SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 10
Downloaden Sie, um offline zu lesen
การส่งเสริมการใช้สื่อการเรียนการสอน
       ให้บังเกิดประสิทธิภาพสูงสุด*
                                                                            สุรศักดิ์ ปาเฮ**
          พ.ม. , ค.บ.(ภาษาอังกฤษ) , ศษ.ม.(เทคโนโลยีการศึกษา) , Ph.D.(Candidate) STOU


บทนา
        ความก้าวหน้าทางวิทยาการในปัจจุบันคงเป็นสิ่งที่ยืนยันแน่ชัดแล้วว่ามนุษย์เรากาลังก้าวเข้าสู่
ยุคแห่งสังคมเทคโนโลยีชนสูง หรือที่เรียกว่า “ยุคไฮเทค ( Hi-tech )” โดยเฉพาะยิ่งความเจริญก้าวหน้า
                          ั้
ด้านวัสดุอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ต่างๆ ซึ่งนับวันจะเข้ามามีบทบาทในแทบทุก สาขาวิชาชีพไม่ว่าจะเป็น
ด้านการแพทย์ การทหาร การอุตสาหกรรม การสื่อสาร การเกษตร รวมทั้งด้านการศึกษาก็ตาม
        ในด้านการจัดการศึกษานั้น วัสดุอุปกรณ์ทางอิเล็กทรอนิกส์เหล่านี้จะเป็นปัจจัยสาคัญในการ
เสริมสร้างและจัดสภาพการณ์ทางการเรียนรู้ให้บรรลุเป้าหมายที่กาหนดไว้ในการจัดการศึกษา เป็น
ปัจจัยในการส่งเสริมสนับสนุน รวมทั้งช่วยแก้ไขปัญหาต่างๆในมวลประสบการณ์ของการเรียนการสอน
ที่มีความก้าวหน้าและหลากหลาย อย่างไรก็ตามมีใครย้อนคิดทบทวนบ้างไหมว่าปัจจัยในด้านวัสดุ
อุปกรณ์ในการจัดการเรียนการสอนที่เรียกว่า “สื่อการสอน ( Instructional Media )” ในยุคแห่งสังคม
เทคโนโลยีชั้นสูงเหล่านั้น จะมีผลกระทบต่อการเรียนการสอนและการจัดการศึกษาทั่วไปอย่างไรบ้าง
*บทความนีเผยแพร่ในวารสารเสมาเวียงโกศัย ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 เดือนเมษายน – มิถุนายน 2547 หน้า 7 – 11
           ้
  **รองผู้อานวยการสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาแพร่เขต 2 http://www.addkutec3.com
-2-

 ทั้งนี้สืบเนื่องจากตัวแปรที่สาคั ญที่จะก่ อให้เกิดผลลัพธ์ในการใช้สื่อการสอนทั้งในทางบวกหรือลบ
เหล่านั้นจะขึ้นอยู่กับปัจจัยที่เกี่ยวกับตัวบุคคล ( Personnel ) หรือผู้ใช้สื่อ ( Users )นั่นเองว่ามีทัศนคติ
หรือมีทักษะในการปรับใช้สื่อการเรียนการสอนได้อย่างมีประสิทธิภาพมากน้อยเพียงใด ซึ่งบทความนี้
ผู้เขียนจะชี้ให้เห็นถึงประเด็นที่ส่งผลกระทบ รวมทั้งปัญหาอุปสรรคในการใช้สื่อ เพื่อการเรียนการสอน
ตลอดจนแนวทางส่ ง เสริ ม การใช้ สื่ อ การสอนเพื่ อ ช่ ว ยแก้ ไ ขปั ญ หาที่ อ าจเกิ ด ขึ้ น ทั้ ง นี้ เ พื่ อ น าไปสู่
ประสิ ท ธิ ผ ลและประสิ ท ธิ ภ าพในการใช้ สื่ อ การเรี ย นการสอนให้ บั ง เกิ ด ประโยชน์ สู ง สุ ด ในการจั ด
การศึกษาต่อไป

ความหมายและประเภทของสื่อการเรียนการสอน
        สื่อ ( Media ) มาจากภาษาลาตินว่า Medium แปลว่าระหว่าง ( between ) หมายถึงสิ่งใดก็
ตามที่บรรจุข้อมูลเพื่อให้ผู้ส่งและผู้รับสามารถสื่อสารกันได้ตรงตามวัตถุประสงค์ เมื่อมีการนามาใช้ใน
การเรียนการสอนจึงเรียกว่า “สื่อการสอน ( Instructional Media )” ( กิดานันท์ มลิทอง , 2531 )
        สื่อการเรียนการสอนโดยทั่วไปจะแบ่งออกตามประเภท ลักษณะของงาน หรือตามวัตถุประสงค์
ของการใช้ ในศาสตร์ทางเทคโนโลยีการศึกษานั้นจะแบ่งสื่อการเรียนการสอนออกเป็น 3 ประเภท
ใหญ่ๆดังนี้
        1. สื่อประเภทวัสดุ ( Software หรือ Small Media ) เป็นสื่อขนาดเล็ก ขนาดกะทัดรัด
มักจะใช้รวมกับสื่อประเภทอุปกรณ์จงจะสามารถสื่อสารข้อมูลไปยังผู้รับได้ สื่อประเภทนี้เช่น โปรแกรม
         ่                             ึ
คอมพิวเตอร์ แผ่นดิสก์ เทปโทรทัศน์ เทปแคสเซ็ท หรือแม้กระทั่งสื่อราคาเยาเช่น รูปภาพ แผนภูมิ ฯลฯ
        2. สื่อประเภทอุปกรณ์ ( Hardware หรือ Equipments หรือ Big Media ) เป็นสื่อที่มี
ขนาดใหญ่ มีน้าหนักมาก สื่อบางชนิดจะต้องอาศัยข้อมูลที่ส่งผ่านสื่อจาพวกวัสดุจึงจะบังเกิดผลในการ
สื่อความหมาย สื่อประเภทนี้เช่น คอมพิวเตอร์ โทรทัศน์ เครื่องฉายสไลด์ เครื่องฉายภาพโปร่งใส
เครื่องฉายภาพทึบแสง เครื่องฉายภาพยนตร์ เครื่องฉายวีดิโอ เครื่องฉาย Visualization เป็นต้น
        3. สื่อประเภทเทคนิควิธีการ ( Techniques ) เป็นสื่อประเภทกิจกรรมหรือการปฏิบัติต่างๆ
ในการเรียนการสอน เช่น บทบาทสมมติ สถานการณ์จาลอง การสาธิต หรือสื่อยุคใหม่เช่น วิธีการ
ประชุมทางไกล ( Teleconference ) เป็นต้น

สื่อการสอน : สภาพการณ์การใช้และผลกระทบที่เกิดขึ้น
       ดั ง ได้ ก ล่ าวในเบื้ องต้น แล้ ว ว่ าปั จจุ บัน ซึ่ง เป็ น ยุ ค แห่ งสั งคมสารสนเทศนั้ น อาจเป็น ไปได้ ว่ า
ความคิด ความคาดหวังของผูเกี่ยวข้องทุกฝ่าย ไม่ว่าจะเป็นผู้บริหารทุกระดับ ผู้เชี่ยวชาญสื่อ ผูนิเทศ
                                 ้                                                                        ้
-3-

 รวมทั้งครูผู้สอนเองต่างอาจมีแนวคิดและอาจมุ่งประเด็นความสนใจที่มีต่อการเลือกและการใช้สื่อการ
สอนหรือสื่อทางการศึกษาที่ก้าวหน้าทันสมัย หรือที่เรียกตามสมัยนิยมว่าเป็น “สื่อใหม่ ( New Media )”
กันเป็นส่วนใหญ่ โดยเฉพาะอย่างยิ่งสื่อยุคดิจตอลประเภทคอมพิวเตอร์ สื่อประสม ( Multimedia ) หรือ
                                            ิ
สื่อระบบทางไกลประเภทอินเตอร์เน็ต ( Internet ) รวมทั้งสื่อโทรคมนาคมอื่นๆทั้งโทรทัศน์และวิทยุ
ทางการศึกษา ซึ่งสื่อต่างๆเหล่านี้กาลังอยู่ในความนิยมและมีบทบาทค่อนข้างสูงต่อกระบวนการเรียนรู้
และการศึกษาทั้งในระบบ นอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย โดยเฉพาะอย่างยิ่งในประเทศพัฒนา
แล้วในยุโรปและอเมริกา รวมทั้งประเทศไทยในยุคการปฏิรูปการศึกษาในปัจจุบัน
        อย่างไรก็ตามหากจะวิเคราะห์ถึงการนาเอาสื่อขั้นสูงประเภทต่างๆเหล่านั้นมาใช้ในการพัฒนา
การศึกษาและการเรียนการสอนบ้านเรา ซึ่งอาจจะมี ปัจจัยเอื้ออานวยที่แตกต่างจากประเทศที่พัฒนา
แล้วในหลายองค์ประกอบด้วยกัน จึงเป็นสิ่งสาคัญและจาเป็นอย่างยิ่งที่ผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่ายต้องคานึงถึง
ความพร้อมและผลกระทบที่ตามมา ตลอดถึงการกาหนดแนวทางการปรับใช้สื่อการเรียนรู้ให้เหมาะสม
และสอดคล้องกับสภาพท้องถิ่น ทั้งนี้เพื่อมิให้บังเกิดความสูญเปล่าต่อทรัพยากรและบังเกิดผลที่คุ้มค่า
ต่อการลงทุนในการจัดการศึกษา
        กล่าวกันว่าแม้แต่ประเทศที่มีความพร้อมและมีความก้าวหน้าทางด้านเทคโนโลยีชั้นสูง และมี
ปัจจัยหลายด้านที่เอื้อต่อการใช้และพัฒนาสื่อการเรียนการสอน เช่น ประเทศสหรัฐอเมริกา ซึ่งก็ยัง
ประสบกับปัญหาและอุปสรรคต่างๆอีกมากในการส่งเสริมและใช้ส่อเทคโนโลยีทางการสอน ดังเช่น โรส
                                                              ื
( Rose , 1982 ) แห่งมหาวิทยาลัยวิสคอนซิน ( Wisconsin – Madison )ที่ได้กล่าวถึงปัญหาและอุปสรรค
ของการใช้ส่อเทคโนโลยีทางการสอนของสถาบันการศึกษาไว้อย่างน่าสนใจ กล่าวคือสถาบันการศึกษา
             ื
จะประสบกับปัญหาอุปสรรคในด้านต่างๆดังต่อไปนี้
        1. อุปสรรคด้านงบประมาณ ( Institutional Economic Barriers ) ได้แก่
 -        งบประมาณไม่เพียงพอต่อการจัดซื้อ จัดซ่อมและบารุงรักษาวัสดุอุปกรณ์สื่อการเรียนการ
สอนและสื่อด้านการศึกษาต่างๆ
 -        องค์การหรือหน่วยงานไม่สามารถจัดสรรงบประมาณให้เพียงพอ รวมทั้งไม่มีการวางแผน
ระยะยาวด้านงบประมาณต่อการพัฒนาด้านสื่อเทคโนโลยีทางการสอน
 -        ขาดงบประมาณในขั้นตอนหรือกระบวนการผลิตสื่อ ทั้งนี้เนื่องจากผลผลิตของสื่อเทคโนโลยี
จะมีคุณภาพมากน้อยเพียงไรนันจาเป็นต้องอาศัยกาลังคนและปัจจัยเกื้อหนุนต่างๆอีกมากที่จะผลิตสื่อ
                              ้
คุณภาพเหล่านั้น
        2. อุปสรรคที่เกิดจากเทคนิคหรือตัวเทคโนโลยีเอง ( Technological Barriers ) ได้แก่
 -        ครูผใช้ส่อเทคโนโลยีทางการสอนไม่มีความมั่นใจต่อการใช้ ทั้งนี้เป็นเพราะขาดทักษะที่จาเป็น
               ู้ ื
ต่อการใช้ส่อเทคโนโลยีใหม่ๆเหล่านั้นนั่นเอง
           ื
-4-

