SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 32
Downloaden Sie, um offline zu lesen
“สนามเด็กเล่นธรรมชาติ”
พื้นที่ที่ให้เด็ก ได้เรียนรู้ธรรมชาติ อย่างสนุกเพลิดเพลิน ปลอดภัย ภายใต้การดูแลของผู้ปกครอง
นายเบญจพล เยี่ยงอย่าง รหัสนักศึกษา 631710127
สนามเด็กเล่นธรรมชาติ
สนามเด็กเล่นธรรมชาติ คือ พื้นที่ทางธรรมชาติที่สามารถรองรับกิจกรรมการเล่นสนุกของเด็กได้ อีก
ทั้งยังสามารรถเป็นพื้นที่ที่สามารถเกิดการเรียนรู้และช่วยเสริมสร้างจินตนาการของเด็กๆ ได้อีกด้วย
โดยกิจกรรมที่เกิดขึ้นและสิ่งแวดล้อมที่มีอยู่ในพื้นที่คือสิ่งที่มีความเกี่ยวข้องกับธรรมชาติ
เล่นสนุก
ธรรมชาติ เรียนรู้
นายเบญจพล เยี่ยงอย่าง รหัสนักศึกษา 631710127
เกณฑ์พื้นที่ในอุดมคติ
- เป็นพื้นที่สาธารณะที่คนทั่วไปสามารถเข้าถึงได้ง่าย
- เป็นพื้นที่ทางธรรมชาติที่มีสิ่งแสดล้อมที่สมบูรณ์,สวยงามและน่าสนใจ
- สามารถทาให้เด็กเล่นสนุก เรียนรู้ และเสริมสร้างจินตนาการได้
- เสียงรบกวนที่เกิดขึ้นภายในพื้นที่จะต้องไม่สร้างความเดือดร้อนให้พื้นที่รอบข้าง
นายเบญจพล เยี่ยงอย่าง รหัสนักศึกษา 631710127
พื้นที่ที่มีความเป็นไปได้ในการจัดทาโครงการ
พื้นที่ 01 พื้นที่ใต้ต้นจามจุรีบริเวณทางสามแยกอ่างแก้ว พื้นที่ 02 พื้นที่ใต้ต้นจามจุรีบริเวณด้านทิศใต้ของลานสังคีต พื้นที่ 03 พื้นที่ใต้ต้นจามจุรีด้านหลังคณะวิศวกรรมศาสตร์
พื้นที่ทั้ง 3 นาเสนอผ่านพื้นที่ใต้ต้นจามจุรีขนาดใหญ่จากสถานที่ต่างๆ
ภายในมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ที่มีบริบทของพื้นที่แตกต่างกัน สภาพแวดล้อม
แตกต่างกัน มีการใช้งานพื้นที่ที่แตกต่างกัน แต่ก็มีความเป็นไปได้ในการสร้าง
สนามเด็กเล่นธรรมชาติได้ทั้ง 3 พื้นที่
ต้นจามจุรีเป็นไม้ยืนต้นขนาดใหญ่ มีเรือนยอดที่แผ่
เป็นพุ่มกว้างคล้ายกับร่มขนาดใหญ่ ให้ร่มเงากับพื้นที่
บริเวณโคนต้นตลอดทั้งวัน เวลาที่เด็กได้อยู่ใต้ต้นจามจุรี
ความสวยงามของเรือนยอดและขนาดที่ใหญ่โต สามารถ
เป็นปัจจัยช่วยให้เด็กมีจินตนาการต่างมากขึ้นได้
นายเบญจพล เยี่ยงอย่าง รหัสนักศึกษา 631710127
พื้นที่ 01 พื้นที่ใต้ต้นจามจุรีบริเวณทางสามแยกอ่างแก้ว
ที่ตั้งและมุมมองของพื้นที่
นายเบญจพล เยี่ยงอย่าง รหัสนักศึกษา 631710127
พื้นที่ 01 พื้นที่ใต้ต้นจามจุรีบริเวณทางสามแยกอ่างแก้ว
ความลาดชันของพื้นที่ ความสามารถในการระบายน้า
พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นพื้นที่ที่มีความชันค่อนข้างมากและหลายระดับ ความ
ลาดชันนี้จะเป็นหนึ่งในปัจจัยที่ช่วยให้เด็กที่เข้ามาใช้สนามเด็กเล่นนี้ได้สนุกมาก
ขึ้นกว่าพื้นที่ที่เป็นพื้นที่ราบธรรมดา ช่วยใด้เด็กได้เกิดจินตนาการราวกับว่า
ได้เล่นในสนามเด็กเล่นที่มีพื้นที่เป็นภูเขาเล็กๆที่สามารถปีนป่ายได้
ด้วยตัวพื้นที่เองเป็นพื้นที่ที่มีความลาดชันค่อนข้างมาก และพื้นทั้งหมด
เป็นพื้นดิน ทาให้ความสามารถในการระบายน้าของพื้นที่ค่อนข้างดี อีกทั้ง
บริเวณด้านข้างของพื้นที่ยังมีคลองน้าขนาดเล็กที่สามารถเป็นที่รับน้า
ส่วนเกินของพื้นที่ได้อีกด้วย แต่ก็มีบ่วงส่วนของพื้นที่ที่เป็นพื้นที่หลุมบ่อทาให้
มีน้าขังบ้างบางส่วน
นายเบญจพล เยี่ยงอย่าง รหัสนักศึกษา 631710127
พื้นที่ 01 พื้นที่ใต้ต้นจามจุรีบริเวณทางสามแยกอ่างแก้ว
คุณภาพดิน
ดินในพื้นที่เป็นดินที่อยู่บริเวณใต้ต้นจามจุรี ทาใด้ดินมีธาตุอาหารค่อนข้างสูงจากใบจามจุรีที่ร่วงลงมา
จากต้น อีกทั้งการระบายน้าภายในพื้นที่ค่อนข้างดีจึงทาให้ดินส่วนใหญ่ในพื้นที่ไม่เกิการซับน้ามากเกินไป
น้าในคลองด้านข้างเป็นน้าส่วนเกิดที่ระบายมาจากอ่างเก็บน้าห้วยแก้ว ทาให้น้าในบริเวณนั้นไหล
ตลอดเวลา ไม่เกิดการเน่าเสีย
คุณภาพน้า
คุณภาพเสียง
คุณภาพอากาศ
ตัวพื้นที่บริเวณนั้นเป็นพื้นที่เปิดโล่ง มีลมพัดผ่านพื้นที่ค่อนข้างดี ไอน้าจากคลองน้าไหลช่วยให้
อากาศในพื้นที่เย็นสะบายขึ้นเล็กน้อย
เสียงรบกวนที่เข้ามายังพื้นที่เป็นเสียงที่เกิดจากการใช้ถนนบริด้านข้าง อีกทั้งยังมีเสียงจากผู้คนที่มา
พักผ่อนที่อ่างเก็บน้าห้วยแก้ว และเสียงของสุนัขจากลานสังคีตอีกด้วย
นายเบญจพล เยี่ยงอย่าง รหัสนักศึกษา 631710127
พืชพรรณในพื้นที่ สัตว์ในพื้นที่ คุณภาพสิ่งแวดล้อม
ตัวพื้นที่มีความหลากหลายทางพืชพรรณไม่
มากนัก มีพืชพรรณดังนี้ จามจุรี ปีบ ไม้ยืนต้นไม่
ทราบชนิด มะพร้าว เฟื่องฟ้า เฟินงูเขียว หญ้า
นวลน้อย
สภาพแวดล้อมในพื้นที่เป็นสภาพแวดล้อมที่
ค่อนข้างสมบูรณ์ มีพื้นที่ฉาแฉะบ้างเล็กน้อย
สัตว์ในพื้นที่จะเป็นจาพวกแมลงเป็นส่วนใหญ่
มีทั้งแมลงน้าและแมลงบก คลองด้านล่างมีปลาบ้าง
เล็กน้อย
นายเบญจพล เยี่ยงอย่าง รหัสนักศึกษา 631710127
พื้นที่ 01 พื้นที่ใต้ต้นจามจุรีบริเวณทางสามแยกอ่างแก้ว
การเข้าถึงพื้นที่
สาธารณูปโภค
การเข้าถึงพื้นที่เข้าได้จากถนนด้านข้าง และสามารถเข้าได้อีกทางคือลาน
จอดรถทางด้านทิศตะวันออกของพื้นที่
สาธารณูปโภคของตัวพื้นที่สามารถเดินทางได้จาก รถม่วงสาย2
