SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 5
Downloaden Sie, um offline zu lesen
รวบรวมคําถามที่ถามบอยเกี่ยวกับยากินคุมกําเนิด พรอมคําตอบ

                                                                           โดย รศ.ดร.จุราพร พงศเวชรักษ


                  ยาคุมกําเนิดในทีนี้ หมายถึงยารับประทานชนิดฮอรโมนผสม เวนแตระบุเปนอยางอื่น

คําถามที่ 1 วิธีรับประทานยาคุมกําเนิดและการเปลี่ยนยี่หอยาคุม

ตอบ: เริ่มกินอยางไร วิธีที่แนะนํามากที่สุดคือ กินเม็ดฮอรโมนเม็ดแรก ในวันแรกที่มีประจําเดือนมา ฮอรโมนเม็ด
แรกอาจมีหมายเลข 1 กํากับอยูที่แผง หรือถาไมมีกใหเลือกเม็ดที่มีวันกํากับตรงกับวันที่ประจําเดือนมาวันแรกที่
                                                     ็
จะตองกิน เชน ประจําเดือนมาวันแรกเปนวันอังคาร ก็ใหเลือกเม็ดที่มีคําวาอังคารกํากับทีแผงเม็ดใดก็ได กินเปน
                                                                                           ่
เม็ดแรก ถาไมสามารถเริ่มไดวันแรกที่มีประจําเดือนมา ก็ยงสามารถกินไดในวันถัด ๆ ไป แตจะตองไมเกินวันที่ 5
                                                             ั
ของการมีประจําเดือน ถาสามารถปฏิบัติไดดังกลาว ไมตองใชวิธอื่นคุมกําเนิดรวมดวยใน 7 วันแรก
                                                                  ี
           อยางไรก็ตามสามารถเริ่มกินยาคุมเมื่อใดก็ได (ถาแนใจวาไมไดมีโอกาสตั้งครรภ จากการมีเพศสัมพันธที่
ผานมา) แตแนะนําวาระหวางที่กิน 7 เม็ดแรก ใหงดเพศสัมพันธหรือถามี ใหใชวิธอื่น ๆ ชวยคุมกําเนิด เชน ผูชาย
                                                                                    ี
ใชถุงยางอนามัยหรือหลั่งภายนอก
           การรับประทานเม็ดตอๆ ไป รับประทานเม็ดตอไป ทุกวัน วันละ 1 เม็ด ตามทิศทางลูกศรชี้ พยายามให
เปนเวลาที่ใกลเคียงกันทุกวัน
           การเริ่มรับประทานแผงตอไป ถาใชแบบแผงละ 21 หรือ 22 เม็ด เมื่อหมดแผง ใหเวนระยะ 7 หรือ 6 วัน
ตามลําดับ จึงเริ่มเม็ดแรกของแผงตอไปในวันที่ 8 หรือ วันที่ 7 ตามลําดับ อาจตองใชปฏิทินชวยจํา ในระหวางที่
เวนระยะ จะมีเลือดประจําเดือนมา ไมตองสนใจวารอบเดือนจะมีเร็วหรือชา มากหรือนอย หรือมาหมดแลวหรือยัง
                                         
ไมหมด ความสําคัญอยูที่จํานวนวันที่เวนระยะ หามเกิน 7 หรือ 6 วันตามที่บอกขางตน เพราะถาเกิน จะเทากับ
วาเริ่มกินยาแผงตอไปลาชา ประสิทธิภาพการคุมกําเนิดอาจดอยลง
           กรณีใชแบบแผงละ 28 เม็ด จําไดงายเพราะเพียงแตกินจนหมดแผง เริ่มแผงตอไปไดเลย ไมตองจําวาเวน
ระยะไดกี่วันแลว เสมือนกับกินยาทุกวัน แต 7 เม็ดสุดทายของแผงนั้นเปนเม็ดแปง ไมมฮอรโมน เทียบเทากับการ
                                                                                         ี
เวนระยะ 7 วันนั้นเอง
           การเปลี่ยนยี่หอยาคุมกําเนิด: เปลี่ยนไปเปนยี่หอใดนั้น ขึ้นกับสาเหตุที่ตองการเปลี่ยน เชนมีปญหากับ
ฮอรโมนในยาชนิดเดิม หรือผลขางเคียงที่รับไมได ทําใหตองการเปลี่ยน หรือมีสภาวะบางอยางที่ทําใหตอง
ปรับเปลี่ยนฮอรโมน การเปลี่ยนยา มักเปนการเลือกยี่หอใหมใหมปริมาณและชนิดฮอรโมนแตกตางไปจากเดิมที่
                                                             ี
เคยกิน และสามารถเริ่มยี่หอใหมไดตอไปจากยี่หอเดิม เหมือนเดิมที่เคยกิน

คําถามที่ 2 เมื่อลืมรับประทานยาคุมกําเนิด ควรมีวิธีการอยางไร

ตอบ : มีคาแนะนําที่มีรายละเอียดปลีกยอยแตกตางกัน ขึ้นกับที่มา ในที่นี้ใหตัวอยางไว 2 แบบ
         ํ

                                                  Page 1 of 5
รวบรวมคําถามที่ถามบอยเกี่ยวกับยากินคุมกําเนิด พรอมคําตอบ

                                                                         โดย รศ.ดร.จุราพร พงศเวชรักษ

วิธีปฏิบัติแบบที่ 1 อางอิงจากตํารา Pharmacotherapy A Pathophysiologic approach. 7th ed. 2008. The
McGrawhill Companies. New York. pp. 1313-1326. การปฏิบัติเมื่อลืมที่แนะนําโดยวิธีนี้ ขึ้นกับจํานวนเม็ดที่
ลืมรับประทานติดตอกันและชวงระยะของเม็ดยาในแผงที่ลืม ตามตาราง

จํานวนเม็ด     สัปดาหที่ลืม                      การปฏิบัติ                        การใชวิธอื่นเสริมในการ
                                                                                              ี
   ที่ลืม      รับประทาน                                                            คุมกําเนิดเปนเวลา 7 วัน
      1             1          รับประทานยา 2 เม็ดทันทีที่นกได และรับประทานยา
                                                             ึ                                  ใช
                               ตอไปตามปกติจนหมดแผง ใชยารับประทาน
                               คุมกําเนิดฉุกเฉินถาจําเปน
     1              2-3        รับประทานยา 2 เม็ดทันทีที่นกได และรับประทานยา
                                                               ึ                           ไมจําเปน
                               ตอไปตามปกติจนหมดแผง
     1               4         ไมตองรับประทานเม็ดแปงหรือไมตองเวนระยะ 7 วัน           ไมจําเปน
    2-4           1 หรือ 2     รับประทานยา 2 เม็ดทันทีที่นึกได และรับประทานยา                 ใช
                               ตอไปตามปกติจนหมดแผง ใชยารับประทาน
                               คุมกําเนิดฉุกเฉินถาจําเปน
                               หรือ รับประทานเม็ดที่ลืม ทุก 12 ชม. จนกระทั่งถึง
                               เวลาที่ตองรับประทานตามปกติ และรับประทาน
                                        
                               ตอไปจนหมดแผง
    2-4              3         เริ่มรับประทานแผงใหม หรือ                                  ไมจําเปน
                               รับประทานเม็ดที่ลืม ทุก 12 ชม. จนกระทั่งถึงเวลาที่
                               ตองรับประทานตามปกติ และรับประทานตอไปจน
                               หมดแผง
    2-4              4         ไมตองรับประทานเม็ดแปง หรือรับประทานตอจนหมด              ไมจําเปน
                               แผง
     5          ระยะใด ๆ ก็    รับประทานยา 2 เม็ดทันทีท่นึกได และเริ่มแผงใหม
                                                           ี                                  ใช
                   ตาม         พิจารณาใชยารับประทานคุมกําเนิดฉุกเฉิน