 -        ครูผู้สอนมีความคิดและคาดหวังในทางที่ผิดว่าสื่อเทคโนโลยีจะสามารถแทนตัวครูผู้สอนได้
โดยไม่ต้องมีการควบคุมการใช้ เช่น การใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอน หรือเกมทางการเรียนต่างๆ
 -        ครูผู้สอนคาดหวังเกี่ยวกับโปรแกรมการสอนไว้สูงเกินไป ซึ่งในบางครั้งโปรแกรมการสอน
ต่างๆ เช่น โปรแกรมคอมพิวเตอร์บางโปรแกรมอาจสนองต่อการจัดการเรียนการสอนที่น้อยมาก ไม่
สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของหลักสูตรที่กาหนดไว้
 -        ครูผู้สอนมีความคิดว่าสื่อเทคโนโลยีทางการสอนเหล่านั้นจะเป็นเครื่องมือสาหรับครู ( Tools
for Teachers ) สาหรับนาไปใช้สอนในชั้นเรียนเท่านั้น มากกว่าที่จะนาไปประยุกต์ใช้ให้เหมาะสมกับ
สถานการณ์ทางการเรียนรู้ให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด
 -        ปัญหาด้านประสิทธิภาพและความคล่องตัวที่จะนาไปใช้ อาจเป็นเพราะว่าสื่อการสอนบาง
ชนิดไม่มีประสิทธิภาพดีพอ และยากต่อการใช้ มีกลไกที่ซับซ้อนเกินไป หรือมีขนาดใหญ่เกินไป




        3. อุปสรรคที่เกิดจากกระบวนการบริหาร ( Administrative Barriers ) ได้แก่
 -       ผู้บริหารเพียงแต่ต้องการที่จะให้ครูผู้สอนใช้สื่อการสอนอย่างต่อเนื่องและสม่าเสมอเพื่อให้
เห็นผลงานการใช้สื่อ แต่มิได้คานึงถึงขันตอนที่เหมาะสมตามหลักการของการใช้ส่อการสอนเหล่านั้น
                                         ้                                          ื
 -       ผู้บริหารทุ่มเทงบประมาณเน้นหนักในด้านสื่อประเภทเครื่องมืออุปกรณ์มากเกินไปโดยมิได้
คานึงถึงตัวโปรแกรมหรือวัสดุที่จะนามาใช้ร่วมกับเครื่องมือต่างๆเหล่านั้น
 -       ผู้ บ ริ ห ารมั ก จะมองสื่ อ เทคโนโลยี ห รื อ นวั ต กรรมสื่ อ การสอนเป็ น เพี ย งแค่ น โยบายหรื อ
เป้าหมายของหน่วยงานหรือองค์การเท่านั้น โดยมิได้ให้การสนับสนุนอย่างจริงจัง หรือคิดหาแนวทางที่
จะส่งเสริมให้เกิดทักษะความรูอย่างเป็นรูปธรรมและมีความชัดเจนต่อการปฏิบัติยิ่งขึนเลย
                                ้                                                        ้
-5-

 -           ผู้บริหารยังขาดการวางแผนต่ อการใช้สื่อเทคโนโลยีทางการสอนอย่างแน่ชัด ตลอดทั้งมีการ
จัดกระทาและควบคุมการใช้สื่ออย่างเป็นระบบแบบแผนที่น้อยมาก
 -           กระบวนการบริหารที่เ กี่ย วกั บการกาหนดบทบาทหน้าที่ของนัก เทคโนโลยีการศึกษาหรือ
ผู้เ ชี่ย วชาญสื่อ ในหน่ว ยงานหรื อ องค์ ก ารต่ า งๆยั งคลุ มเครือ ไม่ ชั ดเจน บางครั้ง อาจดูเ หมือ นว่า นั ก
เทคโนโลยีการศึกษาเหล่านั้นเป็นผู้เชี่ยวชาญต่อการจัดการเรียนการสอนโดยการนาเอาวิธีระบบมาใช้
แต่ในบางครั้งนักเทคโนโลยีการศึกษาเหล่านั้นกลับมีบทบาทหน้าที่เป็นเพียงแค่ “ผู้ให้บริการ ( Service
Personnel )” เท่านั้น
 -           ผู้บริหารไม่สามารถที่จะเป็นผู้นาต่อการใช้สื่อเทคโนโลยีทางการสอนได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ขาดจุด ยืนที่แน่ชัดต่อการชี้นาให้ผู้สอนมองเห็นความสาคัญของการจัดการเรีย นการสอนโดยใช้สื่อ
เทคโนโลยี แ ละนวั ต กรรมการศึ ก ษาเข้ า มาช่ ว ย รวมทั้ ง ไม่ ส ามารถให้ ก ารสนั บ สนุ น ช่ ว ยเหลื อ นั ก
เทคโนโลยี ห รื อ ผู้ เ ชี่ ย วชาญด้ า นสื่ อ ให้ มี บ ทบาทหน้ า ที่ ใ นการปฏิ บั ติ ง านได้ เ ต็ ม ตามศั ก ยภาพและ
ความสามารถที่มอยู่       ี
            6. อุปสรรคเกิดจากครูผู้สอน ( The Educator ) ได้แก่
 -           ขาดความรูความเข้าใจ ไม่มองเห็นความสาคัญของสื่อในรูปแบบใหม่ๆและไม่สนใจที่จะเรียนรู้
                              ้
เกี่ยวกับสิ่งต่างๆเหล่านั้นด้วย
 -           ครู ไ ม่ เ ข้ า ใจเกี่ ย วกั บ ธรรมชาติ ห รื อ หลั ก การใช้ สื่ อ เทคโนโลยี ท างการสอนที่ แ น่ ชั ด ทั้ ง นี้
เนื่องจากธรรมชาติและหลักการใช้สื่อบางชนิดจะส่งผลต่อการเรียนรู้ รวมทั้งการบูรณาการในการใช้
สื่อการสอนให้บังเกิดความเหมาะสมกับสภาพการณ์ของการเรียนรู้
 -           ครูยังมีความขัดแย้งทางความคิดระหว่างการเรียนโดยเน้นสื่อการสอน และการเรียนโดยมิได้
เน้นสื่อการสอนว่าไม่มความแตกต่างกัน
                                ี
 -           เกิดจากความล้มเหลวต่อการนาเอาสื่อมาใช้ในการสอน ทั้งอาจเป็นเพราะสื่อที่นามาใช้นั้นไม่
มีประสิทธิภาพที่ดพอ ขาดเทคนิคการนาเสนอ ฯลฯ ซึ่งสิ่งเหล่านี้จะทาให้เกิดความรู้สึกในแง่ลบต่อการ
                           ี
ใช้ส่อการสอนของครู
      ื
 -           ครูขาดการช่วยเหลือหรือช่วยชี้แนะเกี่ยวกับการเลือกและการใช้สื่อ รวมทั้งการผลิตสื่อจาก
ผูบริหาร ผู้เชี่ยวชาญสื่อ ซึ่งจะส่งผลทาให้เกิดทัศนคติในแง่ลบต่อการใช้ส่อการสอนได้
  ้                                                                                   ื
            จากสภาพปัญหาและอุปสรรคของการใช้สื่อการเรียนการสอนของบุคลากรที่เกี่ยวข้องตามที่
กล่าวมาในเบื้องต้นนั้น จะเห็นได้ว่าตัวแปรสาคัญที่ทาให้ผู้บริหาร ครูอาจารย์ผู้สอน หรือแม้กระทั่ง
ผู้เกี่ยวข้องกับการจัดการศึกษาทุกระดับได้มองเห็นความสาคัญ คุณค่าของสื่อการสอน และบังเกิด
ความพร้อมในทุกๆด้านต่อการชื่อการสอนอย่างมีประสิทธิภาพและเต็มตามศักยภาพ นั่นคือตัวแปรที่
เกี่ยวกับ “ทัศนคติ ( Attitude )” ที่บังเกิดขึ้นนั่นเอง
-6-




ทัศนคติ : ตัวแปรสาคัญที่ส่งผลต่อการใช้สื่อการเรียนการสอน
         จากผลการวิจัยของ วิลลิส ( Willis , 1981 ) เกี่ยวกับทัศนคติของครูมัธยมศึกษา 20 แห่งใน
เมืองเวย์น ( Wayne ) มลรัฐมิชิแกน ( Michigan ) ประเทศสหรัฐอเมริกา ผลการวิจัยพบว่า
 -         ร้อยละ 81 มีความเห็นว่าผู้เชี่ยวชาญด้านสื่อของโรงเรียนไม่มีประสิทธิภาพเพียงพอที่จะ
ให้บริการข้อสนเทศในการใช้สื่อการเรียนการสอนแก่ครู
 -         ร้อยละ 64 บอกว่าผูเชี่ยวชาญด้านสื่อของโรงเรียนไม่สามารถให้ความช่วยเหลือในด้านการใช้
                                   ้
สื่อการสอนได้อย่างเต็มประสิทธิภาพขณะที่จัดกิจกรรมการเรียนการสอน
 -         ในขณะเดียวกันร้อยละ 41 ของคาตอบจากผูเชี่ยวชาญด้านสื่อการสอนของโรงเรียนที่กล่าวว่า
                                                           ้
พวกเขาไม่ทราบถึงความต้องการที่แท้จริงในด้านการใช้สื่อโสตทัศนูปกรณ์ของครูผสอน                  ู้
         จากเหตุผลและสาเหตุที่ก ล่าวมานั้นแสดงให้เห็นถึงความคิดเห็นที่ไ ม่ตรงกัน ตลอดจนการ
ทางานที่ไม่สอดคล้องสัมพันธ์กันในหน่วยงาน ซึ่งจะนามายังทัศนคติต่อการใช้สื่อการเรียนการสอนใน
แง่ ล บได้ ดั ง นั้ น การเปลี่ ย นแปลงทั ศ นคติ ข องครู ใ ห้ บั ง เกิ ด ขึ้ น ในทางบวกได้ นั้ น ต้ อ งมี ก าร “ปรั บ
พฤติกรรม ( Behaviors )” ให้บังเกิดขึ้นด้วย ดังที่ กรีน ( Green , 1980 อ้างถึงใน Day and School ,
1987 ) ได้กล่าวว่า การปรับพฤติกรรมให้บังเกิดขึ้นนั้น ต้องจัดกระทากับองค์ประกอบสาคัญ 3
องค์ประกอบได้แก่
         1. องค์ประกอบในการโน้มน้าวจิตใจ ( Predisposing Factors )
         2. องค์ประกอบเกี่ยวกับการสร้างทักษะความสามารถ ( Enabling Factors )
         3. องค์ประกอบเกี่ยวกับการสร้างแรงจูงใจ ( Reinforcing Factors )
-7-

