SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 3
Downloaden Sie, um offline zu lesen
รายละเอียดดูได้จาก http://www.cphs.chula.ac.th/surveillance
ศูนย์ศึกษาและเฝ้าระวังปัญหาสุขภาพและสาธารณสุขด้านผู้สูงอายุ
วิทยาลัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุข
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
WHO Collaborating Center (WHO CC)
for Research and Training in Public Health Development
สรุปประเด็นปัญหาสุขภาพและสาธารณสุข ปีที่ 4 ฉบับที่ 6 เดือน มิถุนายน 2554
ผู้สูงอายุ เป็นวัยที่ระบบการทางานของอวัยวะต่างๆ ใน
ร่างกายเปลี่ยนแปลงไป ซึ่งอาจส่งผลกระทบกับภาวะ
โภชนาการได้ทั้งปัญหาภาวะขาดสารอาหาร เช่น การขาดแร่
ธาตุแคลเซียม ธาตุเหล็กและขาดวิตามินต่างๆ และถ้าผู้สูงอายุ
ได้อาหารบางชนิดมากเกินไป ก็อาจเกิดปัญหาโรคเรื้อรัง เช่น
โรคอ้วน โรคเบาหวาน ไขมันอุดตันในหลอดเลือด และความ
ดันโลหิตสูง เป็นต้น
ซึ่งปัญหาเหล่านี้จะชะลอหรือป้องกันได้ถ้าผู้ที่อยู่ใกล้ชิด
ให้ความดูแลเอาใจใส่ แนะนาเรื่องการบริโภคอาหาร โดย
ผู้สูงอายุควรเลือกรับประทานอาหารที่มีปริมาณพลังงาน
น้อยลง โดยการลดปริมาณการบริโภคไขมันและ
คาร์โบไฮเดรต เช่น หลีกเลี่ยงการใช้น้ามันสัตว์หรือกะทิใน
การปรุงอาหาร และหลีกเลี่ยงอาหารรสหวานจัดหรือเค็มจัด
เป็นต้น ควรบริโภคผัก ผลไม้ และธัญพืชต่างๆให้เพียงพอ
เพื่อให้ได้เกลือแร่ วิตามิน และใยอาหารครบถ้วนตามความ
ต้องการสารอาหารของร่างกายในแต่ละวัน นอกจากนี้
ผู้สูงอายุควรได้รับน้าที่เพียงพอด้วยเช่นกัน เพื่อช่วยในระบบ
ย่อยอาหาร และการขับถ่ายของเสียที่ดี และควรงดหรือลด
เครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์
สรุปโรคเฝ้าระวังที่พบบ่อย
ที่มา : สานักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข.
รายงานการเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา ปีที่ 42 ฉบับที่ 46
25 พฤศจิกายน 2554
1. PNEUMONIA (ADMITTED)
2. INFLUENZA
3. HAND, FOOT AND MOUTH DISEASE
4. MEASLES
5. LEPTOSPIROSIS
โภชนาการกับผู้สูงอายุ
จากรายงานสถานการณ์โรคเรื้อรังของประชากรไทย
อันได้แก่ โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง และภาวะ
ไขมันในเลือด จากข้อมูลการสารวจสุขภาพประชาชน
ไทย ครั้งที่ 4 ในปี พ.ศ. 2551 – 2552 (สานักงาน
สารวจสุขภาพประชาชนไทย 2553) พบว่า ความชุกของ
โรคเบาหวานในประชากรไทยอายุ 15 ปีขึ้นไปมีร้อยละ
6.9 ความชุก ในผู้หญิงสูงกว่าในผู้ชาย ความชุกเพิ่มขึ้น
ตามอายุที่สูงขึ้น และสูงที่สุดในกลุ่มอายุ 70-79 ปี
โรคความดันโลหิตสูงในประชากรไทยอายุ 15 ปีขึ้นมี
ร้อยละ 21.4 และสูงสุดในกลุ่มอายุ 80 ปีขึ้นไป ส่วน
ความชุกของภาวะไขมันคอเลสเตอรอลรวม (Total
cholesterol; TC ≥ 240 มก/ดล.) ในประชากรไทยอายุ
15 ปีขึ้นไปมีร้อยละ 19.1 ความชุกเพิ่มขึ้นตามอายุที่
เพิ่มขึ้นและสูงสุดในกลุ่มอายุ 60-69 ปี (ร้อยละ 27.4)
หลักสูตรการสอน
วิทยาลัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุข
เปิดสอนหลักสูตรนานาชาติ - หลักสูตรไทย
1. หลักสูตรสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต ดุษฎีบัณฑิต
สาขาวิชาสาธารณสุขศาสตร์ (นานาชาติ)
2. หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต ดุษฎีบัณฑิต
สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สาธารณสุข (นานาชาติ)
สอบถามข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ : ศ.นพ.สุรศักดิ์ ฐานีพานิชสกุล
คณบดีวิทยาลัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุข จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
อาคารสถาบัน 3 ชั้น10 ซ.จุฬาฯ 62 ถ.พญาไท ปทุมวัน กรุงเทพฯ
10330 โทร. 66(2) 218-8193 โทรสาร 66(2)251-7041, E-mail:
academic_cphs@chula.ac.th Website: www.cphs.chula.ac.th ที่มา: ปาจรีย์ อับดุลลากาซิม และ รัตนา สาโรงทอง. ประมวลและสังเคราะห์ข้อมูล
สถานการณ์ การดาเนินงานส่งเสริมสุขภาพ : กรณีโภชนาการ. วิทยาลัยวิทยาศาสตร์
สาธารณสุข จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. 2554
ได้รับการสนับสนุนจาก โครงการส่งเสริมการวิจัยในอุดมศึกษาและการพัฒนามหาวิทยาลัยวิจัยแห่งชาติ ของสานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา
(ต่อจากหน้า 1)
ในขณะที่ภาครัฐ ได้มีการดาเนินงานเฝ้าระวังและติดตาม
พฤติกรรมสุขภาพ โดยการคัดกรองความเสี่ยงของโรคอ้วน
ลงพุง และโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ซึ่งเป็นการรวมมือกันบูรณา
การโครงการเพื่อส่งเสริมสุขภาพ ของ กระทรวงสาธารณสุข
กรมควบคุมโรค กรมอนามัย กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
กรมสุขภาพจิต สานักงานคณะกรรมการอาหารและยา
สานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข และสานักงาน
หลักประกันสุขภาพแห่งชาติ โดยใช้แนวคิดการขับเคลื่อน
“แผนงานส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคที่มีความสาคัญ
ระดับชาติ” เพื่อลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรังที่เป็นปัญหา
ระดับประเทศ ภายใต้ 6 มาตรการหลัก (นิตยา พันธุเวทย์
2552)ได้แก่
มาตรการที่ 1 ระบบการเฝ้าระวังติดตามพฤติกรรม
สุขภาพ และการคัดกรองความเสี่ยงโรคเสี่ยงโรคอ้วนลงพุง
มาตรการที่ 2 การสร้างความตระหนัก การให้ความรู้
ในวงกว้าง และการรณรงค์สร้างกระแส เน้นเรื่องการ
ปรับเปลี่ยนวิถีชีวิต
มาตรการที่ 3 การเสริมสร้างสิ่งแวดล้อมและลดเสี่ยง
ในชุมชน
มาตรการที่ 4 การให้คาปรึกษา และปรับพฤติกรรมใน
กลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วย ในสถานบริการ
มาตรการที่ 5 การจัดการความรู้ และการสร้างเสริม
ศักยภาพ ผู้ดาเนินงานตามแผนงานส่งเสริมสุขภาพ และ
ป้องกันโรคที่มีความสาคัญระดับชาติให้มีความเข้มแข็ง
มาตรการที่ 6 การนิเทศ กากับ ติดตาม และ
ประเมินผล
จะเห็นได้ว่าการร่วมมือกันของกระทรวงต่างๆ และ
หน่วยงานที่เกี่ยวข้องนั้นจะช่วยให้สามารถแก้ไขปัญหา
สุขภาพได้ในเชิงบูรณาการ และช่วยสร้างเครือข่ายความ
ร่วมมือในแก้ไขปัญหาด้านโภชนาการอาหารในวัยสูงอายุ
ซึ่งจะนาไปสู่การมีสุขภาพที่ดีในวัยสูงอายุได้
โภชนาการกับผู้สูงอายุ
ตัวอย่างเมนูอาหารที่เหมาะสมสาหรับผู้สูงอายุได้แก่
มื้อเช้า ข้าวต้มปลา และนมถั่วเหลือง 250 ซี.ซี.
มื้อกลางวัน ก๋วยเตี๋ยวน้าเส้นลวกเปื่อย และส้มเขียวหวาน
มื้อเย็น ข้าวสวยหุงแฉะ
น้าพริกกะปิ ผักต้ม ปลาทู
และแกงส้ม
การส่งเสริมภาวะ
โภชนาการในคนสูงอายุ
จึงเป็นสิ่งสาคัญมากเพื่อ
คงไว้ซึ่งสุขภาพที่แข็งแรง และลดภาวะความรุนแรงของ
โรคต่างๆ เช่น โรคหัวใจ โรคมะเร็ง โรคความดันโลหิตสูง
เป็นต้น รวมทั้งมีสุขภาพจิตที่ดีด้วย โดยคานึงถึงความ
ต้องการสารอาหาร เน้นความสมดุล ความพอดี และความ
หลากหลายของอาหาร นอกจากนี้การออกกาลังกาย การ
ผ่อนคลายทางกายและจิต และการหลีกเลี่ยงสิ่งที่เป็นพิษ
ล้วนเป็นปัจจัยที่สาคัญสาหรับพื้นฐานการมีสุขภาพดีของ
ผู้สูงอายุด้วยเช่นกัน
ที่มา : www.pink-her.com
Nutrition for golden age โภชนาการกับผู้สูงอายุ

