข้าถึงง่าย
สิ่งที่ควรปรับปรุง
-ควรมีราวกันตกบริเวณรางน้ำเพื่อ
ป้องกันเด็กตก
-ในพื้นที่มียุงอยู่ค่อนข้างมาก
-ในตอนกลางคืนมีเเสงน้อย
631710121 จิณณ์ศุธร เสวะกะ

Weitere ähnliche Inhalte

Mehr von WarongWonglangka

การดูแลรักษาต้นไม้ใหญ่ ในงานภูมิทัศน์เมือง 1_บทนำ.pptx
การดูแลรักษาต้นไม้ใหญ่ ในงานภูมิทัศน์เมือง 1_บทนำ.pptxการดูแลรักษาต้นไม้ใหญ่ ในงานภูมิทัศน์เมือง 1_บทนำ.pptx
การดูแลรักษาต้นไม้ใหญ่ ในงานภูมิทัศน์เมือง 1_บทนำ.pptx
WarongWonglangka
 

Mehr von WarongWonglangka (20)

Landscape TheoryJA+JZ.pdf
Landscape TheoryJA+JZ.pdfLandscape TheoryJA+JZ.pdf
Landscape TheoryJA+JZ.pdf
 
Group1_final review _ 171020.pptx
Group1_final review _ 171020.pptxGroup1_final review _ 171020.pptx
Group1_final review _ 171020.pptx
 
สนามหลวง History2.pptx
สนามหลวง History2.pptxสนามหลวง History2.pptx
สนามหลวง History2.pptx
 
Inthanond-weir-fish.pdf
Inthanond-weir-fish.pdfInthanond-weir-fish.pdf
Inthanond-weir-fish.pdf
 
Survey Workshop Playground
Survey Workshop PlaygroundSurvey Workshop Playground
Survey Workshop Playground
 
survey workshop
survey workshopsurvey workshop
survey workshop
 
NATURAL PLAYGROUND
NATURAL PLAYGROUNDNATURAL PLAYGROUND
NATURAL PLAYGROUND
 
Surveying Landscape Invention
Surveying Landscape InventionSurveying Landscape Invention
Surveying Landscape Invention
 
final survey.pdf
 final survey.pdf final survey.pdf
final survey.pdf
 
Landscape Survey study
Landscape Survey studyLandscape Survey study
Landscape Survey study
 
landscape survey
landscape surveylandscape survey
landscape survey
 
landscape study
landscape studylandscape study
landscape study
 
Survey Project CMU 1
Survey Project CMU 1Survey Project CMU 1
Survey Project CMU 1
 
Urban Forest Master Plan.pdf
Urban Forest Master Plan.pdfUrban Forest Master Plan.pdf
Urban Forest Master Plan.pdf
 
การวัดระยะทาง.pdf
การวัดระยะทาง.pdfการวัดระยะทาง.pdf
การวัดระยะทาง.pdf
 
การดูแลรักษาต้นไม้ใหญ่ ในงานภูมิทัศน์เมือง 1_บทนำ.pptx
การดูแลรักษาต้นไม้ใหญ่ ในงานภูมิทัศน์เมือง 1_บทนำ.pptxการดูแลรักษาต้นไม้ใหญ่ ในงานภูมิทัศน์เมือง 1_บทนำ.pptx
การดูแลรักษาต้นไม้ใหญ่ ในงานภูมิทัศน์เมือง 1_บทนำ.pptx
 
CM moat Cul Lan .pdf
CM moat Cul Lan .pdfCM moat Cul Lan .pdf
CM moat Cul Lan .pdf
 
Lecture 1_landscape archi theory.pdf
Lecture 1_landscape archi theory.pdfLecture 1_landscape archi theory.pdf
Lecture 1_landscape archi theory.pdf
 
JIngan1.pptx
JIngan1.pptxJIngan1.pptx
JIngan1.pptx
 
sublime_guide.pdf
sublime_guide.pdfsublime_guide.pdf
sublime_guide.pdf
 

Landscape Surveying Practice