วิธีปฏิบัติแบบที่ 2 อางอิงจาก คําแนะนําจากคูมือวางแผนครอบครัวขององคการอนามัยโลก (A WHO Family
Planning Cornerstone. Family Planning A global handbook for providers. 2007 ซึ่งสามารถดาวนโหลด



                                                Page 2 of 5
รวบรวมคําถามที่ถามบอยเกี่ยวกับยากินคุมกําเนิด พรอมคําตอบ

                                                                                 โดย รศ.ดร.จุราพร พงศเวชรักษ

  เอกสารไดจาก www.who.int) และคําแนะนําของหนวยงานวางแผนครอบครัวและการดูแลสุขภาพเจริญพันธ
  ของสหราชอาณาจักร (Faculty of Family Planning and Reproductive Health Care Clinical Guidance. First
  prescription of combined oral contraception. July 2006. (Updated January 2007, ดาวนโหลดไดจาก
  http://www.ffprhc.org.uk) ซึงในวิธีที่ 2 นี้นอกจากพิจารณาจํานวนเม็ดยาที่ลืม ยังคํานึงถึงปริมาณฮอรโมน
                                ่
  เอสโตรเจนในยาคุมแตละชนิดและการมีเพศสัมพันธในระยะตาง ๆ ของรอบเดือน ซึ่งละเอียดกวาแบบแรก ดัง
  แผนภูมิขางลางนี้ (หมายเหตุ : EE คือ ethinyl estradiol (ใหดูที่กลองยาหรือเอกสารกํากับยาวามีปริมาณเทาใด
  หนวย ไมโครกรัม เปลี่ยนเปน มิลลิกรัม ใหหารดวย 100)


กรณีลืมกินยาคุมที่มีปริมาณ EE 30-35 ไมโครกรัม                      กรณีลืมกินยาคุม ที่มีปริมาณ EE 30-35 ไมโครกรัม
จํานวน 1-2 เม็ด ไมวาระยะใด (รวมถึงการเริ่มแผงใหมชา             จํานวนตั้งแต 3 เม็ดขึ้นไป ไมวาระยะใด หรือ
ไป 1-2 วัน) หรือ                                                   ลืมกินยาคุม ที่มีปริมาณ EE 20 ไมโครกรัม จํานวน
ลืมกินยาคุม ที่มีปริมาณ EE 20 ไมโครกรัม จํานวน 1                   ตั้งแต 2 เม็ดขึ้นไป ไมวาระยะใด
เม็ด ไมวาระยะใด (รวมถึงการเริ่มแผงใหมชาไป 1 วัน)

                                                                   - กินเม็ดสุดทายที่ลืมทันทีที่นกได
                                                                                                  ึ
- กินเม็ดสุดทายที่ลืมทันทีที่นกได
                               ึ                                   - กินเม็ดตอๆ ไป ตามปกติ ซึ่งอาจ หมายถึงการกิน
- กินเม็ดตอๆ ไป ตามปกติ ซึ่งอาจ หมายถึงการกิน                     สองเม็ดพรอมกัน
สองเม็ดพรอมกัน                                                    - ใชวิธีอื่นคุมกําเนิดรวมดวยหรืองดเพศสัมพันธ
- ไมจําเปนตองใชวิธีอื่นคุมกําเนิดรวม                          จนกวาจะไดกนยาครบ 7 เม็ดติดตอกัน
                                                                                   ิ
- ไมจําเปนตองกินยาคุมกําเนิดฉุกเฉิน
                                                                      ระยะปลอดฮอรโมน เกิน 7 วัน เปนความเสี่ยง
                                                                               ดังนั้นใหปฏิบัตดังนี้


                 ถาลืมกินยาในสัปดาหแรก ของแผง (เม็ดที่ 1-7)             ถาลืมกินยาในสัปดาหที่ 2         ถาลืมกินยาในสัปดาหที่
                 หรือเริ่มกินแผงใหมชาตั้งแต 3 วันขึ้นไป                ของแผง (เม็ดที่ 8-14)             3 ของแผง (เม็ดที่ 15-21)


  - กินยาคุมฉุกเฉิน ถามีเพศสัมพันธในชวง                   - ถาไดกินยาติดตอกัน 7             - กินยาตอไปจนหมดแผง ไมตอง
  ปลอดฮอรโมนหรือในสัปดาหแรกนั้น                            เม็ด ไมจําเปนตองกินยา             เวนระยะปลอดฮอรโมน เริ่มแผง
  - กินยาคุมฉุกเฉิน ถามีเพศสัมพันธใน 5 วัน                 คุมฉุกเฉิน                           ใหมเลย
  กอนหนา กรณีเริ่มแผงใหมชา                                                                    - กินยาคุมฉุกเฉินถามีเพศสัมพันธ
                                                                                                  ใน 5 วันที่ผานมา
                                                       Page 3 of 5
รวบรวมคําถามที่ถามบอยเกี่ยวกับยากินคุมกําเนิด พรอมคําตอบ

                                                                               โดย รศ.ดร.จุราพร พงศเวชรักษ


คําถามที่ 3 อาการขางเคียงจากการกินยาคุมกําเนิด

ตอบ เฉพาะที่พบไดบอย 1. คลื่นไส พบในรอยละ 10-30 ของผูที่เริ่มใชยา โดยเฉพาะอยางยิ่งในระยะการใชยา 3
                    
แผงแรก; 2. ภาวะเลือดออกกระปริดกระปรอยในระหวางที่รับประทานยา มักพบบอยผูที่เพิ่งเริ่มใชยา ระยะ 3 แผงแรก
; 3. ปวดศีรษะ โดยเฉพาะในชวงที่ปลอดฮอรโมน ; 4. เลือดประจําเดือนมานอยลง เมื่อกินยาไปนาน ๆ โดยเฉพาะ
ชนิดที่มีฮอรโมนเอสโตรเจนต่ํา ซึ่งทั้งหมดนี้มิไดมีอันตราย แตถายังอาการยังคงอยูตอเนื่องไมหายไป หรือเปน
มากขึ้น หรือเปนอาการที่รับไมได ใหปรึกษาเภสัชกรเพื่อปรับเปลี่ยนยา

คําถามที่ 4 ประสิทธิภาพ ความนาเชื่อถือของยาคุมกําเนิด
ตอบ ไมมีวิธการคุมกําเนิดชนิดใดที่สามารถปองกันการตั้งครรภไดเต็มรอยเปอรเซ็นต ในสวนของยากิน
             ี
คุมกําเนิด ในรายที่กินยาไมถกวิธีหรือกินยาไมสม่ําเสมอ จากสตรี 100 ราย จะมีการตั้งครรภได 7-8 ราย แตถา
                            ู                                                                          
กินยาไดถูกตองและสม่ําเสมอ ในสตรี 1000 รายก็ยังอาจมีการตั้งครรภได 3 ราย (รอยละ 0.3) ดังนั้นจะเห็นวา
ประสิทธิภาพของยากินคุมกําเนิดนั้น ขึ้นอยูกับวิธีการกินที่ถกตองอยางสม่าเสมอ ในปจจุบันมีการปรับลด
                                                           ู            ํ
ปริมาณฮอรโมนเอสโตรเจนใหนอยลงเหลือ 15-20 ไมโครกรัมตอเม็ด ในยาคุมบางยี่หอ โดยที่ยังคงประสิทธิภาพ
คุมกําเนิด แตถาในสถานการณใดก็ตามที่ทําใหระดับฮอรโมนลดต่ําลง เชน การลืมกินยาบอย การลืมกินยาใน
               