            การโน้มน้าวจิตใจ เป็นวิธีการสร้างทัศนคติที่ดีให้บังเกิดขึ้นในขั้นตอนแรก ทั้งนี้เพื่อจูงใจให้ครู
ได้มองเห็นคุณค่าและความสาคัญของสื่อการเรียนการสอน ตลอดทั้งกระตุ้นให้ครูมีความตื่นตัวต่อการ
ใช้ส่ออย่างถูกต้องและมีแบบแผน
     ื
            การสร้างทักษะความสามารถ เป็นการเสริมสร้างทักษะความสามารถในการใช้สื่อการเรี ยน
การสอนเพื่อเพิ่มศักยภาพการใช้สื่อให้บังเกิดขึ้นกับตัวครู ทั้งนี้เพื่อให้ครูเกิดทักษะความชานาญในการ
ผลิต การใช้ รวมทั้งเกิดความมั่นใจในการใช้สื่อการสอน
            การสร้างแรงจูงใจ เป็นการเสริมสร้างขวัญกาลังใจ ตลอดทั้งการให้รางวัลเป็นสิ่งตอบแทนแก่
ครูผใช้ส่อการเรียนการสอนได้อย่างมีประสิทธิภาพ รวมทั้งการจัดสิ่งอานวยความสะดวกไว้คอยบริการ
       ู้ ื
ในด้านสื่อการเรียนการสอน
            ดังนั้นกรรมวิธีเพื่อสนับสนุนและก่อให้เกิดการปรับพฤติกรรมทั้ง 3 ด้านดังที่กล่าวมานั้น อาจ
กระทาได้ดังต่อไปนี้ ( Day and School , 1987 )
            1. จัดองค์การหรือหน่วยงานให้สอดคล้องเกื้อหนุนกัน ( Organizational Support )โดย
จัดให้มองค์การหรือหน่วยงานทาการนิเทศช่วยเหลือ สนับสนุนครูผู้สอนในการใช้สื่อการสอนให้บังเกิด
          ี
ประสิทธิผลมากยิ่งขึน และควรจัดกระทาอย่างต่อเนื่องไม่ขาดตอน
                       ้
            2. ผลิตสื่อการสอนให้ง่ายต่อการใช้ ( Making Media Easier to Use ) สาเหตุที่ครูไม่
ค่อยใช้สื่อบางประเภทเนื่องมาจากสื่อชนิดนั้นยากต่อการใช้และไม่รู้จักวิธีการใช้ สื่อมีความซับซ้อนใน
ระบบการทางาน ดังนั้นจึงควรสรรหาหรือผลิตสื่อที่ง่ายต่อการใช้และต้องมีความพร้อมที่จะนาไปใช้
            3. ให้การฝึกอบรม ( Training ) ทั้งในรูปแบบของการฝึกอบรมระยะสั้น ระยะยาว มีการ
นาเสนอเทคนิควิธีการใช้สื่อในรูปแบบต่างๆทั้งที่เป็นสื่อใหม่และสื่อแปลกๆ การฝึกอบรมจะเป็นการ
สร้างแรงจูงใจรวมทั้งช่วยโน้มน้าวจิตใจให้เกิดความรู้ ทักษะ และเทคนิคใหม่ๆในการใช้สื่อการเรียนการ
สอนให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด

แนวทางส่งเสริมการใช้สื่อการเรียนการสอนให้บังเกิดประสิทธิภาพ
           แนวทางการส่งเสริมการใช้สื่อการเรียนการสอนนั้นสามารถจัดกระทาได้หลากหลายรูปแบบ
ด้ว ยกั น ทั้งนี้ขึ้นอยู่กั บ ความเหมาะสมและสภาพการณ์ขององค์ก าร อย่างไรก็ ตามถึงแม้ว่าวิธีก าร
ส่ ง เสริ ม การใช้ สื่ อ การสอนมี ค วามหลากหลาย แต่ เ ป้ า หมายของแต่ ล ะวิ ธี ก ารนั้ น จะส่ ง ผลต่ อ
ประสิทธิภาพของงานนั่นเอง
           เว็ดแมน ( Wedman , 1988 ) แห่งมหาวิทยาลัยมิสซูรี ( University of Missouri-Columbia )
ประเทศสหรัฐอเมริกา ได้นาเสนอรูปแบบของการส่งเสริมการใช้ส่อการเรียนการสอน โดยใช้รูปแบบที่
                                                              ื
-8-

เรียกว่า IPEM Model ( Instructional Performance Engineering Model ) ซึ่งกล่าวว่าการส่งเสริมให้
ผู้บริหาร/ผู้นิเทศ กับครูผู้สอน มีเจตคติที่ดีและสามารถใช้สื่อการเรียนการสอนได้อย่างมีประสิทธิภาพ
นั้น จะต้องมีการจัดกระทากับองค์ประกอบ 3 ด้านอย่างต่อเนื่องควบคู่กันไปตามลาดับขั้น กล่าวคือ
จะต้องจัดกระทาในด้านสารสนเทศพื้นฐาน ( Information ) วิธีการปฏิบัติ ( Instrumentation ) และด้าน
การเสริมแรง ( Motivation ) ดังแสดงให้เห็นจากภาพ

         ภาพที่ 1. IPEM กับการประยุกต์ใช้ในการส่งเสริมการใช้สื่อการเรียนการสอน

                         สารสนเทศ                  วิธีการปฏิบัติ                การเสริมแรง

 ผู้บริหาร/ผู้               (1)                         (2)                         (3)

 นิเทศ            -วางจุดมุ่งหมายของการ      -จัดสรรสื่อการสอน/วัสดุ     -ให้รางวัล กระตุนและ
                                                                                         ้
                  ใช้สื่อการเรียนการสอน      อุปกรณ์ให้เพียงพอและ        เสริมแรง
                  -วิเคราะห์การใช้สื่อการ    เหมาะสม                     -ยอมรับต่อผลหรือการ
                  สอนอย่างต่อเนื่อง          -กาหนดตารางเวลา             ปฏิบัติ

 ครูผู้สอน                   (4)                         (5)                         (6)
                  -ความรูและทักษะที่
                         ้                   -การใช้สื่ออย่างต่อเนื่อง   -มีความต้องการที่จะใช้
                  จาเป็นต่อการใช้สื่อการ     เกิดทักษะความชานาญ          สื่อการสอนอย่างมี
                  สอน                        และมีทัศนคติทดีต่อการ
                                                            ี่           ประสิทธิภาพ
                                             ใช้สื่อการสอน


       ก. ผู้บริหาร/ผู้นิเทศ
       ขั้นที่ 1. เป็นการจัดกระทาในด้านสารสนเทศเบื้องต้นที่ผู้บริหารหรือผู้นิเทศต้องดาเนินการโดย
การกาหนดเป็นจุดมุ่งหมาย นโยบายวางแผน และทาความเข้าใจกับจุดมุ่งหมายและนโยบายที่กาหนด
ไว้ ตลอดทั้งมีการวิเคราะห์ผลการใช้ส่อการเรียนการสอนอย่างต่อเนื่อง
                                    ื
       ขั้นที่ 2. ดาเนินการโดยผู้บริหาร/ผู้นิเทศจัดสรรหรือเตรียมสื่อการเรียนการสอนให้หน่วยงาน
อย่างเพีย งพอต่ อการใช้และมีค วามเหมาะสมต่ อลัก ษณะงาน นอกจากนี้ผู้บ ริหารหรือผู้นิเ ทศควร
กาหนดตารางเวลาของการใช้สื่อการสอนให้เหมาะสมอีกด้วย
-9-

        ขั้นที่ 3. เป็นขั้นตอนการเสริมแรงโดยผู้บริหารหรือผู้นิเทศจัดกระทาต่อครูผู้สอนเพื่อเป็นการ
กระตุ้นหรือเสริมแรงให้ครูเ กิด ทัศนคติที่ดีต่อการใช้สื่อการเรียนการสอน วิธีก ารอาจใช้ โดยการให้
รางวัลหรือให้ผลตอบแทนตามความเหมาะสม บังเกิดความพึงพอใจแก่หลายฝ่าย
        ข. ครูผู้สอน / ผู้ใช้สื่อการสอน
        ขั้นที่ 4. เป็นข้อมูลเบื้องต้นที่ครูควรได้รับเกี่ยวกับความรู้และทักษะในการผลิต การใช้สื่อการ
สอน ซึ่งรูปแบบในการจัดกระทาอาจเป็นรูปแบบของการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการเกี่ยวกับสื่อนวัตกรรม
ต่างๆในการจัดการเรียนการสอน
        ขั้นที่ 5. วิธีดาเนินการโดยส่งเสริมให้ครูได้ฝึกหรือใช้สื่อการสอนอย่างต่อเนื่องสม่าเสมอ จน
ครูผสอนเกิดทักษะความชานาญในการใช้สื่อการเรียนการสอน
     ู้
        ขั้นที่ 6. ครูผู้สอนบังเกิดแรงจูงใจและมีความปรารถนาที่จะใช้สื่อการเรียนการสอนให้บังเกิด
ประสิท ธิ ภาพสู งสุ ด เนื่องจากครูมี ทัก ษะความชานาญ เกิด แรงจูงใจในการใช้ สื่อแล้วยั งได้รับ การ
เสริมแรงจากผู้บริหารหรือผูนิเทศจากผลรางวัลที่ได้รับอีกด้วย
                             ้

บทสรุป
        จากที่กล่าวมาทั้งหมดจะเห็นได้ว่ากระบวนการใช้สื่อการเรียนการสอนที่บังเกิดประสิทธิผลและ
มีประสิทธิภาพสูงสุดนั้น สิ่งสาคัญที่สุดต้องมีการจัดกระทากับตัวบุคคล ( Personnel ) หรือครูผู้สอนให้
เกิดการเปลี่ยนแปลงไปในทิศทางที่ต้องการเสียก่อน นั่นคือ ต้องมีการปรับเปลี่ยนทัศนคติของตัวบุคคล
ให้เห็นคุณค่าและมองเห็นประโยชน์จากสื่อการเรียนรู้ในการพัฒนาเปลี่ยนแปลงการจัดการเรียนการ
สอนขององค์การหรือหน่วยงาน วิธีการปรับเปลี่ยนทัศนคติของตัวบุคคลอาจจัดกระทาโดยการปรับ
พฤติกรรมในลักษณะของการจัดสภาพองค์การหรือหน่วยงานให้เกื้อหนุน สร้างสื่อการสอนให้สะดวก
และง่า ยต่ อการใช้ และสิ่ง ส าคั ญ ที่สุ ด คื อการให้ ความรู้ และทั ก ษะ แก่ บุค ลากรในรูป แบบของการ
ฝึกอบรม ซึ่งวิธีการต่างๆเหล่านี้จะนามาซึ่งทัศนคติที่ดต่อการผลิตและการใช้สื่อการสอน นอกจากนี้ยัง
                                                        ี
สามารถประยุกต์รูปแบบที่เรียกว่า IPEM Model เข้ามาบูรณาการปรับใช้ในหน่วยงานเพื่อส่งเสริมให้ครู
อาจารย์มีความรู้ เกิดทักษะในการใช้สื่อการเรียนการสอนได้อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุ ดต่อไป จึงขอ
นาเสนอแนวคิดนี้เพื่อนาไปสู่การปฏิบัติของผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่ายนาไปปรับใช้หรือกาหนดเป็นยุทธศาสตร์
การพัฒนาด้านสื่อเทคโนโลยีเพื่อการศึกษาในทุกๆระดับ

                                         ............................
-10-

                                      เอกสารอ้างอิง
                                      ( References )

กิดานันท์ มลิทอง. ( 2531 ) เทคโนโลยีการศึกษาร่วมสมัย. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์
          มหาวิทยาลัย.
Day , John and School , Paul. ( 1987 ). “Media Attitude of Teachers Can Be Change”
          Educational Technology. ( January 1987 ) : 23 – 24.
Rose , Sylvia N. ( 1982 ). “Barriers to the Use of Educational Technology and Recommendation
          To Promote and Increase Their Use.” Educational Technology. ( December 1982 )
          : 12 – 15.
Wedman , John F. ( 1988 ). “Increasing the Use of Instructional Media in the Schools”
          Educational Technology. ( October 1988 ) : 26 – 31.
Willis , Kene F. ( 1981 ) “Educational Technology : Teacher and Library Media Specialist
          Knowledge of Instructional Design and Media Selection and Utilization” Educational
          Technology. ( April 1981 ) : 47 – 51.