นายเบญจพล เยี่ยงอย่าง รหัสนักศึกษา 631710127
พื้นที่ 01 พื้นที่ใต้ต้นจามจุรีบริเวณทางสามแยกอ่างแก้ว
พื้นที่ 01 พื้นที่ใต้ต้นจามจุรีบริเวณทางสามแยกอ่างแก้ว
บทบาทหน้าที่ของพื้นที่เดิม
เดิมแล้วพื้นที่บริเวณนี้เป็นพื้นที่สาธารณะที่ผู้คนเข้ามาพักผ่อนกันอยู่แล้ว อีกทั้งยังเปลี่ยนเหมือนกับ
จุดแลนด์มาร์คอีกหนึ่งแห่งของมหาวิทยาลัยเชียงใหม่อีกด้วย
สภาพสังคมใกล้เคียงส่วนใหญ่เป็นสังคมวัยรุ่นและวัยทางาน ที่เข้ามาพักผ่อนที่อ้างเก็บน้าห้วย
แก้วและลานสังคีต
สภาพสังคมข้างเคียง
กิจกรรมอื่นๆรอบพื้นที่
ความปลอดภัย
เนื่องจากตัวพื้นที่มีระดับความชันที่ค่อนข้างมาก และมีคูน้าด้านล่าง อีกทั้งยังเป็นพื้นที่ติดกับถนน
อีก ทาให้อาเกิดอันตรายกับเด็กได้
พักผ่อนและออกกาลังกาย
ปัจจัยด้านสังคม
นายเบญจพล เยี่ยงอย่าง รหัสนักศึกษา 631710127
พื้นที่ 01 พื้นที่ใต้ต้นจามจุรีบริเวณทางสามแยกอ่างแก้ว
ค่าใช้จ่ายที่อาจเกิดในการปรับปรุงพื้นที่
ความเป็นไปได้ของการเข้ามาใช้งาน
ค่าใช้จ่ายที่ใช้ปรับปรุงพื้นที่อาจไม่ต้องใช้งบประมาณที่มากนัก เนื่องด้วย
สภาพแวดล้อมที่หลากหลายสาหรับการเล่นสนุกของเด็ก แต่อาจจะต้อง
นาไปใช้ในส่วนของการเพิ่มความปลอดภัยสาหรับเด็กที่จะเข้ามาใช้ยังสนาม
เด็กเล่นธรรมชาติแห่งนี้
ความเป็นไปได้ของตัวพื้นที่อยู่ในระดับปลานกลาง เพราะยังมีเรื่องความ
ปลอดภัยที่ค่อนข้างน้อยอยู่
ปัจจัยด้านเศรษฐกิจ
นายเบญจพล เยี่ยงอย่าง รหัสนักศึกษา 631710127
พื้นที่ 02 พื้นที่ใต้ต้นจามจุรีบริเวณด้านทิศใต้ของลานสังคีต
ที่ตั้งและมุมมองของพื้นที่
นายเบญจพล เยี่ยงอย่าง รหัสนักศึกษา 631710127
ความลาดชันของพื้นที่ ความสามารถในการระบายน้า
พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นพื้นที่ราบ มีความลาดชันน้อย แต่ก็มีบางส่วนของพื้นที่
ที่มีความลาดชันค่อนมาก ทาให้ไม่เกิดความน่าเบื่อของตัวพื้นที่
บริเวณด้านข้างของพื้นที่มีคลองน้าขนาดเล็กที่มารถมารถรับน้าส่วน
เกิดของพื้นที่ได้อยู่ทาให้ตัวพื้นที่เองไม่มีปัญหาน้าขังเลย
พื้นที่ 02 พื้นที่ใต้ต้นจามจุรีบริเวณด้านทิศใต้ของลานสังคีต
นายเบญจพล เยี่ยงอย่าง รหัสนักศึกษา 631710127
คุณภาพดิน
ดินในพื้นที่เป็นดินร่วนปนทราย ถึงแม่จะเป็นดินที่อยู่ใต้ต้นจามจุรีแต่ตัวหน้าดินถูกชะล้างไปหมดทาให้
สภาพดินในพื้นที่ไม่ค่อยดีนัก เป็นดินที่ไม่มีหน้าดิน