ระยะที่ไมปลอดภัย การกินยาคุมรวมกับยาบางชนิดที่ทําใหฮอรโมนในยาคุมมีระดับลดลง ยอมทําใหเสี่ยงตอ
การตั้งครรภหรือคุมกําเนิดลมเหลวได ดังจะเห็นไดจากคําแนะนําการปฏิบติเมื่อลืม ในขอที่ 2 ตามแผนภูมิที่ให
                                                                    ั
จะเห็นวาการลืมกินยาคุมชนิดที่มเอสโตรเจนต่ํา (EE 20 ไมโครกรัมตอเม็ด) เพียงเม็ดเดียวจะเสี่ยงตอการตั้งครรภ
                               ี
มากกวา เมื่อเทียบกับยาคุมชนิดที่มีเอสโตรเจนสูงขึ้น (30 ไมโครกรัมตอเม็ดขึ้นไป) ที่ลืมเม็ดเดียวเทากัน

คําถามที่ 5 ประสิทธิภาพ ความนาเชื่อถือของยาคุมกําเนิดฉุกเฉิน และวิธีกิน

        คํ า อธิ บ ายเกี่ ย วกั บ ประสิ ท ธิ ภ าพของยารั บ ประทานคุ ม กํ า เนิ ด ฉุ ก เฉิ น คิ ด จากในสตรี 100 รายที่ มี
เพศสัมพันธที่ไมไดปองกัน 1 ครั้งใน 1 รอบเดือน ในระยะที่อาจตั้งครรภได คือในระหวางสัปดาหที่ 2 และ 3 ของ
รอบเดื อ น ในจํานวน 100           รายนี้ มี 8 รายที่จ ะตั้งครรภได ซึ่งใน 8 รายนี้ถา ไดรับประทานยาคุม ฉุกเฉิ น
(levonorgestrel 750 ไมโครกรัม) ในระยะเวลาที่เหมาะสม จะมี 1 รายที่ตั้งครรภ เทากับปองกันการตั้งครรภได
ประมาณรอยละ 85 - 88



                                                     Page 4 of 5
รวบรวมคําถามที่ถามบอยเกี่ยวกับยากินคุมกําเนิด พรอมคําตอบ

                                                                          โดย รศ.ดร.จุราพร พงศเวชรักษ


        วิธีกินยาคุมฉุกเฉินคือ กิน 1 เม็ด ใหเร็วที่สุด โดยประสิทธิภาพจะสูงสุดเมื่อไดกินไมเกิน 24 ชม.หลังจาก
มีเพศสัมพันธที่ไมไดปองกัน แตก็ยังสามารถกินยาเม็ดแรกไดภายใน 72 ชม. หลังมีเพศสัมพันธที่ไมไดปองกัน
และกินยาอีก 1 เม็ด อีก 12 ชม. ตอมานับจากไดเริ่มกินยาเม็ดแรก (ถาชาไปก็ไมควรเกิน 16 ชม.)

         อยางไรก็ตามจากหลักฐานการศึกษาในปจจุบัน พบวาสามารถกินยา 2 เม็ดพรอมกันครั้งเดียวไดเลย
ภายในระยะเวลาเดิมตามที่ระบุขางบน ซึ่งใหประสิทธิภาพไมแตกตางจากวิธีรับประทานแบบเดิม โดยที่อาการ
ขางเคียงไมไดเพิ่มขึ้น วิธีน้ไดรับการรับรองแลว ในหลายประเทศ เชน สหราชอาณาจักร และอเมริกา เปนตน
                               ี

คําถามที่ 6 ปฏิกิริยาระหวางยาของยาคุมกําเนิดกับยาอื่น เชน depakin, domperidone, cimetidine, phenytoin
ฯลฯ

ตอบ ปฏิกิริยาระหวางยาของยาคุมกําเนิดกับยาอื่น อาจสงผลในสองลักษณะ ที่มีความสําคัญคือ ยาอื่น ๆ ที่กิน
รวมกับยาคุม มีผลลดประสิทธิภาพของยาคุมกําเนิด ทําใหเสี่ยงตอการคุมกําเนิดลมเหลว หรือยาคุมกําเนิดมีผล
ลดประสิทธิภาพของยาอื่น
     ในที่นี้จะแสดงเฉพาะรายการยากินชนิดอื่น ที่อาจลดประสิทธิภาพยาคุมกําเนิดไดอยางมีความสําคัญทาง
คลินิก ซึ่งจะทําใหเสี่ยงตอการตั้งครรภได ไดแก (จากตํารา Drug Interaction Facts, 2009)
     - ยากันชัก Phenytoin, Phenobarbital, Phenobarbitone, Carbamazepine
     - ยาตานวัณโรคบางชนิด ไดแก Rifampicin หรือยาในกลุมเดียวกัน Rifabutin
     - ยาตานไวรัสเอดสบางชนิด ไดแก กลุม Protease inhibitors
     - ยาฆาเชื้อรา Griseofulvin
     - ยาสมุนไพร St John’s Wort (ในตางประเทศ ใชกินแกซึมเศรา)
     เนื่องจากยาเหลานี้สวนใหญจะสงเสริมใหมีการทําลายฮอรโมนในยาคุมมากขึ้น จึงทําใหระดับฮอรโมนใน
รางกายลดลงจนอาจไมเพียงพอที่จะออกฤทธิ์คุมกําเนิด สวนยาอื่น ๆ ที่มิไดอยูในรายการนี้ ยังไมมีขอมูล หรือมี
ขอมูลวาเกิดปฏิกิริยากับยาคุมกําเนิดได แตไมสงผลเสียที่มีความสําคัญทางคลินิก ถึงขนาดทําใหการคุมกําเนิด
ลมเหลว
     ถาทานไมแนใจวายาที่ทานกําลังจะเริ่มกิน หรือที่กินอยูแลว จะมีผลกระทบตอยาคุมกําเนิดหรือไม ใหปรึกษา
เภสัชกร กอนใชยา เพื่อความมั่นใจ




                                                  Page 5 of 5

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

ยาสามัญประจำบ้าน ฉบับที่4
ยาสามัญประจำบ้าน ฉบับที่4ยาสามัญประจำบ้าน ฉบับที่4
ยาสามัญประจำบ้าน ฉบับที่4Surang Judistprasert
 
ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญโมเรศ)
ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญโมเรศ)ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญโมเรศ)
ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญโมเรศ)Junee Sara
 
ยาสามัญประจำบ้านแผนปจจุบันและแผนโบราณ
ยาสามัญประจำบ้านแผนปจจุบันและแผนโบราณยาสามัญประจำบ้านแผนปจจุบันและแผนโบราณ
ยาสามัญประจำบ้านแผนปจจุบันและแผนโบราณUtai Sukviwatsirikul
 
ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญกนิษฐา) 19/6/58
ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญกนิษฐา) 19/6/58ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญกนิษฐา) 19/6/58
ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญกนิษฐา) 19/6/58Junee Sara
 
บทที่ 8 การใช้ยาที่บ้าน
บทที่ 8 การใช้ยาที่บ้านบทที่ 8 การใช้ยาที่บ้าน
บทที่ 8 การใช้ยาที่บ้านPa'rig Prig
 
1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยา
1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยา1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยา
1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยาPa'rig Prig
 
Cross hypersensivity to NSIADs, Allergic and pseudoallergic reactions.
Cross hypersensivity to NSIADs, Allergic and pseudoallergic reactions.Cross hypersensivity to NSIADs, Allergic and pseudoallergic reactions.
Cross hypersensivity to NSIADs, Allergic and pseudoallergic reactions.Utai Sukviwatsirikul
 