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

การประยุกต์เทคโนโลยีสารสนเทศกับการศึกษา
การประยุกต์เทคโนโลยีสารสนเทศกับการศึกษา การประยุกต์เทคโนโลยีสารสนเทศกับการศึกษา
การประยุกต์เทคโนโลยีสารสนเทศกับการศึกษา วีรวัฒน์ สว่างแสง
 
บทที่6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสาร
บทที่6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสารบทที่6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสาร
บทที่6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสารKanlayanee Thongthab
 
การจัดการเรียนรู้ทางออนไลน์อย่างมีประสิทธิภาพในยุคดิจิทัล
การจัดการเรียนรู้ทางออนไลน์อย่างมีประสิทธิภาพในยุคดิจิทัลการจัดการเรียนรู้ทางออนไลน์อย่างมีประสิทธิภาพในยุคดิจิทัล
การจัดการเรียนรู้ทางออนไลน์อย่างมีประสิทธิภาพในยุคดิจิทัลssuserea9dad1
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1issaraka
 
ตัวอย่างบทที่1 บทนำ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างบทที่1 บทนำ เล่มโปรเจ็คตัวอย่างบทที่1 บทนำ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างบทที่1 บทนำ เล่มโปรเจ็คtumetr1
 
Development of Web-based Training on Social Network for Learning and Teaching...
Development of Web-based Training on Social Network for Learning and Teaching...Development of Web-based Training on Social Network for Learning and Teaching...
Development of Web-based Training on Social Network for Learning and Teaching...Panita Wannapiroon Kmutnb
 
Introduction to innovation 2013 10-27
Introduction to innovation 2013 10-27Introduction to innovation 2013 10-27
Introduction to innovation 2013 10-27khon Kaen University
 
เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษาเทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษาMarkker Promma
 
E learning กับ social media จะไปด้วยกันอย่างไรเพื่อพัฒนาการศึกษาไทย
E learning กับ social media จะไปด้วยกันอย่างไรเพื่อพัฒนาการศึกษาไทยE learning กับ social media จะไปด้วยกันอย่างไรเพื่อพัฒนาการศึกษาไทย
E learning กับ social media จะไปด้วยกันอย่างไรเพื่อพัฒนาการศึกษาไทยKobwit Piriyawat
 
นวัตกรรมการศึกษา 7 ประเภท
นวัตกรรมการศึกษา 7 ประเภทนวัตกรรมการศึกษา 7 ประเภท
นวัตกรรมการศึกษา 7 ประเภทNGamtip
 

Was ist angesagt? (14)

การประยุกต์เทคโนโลยีสารสนเทศกับการศึกษา
การประยุกต์เทคโนโลยีสารสนเทศกับการศึกษา การประยุกต์เทคโนโลยีสารสนเทศกับการศึกษา
การประยุกต์เทคโนโลยีสารสนเทศกับการศึกษา
 
บทที่6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสาร
บทที่6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสารบทที่6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสาร
บทที่6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสาร
 
บทที่ 10
บทที่ 10บทที่ 10
บทที่ 10
 
การจัดการเรียนรู้ทางออนไลน์อย่างมีประสิทธิภาพในยุคดิจิทัล
การจัดการเรียนรู้ทางออนไลน์อย่างมีประสิทธิภาพในยุคดิจิทัลการจัดการเรียนรู้ทางออนไลน์อย่างมีประสิทธิภาพในยุคดิจิทัล
การจัดการเรียนรู้ทางออนไลน์อย่างมีประสิทธิภาพในยุคดิจิทัล
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
ตัวอย่างบทที่1 บทนำ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างบทที่1 บทนำ เล่มโปรเจ็คตัวอย่างบทที่1 บทนำ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างบทที่1 บทนำ เล่มโปรเจ็ค
 
Development of Web-based Training on Social Network for Learning and Teaching...
Development of Web-based Training on Social Network for Learning and Teaching...Development of Web-based Training on Social Network for Learning and Teaching...
Development of Web-based Training on Social Network for Learning and Teaching...
 
Online learning lms
Online learning lms Online learning lms
Online learning lms
 
Introduction to innovation 2013 10-27
Introduction to innovation 2013 10-27Introduction to innovation 2013 10-27
Introduction to innovation 2013 10-27
 
Media&tech2learn 001-Part 1
Media&tech2learn 001-Part 1Media&tech2learn 001-Part 1
Media&tech2learn 001-Part 1
 
เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษาเทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
 
E learning กับ social media จะไปด้วยกันอย่างไรเพื่อพัฒนาการศึกษาไทย
E learning กับ social media จะไปด้วยกันอย่างไรเพื่อพัฒนาการศึกษาไทยE learning กับ social media จะไปด้วยกันอย่างไรเพื่อพัฒนาการศึกษาไทย
E learning กับ social media จะไปด้วยกันอย่างไรเพื่อพัฒนาการศึกษาไทย
 
นวัตกรรมการศึกษา 7 ประเภท
นวัตกรรมการศึกษา 7 ประเภทนวัตกรรมการศึกษา 7 ประเภท
นวัตกรรมการศึกษา 7 ประเภท
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11
 

Andere mochten auch

รายงานการพัฒนาคู่มือการนิเทศการพัฒนาสถานศึกษาสู่สถานศึกษาพอเพียง
รายงานการพัฒนาคู่มือการนิเทศการพัฒนาสถานศึกษาสู่สถานศึกษาพอเพียงรายงานการพัฒนาคู่มือการนิเทศการพัฒนาสถานศึกษาสู่สถานศึกษาพอเพียง
รายงานการพัฒนาคู่มือการนิเทศการพัฒนาสถานศึกษาสู่สถานศึกษาพอเพียงNirut Uthatip
 
ทำเนียบครูแนะแนว
ทำเนียบครูแนะแนวทำเนียบครูแนะแนว
ทำเนียบครูแนะแนวNirut Uthatip
 
แนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นทักษะการคิด
แนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นทักษะการคิดแนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นทักษะการคิด
แนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นทักษะการคิดNirut Uthatip
 
รายงานผลการดำเนินงาน
รายงานผลการดำเนินงานรายงานผลการดำเนินงาน
รายงานผลการดำเนินงานNirut Uthatip
 
1 abstractล าส ด
1 abstractล าส ด1 abstractล าส ด
1 abstractล าส ดNirut Uthatip
 
การสร้างและใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้สื่อประสม เรื่องสระเปลี่ยนรูปและสระลดรูป ช...
การสร้างและใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้สื่อประสม เรื่องสระเปลี่ยนรูปและสระลดรูป ช...การสร้างและใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้สื่อประสม เรื่องสระเปลี่ยนรูปและสระลดรูป ช...
การสร้างและใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้สื่อประสม เรื่องสระเปลี่ยนรูปและสระลดรูป ช...Nirut Uthatip
 
การนิเทศแบบ Pidre
การนิเทศแบบ Pidreการนิเทศแบบ Pidre
การนิเทศแบบ PidreNirut Uthatip
 
การประยุกต์ใช้สื่อสังคมออนไลน์
การประยุกต์ใช้สื่อสังคมออนไลน์การประยุกต์ใช้สื่อสังคมออนไลน์
การประยุกต์ใช้สื่อสังคมออนไลน์Nirut Uthatip
 
บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อNirut Uthatip
 
ตัวบ่งชี้และเกณฑ์ประเมินรอบสาม(ระดับขั้นพื้นฐาน)
ตัวบ่งชี้และเกณฑ์ประเมินรอบสาม(ระดับขั้นพื้นฐาน)ตัวบ่งชี้และเกณฑ์ประเมินรอบสาม(ระดับขั้นพื้นฐาน)
ตัวบ่งชี้และเกณฑ์ประเมินรอบสาม(ระดับขั้นพื้นฐาน)pairat13
 

Andere mochten auch (13)

Buddhism
BuddhismBuddhism
Buddhism
 
รายงานการพัฒนาคู่มือการนิเทศการพัฒนาสถานศึกษาสู่สถานศึกษาพอเพียง
รายงานการพัฒนาคู่มือการนิเทศการพัฒนาสถานศึกษาสู่สถานศึกษาพอเพียงรายงานการพัฒนาคู่มือการนิเทศการพัฒนาสถานศึกษาสู่สถานศึกษาพอเพียง
รายงานการพัฒนาคู่มือการนิเทศการพัฒนาสถานศึกษาสู่สถานศึกษาพอเพียง
 
ทำเนียบครูแนะแนว
ทำเนียบครูแนะแนวทำเนียบครูแนะแนว
ทำเนียบครูแนะแนว
 
สพฐ. พุทธศักราช 2556
สพฐ. พุทธศักราช 2556สพฐ. พุทธศักราช 2556
สพฐ. พุทธศักราช 2556
 
O net
O netO net
O net
 
แนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นทักษะการคิด
แนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นทักษะการคิดแนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นทักษะการคิด
แนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นทักษะการคิด
 
รายงานผลการดำเนินงาน
รายงานผลการดำเนินงานรายงานผลการดำเนินงาน
รายงานผลการดำเนินงาน
 
1 abstractล าส ด
1 abstractล าส ด1 abstractล าส ด
1 abstractล าส ด
 
การสร้างและใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้สื่อประสม เรื่องสระเปลี่ยนรูปและสระลดรูป ช...
การสร้างและใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้สื่อประสม เรื่องสระเปลี่ยนรูปและสระลดรูป ช...การสร้างและใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้สื่อประสม เรื่องสระเปลี่ยนรูปและสระลดรูป ช...
การสร้างและใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้สื่อประสม เรื่องสระเปลี่ยนรูปและสระลดรูป ช...
 