น้าในคลองด้านข้างเป็นน้าส่วนเกิดที่ระบายมาจากอ่างเก็บน้าห้วยแก้ว ทาให้น้าในบริเวณนั้นไหล
ตลอดเวลา ไม่เกิดการเน่าเสีย
คุณภาพน้า
คุณภาพเสียง
คุณภาพอากาศ
ตัวพื้นที่บริเวณนั้นเป็นพื้นที่เปิดโล่ง มีลมพัดผ่านพื้นที่ค่อนข้างดี ไอน้าจากคลองน้าไหลช่วยให้
อากาศในพื้นที่เย็นสะบายขึ้นเล็กน้อย
เสียงรบกวนที่เข้ามายังพื้นที่เป็นเสียงที่เกิดจากการใช้ถนนบริด้านข้าง อีกทั้งยังมีเสียงจากผู้คน
ที่มาพักผ่อนที่อ่างเก็บน้าห้วยแก้ว และเสียงของสุนัขจากลานสังคีตอีกด้วย
นายเบญจพล เยี่ยงอย่าง รหัสนักศึกษา 631710127
พื้นที่ 02 พื้นที่ใต้ต้นจามจุรีบริเวณด้านทิศใต้ของลานสังคีต
พืชพรรณในพื้นที่ สัตว์ในพื้นที่ คุณภาพสิ่งแวดล้อม
ตัวพื้นที่มีความหลากหลายทางพืชพรรณน้อย
มีพืชพรรณดังนี้ จามจุรี ชงโค เฟินงูเขียง หญ้า
มาเลย์
สภาพแวดล้อมในพื้นที่เป็นสภาพแวดล้อมที่
ค่อนข้างสมบูรณ์ มีพื้นที่ที่ไม่เหมาะกับการปลูกพืชที่
ต้องการแสงบ้างเล็กน้อย
สัตว์ในพื้นที่จะเป็นจาพวกแมลงเป็นส่วนใหญ่
มีทั้งแมลงน้าและแมลงบก คลองด้านล่างมีปลาบ้าง
เล็กน้อย
นายเบญจพล เยี่ยงอย่าง รหัสนักศึกษา 631710127
พื้นที่ 02 พื้นที่ใต้ต้นจามจุรีบริเวณด้านทิศใต้ของลานสังคีต
การเข้าถึงพื้นที่
สาธารณูปโภค
การเข้าถึงพื้นที่เข้าได้จากถนนด้านข้าง และสามารถเข้าได้อีกทางคือลาน
จอดรถทางด้านทิศตะวันออกของพื้นที่ และลานสังคีตด้านข้าง
สาธารณูปโภคของตัวพื้นที่สามารถเดินทางได้จาก รถม่วงสาย2
นายเบญจพล เยี่ยงอย่าง รหัสนักศึกษา 631710127
พื้นที่ 02 พื้นที่ใต้ต้นจามจุรีบริเวณด้านทิศใต้ของลานสังคีต
บทบาทหน้าที่ของพื้นที่เดิม
บทบาทหน้าที่เดิมของตัวพื้นที่นอกจากจะใช้เป็นพื้นที่พักผ่อนแล้วยังถูกใช้เป็นลานจอดรถด้วยบางส่วน
และยังเป็นพื้นที่สาธารณะอีกด้วย
สภาพสังคมใกล้เคียงส่วนใหญ่เป็นสังคมวัยรุ่นและวัยทางาน ที่เข้ามาพักผ่อนที่อ้างเก็บน้าห้วย
แก้วและลานสังคีต
สภาพสังคมข้างเคียง
กิจกรรมอื่นๆรอบพื้นที่
ความปลอดภัย
ตัวพื้นที่มีความปลอดภัยในระดับนึง ถึงแม้จะเป็นพื้นที่ติดถนนแต่ก็ยังมีร่องน้าขนาดเล็กเป็นตัวกั้นไว้
และด้านที่ติดคลองน้าก็มีความชั้นเล็กน้อย
พักผ่อนและจอดรถ
ปัจจัยด้านสังคม
นายเบญจพล เยี่ยงอย่าง รหัสนักศึกษา 631710127
พื้นที่ 02 พื้นที่ใต้ต้นจามจุรีบริเวณด้านทิศใต้ของลานสังคีต
ค่าใช้จ่ายที่อาจเกิดในการปรับปรุงพื้นที่
ความเป็นไปได้ของการเข้ามาใช้งาน
ค่าใช้จ่ายที่ใช้ปรับปรุงพื้นที่อาจไม่ต้องใช้งบประมาณที่ค่อนข้าง ต้อง