เอกสารประกอบการสอนวิชาเภสัชบำบัด ๓ (๗๙๑๕๕๑) หัวข้อ Assessment of Adverse drug...
เอกสารประกอบการสอนวิชาเภสัชบำบัด ๓ (๗๙๑๕๕๑) หัวข้อ Assessment of Adverse drug...เอกสารประกอบการสอนวิชาเภสัชบำบัด ๓ (๗๙๑๕๕๑) หัวข้อ Assessment of Adverse drug...
เอกสารประกอบการสอนวิชาเภสัชบำบัด ๓ (๗๙๑๕๕๑) หัวข้อ Assessment of Adverse drug...Rachanont Hiranwong
 
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบัน
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบันยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบัน
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบันUtai Sukviwatsirikul
 
เภสัชวิทยาของยา warfarin โดย ภญ. อายุรภา ปริกสุวรรณ,
เภสัชวิทยาของยา warfarin โดย ภญ. อายุรภา ปริกสุวรรณ, เภสัชวิทยาของยา warfarin โดย ภญ. อายุรภา ปริกสุวรรณ,
เภสัชวิทยาของยา warfarin โดย ภญ. อายุรภา ปริกสุวรรณ, Utai Sukviwatsirikul
 
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)Aiman Sadeeyamu
 
Antibiotic Guideline 2015-2016: Cross reaction
Antibiotic Guideline 2015-2016: Cross reactionAntibiotic Guideline 2015-2016: Cross reaction
Antibiotic Guideline 2015-2016: Cross reactionUtai Sukviwatsirikul
 
Pharmaceutical care patient safety and quality by pitsanu duangkartok
 Pharmaceutical care patient safety and quality by pitsanu duangkartok Pharmaceutical care patient safety and quality by pitsanu duangkartok
Pharmaceutical care patient safety and quality by pitsanu duangkartokpitsanu duangkartok
 

Was ist angesagt? (20)

การให้ยาฉีด
การให้ยาฉีดการให้ยาฉีด
การให้ยาฉีด
 
ยาสามัญประจำบ้าน ฉบับที่4
ยาสามัญประจำบ้าน ฉบับที่4ยาสามัญประจำบ้าน ฉบับที่4
ยาสามัญประจำบ้าน ฉบับที่4
 
ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญโมเรศ)
ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญโมเรศ)ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญโมเรศ)
ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญโมเรศ)
 
ยาสามัญประจำบ้านแผนปจจุบันและแผนโบราณ
ยาสามัญประจำบ้านแผนปจจุบันและแผนโบราณยาสามัญประจำบ้านแผนปจจุบันและแผนโบราณ
ยาสามัญประจำบ้านแผนปจจุบันและแผนโบราณ
 
การให้ยาฉีด
การให้ยาฉีดการให้ยาฉีด
การให้ยาฉีด
 
ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญกนิษฐา) 19/6/58
ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญกนิษฐา) 19/6/58ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญกนิษฐา) 19/6/58
ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญกนิษฐา) 19/6/58
 
บทที่ 8 การใช้ยาที่บ้าน
บทที่ 8 การใช้ยาที่บ้านบทที่ 8 การใช้ยาที่บ้าน
บทที่ 8 การใช้ยาที่บ้าน
 
Handbook for-pharmacist-vol.22553
Handbook for-pharmacist-vol.22553Handbook for-pharmacist-vol.22553
Handbook for-pharmacist-vol.22553
 
1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยา
1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยา1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยา
1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยา
 
Antibiotic_1
Antibiotic_1 Antibiotic_1
Antibiotic_1
 
Cross hypersensivity to NSIADs, Allergic and pseudoallergic reactions.
Cross hypersensivity to NSIADs, Allergic and pseudoallergic reactions.Cross hypersensivity to NSIADs, Allergic and pseudoallergic reactions.
Cross hypersensivity to NSIADs, Allergic and pseudoallergic reactions.
 
เอกสารประกอบการสอนวิชาเภสัชบำบัด ๓ (๗๙๑๕๕๑) หัวข้อ Assessment of Adverse drug...
เอกสารประกอบการสอนวิชาเภสัชบำบัด ๓ (๗๙๑๕๕๑) หัวข้อ Assessment of Adverse drug...เอกสารประกอบการสอนวิชาเภสัชบำบัด ๓ (๗๙๑๕๕๑) หัวข้อ Assessment of Adverse drug...
เอกสารประกอบการสอนวิชาเภสัชบำบัด ๓ (๗๙๑๕๕๑) หัวข้อ Assessment of Adverse drug...
 
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบัน
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบันยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบัน
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบัน
 
เภสัชวิทยาของยา warfarin โดย ภญ. อายุรภา ปริกสุวรรณ,
เภสัชวิทยาของยา warfarin โดย ภญ. อายุรภา ปริกสุวรรณ, เภสัชวิทยาของยา warfarin โดย ภญ. อายุรภา ปริกสุวรรณ,
เภสัชวิทยาของยา warfarin โดย ภญ. อายุรภา ปริกสุวรรณ,
 
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)
 
Antibiotic Guideline 2015-2016: Cross reaction
Antibiotic Guideline 2015-2016: Cross reactionAntibiotic Guideline 2015-2016: Cross reaction
Antibiotic Guideline 2015-2016: Cross reaction
 
Pharmaceutical care patient safety and quality by pitsanu duangkartok
 Pharmaceutical care patient safety and quality by pitsanu duangkartok Pharmaceutical care patient safety and quality by pitsanu duangkartok
Pharmaceutical care patient safety and quality by pitsanu duangkartok
 
หลักการใช้ยา ปี4
หลักการใช้ยา ปี4หลักการใช้ยา ปี4
หลักการใช้ยา ปี4
 
ระบบยา
ระบบยาระบบยา
ระบบยา
 
Drug for-int
Drug for-intDrug for-int
Drug for-int
 

Andere mochten auch

Adrsystemic 140821082625-phpapp02
Adrsystemic 140821082625-phpapp02Adrsystemic 140821082625-phpapp02
Adrsystemic 140821082625-phpapp02Wila Khongcheema
 
Current Pharmacotherapy in Diabetes
Current Pharmacotherapy in DiabetesCurrent Pharmacotherapy in Diabetes
Current Pharmacotherapy in DiabetesUtai Sukviwatsirikul
 
บทที่ 6 ยาคุมกำเนิด
บทที่ 6 ยาคุมกำเนิดบทที่ 6 ยาคุมกำเนิด
บทที่ 6 ยาคุมกำเนิดPa'rig Prig
 
Pharmacotherapy anticoagulation 56 01 24
Pharmacotherapy anticoagulation 56 01 24Pharmacotherapy anticoagulation 56 01 24
Pharmacotherapy anticoagulation 56 01 24Utai Sukviwatsirikul
 
6 ยาคุมกำเนิด
6 ยาคุมกำเนิด6 ยาคุมกำเนิด
6 ยาคุมกำเนิดPa'rig Prig
 
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 8
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 8แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 8
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 8Pa'rig Prig
 

Andere mochten auch (7)

Smoking cessation1
Smoking cessation1Smoking cessation1
Smoking cessation1
 
Adrsystemic 140821082625-phpapp02
Adrsystemic 140821082625-phpapp02Adrsystemic 140821082625-phpapp02
Adrsystemic 140821082625-phpapp02
 
Current Pharmacotherapy in Diabetes
Current Pharmacotherapy in DiabetesCurrent Pharmacotherapy in Diabetes
Current Pharmacotherapy in Diabetes
 