การนิเทศแบบ Pidre
การนิเทศแบบ Pidreการนิเทศแบบ Pidre
การนิเทศแบบ Pidre
 
การประยุกต์ใช้สื่อสังคมออนไลน์
การประยุกต์ใช้สื่อสังคมออนไลน์การประยุกต์ใช้สื่อสังคมออนไลน์
การประยุกต์ใช้สื่อสังคมออนไลน์
 
บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อ
 
ตัวบ่งชี้และเกณฑ์ประเมินรอบสาม(ระดับขั้นพื้นฐาน)
ตัวบ่งชี้และเกณฑ์ประเมินรอบสาม(ระดับขั้นพื้นฐาน)ตัวบ่งชี้และเกณฑ์ประเมินรอบสาม(ระดับขั้นพื้นฐาน)
ตัวบ่งชี้และเกณฑ์ประเมินรอบสาม(ระดับขั้นพื้นฐาน)
 

Ähnlich wie cai

ใบความรู้ 1.1ความหมายและคุณค่าของโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ 1.1ความหมายและคุณค่าของโครงงานคอมพิวเตอร์ใบความรู้ 1.1ความหมายและคุณค่าของโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ 1.1ความหมายและคุณค่าของโครงงานคอมพิวเตอร์sa_jaimun
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11wanneemayss
 
11 170819173826
11 17081917382611 170819173826
11 170819173826gam030
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11benty2443
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11nattawad147
 
Chapter 8 information technology in education
Chapter 8 information technology in educationChapter 8 information technology in education
Chapter 8 information technology in educationIsaiah Thuesayom
 
นวัตกรรมและสารสนเทศ
นวัตกรรมและสารสนเทศนวัตกรรมและสารสนเทศ
นวัตกรรมและสารสนเทศWisut Lakhamsai
 
มโนทัศน์ของเทคโนโลยีการศึกษา
มโนทัศน์ของเทคโนโลยีการศึกษามโนทัศน์ของเทคโนโลยีการศึกษา
มโนทัศน์ของเทคโนโลยีการศึกษาVitamilk
 
The Development of Web-based Training to Develop Job Competencies for Instruc...
The Development of Web-based Training to Develop Job Competencies for Instruc...The Development of Web-based Training to Develop Job Competencies for Instruc...
The Development of Web-based Training to Develop Job Competencies for Instruc...Panita Wannapiroon Kmutnb
 

Ähnlich wie cai (20)

Introduction technologies sec 4
Introduction technologies sec 4Introduction technologies sec 4
Introduction technologies sec 4
 
ผลการดำเนินงานตามจุดเน้นที่ 3
ผลการดำเนินงานตามจุดเน้นที่ 3ผลการดำเนินงานตามจุดเน้นที่ 3
ผลการดำเนินงานตามจุดเน้นที่ 3
 
ใบความรู้ 1.1ความหมายและคุณค่าของโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ 1.1ความหมายและคุณค่าของโครงงานคอมพิวเตอร์ใบความรู้ 1.1ความหมายและคุณค่าของโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ 1.1ความหมายและคุณค่าของโครงงานคอมพิวเตอร์
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11
 
11 170819173826
11 17081917382611 170819173826
11 170819173826
 
11 170819173826
11 17081917382611 170819173826
11 170819173826
 
11 170819173826
11 17081917382611 170819173826
11 170819173826
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11
 
11 170819173826
11 17081917382611 170819173826
11 170819173826
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11
 
11 170819173826
11 17081917382611 170819173826
11 170819173826
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11
 
11 170819173826
11 17081917382611 170819173826
11 170819173826
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
Chapter 8 information technology in education
Chapter 8 information technology in educationChapter 8 information technology in education
Chapter 8 information technology in education
 
นวัตกรรมและสารสนเทศ
นวัตกรรมและสารสนเทศนวัตกรรมและสารสนเทศ
นวัตกรรมและสารสนเทศ
 
มโนทัศน์ของเทคโนโลยีการศึกษา
มโนทัศน์ของเทคโนโลยีการศึกษามโนทัศน์ของเทคโนโลยีการศึกษา
มโนทัศน์ของเทคโนโลยีการศึกษา
 
The Development of Web-based Training to Develop Job Competencies for Instruc...
The Development of Web-based Training to Develop Job Competencies for Instruc...The Development of Web-based Training to Develop Job Competencies for Instruc...
The Development of Web-based Training to Develop Job Competencies for Instruc...
 

Mehr von Nirut Uthatip

บทคัดย่อรายงานการพัฒนาคู่มือการนิเทศการพัฒนาสถานศึกษาสู่สถานศึกษาพอเพียง
บทคัดย่อรายงานการพัฒนาคู่มือการนิเทศการพัฒนาสถานศึกษาสู่สถานศึกษาพอเพียงบทคัดย่อรายงานการพัฒนาคู่มือการนิเทศการพัฒนาสถานศึกษาสู่สถานศึกษาพอเพียง
บทคัดย่อรายงานการพัฒนาคู่มือการนิเทศการพัฒนาสถานศึกษาสู่สถานศึกษาพอเพียงNirut Uthatip
 
บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อNirut Uthatip
 
บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อNirut Uthatip
 
คู่มือ การประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส ในการดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ
คู่มือ การประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส ในการดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐคู่มือ การประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส ในการดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ
คู่มือ การประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส ในการดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐNirut Uthatip
 
การ์ดตบ
การ์ดตบการ์ดตบ
การ์ดตบNirut Uthatip
 
รายงานการพัฒนาคู่มือ
รายงานการพัฒนาคู่มือรายงานการพัฒนาคู่มือ
รายงานการพัฒนาคู่มือNirut Uthatip
 
รายงานการประยุกต์ใช้สื่อสังคมออนไลน์
รายงานการประยุกต์ใช้สื่อสังคมออนไลน์รายงานการประยุกต์ใช้สื่อสังคมออนไลน์
รายงานการประยุกต์ใช้สื่อสังคมออนไลน์Nirut Uthatip
 
รายงานการพัฒนาคู่มือ
รายงานการพัฒนาคู่มือรายงานการพัฒนาคู่มือ
รายงานการพัฒนาคู่มือNirut Uthatip
 
กำหนดการดำเนินงานโครงการฯ ปีงบประมาณ 2557
กำหนดการดำเนินงานโครงการฯ ปีงบประมาณ  2557กำหนดการดำเนินงานโครงการฯ ปีงบประมาณ  2557
กำหนดการดำเนินงานโครงการฯ ปีงบประมาณ 2557Nirut Uthatip
 
2 ระดมความคิด
2 ระดมความคิด2 ระดมความคิด
2 ระดมความคิดNirut Uthatip
 
1 กระตุกต่อมคิด
1 กระตุกต่อมคิด1 กระตุกต่อมคิด
1 กระตุกต่อมคิดNirut Uthatip
 
ขีดจำกัดล่างคะแนนสอบทางการศึกษาแห่งชาติ
ขีดจำกัดล่างคะแนนสอบทางการศึกษาแห่งชาติขีดจำกัดล่างคะแนนสอบทางการศึกษาแห่งชาติ
ขีดจำกัดล่างคะแนนสอบทางการศึกษาแห่งชาติNirut Uthatip
 
Kpi ประเมินภายนอกรอบ4 พฐ 040457
Kpi ประเมินภายนอกรอบ4 พฐ 040457Kpi ประเมินภายนอกรอบ4 พฐ 040457
Kpi ประเมินภายนอกรอบ4 พฐ 040457Nirut Uthatip
 
Kpi ประเมินภายนอกรอบ4 พฐ 040457
Kpi ประเมินภายนอกรอบ4 พฐ 040457Kpi ประเมินภายนอกรอบ4 พฐ 040457
Kpi ประเมินภายนอกรอบ4 พฐ 040457Nirut Uthatip
 
Kpi ประเมินภายนอกรอบ4 พฐ 040457
Kpi ประเมินภายนอกรอบ4 พฐ 040457Kpi ประเมินภายนอกรอบ4 พฐ 040457
Kpi ประเมินภายนอกรอบ4 พฐ 040457Nirut Uthatip
 
Kpi ประเมินภายนอกรอบ4 พฐ 040457
Kpi ประเมินภายนอกรอบ4 พฐ 040457Kpi ประเมินภายนอกรอบ4 พฐ 040457
Kpi ประเมินภายนอกรอบ4 พฐ 040457Nirut Uthatip
 

Mehr von Nirut Uthatip (20)

บทคัดย่อรายงานการพัฒนาคู่มือการนิเทศการพัฒนาสถานศึกษาสู่สถานศึกษาพอเพียง
บทคัดย่อรายงานการพัฒนาคู่มือการนิเทศการพัฒนาสถานศึกษาสู่สถานศึกษาพอเพียงบทคัดย่อรายงานการพัฒนาคู่มือการนิเทศการพัฒนาสถานศึกษาสู่สถานศึกษาพอเพียง
บทคัดย่อรายงานการพัฒนาคู่มือการนิเทศการพัฒนาสถานศึกษาสู่สถานศึกษาพอเพียง
 
บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อ
 
บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อ
 
Audit chartern2
Audit chartern2Audit chartern2
Audit chartern2
 
ปก Ita
ปก Itaปก Ita
ปก Ita
 
คู่มือ การประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส ในการดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ
คู่มือ การประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส ในการดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐคู่มือ การประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส ในการดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ
คู่มือ การประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส ในการดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ
 
การ์ดตบ
การ์ดตบการ์ดตบ
การ์ดตบ
 
รายงานการพัฒนาคู่มือ
รายงานการพัฒนาคู่มือรายงานการพัฒนาคู่มือ
รายงานการพัฒนาคู่มือ
 
รายงานการประยุกต์ใช้สื่อสังคมออนไลน์
รายงานการประยุกต์ใช้สื่อสังคมออนไลน์รายงานการประยุกต์ใช้สื่อสังคมออนไลน์
รายงานการประยุกต์ใช้สื่อสังคมออนไลน์
 
รายงานการพัฒนาคู่มือ
รายงานการพัฒนาคู่มือรายงานการพัฒนาคู่มือ
รายงานการพัฒนาคู่มือ
 
Full
FullFull
Full
 
กำหนดการดำเนินงานโครงการฯ ปีงบประมาณ 2557
กำหนดการดำเนินงานโครงการฯ ปีงบประมาณ  2557กำหนดการดำเนินงานโครงการฯ ปีงบประมาณ  2557
กำหนดการดำเนินงานโครงการฯ ปีงบประมาณ 2557
 
3 moral project
3 moral project3 moral project
3 moral project
 
2 ระดมความคิด
2 ระดมความคิด2 ระดมความคิด
2 ระดมความคิด
 
1 กระตุกต่อมคิด
1 กระตุกต่อมคิด1 กระตุกต่อมคิด
1 กระตุกต่อมคิด
 
ขีดจำกัดล่างคะแนนสอบทางการศึกษาแห่งชาติ
ขีดจำกัดล่างคะแนนสอบทางการศึกษาแห่งชาติขีดจำกัดล่างคะแนนสอบทางการศึกษาแห่งชาติ
ขีดจำกัดล่างคะแนนสอบทางการศึกษาแห่งชาติ
 
Kpi ประเมินภายนอกรอบ4 พฐ 040457
Kpi ประเมินภายนอกรอบ4 พฐ 040457Kpi ประเมินภายนอกรอบ4 พฐ 040457
Kpi ประเมินภายนอกรอบ4 พฐ 040457
 
Kpi ประเมินภายนอกรอบ4 พฐ 040457
Kpi ประเมินภายนอกรอบ4 พฐ 040457Kpi ประเมินภายนอกรอบ4 พฐ 040457
Kpi ประเมินภายนอกรอบ4 พฐ 040457
 
Kpi ประเมินภายนอกรอบ4 พฐ 040457
Kpi ประเมินภายนอกรอบ4 พฐ 040457Kpi ประเมินภายนอกรอบ4 พฐ 040457
Kpi ประเมินภายนอกรอบ4 พฐ 040457
 