ปรับปรุงทั้งคุณภาพของดิน ความปลอดภัย และพรรณไม้ที่อาจต้องนาเข้า
มาเพิ่ม
ความเป็นไปได้ของตัวพื้นที่อยู่ในระดับปลานกลาง เพราะยังขาดเรื่องความ
หลากหลายของพืชพรรณและคุณภาพของดินที่เป็นปัจจัยสาคัญในการสร้าง
สภาพแวดล้อมที่ดี
ปัจจัยด้านเศรษฐกิจ
นายเบญจพล เยี่ยงอย่าง รหัสนักศึกษา 631710127
พื้นที่ 02 พื้นที่ใต้ต้นจามจุรีบริเวณด้านทิศใต้ของลานสังคีต
พื้นที่ 03 พื้นที่ใต้ต้นจามจุรีบริเวณด้านหลังคณะวิศวกรรมศาสตร์
ที่ตั้งและมุมมองของพื้นที่
นายเบญจพล เยี่ยงอย่าง รหัสนักศึกษา 631710127
พื้นที่ 03 พื้นที่ใต้ต้นจามจุรีบริเวณด้านหลังคณะวิศวกรรมศาสตร์
ความลาดชันของพื้นที่ ความสามารถในการระบายน้า
พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นพื้นที่ที่ไม่มีความชันเลย เป็นพื้นที่ราบ ตลอดทั้งผืน
แต่ก็ไม่ได้ราบจนเกินไป บางบางส่วนที่เป็นเนินดินขนาดเล็กบ้าง
ความสามารถในการระบายน้าของพื้นที่นี้ไม่ค่อยดีนัก เนืองจากเป็น
พื้นที่ราบทาให้น้ากระจายอยู่ในทุกๆพื้นที่ มีส่วนที่เป็นพื้นที่ฉาแฉะบ้าง
เล็กน้อย
นายเบญจพล เยี่ยงอย่าง รหัสนักศึกษา 631710127
พื้นที่ 03 พื้นที่ใต้ต้นจามจุรีบริเวณด้านหลังคณะวิศวกรรมศาสตร์
คุณภาพดิน
ดินในพื้นที่เป็นดินที่อยู่บริเวณใต้ต้นจามจุรี ทาใด้ดินมีธาตุอาหารค่อนข้างสูงจากใบจามจุรีที่ร่วงลงมา
จากต้น แต่ด้วยการเป็นพื้นที่ราบทาให้มีบางส่วนของพื้นที่เป็นดินมีน้าขังฉาแฉะ
ในตัวพื้นที่เป็นพื้นที่ที่ไม่มีแหล่งน้าเลย
คุณภาพน้า
คุณภาพเสียง
คุณภาพอากาศ
ตัวพื้นที่บริเวณนั้นเป็นพื้นที่เปิดโล่งก็จริง แต่โดยรอบของพื้นที่มีต้นไม้ขนาดใหญ่และอาคาร
สิ่งก่อสร้างมาปิดกั้นลมค่อนข้างมาก ทาให้บริเวณนั้นลาเข้าไม่ค่อยดี อากาศไม่ปลอดโปร่งนัก
ตัวพื้นที่อยู่ใกล้กับอาคารเวิร์คช็อปของคณะวิศวกรรมศาสตร์ ทาให้อาจมีเสียงรบกวนจากการใช้
อาคารของการเวิร์คช็อปได้
นายเบญจพล เยี่ยงอย่าง รหัสนักศึกษา 631710127
พืชพรรณในพื้นที่ สัตว์ในพื้นที่ คุณภาพสิ่งแวดล้อม
ตัวพื้นที่มีความหลากหลายทางพืชพรรณที่
ค่อนข้างมาก มีพืชพรรณดังนี้ จามจุรี มะม่วง
ปาล์มจีบ พลูฉีก เฟินงูเขียว เฟื่องฟ้า ต้อยติ่งฝรั่ง
ลิ้นมมังกร หญ้ามาเลย์ ผักเบี้ยหนู และไม้ยืนต้นไม่
ทราบชนิดอีก 2 ชนิด
สภาพแวดล้อมในพื้นที่เป็นสภาพแวดล้อมที่
ค่อนข้างสมบูรณ์ มีความหลากหลายทางพืชพรรณ
สูง ดินมีคุณภาพที่ดี แต่มีพื้นที่ฉาแฉะบ้างเล็กน้อย
สัตว์ในพื้นที่จะเป็นจาพวกแมลงและนกเป็นส่วนใหญ่