บทที่ 6 ยาคุมกำเนิด
บทที่ 6 ยาคุมกำเนิดบทที่ 6 ยาคุมกำเนิด
บทที่ 6 ยาคุมกำเนิด
 
Pharmacotherapy anticoagulation 56 01 24
Pharmacotherapy anticoagulation 56 01 24Pharmacotherapy anticoagulation 56 01 24
Pharmacotherapy anticoagulation 56 01 24
 
6 ยาคุมกำเนิด
6 ยาคุมกำเนิด6 ยาคุมกำเนิด
6 ยาคุมกำเนิด
 
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 8
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 8แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 8
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 8
 

Ähnlich wie คำถามเกี่ยวกับยาคุมที่พบบ่อย

Transfer factor chewable 15.5.2555
Transfer factor chewable 15.5.2555Transfer factor chewable 15.5.2555
Transfer factor chewable 15.5.25554LIFEYES
 
Topic meningoecephalitis
Topic meningoecephalitisTopic meningoecephalitis
Topic meningoecephalitisBow Aya
 
ชุดส่งเสริมความรู้โภชนาการและการบริโภค
ชุดส่งเสริมความรู้โภชนาการและการบริโภคชุดส่งเสริมความรู้โภชนาการและการบริโภค
ชุดส่งเสริมความรู้โภชนาการและการบริโภคtassanee chaicharoen
 
บทที่ 7 วัคซีน
บทที่ 7 วัคซีนบทที่ 7 วัคซีน
บทที่ 7 วัคซีนPa'rig Prig
 
335_ยาเม็ดคุมกำเนิด.pdf
335_ยาเม็ดคุมกำเนิด.pdf335_ยาเม็ดคุมกำเนิด.pdf
335_ยาเม็ดคุมกำเนิด.pdfTayida N.
 
คู่มือการจ่ายยาเด็ก (Drugs in Pediatrics)
คู่มือการจ่ายยาเด็ก  (Drugs in Pediatrics)คู่มือการจ่ายยาเด็ก  (Drugs in Pediatrics)
คู่มือการจ่ายยาเด็ก (Drugs in Pediatrics)Utai Sukviwatsirikul
 
ความคงตัวของเภสัชภัณฑ์และการเก็บรักษา
ความคงตัวของเภสัชภัณฑ์และการเก็บรักษาความคงตัวของเภสัชภัณฑ์และการเก็บรักษา
ความคงตัวของเภสัชภัณฑ์และการเก็บรักษาadriamycin
 
ประสิทธิภาพและความปลอดภัยของยาเม็ดเมลาโทนินชนิดออกฤทธ์ยาว ต่อการรักษาอาการนอน...
ประสิทธิภาพและความปลอดภัยของยาเม็ดเมลาโทนินชนิดออกฤทธ์ยาว ต่อการรักษาอาการนอน...ประสิทธิภาพและความปลอดภัยของยาเม็ดเมลาโทนินชนิดออกฤทธ์ยาว ต่อการรักษาอาการนอน...
ประสิทธิภาพและความปลอดภัยของยาเม็ดเมลาโทนินชนิดออกฤทธ์ยาว ต่อการรักษาอาการนอน...Utai Sukviwatsirikul
 
การฉีดยาคุมกำเนิด
การฉีดยาคุมกำเนิดการฉีดยาคุมกำเนิด
การฉีดยาคุมกำเนิดSuppakuk Clash
 
การใช้ยาอย่างไรให้ถูกต้องปลอดภัยเหมาะสม.pptx
การใช้ยาอย่างไรให้ถูกต้องปลอดภัยเหมาะสม.pptxการใช้ยาอย่างไรให้ถูกต้องปลอดภัยเหมาะสม.pptx
การใช้ยาอย่างไรให้ถูกต้องปลอดภัยเหมาะสม.pptxNareenatBoonchoo
 
อบรมทีมติดตามผู้ผ่านค่ายปรับเปลี่ยนพฤติกรรมระดับตำบลปี 56
อบรมทีมติดตามผู้ผ่านค่ายปรับเปลี่ยนพฤติกรรมระดับตำบลปี 56อบรมทีมติดตามผู้ผ่านค่ายปรับเปลี่ยนพฤติกรรมระดับตำบลปี 56
อบรมทีมติดตามผู้ผ่านค่ายปรับเปลี่ยนพฤติกรรมระดับตำบลปี 56ร้าน เคโอ สเต็กและกาแฟสด
 
ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์
ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์
ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์Utai Sukviwatsirikul
 
ว่านชักมดลูก22.08.13
ว่านชักมดลูก22.08.13ว่านชักมดลูก22.08.13
ว่านชักมดลูก22.08.13Fur Sutthanurak
 

Ähnlich wie คำถามเกี่ยวกับยาคุมที่พบบ่อย (20)

Transfer factor chewable 15.5.2555
Transfer factor chewable 15.5.2555Transfer factor chewable 15.5.2555
Transfer factor chewable 15.5.2555
 
Topic meningoecephalitis
Topic meningoecephalitisTopic meningoecephalitis
Topic meningoecephalitis
 
ชุดส่งเสริมความรู้โภชนาการและการบริโภค
ชุดส่งเสริมความรู้โภชนาการและการบริโภคชุดส่งเสริมความรู้โภชนาการและการบริโภค
ชุดส่งเสริมความรู้โภชนาการและการบริโภค
 
บทที่ 7 วัคซีน
บทที่ 7 วัคซีนบทที่ 7 วัคซีน
บทที่ 7 วัคซีน
 
335_ยาเม็ดคุมกำเนิด.pdf
335_ยาเม็ดคุมกำเนิด.pdf335_ยาเม็ดคุมกำเนิด.pdf
335_ยาเม็ดคุมกำเนิด.pdf
 
คู่มือการจ่ายยาเด็ก (Drugs in Pediatrics)
คู่มือการจ่ายยาเด็ก  (Drugs in Pediatrics)คู่มือการจ่ายยาเด็ก  (Drugs in Pediatrics)
คู่มือการจ่ายยาเด็ก (Drugs in Pediatrics)
 
Herb
HerbHerb
Herb
 
ความคงตัวของเภสัชภัณฑ์และการเก็บรักษา
ความคงตัวของเภสัชภัณฑ์และการเก็บรักษาความคงตัวของเภสัชภัณฑ์และการเก็บรักษา
ความคงตัวของเภสัชภัณฑ์และการเก็บรักษา
 
ประสิทธิภาพและความปลอดภัยของยาเม็ดเมลาโทนินชนิดออกฤทธ์ยาว ต่อการรักษาอาการนอน...
ประสิทธิภาพและความปลอดภัยของยาเม็ดเมลาโทนินชนิดออกฤทธ์ยาว ต่อการรักษาอาการนอน...ประสิทธิภาพและความปลอดภัยของยาเม็ดเมลาโทนินชนิดออกฤทธ์ยาว ต่อการรักษาอาการนอน...
ประสิทธิภาพและความปลอดภัยของยาเม็ดเมลาโทนินชนิดออกฤทธ์ยาว ต่อการรักษาอาการนอน...
 