Kpi ประเมินภายนอกรอบ4 พฐ 040457
Kpi ประเมินภายนอกรอบ4 พฐ 040457Kpi ประเมินภายนอกรอบ4 พฐ 040457
Kpi ประเมินภายนอกรอบ4 พฐ 040457
 

cai

  • 1. การส่งเสริมการใช้สื่อการเรียนการสอน ให้บังเกิดประสิทธิภาพสูงสุด* สุรศักดิ์ ปาเฮ** พ.ม. , ค.บ.(ภาษาอังกฤษ) , ศษ.ม.(เทคโนโลยีการศึกษา) , Ph.D.(Candidate) STOU บทนา ความก้าวหน้าทางวิทยาการในปัจจุบันคงเป็นสิ่งที่ยืนยันแน่ชัดแล้วว่ามนุษย์เรากาลังก้าวเข้าสู่ ยุคแห่งสังคมเทคโนโลยีชนสูง หรือที่เรียกว่า “ยุคไฮเทค ( Hi-tech )” โดยเฉพาะยิ่งความเจริญก้าวหน้า ั้ ด้านวัสดุอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ต่างๆ ซึ่งนับวันจะเข้ามามีบทบาทในแทบทุก สาขาวิชาชีพไม่ว่าจะเป็น ด้านการแพทย์ การทหาร การอุตสาหกรรม การสื่อสาร การเกษตร รวมทั้งด้านการศึกษาก็ตาม ในด้านการจัดการศึกษานั้น วัสดุอุปกรณ์ทางอิเล็กทรอนิกส์เหล่านี้จะเป็นปัจจัยสาคัญในการ เสริมสร้างและจัดสภาพการณ์ทางการเรียนรู้ให้บรรลุเป้าหมายที่กาหนดไว้ในการจัดการศึกษา เป็น ปัจจัยในการส่งเสริมสนับสนุน รวมทั้งช่วยแก้ไขปัญหาต่างๆในมวลประสบการณ์ของการเรียนการสอน ที่มีความก้าวหน้าและหลากหลาย อย่างไรก็ตามมีใครย้อนคิดทบทวนบ้างไหมว่าปัจจัยในด้านวัสดุ อุปกรณ์ในการจัดการเรียนการสอนที่เรียกว่า “สื่อการสอน ( Instructional Media )” ในยุคแห่งสังคม เทคโนโลยีชั้นสูงเหล่านั้น จะมีผลกระทบต่อการเรียนการสอนและการจัดการศึกษาทั่วไปอย่างไรบ้าง *บทความนีเผยแพร่ในวารสารเสมาเวียงโกศัย ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 เดือนเมษายน – มิถุนายน 2547 หน้า 7 – 11 ้ **รองผู้อานวยการสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาแพร่เขต 2 http://www.addkutec3.com
  • 2. -2- ทั้งนี้สืบเนื่องจากตัวแปรที่สาคั ญที่จะก่ อให้เกิดผลลัพธ์ในการใช้สื่อการสอนทั้งในทางบวกหรือลบ เหล่านั้นจะขึ้นอยู่กับปัจจัยที่เกี่ยวกับตัวบุคคล ( Personnel ) หรือผู้ใช้สื่อ ( Users )นั่นเองว่ามีทัศนคติ หรือมีทักษะในการปรับใช้สื่อการเรียนการสอนได้อย่างมีประสิทธิภาพมากน้อยเพียงใด ซึ่งบทความนี้ ผู้เขียนจะชี้ให้เห็นถึงประเด็นที่ส่งผลกระทบ รวมทั้งปัญหาอุปสรรคในการใช้สื่อ เพื่อการเรียนการสอน ตลอดจนแนวทางส่ ง เสริ ม การใช้ สื่ อ การสอนเพื่ อ ช่ ว ยแก้ ไ ขปั ญ หาที่ อ าจเกิ ด ขึ้ น ทั้ ง นี้ เ พื่ อ น าไปสู่ ประสิ ท ธิ ผ ลและประสิ ท ธิ ภ าพในการใช้ สื่ อ การเรี ย นการสอนให้ บั ง เกิ ด ประโยชน์ สู ง สุ ด ในการจั ด การศึกษาต่อไป ความหมายและประเภทของสื่อการเรียนการสอน สื่อ ( Media ) มาจากภาษาลาตินว่า Medium แปลว่าระหว่าง ( between ) หมายถึงสิ่งใดก็ ตามที่บรรจุข้อมูลเพื่อให้ผู้ส่งและผู้รับสามารถสื่อสารกันได้ตรงตามวัตถุประสงค์ เมื่อมีการนามาใช้ใน การเรียนการสอนจึงเรียกว่า “สื่อการสอน ( Instructional Media )” ( กิดานันท์ มลิทอง , 2531 ) สื่อการเรียนการสอนโดยทั่วไปจะแบ่งออกตามประเภท ลักษณะของงาน หรือตามวัตถุประสงค์ ของการใช้ ในศาสตร์ทางเทคโนโลยีการศึกษานั้นจะแบ่งสื่อการเรียนการสอนออกเป็น 3 ประเภท ใหญ่ๆดังนี้ 1. สื่อประเภทวัสดุ ( Software หรือ Small Media ) เป็นสื่อขนาดเล็ก ขนาดกะทัดรัด มักจะใช้รวมกับสื่อประเภทอุปกรณ์จงจะสามารถสื่อสารข้อมูลไปยังผู้รับได้ สื่อประเภทนี้เช่น โปรแกรม ่ ึ คอมพิวเตอร์ แผ่นดิสก์ เทปโทรทัศน์ เทปแคสเซ็ท หรือแม้กระทั่งสื่อราคาเยาเช่น รูปภาพ แผนภูมิ ฯลฯ 2. สื่อประเภทอุปกรณ์ ( Hardware หรือ Equipments หรือ Big Media ) เป็นสื่อที่มี ขนาดใหญ่ มีน้าหนักมาก สื่อบางชนิดจะต้องอาศัยข้อมูลที่ส่งผ่านสื่อจาพวกวัสดุจึงจะบังเกิดผลในการ สื่อความหมาย สื่อประเภทนี้เช่น คอมพิวเตอร์ โทรทัศน์ เครื่องฉายสไลด์ เครื่องฉายภาพโปร่งใส เครื่องฉายภาพทึบแสง เครื่องฉายภาพยนตร์ เครื่องฉายวีดิโอ เครื่องฉาย Visualization เป็นต้น 3. สื่อประเภทเทคนิควิธีการ ( Techniques ) เป็นสื่อประเภทกิจกรรมหรือการปฏิบัติต่างๆ ในการเรียนการสอน เช่น บทบาทสมมติ สถานการณ์จาลอง การสาธิต หรือสื่อยุคใหม่เช่น วิธีการ ประชุมทางไกล ( Teleconference ) เป็นต้น สื่อการสอน : สภาพการณ์การใช้และผลกระทบที่เกิดขึ้น ดั ง ได้ ก ล่ าวในเบื้ องต้น แล้ ว ว่ าปั จจุ บัน ซึ่ง เป็ น ยุ ค แห่ งสั งคมสารสนเทศนั้ น อาจเป็น ไปได้ ว่ า ความคิด ความคาดหวังของผูเกี่ยวข้องทุกฝ่าย ไม่ว่าจะเป็นผู้บริหารทุกระดับ ผู้เชี่ยวชาญสื่อ ผูนิเทศ ้ ้
  • 3. -3- รวมทั้งครูผู้สอนเองต่างอาจมีแนวคิดและอาจมุ่งประเด็นความสนใจที่มีต่อการเลือกและการใช้สื่อการ สอนหรือสื่อทางการศึกษาที่ก้าวหน้าทันสมัย หรือที่เรียกตามสมัยนิยมว่าเป็น “สื่อใหม่ ( New Media )” กันเป็นส่วนใหญ่ โดยเฉพาะอย่างยิ่งสื่อยุคดิจตอลประเภทคอมพิวเตอร์ สื่อประสม ( Multimedia ) หรือ ิ สื่อระบบทางไกลประเภทอินเตอร์เน็ต ( Internet ) รวมทั้งสื่อโทรคมนาคมอื่นๆทั้งโทรทัศน์และวิทยุ ทางการศึกษา ซึ่งสื่อต่างๆเหล่านี้กาลังอยู่ในความนิยมและมีบทบาทค่อนข้างสูงต่อกระบวนการเรียนรู้ และการศึกษาทั้งในระบบ นอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย โดยเฉพาะอย่างยิ่งในประเทศพัฒนา แล้วในยุโรปและอเมริกา รวมทั้งประเทศไทยในยุคการปฏิรูปการศึกษาในปัจจุบัน อย่างไรก็ตามหากจะวิเคราะห์ถึงการนาเอาสื่อขั้นสูงประเภทต่างๆเหล่านั้นมาใช้ในการพัฒนา การศึกษาและการเรียนการสอนบ้านเรา ซึ่งอาจจะมี ปัจจัยเอื้ออานวยที่แตกต่างจากประเทศที่พัฒนา แล้วในหลายองค์ประกอบด้วยกัน จึงเป็นสิ่งสาคัญและจาเป็นอย่างยิ่งที่ผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่ายต้องคานึงถึง ความพร้อมและผลกระทบที่ตามมา ตลอดถึงการกาหนดแนวทางการปรับใช้สื่อการเรียนรู้ให้เหมาะสม และสอดคล้องกับสภาพท้องถิ่น ทั้งนี้เพื่อมิให้บังเกิดความสูญเปล่าต่อทรัพยากรและบังเกิดผลที่คุ้มค่า ต่อการลงทุนในการจัดการศึกษา กล่าวกันว่าแม้แต่ประเทศที่มีความพร้อมและมีความก้าวหน้าทางด้านเทคโนโลยีชั้นสูง และมี ปัจจัยหลายด้านที่เอื้อต่อการใช้และพัฒนาสื่อการเรียนการสอน เช่น ประเทศสหรัฐอเมริกา ซึ่งก็ยัง ประสบกับปัญหาและอุปสรรคต่างๆอีกมากในการส่งเสริมและใช้ส่อเทคโนโลยีทางการสอน ดังเช่น โรส ื ( Rose , 1982 ) แห่งมหาวิทยาลัยวิสคอนซิน ( Wisconsin – Madison )ที่ได้กล่าวถึงปัญหาและอุปสรรค ของการใช้ส่อเทคโนโลยีทางการสอนของสถาบันการศึกษาไว้อย่างน่าสนใจ กล่าวคือสถาบันการศึกษา ื จะประสบกับปัญหาอุปสรรคในด้านต่างๆดังต่อไปนี้ 1. อุปสรรคด้านงบประมาณ ( Institutional Economic Barriers ) ได้แก่ - งบประมาณไม่เพียงพอต่อการจัดซื้อ จัดซ่อมและบารุงรักษาวัสดุอุปกรณ์สื่อการเรียนการ สอนและสื่อด้านการศึกษาต่างๆ - องค์การหรือหน่วยงานไม่สามารถจัดสรรงบประมาณให้เพียงพอ รวมทั้งไม่มีการวางแผน ระยะยาวด้านงบประมาณต่อการพัฒนาด้านสื่อเทคโนโลยีทางการสอน - ขาดงบประมาณในขั้นตอนหรือกระบวนการผลิตสื่อ ทั้งนี้เนื่องจากผลผลิตของสื่อเทคโนโลยี จะมีคุณภาพมากน้อยเพียงไรนันจาเป็นต้องอาศัยกาลังคนและปัจจัยเกื้อหนุนต่างๆอีกมากที่จะผลิตสื่อ ้ คุณภาพเหล่านั้น 2. อุปสรรคที่เกิดจากเทคนิคหรือตัวเทคโนโลยีเอง ( Technological Barriers ) ได้แก่ - ครูผใช้ส่อเทคโนโลยีทางการสอนไม่มีความมั่นใจต่อการใช้ ทั้งนี้เป็นเพราะขาดทักษะที่จาเป็น ู้ ื ต่อการใช้ส่อเทคโนโลยีใหม่ๆเหล่านั้นนั่นเอง ื