Weitere ähnliche Inhalte

Andere mochten auch

AHS:AAN guidelines for prevention of episodic migraine 2012
AHS:AAN guidelines for prevention of episodic migraine  2012AHS:AAN guidelines for prevention of episodic migraine  2012
AHS:AAN guidelines for prevention of episodic migraine 2012Utai Sukviwatsirikul
 
You Want to Mobilize Your Workforce… Now What?
You Want to Mobilize Your Workforce… Now What?You Want to Mobilize Your Workforce… Now What?
You Want to Mobilize Your Workforce… Now What?cwongsala
 
อิทธิพลจากรูปแบบคุณลักษณะของร้านยาต่อการกลับมาใช้บริการ: อิทธิพลของตัวแปรกำกั...
อิทธิพลจากรูปแบบคุณลักษณะของร้านยาต่อการกลับมาใช้บริการ: อิทธิพลของตัวแปรกำกั...อิทธิพลจากรูปแบบคุณลักษณะของร้านยาต่อการกลับมาใช้บริการ: อิทธิพลของตัวแปรกำกั...
อิทธิพลจากรูปแบบคุณลักษณะของร้านยาต่อการกลับมาใช้บริการ: อิทธิพลของตัวแปรกำกั...Utai Sukviwatsirikul
 
Competition pricing การกำหนดราคามุ่งหวังการแข่งขัน
Competition pricing การกำหนดราคามุ่งหวังการแข่งขันCompetition pricing การกำหนดราคามุ่งหวังการแข่งขัน
Competition pricing การกำหนดราคามุ่งหวังการแข่งขันUtai Sukviwatsirikul
 
Aec ดร. นิลสุวรรณ-ลีลารัศมี
Aec ดร. นิลสุวรรณ-ลีลารัศมีAec ดร. นิลสุวรรณ-ลีลารัศมี
Aec ดร. นิลสุวรรณ-ลีลารัศมีUtai Sukviwatsirikul
 
Vortex Connect Mobilizing your Current HR System
Vortex Connect Mobilizing your Current HR SystemVortex Connect Mobilizing your Current HR System
Vortex Connect Mobilizing your Current HR Systemcwongsala
 
การบำบัดทางชีวภาพ การให้การปรึกษาทางสุขภาพ และ การบำบัดทางจิตสังคม
การบำบัดทางชีวภาพ การให้การปรึกษาทางสุขภาพ และ การบำบัดทางจิตสังคมการบำบัดทางชีวภาพ การให้การปรึกษาทางสุขภาพ และ การบำบัดทางจิตสังคม
การบำบัดทางชีวภาพ การให้การปรึกษาทางสุขภาพ และ การบำบัดทางจิตสังคมUtai Sukviwatsirikul
 