Home visit palliative care
 Home visit   palliative care Home visit   palliative care
Home visit palliative care
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
Posaconazole
PosaconazolePosaconazole
Posaconazole
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
การฉีดยาคุมกำเนิด
การฉีดยาคุมกำเนิดการฉีดยาคุมกำเนิด
การฉีดยาคุมกำเนิด
 
การใช้ยาอย่างไรให้ถูกต้องปลอดภัยเหมาะสม.pptx
การใช้ยาอย่างไรให้ถูกต้องปลอดภัยเหมาะสม.pptxการใช้ยาอย่างไรให้ถูกต้องปลอดภัยเหมาะสม.pptx
การใช้ยาอย่างไรให้ถูกต้องปลอดภัยเหมาะสม.pptx
 
อบรมทีมติดตามผู้ผ่านค่ายปรับเปลี่ยนพฤติกรรมระดับตำบลปี 56
อบรมทีมติดตามผู้ผ่านค่ายปรับเปลี่ยนพฤติกรรมระดับตำบลปี 56อบรมทีมติดตามผู้ผ่านค่ายปรับเปลี่ยนพฤติกรรมระดับตำบลปี 56
อบรมทีมติดตามผู้ผ่านค่ายปรับเปลี่ยนพฤติกรรมระดับตำบลปี 56
 
ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์
ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์
ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์
 
Poster Female Birth Control
Poster Female Birth ControlPoster Female Birth Control
Poster Female Birth Control
 
Pc18
Pc18Pc18
Pc18
 
ว่านชักมดลูก22.08.13
ว่านชักมดลูก22.08.13ว่านชักมดลูก22.08.13
ว่านชักมดลูก22.08.13
 

Mehr von Utai Sukviwatsirikul

Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืนNanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืนUtai Sukviwatsirikul
 
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลันClinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลันUtai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...Utai Sukviwatsirikul
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoeaSaccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoeaUtai Sukviwatsirikul
 
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)Utai Sukviwatsirikul
 
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee VaravithyaDrugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee VaravithyaUtai Sukviwatsirikul
 
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...Utai Sukviwatsirikul
 
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...Utai Sukviwatsirikul
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...Utai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตแนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตUtai Sukviwatsirikul
 
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงUtai Sukviwatsirikul
 
ความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไตความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไตUtai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)Utai Sukviwatsirikul
 
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการพระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการUtai Sukviwatsirikul
 
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉินข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉินUtai Sukviwatsirikul
 

Mehr von Utai Sukviwatsirikul (20)

Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืนNanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
 
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลันClinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
 
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
 
Supply chain management
Supply chain managementSupply chain management
Supply chain management
 
Best practice in communication
Best practice in communicationBest practice in communication
Best practice in communication
 
Basic communication skills 2554
Basic communication skills 2554Basic communication skills 2554
Basic communication skills 2554
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoeaSaccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
 
SME Handbook
SME HandbookSME Handbook
SME Handbook
 
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
 
Scientific evidence of BIOFLOR
Scientific evidence of BIOFLORScientific evidence of BIOFLOR
Scientific evidence of BIOFLOR
 
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee VaravithyaDrugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
 
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
 
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
 
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตแนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
 
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
 
ความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไตความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไต
 
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
 
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการพระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
 
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉินข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
 