  • 4. -4- - ครูผู้สอนมีความคิดและคาดหวังในทางที่ผิดว่าสื่อเทคโนโลยีจะสามารถแทนตัวครูผู้สอนได้ โดยไม่ต้องมีการควบคุมการใช้ เช่น การใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอน หรือเกมทางการเรียนต่างๆ - ครูผู้สอนคาดหวังเกี่ยวกับโปรแกรมการสอนไว้สูงเกินไป ซึ่งในบางครั้งโปรแกรมการสอน ต่างๆ เช่น โปรแกรมคอมพิวเตอร์บางโปรแกรมอาจสนองต่อการจัดการเรียนการสอนที่น้อยมาก ไม่ สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของหลักสูตรที่กาหนดไว้ - ครูผู้สอนมีความคิดว่าสื่อเทคโนโลยีทางการสอนเหล่านั้นจะเป็นเครื่องมือสาหรับครู ( Tools for Teachers ) สาหรับนาไปใช้สอนในชั้นเรียนเท่านั้น มากกว่าที่จะนาไปประยุกต์ใช้ให้เหมาะสมกับ สถานการณ์ทางการเรียนรู้ให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด - ปัญหาด้านประสิทธิภาพและความคล่องตัวที่จะนาไปใช้ อาจเป็นเพราะว่าสื่อการสอนบาง ชนิดไม่มีประสิทธิภาพดีพอ และยากต่อการใช้ มีกลไกที่ซับซ้อนเกินไป หรือมีขนาดใหญ่เกินไป 3. อุปสรรคที่เกิดจากกระบวนการบริหาร ( Administrative Barriers ) ได้แก่ - ผู้บริหารเพียงแต่ต้องการที่จะให้ครูผู้สอนใช้สื่อการสอนอย่างต่อเนื่องและสม่าเสมอเพื่อให้ เห็นผลงานการใช้สื่อ แต่มิได้คานึงถึงขันตอนที่เหมาะสมตามหลักการของการใช้ส่อการสอนเหล่านั้น ้ ื - ผู้บริหารทุ่มเทงบประมาณเน้นหนักในด้านสื่อประเภทเครื่องมืออุปกรณ์มากเกินไปโดยมิได้ คานึงถึงตัวโปรแกรมหรือวัสดุที่จะนามาใช้ร่วมกับเครื่องมือต่างๆเหล่านั้น - ผู้ บ ริ ห ารมั ก จะมองสื่ อ เทคโนโลยี ห รื อ นวั ต กรรมสื่ อ การสอนเป็ น เพี ย งแค่ น โยบายหรื อ เป้าหมายของหน่วยงานหรือองค์การเท่านั้น โดยมิได้ให้การสนับสนุนอย่างจริงจัง หรือคิดหาแนวทางที่ จะส่งเสริมให้เกิดทักษะความรูอย่างเป็นรูปธรรมและมีความชัดเจนต่อการปฏิบัติยิ่งขึนเลย ้ ้
  • 5. -5- - ผู้บริหารยังขาดการวางแผนต่ อการใช้สื่อเทคโนโลยีทางการสอนอย่างแน่ชัด ตลอดทั้งมีการ จัดกระทาและควบคุมการใช้สื่ออย่างเป็นระบบแบบแผนที่น้อยมาก - กระบวนการบริหารที่เ กี่ย วกั บการกาหนดบทบาทหน้าที่ของนัก เทคโนโลยีการศึกษาหรือ ผู้เ ชี่ย วชาญสื่อ ในหน่ว ยงานหรื อ องค์ ก ารต่ า งๆยั งคลุ มเครือ ไม่ ชั ดเจน บางครั้ง อาจดูเ หมือ นว่า นั ก เทคโนโลยีการศึกษาเหล่านั้นเป็นผู้เชี่ยวชาญต่อการจัดการเรียนการสอนโดยการนาเอาวิธีระบบมาใช้ แต่ในบางครั้งนักเทคโนโลยีการศึกษาเหล่านั้นกลับมีบทบาทหน้าที่เป็นเพียงแค่ “ผู้ให้บริการ ( Service Personnel )” เท่านั้น - ผู้บริหารไม่สามารถที่จะเป็นผู้นาต่อการใช้สื่อเทคโนโลยีทางการสอนได้อย่างมีประสิทธิภาพ ขาดจุด ยืนที่แน่ชัดต่อการชี้นาให้ผู้สอนมองเห็นความสาคัญของการจัดการเรีย นการสอนโดยใช้สื่อ เทคโนโลยี แ ละนวั ต กรรมการศึ ก ษาเข้ า มาช่ ว ย รวมทั้ ง ไม่ ส ามารถให้ ก ารสนั บ สนุ น ช่ ว ยเหลื อ นั ก เทคโนโลยี ห รื อ ผู้ เ ชี่ ย วชาญด้ า นสื่ อ ให้ มี บ ทบาทหน้ า ที่ ใ นการปฏิ บั ติ ง านได้ เ ต็ ม ตามศั ก ยภาพและ ความสามารถที่มอยู่ ี 6. อุปสรรคเกิดจากครูผู้สอน ( The Educator ) ได้แก่ - ขาดความรูความเข้าใจ ไม่มองเห็นความสาคัญของสื่อในรูปแบบใหม่ๆและไม่สนใจที่จะเรียนรู้ ้ เกี่ยวกับสิ่งต่างๆเหล่านั้นด้วย - ครู ไ ม่ เ ข้ า ใจเกี่ ย วกั บ ธรรมชาติ ห รื อ หลั ก การใช้ สื่ อ เทคโนโลยี ท างการสอนที่ แ น่ ชั ด ทั้ ง นี้ เนื่องจากธรรมชาติและหลักการใช้สื่อบางชนิดจะส่งผลต่อการเรียนรู้ รวมทั้งการบูรณาการในการใช้ สื่อการสอนให้บังเกิดความเหมาะสมกับสภาพการณ์ของการเรียนรู้ - ครูยังมีความขัดแย้งทางความคิดระหว่างการเรียนโดยเน้นสื่อการสอน และการเรียนโดยมิได้ เน้นสื่อการสอนว่าไม่มความแตกต่างกัน ี - เกิดจากความล้มเหลวต่อการนาเอาสื่อมาใช้ในการสอน ทั้งอาจเป็นเพราะสื่อที่นามาใช้นั้นไม่ มีประสิทธิภาพที่ดพอ ขาดเทคนิคการนาเสนอ ฯลฯ ซึ่งสิ่งเหล่านี้จะทาให้เกิดความรู้สึกในแง่ลบต่อการ ี ใช้ส่อการสอนของครู ื - ครูขาดการช่วยเหลือหรือช่วยชี้แนะเกี่ยวกับการเลือกและการใช้สื่อ รวมทั้งการผลิตสื่อจาก ผูบริหาร ผู้เชี่ยวชาญสื่อ ซึ่งจะส่งผลทาให้เกิดทัศนคติในแง่ลบต่อการใช้ส่อการสอนได้ ้ ื จากสภาพปัญหาและอุปสรรคของการใช้สื่อการเรียนการสอนของบุคลากรที่เกี่ยวข้องตามที่ กล่าวมาในเบื้องต้นนั้น จะเห็นได้ว่าตัวแปรสาคัญที่ทาให้ผู้บริหาร ครูอาจารย์ผู้สอน หรือแม้กระทั่ง ผู้เกี่ยวข้องกับการจัดการศึกษาทุกระดับได้มองเห็นความสาคัญ คุณค่าของสื่อการสอน และบังเกิด ความพร้อมในทุกๆด้านต่อการชื่อการสอนอย่างมีประสิทธิภาพและเต็มตามศักยภาพ นั่นคือตัวแปรที่ เกี่ยวกับ “ทัศนคติ ( Attitude )” ที่บังเกิดขึ้นนั่นเอง
  • 6. -6- ทัศนคติ : ตัวแปรสาคัญที่ส่งผลต่อการใช้สื่อการเรียนการสอน จากผลการวิจัยของ วิลลิส ( Willis , 1981 ) เกี่ยวกับทัศนคติของครูมัธยมศึกษา 20 แห่งใน เมืองเวย์น ( Wayne ) มลรัฐมิชิแกน ( Michigan ) ประเทศสหรัฐอเมริกา ผลการวิจัยพบว่า - ร้อยละ 81 มีความเห็นว่าผู้เชี่ยวชาญด้านสื่อของโรงเรียนไม่มีประสิทธิภาพเพียงพอที่จะ ให้บริการข้อสนเทศในการใช้สื่อการเรียนการสอนแก่ครู - ร้อยละ 64 บอกว่าผูเชี่ยวชาญด้านสื่อของโรงเรียนไม่สามารถให้ความช่วยเหลือในด้านการใช้ ้ สื่อการสอนได้อย่างเต็มประสิทธิภาพขณะที่จัดกิจกรรมการเรียนการสอน - ในขณะเดียวกันร้อยละ 41 ของคาตอบจากผูเชี่ยวชาญด้านสื่อการสอนของโรงเรียนที่กล่าวว่า ้ พวกเขาไม่ทราบถึงความต้องการที่แท้จริงในด้านการใช้สื่อโสตทัศนูปกรณ์ของครูผสอน ู้ จากเหตุผลและสาเหตุที่ก ล่าวมานั้นแสดงให้เห็นถึงความคิดเห็นที่ไ ม่ตรงกัน ตลอดจนการ ทางานที่ไม่สอดคล้องสัมพันธ์กันในหน่วยงาน ซึ่งจะนามายังทัศนคติต่อการใช้สื่อการเรียนการสอนใน แง่ ล บได้ ดั ง นั้ น การเปลี่ ย นแปลงทั ศ นคติ ข องครู ใ ห้ บั ง เกิ ด ขึ้ น ในทางบวกได้ นั้ น ต้ อ งมี ก าร “ปรั บ พฤติกรรม ( Behaviors )” ให้บังเกิดขึ้นด้วย ดังที่ กรีน ( Green , 1980 อ้างถึงใน Day and School , 1987 ) ได้กล่าวว่า การปรับพฤติกรรมให้บังเกิดขึ้นนั้น ต้องจัดกระทากับองค์ประกอบสาคัญ 3 องค์ประกอบได้แก่ 1. องค์ประกอบในการโน้มน้าวจิตใจ ( Predisposing Factors ) 2. องค์ประกอบเกี่ยวกับการสร้างทักษะความสามารถ ( Enabling Factors ) 3. องค์ประกอบเกี่ยวกับการสร้างแรงจูงใจ ( Reinforcing Factors )