นายเบญจพล เยี่ยงอย่าง รหัสนักศึกษา 631710127
พื้นที่ 03 พื้นที่ใต้ต้นจามจุรีบริเวณด้านหลังคณะวิศวกรรมศาสตร์
การเข้าถึงพื้นที่
สาธารณูปโภค
การเข้าถึงพื้นที่เข้าได้จากถนนด้านข้าง และสามารถเข้าได้อีกทางคือทาง
ประตูทางเข้าคณะวิศวกรรมศาสตร์
ตัวพื้นที่นี้ไม่มีระบบสาธารณูปโภคที่เข้าถึงพื้นที่ได้โดยตรง มีจุดจอดรถ
ม่วงที่ห่างจากพื้นที่ประมาน 150 เมตร 2 จุด
นายเบญจพล เยี่ยงอย่าง รหัสนักศึกษา 631710127
พื้นที่ 03 พื้นที่ใต้ต้นจามจุรีบริเวณด้านหลังคณะวิศวกรรมศาสตร์
พื้นที่ 03 พื้นที่ใต้ต้นจามจุรีบริเวณด้านหลังคณะวิศวกรรมศาสตร์
บทบาทหน้าที่ของพื้นที่เดิม
เดิมแล้วพื้นที่บริเวณนี้เป็นพื้นที่ว่างไม่ได้เกิดการใช้งานของคณะวิศวะ แต่ด้วยที่เป็นพื้นที่ที่เป็นส่วน
หนึ่งของคณะ ความเป็นสาธารณะของพื้นที่จึงน้อยกว่าพื้นที่อื่นที่ได้เสนอมา
สภาพสังคมใกล้เคียงส่วนใหญ่เป็นสังคมวัยรุ่นและวัยทางาน ที่เข้ามาเรียนมาสอนที่คณะวิศวะ-
กรรมศาสตร์
สภาพสังคมข้างเคียง
กิจกรรมอื่นๆรอบพื้นที่
ความปลอดภัย
พื้นที่นี้มีความปลอดภัยค่อนข้างสูง ถึงแม้จะเป็นพื้นที่ติดถนน แต่ก็ไม่ใช่ถนนสายหลักที่ผู้คนใช้
สัญจร อีกทั้งตัวพื้นที่เองเป็นพื้นที่ราบไม่มีส่วนที่ลาดชัน เด็กๆสามารถวิ่งเล่นได้อย่างปลอดภัย
เรียนและเวิร์คช็อป
ปัจจัยด้านสังคม
นายเบญจพล เยี่ยงอย่าง รหัสนักศึกษา 631710127
พื้นที่ 03 พื้นที่ใต้ต้นจามจุรีบริเวณด้านหลังคณะวิศวกรรมศาสตร์
ค่าใช้จ่ายที่อาจเกิดในการปรับปรุงพื้นที่
ความเป็นไปได้ของการเข้ามาใช้งาน
ค่าใช้จ่ายที่ใช้ปรับปรุงพื้นที่อาจไม่ต้องใช้งบประมาณที่ไม่มากนัก เนื่อง
ด้วยสภาพแวดล้อมที่เหมาะสาหรับการเล่นสนุกของเด็ก แต่อาจจะต้องใช้เพื่อ
เพิ่มในส่วนของความหลากหลายทางสภาพแวดล้อมการสร้างแหล่งน้าเป็นต้น
ความเป็นไปได้ของตัวพื้นที่อยู่ในระดับปลานกลาง เพราะตัวพื้นที่ไม่ใช่
พื้นที่สาธารณะโดยตรง แต่เป็นพื้นที่ที่อยู่ในเขตของคณะวิศวกรรมศาสตร์
ปัจจัยด้านเศรษฐกิจ
นายเบญจพล เยี่ยงอย่าง รหัสนักศึกษา 631710127
เกณฑ์คะแนนจากการวิเคราะห์พื้นที่ทั้ง 3 พื้นที่
นายเบญจพล เยี่ยงอย่าง รหัสนักศึกษา 631710127
Site Criteria Point Site 01 Site 02 Site 03
1. ปัจจัยด้านกายภาพ
ที่ตั้ง 5 3 4 3
มุมมอง 5 2 3 5
ความลาดชัน 5 5 3 2
ความสามารถในการระบายน้า 5 4 3 3
คุณภาพดิน 5 4 3 5
คุณภาพน้า 5 4 4 -
คุณภาพอากาศ 5 4 4 3
คุณภาพเสียง 5 3 3 3