คำถามเกี่ยวกับยาคุมที่พบบ่อย

  • 1. รวบรวมคําถามที่ถามบอยเกี่ยวกับยากินคุมกําเนิด พรอมคําตอบ โดย รศ.ดร.จุราพร พงศเวชรักษ ยาคุมกําเนิดในทีนี้ หมายถึงยารับประทานชนิดฮอรโมนผสม เวนแตระบุเปนอยางอื่น คําถามที่ 1 วิธีรับประทานยาคุมกําเนิดและการเปลี่ยนยี่หอยาคุม ตอบ: เริ่มกินอยางไร วิธีที่แนะนํามากที่สุดคือ กินเม็ดฮอรโมนเม็ดแรก ในวันแรกที่มีประจําเดือนมา ฮอรโมนเม็ด แรกอาจมีหมายเลข 1 กํากับอยูที่แผง หรือถาไมมีกใหเลือกเม็ดที่มีวันกํากับตรงกับวันที่ประจําเดือนมาวันแรกที่ ็ จะตองกิน เชน ประจําเดือนมาวันแรกเปนวันอังคาร ก็ใหเลือกเม็ดที่มีคําวาอังคารกํากับทีแผงเม็ดใดก็ได กินเปน ่ เม็ดแรก ถาไมสามารถเริ่มไดวันแรกที่มีประจําเดือนมา ก็ยงสามารถกินไดในวันถัด ๆ ไป แตจะตองไมเกินวันที่ 5 ั ของการมีประจําเดือน ถาสามารถปฏิบัติไดดังกลาว ไมตองใชวิธอื่นคุมกําเนิดรวมดวยใน 7 วันแรก ี อยางไรก็ตามสามารถเริ่มกินยาคุมเมื่อใดก็ได (ถาแนใจวาไมไดมีโอกาสตั้งครรภ จากการมีเพศสัมพันธที่ ผานมา) แตแนะนําวาระหวางที่กิน 7 เม็ดแรก ใหงดเพศสัมพันธหรือถามี ใหใชวิธอื่น ๆ ชวยคุมกําเนิด เชน ผูชาย ี ใชถุงยางอนามัยหรือหลั่งภายนอก การรับประทานเม็ดตอๆ ไป รับประทานเม็ดตอไป ทุกวัน วันละ 1 เม็ด ตามทิศทางลูกศรชี้ พยายามให เปนเวลาที่ใกลเคียงกันทุกวัน การเริ่มรับประทานแผงตอไป ถาใชแบบแผงละ 21 หรือ 22 เม็ด เมื่อหมดแผง ใหเวนระยะ 7 หรือ 6 วัน ตามลําดับ จึงเริ่มเม็ดแรกของแผงตอไปในวันที่ 8 หรือ วันที่ 7 ตามลําดับ อาจตองใชปฏิทินชวยจํา ในระหวางที่ เวนระยะ จะมีเลือดประจําเดือนมา ไมตองสนใจวารอบเดือนจะมีเร็วหรือชา มากหรือนอย หรือมาหมดแลวหรือยัง  ไมหมด ความสําคัญอยูที่จํานวนวันที่เวนระยะ หามเกิน 7 หรือ 6 วันตามที่บอกขางตน เพราะถาเกิน จะเทากับ วาเริ่มกินยาแผงตอไปลาชา ประสิทธิภาพการคุมกําเนิดอาจดอยลง กรณีใชแบบแผงละ 28 เม็ด จําไดงายเพราะเพียงแตกินจนหมดแผง เริ่มแผงตอไปไดเลย ไมตองจําวาเวน ระยะไดกี่วันแลว เสมือนกับกินยาทุกวัน แต 7 เม็ดสุดทายของแผงนั้นเปนเม็ดแปง ไมมฮอรโมน เทียบเทากับการ ี เวนระยะ 7 วันนั้นเอง การเปลี่ยนยี่หอยาคุมกําเนิด: เปลี่ยนไปเปนยี่หอใดนั้น ขึ้นกับสาเหตุที่ตองการเปลี่ยน เชนมีปญหากับ ฮอรโมนในยาชนิดเดิม หรือผลขางเคียงที่รับไมได ทําใหตองการเปลี่ยน หรือมีสภาวะบางอยางที่ทําใหตอง ปรับเปลี่ยนฮอรโมน การเปลี่ยนยา มักเปนการเลือกยี่หอใหมใหมปริมาณและชนิดฮอรโมนแตกตางไปจากเดิมที่ ี เคยกิน และสามารถเริ่มยี่หอใหมไดตอไปจากยี่หอเดิม เหมือนเดิมที่เคยกิน คําถามที่ 2 เมื่อลืมรับประทานยาคุมกําเนิด ควรมีวิธีการอยางไร ตอบ : มีคาแนะนําที่มีรายละเอียดปลีกยอยแตกตางกัน ขึ้นกับที่มา ในที่นี้ใหตัวอยางไว 2 แบบ ํ Page 1 of 5
  • 2. รวบรวมคําถามที่ถามบอยเกี่ยวกับยากินคุมกําเนิด พรอมคําตอบ โดย รศ.ดร.จุราพร พงศเวชรักษ วิธีปฏิบัติแบบที่ 1 อางอิงจากตํารา Pharmacotherapy A Pathophysiologic approach. 7th ed. 2008. The McGrawhill Companies. New York. pp. 1313-1326. การปฏิบัติเมื่อลืมที่แนะนําโดยวิธีนี้ ขึ้นกับจํานวนเม็ดที่ ลืมรับประทานติดตอกันและชวงระยะของเม็ดยาในแผงที่ลืม ตามตาราง จํานวนเม็ด สัปดาหที่ลืม การปฏิบัติ การใชวิธอื่นเสริมในการ ี ที่ลืม รับประทาน คุมกําเนิดเปนเวลา 7 วัน 1 1 รับประทานยา 2 เม็ดทันทีที่นกได และรับประทานยา ึ ใช ตอไปตามปกติจนหมดแผง ใชยารับประทาน คุมกําเนิดฉุกเฉินถาจําเปน 1 2-3 รับประทานยา 2 เม็ดทันทีที่นกได และรับประทานยา ึ ไมจําเปน ตอไปตามปกติจนหมดแผง 1 4 ไมตองรับประทานเม็ดแปงหรือไมตองเวนระยะ 7 วัน ไมจําเปน 2-4 1 หรือ 2 รับประทานยา 2 เม็ดทันทีที่นึกได และรับประทานยา ใช ตอไปตามปกติจนหมดแผง ใชยารับประทาน คุมกําเนิดฉุกเฉินถาจําเปน หรือ รับประทานเม็ดที่ลืม ทุก 12 ชม. จนกระทั่งถึง เวลาที่ตองรับประทานตามปกติ และรับประทาน  ตอไปจนหมดแผง 2-4 3 เริ่มรับประทานแผงใหม หรือ ไมจําเปน รับประทานเม็ดที่ลืม ทุก 12 ชม. จนกระทั่งถึงเวลาที่ ตองรับประทานตามปกติ และรับประทานตอไปจน หมดแผง 2-4 4 ไมตองรับประทานเม็ดแปง หรือรับประทานตอจนหมด ไมจําเปน แผง 5 ระยะใด ๆ ก็ รับประทานยา 2 เม็ดทันทีท่นึกได และเริ่มแผงใหม ี ใช ตาม พิจารณาใชยารับประทานคุมกําเนิดฉุกเฉิน วิธีปฏิบัติแบบที่ 2 อางอิงจาก คําแนะนําจากคูมือวางแผนครอบครัวขององคการอนามัยโลก (A WHO Family Planning Cornerstone. Family Planning A global handbook for providers. 2007 ซึ่งสามารถดาวนโหลด Page 2 of 5
  • 3. รวบรวมคําถามที่ถามบอยเกี่ยวกับยากินคุมกําเนิด พรอมคําตอบ โดย รศ.ดร.จุราพร พงศเวชรักษ เอกสารไดจาก www.who.int) และคําแนะนําของหนวยงานวางแผนครอบครัวและการดูแลสุขภาพเจริญพันธ ของสหราชอาณาจักร (Faculty of Family Planning and Reproductive Health Care Clinical Guidance. First prescription of combined oral contraception. July 2006. (Updated January 2007, ดาวนโหลดไดจาก http://www.ffprhc.org.uk) ซึงในวิธีที่ 2 นี้นอกจากพิจารณาจํานวนเม็ดยาที่ลืม ยังคํานึงถึงปริมาณฮอรโมน ่ เอสโตรเจนในยาคุมแตละชนิดและการมีเพศสัมพันธในระยะตาง ๆ ของรอบเดือน ซึ่งละเอียดกวาแบบแรก ดัง แผนภูมิขางลางนี้ (หมายเหตุ : EE คือ ethinyl estradiol (ใหดูที่กลองยาหรือเอกสารกํากับยาวามีปริมาณเทาใด หนวย ไมโครกรัม เปลี่ยนเปน มิลลิกรัม ใหหารดวย 100) กรณีลืมกินยาคุมที่มีปริมาณ EE 30-35 ไมโครกรัม กรณีลืมกินยาคุม ที่มีปริมาณ EE 30-35 ไมโครกรัม จํานวน 1-2 เม็ด ไมวาระยะใด (รวมถึงการเริ่มแผงใหมชา จํานวนตั้งแต 3 เม็ดขึ้นไป ไมวาระยะใด หรือ ไป 1-2 วัน) หรือ ลืมกินยาคุม ที่มีปริมาณ EE 20 ไมโครกรัม จํานวน ลืมกินยาคุม ที่มีปริมาณ EE 20 ไมโครกรัม จํานวน 1 ตั้งแต 2 เม็ดขึ้นไป ไมวาระยะใด เม็ด ไมวาระยะใด (รวมถึงการเริ่มแผงใหมชาไป 1 วัน) - กินเม็ดสุดทายที่ลืมทันทีที่นกได ึ - กินเม็ดสุดทายที่ลืมทันทีที่นกได ึ - กินเม็ดตอๆ ไป ตามปกติ ซึ่งอาจ หมายถึงการกิน - กินเม็ดตอๆ ไป ตามปกติ ซึ่งอาจ หมายถึงการกิน สองเม็ดพรอมกัน สองเม็ดพรอมกัน - ใชวิธีอื่นคุมกําเนิดรวมดวยหรืองดเพศสัมพันธ - ไมจําเปนตองใชวิธีอื่นคุมกําเนิดรวม จนกวาจะไดกนยาครบ 7 เม็ดติดตอกัน ิ - ไมจําเปนตองกินยาคุมกําเนิดฉุกเฉิน ระยะปลอดฮอรโมน เกิน 7 วัน เปนความเสี่ยง ดังนั้นใหปฏิบัตดังนี้ ถาลืมกินยาในสัปดาหแรก ของแผง (เม็ดที่ 1-7) ถาลืมกินยาในสัปดาหที่ 2 ถาลืมกินยาในสัปดาหที่ หรือเริ่มกินแผงใหมชาตั้งแต 3 วันขึ้นไป ของแผง (เม็ดที่ 8-14) 3 ของแผง (เม็ดที่ 15-21) - กินยาคุมฉุกเฉิน ถามีเพศสัมพันธในชวง - ถาไดกินยาติดตอกัน 7 - กินยาตอไปจนหมดแผง ไมตอง ปลอดฮอรโมนหรือในสัปดาหแรกนั้น เม็ด ไมจําเปนตองกินยา เวนระยะปลอดฮอรโมน เริ่มแผง - กินยาคุมฉุกเฉิน ถามีเพศสัมพันธใน 5 วัน คุมฉุกเฉิน ใหมเลย กอนหนา กรณีเริ่มแผงใหมชา - กินยาคุมฉุกเฉินถามีเพศสัมพันธ ใน 5 วันที่ผานมา Page 3 of 5
  • 4. รวบรวมคําถามที่ถามบอยเกี่ยวกับยากินคุมกําเนิด พรอมคําตอบ โดย รศ.ดร.จุราพร พงศเวชรักษ คําถามที่ 3 อาการขางเคียงจากการกินยาคุมกําเนิด ตอบ เฉพาะที่พบไดบอย 1. คลื่นไส พบในรอยละ 10-30 ของผูที่เริ่มใชยา โดยเฉพาะอยางยิ่งในระยะการใชยา 3  แผงแรก; 2. ภาวะเลือดออกกระปริดกระปรอยในระหวางที่รับประทานยา มักพบบอยผูที่เพิ่งเริ่มใชยา ระยะ 3 แผงแรก ; 3. ปวดศีรษะ โดยเฉพาะในชวงที่ปลอดฮอรโมน ; 4. เลือดประจําเดือนมานอยลง เมื่อกินยาไปนาน ๆ โดยเฉพาะ ชนิดที่มีฮอรโมนเอสโตรเจนต่ํา ซึ่งทั้งหมดนี้มิไดมีอันตราย แตถายังอาการยังคงอยูตอเนื่องไมหายไป หรือเปน มากขึ้น หรือเปนอาการที่รับไมได ใหปรึกษาเภสัชกรเพื่อปรับเปลี่ยนยา คําถามที่ 4 ประสิทธิภาพ ความนาเชื่อถือของยาคุมกําเนิด ตอบ ไมมีวิธการคุมกําเนิดชนิดใดที่สามารถปองกันการตั้งครรภไดเต็มรอยเปอรเซ็นต ในสวนของยากิน ี คุมกําเนิด ในรายที่กินยาไมถกวิธีหรือกินยาไมสม่ําเสมอ จากสตรี 100 ราย จะมีการตั้งครรภได 7-8 ราย แตถา ู  กินยาไดถูกตองและสม่ําเสมอ ในสตรี 1000 รายก็ยังอาจมีการตั้งครรภได 3 ราย (รอยละ 0.3) ดังนั้นจะเห็นวา ประสิทธิภาพของยากินคุมกําเนิดนั้น ขึ้นอยูกับวิธีการกินที่ถกตองอยางสม่าเสมอ ในปจจุบันมีการปรับลด ู ํ ปริมาณฮอรโมนเอสโตรเจนใหนอยลงเหลือ 15-20 ไมโครกรัมตอเม็ด ในยาคุมบางยี่หอ โดยที่ยังคงประสิทธิภาพ คุมกําเนิด แตถาในสถานการณใดก็ตามที่ทําใหระดับฮอรโมนลดต่ําลง เชน การลืมกินยาบอย การลืมกินยาใน  ระยะที่ไมปลอดภัย การกินยาคุมรวมกับยาบางชนิดที่ทําใหฮอรโมนในยาคุมมีระดับลดลง ยอมทําใหเสี่ยงตอ การตั้งครรภหรือคุมกําเนิดลมเหลวได ดังจะเห็นไดจากคําแนะนําการปฏิบติเมื่อลืม ในขอที่ 2 ตามแผนภูมิที่ให ั จะเห็นวาการลืมกินยาคุมชนิดที่มเอสโตรเจนต่ํา (EE 20 ไมโครกรัมตอเม็ด) เพียงเม็ดเดียวจะเสี่ยงตอการตั้งครรภ ี มากกวา เมื่อเทียบกับยาคุมชนิดที่มีเอสโตรเจนสูงขึ้น (30 ไมโครกรัมตอเม็ดขึ้นไป) ที่ลืมเม็ดเดียวเทากัน คําถามที่ 5 ประสิทธิภาพ ความนาเชื่อถือของยาคุมกําเนิดฉุกเฉิน และวิธีกิน คํ า อธิ บ ายเกี่ ย วกั บ ประสิ ท ธิ ภ าพของยารั บ ประทานคุ ม กํ า เนิ ด ฉุ ก เฉิ น คิ ด จากในสตรี 100 รายที่ มี เพศสัมพันธที่ไมไดปองกัน 1 ครั้งใน 1 รอบเดือน ในระยะที่อาจตั้งครรภได คือในระหวางสัปดาหที่ 2 และ 3 ของ รอบเดื อ น ในจํานวน 100 รายนี้ มี 8 รายที่จ ะตั้งครรภได ซึ่งใน 8 รายนี้ถา ไดรับประทานยาคุม ฉุกเฉิ น (levonorgestrel 750 ไมโครกรัม) ในระยะเวลาที่เหมาะสม จะมี 1 รายที่ตั้งครรภ เทากับปองกันการตั้งครรภได ประมาณรอยละ 85 - 88 Page 4 of 5
  • 5. รวบรวมคําถามที่ถามบอยเกี่ยวกับยากินคุมกําเนิด พรอมคําตอบ โดย รศ.ดร.จุราพร พงศเวชรักษ วิธีกินยาคุมฉุกเฉินคือ กิน 1 เม็ด ใหเร็วที่สุด โดยประสิทธิภาพจะสูงสุดเมื่อไดกินไมเกิน 24 ชม.หลังจาก มีเพศสัมพันธที่ไมไดปองกัน แตก็ยังสามารถกินยาเม็ดแรกไดภายใน 72 ชม. หลังมีเพศสัมพันธที่ไมไดปองกัน และกินยาอีก 1 เม็ด อีก 12 ชม. ตอมานับจากไดเริ่มกินยาเม็ดแรก (ถาชาไปก็ไมควรเกิน 16 ชม.) อยางไรก็ตามจากหลักฐานการศึกษาในปจจุบัน พบวาสามารถกินยา 2 เม็ดพรอมกันครั้งเดียวไดเลย ภายในระยะเวลาเดิมตามที่ระบุขางบน ซึ่งใหประสิทธิภาพไมแตกตางจากวิธีรับประทานแบบเดิม โดยที่อาการ ขางเคียงไมไดเพิ่มขึ้น วิธีน้ไดรับการรับรองแลว ในหลายประเทศ เชน สหราชอาณาจักร และอเมริกา เปนตน ี คําถามที่ 6 ปฏิกิริยาระหวางยาของยาคุมกําเนิดกับยาอื่น เชน depakin, domperidone, cimetidine, phenytoin ฯลฯ ตอบ ปฏิกิริยาระหวางยาของยาคุมกําเนิดกับยาอื่น อาจสงผลในสองลักษณะ ที่มีความสําคัญคือ ยาอื่น ๆ ที่กิน รวมกับยาคุม มีผลลดประสิทธิภาพของยาคุมกําเนิด ทําใหเสี่ยงตอการคุมกําเนิดลมเหลว หรือยาคุมกําเนิดมีผล ลดประสิทธิภาพของยาอื่น ในที่นี้จะแสดงเฉพาะรายการยากินชนิดอื่น ที่อาจลดประสิทธิภาพยาคุมกําเนิดไดอยางมีความสําคัญทาง คลินิก ซึ่งจะทําใหเสี่ยงตอการตั้งครรภได ไดแก (จากตํารา Drug Interaction Facts, 2009) - ยากันชัก Phenytoin, Phenobarbital, Phenobarbitone, Carbamazepine - ยาตานวัณโรคบางชนิด ไดแก Rifampicin หรือยาในกลุมเดียวกัน Rifabutin - ยาตานไวรัสเอดสบางชนิด ไดแก กลุม Protease inhibitors - ยาฆาเชื้อรา Griseofulvin - ยาสมุนไพร St John’s Wort (ในตางประเทศ ใชกินแกซึมเศรา) เนื่องจากยาเหลานี้สวนใหญจะสงเสริมใหมีการทําลายฮอรโมนในยาคุมมากขึ้น จึงทําใหระดับฮอรโมนใน รางกายลดลงจนอาจไมเพียงพอที่จะออกฤทธิ์คุมกําเนิด สวนยาอื่น ๆ ที่มิไดอยูในรายการนี้ ยังไมมีขอมูล หรือมี ขอมูลวาเกิดปฏิกิริยากับยาคุมกําเนิดได แตไมสงผลเสียที่มีความสําคัญทางคลินิก ถึงขนาดทําใหการคุมกําเนิด ลมเหลว ถาทานไมแนใจวายาที่ทานกําลังจะเริ่มกิน หรือที่กินอยูแลว จะมีผลกระทบตอยาคุมกําเนิดหรือไม ใหปรึกษา เภสัชกร กอนใชยา เพื่อความมั่นใจ Page 5 of 5