  • 7. -7- การโน้มน้าวจิตใจ เป็นวิธีการสร้างทัศนคติที่ดีให้บังเกิดขึ้นในขั้นตอนแรก ทั้งนี้เพื่อจูงใจให้ครู ได้มองเห็นคุณค่าและความสาคัญของสื่อการเรียนการสอน ตลอดทั้งกระตุ้นให้ครูมีความตื่นตัวต่อการ ใช้ส่ออย่างถูกต้องและมีแบบแผน ื การสร้างทักษะความสามารถ เป็นการเสริมสร้างทักษะความสามารถในการใช้สื่อการเรี ยน การสอนเพื่อเพิ่มศักยภาพการใช้สื่อให้บังเกิดขึ้นกับตัวครู ทั้งนี้เพื่อให้ครูเกิดทักษะความชานาญในการ ผลิต การใช้ รวมทั้งเกิดความมั่นใจในการใช้สื่อการสอน การสร้างแรงจูงใจ เป็นการเสริมสร้างขวัญกาลังใจ ตลอดทั้งการให้รางวัลเป็นสิ่งตอบแทนแก่ ครูผใช้ส่อการเรียนการสอนได้อย่างมีประสิทธิภาพ รวมทั้งการจัดสิ่งอานวยความสะดวกไว้คอยบริการ ู้ ื ในด้านสื่อการเรียนการสอน ดังนั้นกรรมวิธีเพื่อสนับสนุนและก่อให้เกิดการปรับพฤติกรรมทั้ง 3 ด้านดังที่กล่าวมานั้น อาจ กระทาได้ดังต่อไปนี้ ( Day and School , 1987 ) 1. จัดองค์การหรือหน่วยงานให้สอดคล้องเกื้อหนุนกัน ( Organizational Support )โดย จัดให้มองค์การหรือหน่วยงานทาการนิเทศช่วยเหลือ สนับสนุนครูผู้สอนในการใช้สื่อการสอนให้บังเกิด ี ประสิทธิผลมากยิ่งขึน และควรจัดกระทาอย่างต่อเนื่องไม่ขาดตอน ้ 2. ผลิตสื่อการสอนให้ง่ายต่อการใช้ ( Making Media Easier to Use ) สาเหตุที่ครูไม่ ค่อยใช้สื่อบางประเภทเนื่องมาจากสื่อชนิดนั้นยากต่อการใช้และไม่รู้จักวิธีการใช้ สื่อมีความซับซ้อนใน ระบบการทางาน ดังนั้นจึงควรสรรหาหรือผลิตสื่อที่ง่ายต่อการใช้และต้องมีความพร้อมที่จะนาไปใช้ 3. ให้การฝึกอบรม ( Training ) ทั้งในรูปแบบของการฝึกอบรมระยะสั้น ระยะยาว มีการ นาเสนอเทคนิควิธีการใช้สื่อในรูปแบบต่างๆทั้งที่เป็นสื่อใหม่และสื่อแปลกๆ การฝึกอบรมจะเป็นการ สร้างแรงจูงใจรวมทั้งช่วยโน้มน้าวจิตใจให้เกิดความรู้ ทักษะ และเทคนิคใหม่ๆในการใช้สื่อการเรียนการ สอนให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด แนวทางส่งเสริมการใช้สื่อการเรียนการสอนให้บังเกิดประสิทธิภาพ แนวทางการส่งเสริมการใช้สื่อการเรียนการสอนนั้นสามารถจัดกระทาได้หลากหลายรูปแบบ ด้ว ยกั น ทั้งนี้ขึ้นอยู่กั บ ความเหมาะสมและสภาพการณ์ขององค์ก าร อย่างไรก็ ตามถึงแม้ว่าวิธีก าร ส่ ง เสริ ม การใช้ สื่ อ การสอนมี ค วามหลากหลาย แต่ เ ป้ า หมายของแต่ ล ะวิ ธี ก ารนั้ น จะส่ ง ผลต่ อ ประสิทธิภาพของงานนั่นเอง เว็ดแมน ( Wedman , 1988 ) แห่งมหาวิทยาลัยมิสซูรี ( University of Missouri-Columbia ) ประเทศสหรัฐอเมริกา ได้นาเสนอรูปแบบของการส่งเสริมการใช้ส่อการเรียนการสอน โดยใช้รูปแบบที่ ื
  • 8. -8- เรียกว่า IPEM Model ( Instructional Performance Engineering Model ) ซึ่งกล่าวว่าการส่งเสริมให้ ผู้บริหาร/ผู้นิเทศ กับครูผู้สอน มีเจตคติที่ดีและสามารถใช้สื่อการเรียนการสอนได้อย่างมีประสิทธิภาพ นั้น จะต้องมีการจัดกระทากับองค์ประกอบ 3 ด้านอย่างต่อเนื่องควบคู่กันไปตามลาดับขั้น กล่าวคือ จะต้องจัดกระทาในด้านสารสนเทศพื้นฐาน ( Information ) วิธีการปฏิบัติ ( Instrumentation ) และด้าน การเสริมแรง ( Motivation ) ดังแสดงให้เห็นจากภาพ ภาพที่ 1. IPEM กับการประยุกต์ใช้ในการส่งเสริมการใช้สื่อการเรียนการสอน สารสนเทศ วิธีการปฏิบัติ การเสริมแรง ผู้บริหาร/ผู้ (1) (2) (3) นิเทศ -วางจุดมุ่งหมายของการ -จัดสรรสื่อการสอน/วัสดุ -ให้รางวัล กระตุนและ ้ ใช้สื่อการเรียนการสอน อุปกรณ์ให้เพียงพอและ เสริมแรง -วิเคราะห์การใช้สื่อการ เหมาะสม -ยอมรับต่อผลหรือการ สอนอย่างต่อเนื่อง -กาหนดตารางเวลา ปฏิบัติ ครูผู้สอน (4) (5) (6) -ความรูและทักษะที่ ้ -การใช้สื่ออย่างต่อเนื่อง -มีความต้องการที่จะใช้ จาเป็นต่อการใช้สื่อการ เกิดทักษะความชานาญ สื่อการสอนอย่างมี สอน และมีทัศนคติทดีต่อการ ี่ ประสิทธิภาพ ใช้สื่อการสอน ก. ผู้บริหาร/ผู้นิเทศ ขั้นที่ 1. เป็นการจัดกระทาในด้านสารสนเทศเบื้องต้นที่ผู้บริหารหรือผู้นิเทศต้องดาเนินการโดย การกาหนดเป็นจุดมุ่งหมาย นโยบายวางแผน และทาความเข้าใจกับจุดมุ่งหมายและนโยบายที่กาหนด ไว้ ตลอดทั้งมีการวิเคราะห์ผลการใช้ส่อการเรียนการสอนอย่างต่อเนื่อง ื ขั้นที่ 2. ดาเนินการโดยผู้บริหาร/ผู้นิเทศจัดสรรหรือเตรียมสื่อการเรียนการสอนให้หน่วยงาน อย่างเพีย งพอต่ อการใช้และมีค วามเหมาะสมต่ อลัก ษณะงาน นอกจากนี้ผู้บ ริหารหรือผู้นิเ ทศควร กาหนดตารางเวลาของการใช้สื่อการสอนให้เหมาะสมอีกด้วย
  • 9. -9- ขั้นที่ 3. เป็นขั้นตอนการเสริมแรงโดยผู้บริหารหรือผู้นิเทศจัดกระทาต่อครูผู้สอนเพื่อเป็นการ กระตุ้นหรือเสริมแรงให้ครูเ กิด ทัศนคติที่ดีต่อการใช้สื่อการเรียนการสอน วิธีก ารอาจใช้ โดยการให้ รางวัลหรือให้ผลตอบแทนตามความเหมาะสม บังเกิดความพึงพอใจแก่หลายฝ่าย ข. ครูผู้สอน / ผู้ใช้สื่อการสอน ขั้นที่ 4. เป็นข้อมูลเบื้องต้นที่ครูควรได้รับเกี่ยวกับความรู้และทักษะในการผลิต การใช้สื่อการ สอน ซึ่งรูปแบบในการจัดกระทาอาจเป็นรูปแบบของการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการเกี่ยวกับสื่อนวัตกรรม ต่างๆในการจัดการเรียนการสอน ขั้นที่ 5. วิธีดาเนินการโดยส่งเสริมให้ครูได้ฝึกหรือใช้สื่อการสอนอย่างต่อเนื่องสม่าเสมอ จน ครูผสอนเกิดทักษะความชานาญในการใช้สื่อการเรียนการสอน ู้ ขั้นที่ 6. ครูผู้สอนบังเกิดแรงจูงใจและมีความปรารถนาที่จะใช้สื่อการเรียนการสอนให้บังเกิด ประสิท ธิ ภาพสู งสุ ด เนื่องจากครูมี ทัก ษะความชานาญ เกิด แรงจูงใจในการใช้ สื่อแล้วยั งได้รับ การ เสริมแรงจากผู้บริหารหรือผูนิเทศจากผลรางวัลที่ได้รับอีกด้วย ้ บทสรุป จากที่กล่าวมาทั้งหมดจะเห็นได้ว่ากระบวนการใช้สื่อการเรียนการสอนที่บังเกิดประสิทธิผลและ มีประสิทธิภาพสูงสุดนั้น สิ่งสาคัญที่สุดต้องมีการจัดกระทากับตัวบุคคล ( Personnel ) หรือครูผู้สอนให้ เกิดการเปลี่ยนแปลงไปในทิศทางที่ต้องการเสียก่อน นั่นคือ ต้องมีการปรับเปลี่ยนทัศนคติของตัวบุคคล ให้เห็นคุณค่าและมองเห็นประโยชน์จากสื่อการเรียนรู้ในการพัฒนาเปลี่ยนแปลงการจัดการเรียนการ สอนขององค์การหรือหน่วยงาน วิธีการปรับเปลี่ยนทัศนคติของตัวบุคคลอาจจัดกระทาโดยการปรับ พฤติกรรมในลักษณะของการจัดสภาพองค์การหรือหน่วยงานให้เกื้อหนุน สร้างสื่อการสอนให้สะดวก และง่า ยต่ อการใช้ และสิ่ง ส าคั ญ ที่สุ ด คื อการให้ ความรู้ และทั ก ษะ แก่ บุค ลากรในรูป แบบของการ ฝึกอบรม ซึ่งวิธีการต่างๆเหล่านี้จะนามาซึ่งทัศนคติที่ดต่อการผลิตและการใช้สื่อการสอน นอกจากนี้ยัง ี สามารถประยุกต์รูปแบบที่เรียกว่า IPEM Model เข้ามาบูรณาการปรับใช้ในหน่วยงานเพื่อส่งเสริมให้ครู อาจารย์มีความรู้ เกิดทักษะในการใช้สื่อการเรียนการสอนได้อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุ ดต่อไป จึงขอ นาเสนอแนวคิดนี้เพื่อนาไปสู่การปฏิบัติของผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่ายนาไปปรับใช้หรือกาหนดเป็นยุทธศาสตร์ การพัฒนาด้านสื่อเทคโนโลยีเพื่อการศึกษาในทุกๆระดับ ............................
  • 10. -10- เอกสารอ้างอิง ( References ) กิดานันท์ มลิทอง. ( 2531 ) เทคโนโลยีการศึกษาร่วมสมัย. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย. Day , John and School , Paul. ( 1987 ). “Media Attitude of Teachers Can Be Change” Educational Technology. ( January 1987 ) : 23 – 24. Rose , Sylvia N. ( 1982 ). “Barriers to the Use of Educational Technology and Recommendation To Promote and Increase Their Use.” Educational Technology. ( December 1982 ) : 12 – 15. Wedman , John F. ( 1988 ). “Increasing the Use of Instructional Media in the Schools” Educational Technology. ( October 1988 ) : 26 – 31. Willis , Kene F. ( 1981 ) “Educational Technology : Teacher and Library Media Specialist Knowledge of Instructional Design and Media Selection and Utilization” Educational Technology. ( April 1981 ) : 47 – 51.