พืชพรรณในพื้นที่ 5 3 3 5
สัตว์ในพื้นที่ 5 3 3 2
คุณภาพสิ่งแวดล้อม 10 8 8 8
การเข้าถึง 5 4 4 3
สาธารณูปโภค 5 4 4 3
รวม 70 51 49 45
เกณฑ์คะแนนจากการวิเคราะห์พื้นที่ทั้ง 3 พื้นที่
นายเบญจพล เยี่ยงอย่าง รหัสนักศึกษา 631710127
Site Criteria Point Site 01 Site 02 Site 03
2. ปัจจัยด้านสังคม
บทบาทหน้าที่ของพื้นที่เดิม 5 4 4 3
สภาพสังคมข้างเคียง 5 4 4 4
ความปลอดภัย 5 2 3 5
กิจกรรมอื่นๆ รอบพื้นที่ 5 4 4 4
รวม 20 14 15 16
Site Criteria Point Site 01 Site 02 Site 03
3. ปัจจัยด้านเศรษฐกิจ
ค่าใช้จ่ายที่อาจเกิดในการปรับปรุงพื้นที่ 5 3 3 3
ความเป็นไปได้ของการเข้ามาใช้งาน 5 2 4 4
รวม 10 5 7 7
เกณฑ์คะแนนจากการวิเคราะห์พื้นที่ทั้ง 3 พื้นที่
นายเบญจพล เยี่ยงอย่าง รหัสนักศึกษา 631710127
Site Criteria Point Site 01 Site 02 Site 03
1. ปัจจัยด้านกายภาพ 70 51 49 45
2. ปัจจัยด้านสังคม 20 14 15 16
3. ปัจจัยด้านเศรษฐกิจ 10 5 7 7
รวม 100 70 71 68
พื้นที่เหมาะสมในการจัดทาโครงการ
นายเบญจพล เยี่ยงอย่าง รหัสนักศึกษา 631710127
พื้นที่ 02 พื้นที่ใต้ต้นจามจุรีบริเวณด้านทิศใต้ของลานสังคีต
แนวทางการจัดการโครงการ
นายเบญจพล เยี่ยงอย่าง รหัสนักศึกษา 631710127
เรียนรู้พืชพรรณ
เครื่องเล่นธรรมชาติ
เรียนรู้แหล่งน้า
จุดรอของผู้ปกครอง
ข้อดีข้อเสียของพื้นที่ในการจัดทาโครงการ
นายเบญจพล เยี่ยงอย่าง รหัสนักศึกษา 631710127
ข้อดีของพื้นที่
ปัจจัยด้านกายภาพ ปัจจัยด้านสังคม ปัจจัยด้านเศรษฐกิจ
ตัวพื้นที่มีคุณภาพของสภาพแวดล้อมที่
ค่อนข้องดี และมีความหลากหลายทางชีวภาพ
และแวดล้อม ทาให้เกิดความหลากหลายของ
กิจกรรมที่จะเกิดขึ้น เด็กๆสามารถจินตนาการ
ต่างๆ ได้อย่างหลากหลายและนอกกรอบ เป็น
พื้นที่สามารถนาไปต่อยอดในการสร้างเป็น
สนามเด็กเล่นธรรมชาติได้ดี
ด้วยตัวบริบทของพื้นที่เองที่เป็นพื้นที่ที่อยู่
ใกล้กับแหล่งพักผ่อนหลักของมหาวิทยาลัย
แล้ว จึงทาให้เหมาะกับการสร้างเป็นพื้นที่ที่ใช้
พักผ่อนสาหรับเด็กโดยเฉพาะที่อยู่ในพื้นที่นั้น
ตัวพื้นที่มีสภาพแวดล้อมทางกายภาพที่
หลากหลาย ทาให้ไม่ต้องใช้งบประมาณที่
มากมายในการจัดสร้างโครงการ
ข้อดีข้อเสียของพื้นที่ในการจัดทาโครงการ
นายเบญจพล เยี่ยงอย่าง รหัสนักศึกษา 631710127
ข้อเสียของพื้นที่
ปัจจัยด้านกายภาพ ปัจจัยด้านสังคม ปัจจัยด้านเศรษฐกิจ
- มีความหลากหลาทางพืชพรรณที่น้อย - อาจต้องใชช้งบประมานที่มากในการ
ปรับปรุงพื้นที่

Weitere ähnliche Inhalte

Mehr von WarongWonglangka

Group1_final review _ 171020.pptx
Group1_final review _ 171020.pptxGroup1_final review _ 171020.pptx
Group1_final review _ 171020.pptxWarongWonglangka
 
สนามหลวง History2.pptx
สนามหลวง History2.pptxสนามหลวง History2.pptx
สนามหลวง History2.pptxWarongWonglangka
 
Survey Workshop Playground
Survey Workshop PlaygroundSurvey Workshop Playground
Survey Workshop PlaygroundWarongWonglangka
 
Landscape Surveying Practice
Landscape Surveying PracticeLandscape Surveying Practice
Landscape Surveying PracticeWarongWonglangka
 
Surveying Landscape Invention
Surveying Landscape InventionSurveying Landscape Invention
Surveying Landscape InventionWarongWonglangka
 
Urban Forest Master Plan.pdf
Urban Forest Master Plan.pdfUrban Forest Master Plan.pdf
Urban Forest Master Plan.pdfWarongWonglangka
 
การวัดระยะทาง.pdf
การวัดระยะทาง.pdfการวัดระยะทาง.pdf
การวัดระยะทาง.pdfWarongWonglangka
 
การดูแลรักษาต้นไม้ใหญ่ ในงานภูมิทัศน์เมือง 1_บทนำ.pptx
การดูแลรักษาต้นไม้ใหญ่ ในงานภูมิทัศน์เมือง 1_บทนำ.pptxการดูแลรักษาต้นไม้ใหญ่ ในงานภูมิทัศน์เมือง 1_บทนำ.pptx
การดูแลรักษาต้นไม้ใหญ่ ในงานภูมิทัศน์เมือง 1_บทนำ.pptxWarongWonglangka
 
Lecture 1_landscape archi theory.pdf
Lecture 1_landscape archi theory.pdfLecture 1_landscape archi theory.pdf
Lecture 1_landscape archi theory.pdfWarongWonglangka
 

Mehr von WarongWonglangka (20)

Landscape TheoryJA+JZ.pdf
Landscape TheoryJA+JZ.pdfLandscape TheoryJA+JZ.pdf
Landscape TheoryJA+JZ.pdf
 
Group1_final review _ 171020.pptx
Group1_final review _ 171020.pptxGroup1_final review _ 171020.pptx
Group1_final review _ 171020.pptx
 
สนามหลวง History2.pptx
สนามหลวง History2.pptxสนามหลวง History2.pptx
สนามหลวง History2.pptx
 
Inthanond-weir-fish.pdf
Inthanond-weir-fish.pdfInthanond-weir-fish.pdf
Inthanond-weir-fish.pdf
 
Survey Workshop Playground
Survey Workshop PlaygroundSurvey Workshop Playground
Survey Workshop Playground
 
survey workshop
survey workshopsurvey workshop
survey workshop
 
Landscape Surveying Practice
Landscape Surveying PracticeLandscape Surveying Practice
Landscape Surveying Practice
 
NATURAL PLAYGROUND
NATURAL PLAYGROUNDNATURAL PLAYGROUND
NATURAL PLAYGROUND
 
Surveying Landscape Invention
Surveying Landscape InventionSurveying Landscape Invention
Surveying Landscape Invention
 
final survey.pdf
 final survey.pdf final survey.pdf
final survey.pdf
 
landscape survey
landscape surveylandscape survey
landscape survey
 
landscape study
landscape studylandscape study
landscape study
 
Survey Project CMU 1
Survey Project CMU 1Survey Project CMU 1
Survey Project CMU 1
 
Urban Forest Master Plan.pdf
Urban Forest Master Plan.pdfUrban Forest Master Plan.pdf
Urban Forest Master Plan.pdf
 
การวัดระยะทาง.pdf
การวัดระยะทาง.pdfการวัดระยะทาง.pdf
การวัดระยะทาง.pdf
 
การดูแลรักษาต้นไม้ใหญ่ ในงานภูมิทัศน์เมือง 1_บทนำ.pptx
การดูแลรักษาต้นไม้ใหญ่ ในงานภูมิทัศน์เมือง 1_บทนำ.pptxการดูแลรักษาต้นไม้ใหญ่ ในงานภูมิทัศน์เมือง 1_บทนำ.pptx
การดูแลรักษาต้นไม้ใหญ่ ในงานภูมิทัศน์เมือง 1_บทนำ.pptx
 
CM moat Cul Lan .pdf
CM moat Cul Lan .pdfCM moat Cul Lan .pdf
CM moat Cul Lan .pdf
 
Lecture 1_landscape archi theory.pdf
Lecture 1_landscape archi theory.pdfLecture 1_landscape archi theory.pdf
Lecture 1_landscape archi theory.pdf
 
JIngan1.pptx
JIngan1.pptxJIngan1.pptx
JIngan1.pptx
 
sublime_guide.pdf
sublime_guide.pdfsublime_guide.pdf
sublime_guide.pdf
 

Landscape Survey study