รายงานฉบับสมบรูณ์ โครงการการจัดทาข้อเสนอร้านยาคณุภาพกับระบบบริการสขุภาพถ้วนหน้า
รายงานฉบับสมบรูณ์ โครงการการจัดทาข้อเสนอร้านยาคณุภาพกับระบบบริการสขุภาพถ้วนหน้ารายงานฉบับสมบรูณ์ โครงการการจัดทาข้อเสนอร้านยาคณุภาพกับระบบบริการสขุภาพถ้วนหน้า
รายงานฉบับสมบรูณ์ โครงการการจัดทาข้อเสนอร้านยาคณุภาพกับระบบบริการสขุภาพถ้วนหน้าUtai Sukviwatsirikul
 
รับรองรายงาน อย. 10 Feb 2015
รับรองรายงาน อย. 10 Feb 2015รับรองรายงาน อย. 10 Feb 2015
รับรองรายงาน อย. 10 Feb 2015Utai Sukviwatsirikul
 
Clinical practice guideline for cancer pain
Clinical practice guideline for cancer painClinical practice guideline for cancer pain
Clinical practice guideline for cancer painUtai Sukviwatsirikul
 
ร้่านยาคุณภาพในระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
ร้่านยาคุณภาพในระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติร้่านยาคุณภาพในระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
ร้่านยาคุณภาพในระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติUtai Sukviwatsirikul
 
ร่าง กฎหมาย gpp สถานที่ และอุปกรณ์ แก้ตามมติ คกก.20 มีค57
ร่าง กฎหมาย gpp สถานที่ และอุปกรณ์  แก้ตามมติ คกก.20 มีค57ร่าง กฎหมาย gpp สถานที่ และอุปกรณ์  แก้ตามมติ คกก.20 มีค57
ร่าง กฎหมาย gpp สถานที่ และอุปกรณ์ แก้ตามมติ คกก.20 มีค57Utai Sukviwatsirikul
 
สเต็มเซลล์บำบัด
สเต็มเซลล์บำบัดสเต็มเซลล์บำบัด
สเต็มเซลล์บำบัดUtai Sukviwatsirikul
 
ร่าง กฎหมาย Gpp สถานที่ และอุปกรณ์
ร่าง กฎหมาย Gpp สถานที่ และอุปกรณ์ร่าง กฎหมาย Gpp สถานที่ และอุปกรณ์
ร่าง กฎหมาย Gpp สถานที่ และอุปกรณ์Utai Sukviwatsirikul
 
แนวทางเวชปฏิบัติสำหรับโรคเบาหวาน 2554 ฉบับสมบูรณ์
แนวทางเวชปฏิบัติสำหรับโรคเบาหวาน 2554 ฉบับสมบูรณ์แนวทางเวชปฏิบัติสำหรับโรคเบาหวาน 2554 ฉบับสมบูรณ์
แนวทางเวชปฏิบัติสำหรับโรคเบาหวาน 2554 ฉบับสมบูรณ์Utai Sukviwatsirikul
 
Headaches: diagnosis and management of headaches in young people and adults ,...
Headaches: diagnosis and management of headaches in young people and adults ,...Headaches: diagnosis and management of headaches in young people and adults ,...
Headaches: diagnosis and management of headaches in young people and adults ,...Utai Sukviwatsirikul
 

Andere mochten auch (19)

AHS:AAN guidelines for prevention of episodic migraine 2012
AHS:AAN guidelines for prevention of episodic migraine  2012AHS:AAN guidelines for prevention of episodic migraine  2012
AHS:AAN guidelines for prevention of episodic migraine 2012
 
You Want to Mobilize Your Workforce… Now What?
You Want to Mobilize Your Workforce… Now What?You Want to Mobilize Your Workforce… Now What?
You Want to Mobilize Your Workforce… Now What?
 
อิทธิพลจากรูปแบบคุณลักษณะของร้านยาต่อการกลับมาใช้บริการ: อิทธิพลของตัวแปรกำกั...
อิทธิพลจากรูปแบบคุณลักษณะของร้านยาต่อการกลับมาใช้บริการ: อิทธิพลของตัวแปรกำกั...อิทธิพลจากรูปแบบคุณลักษณะของร้านยาต่อการกลับมาใช้บริการ: อิทธิพลของตัวแปรกำกั...
อิทธิพลจากรูปแบบคุณลักษณะของร้านยาต่อการกลับมาใช้บริการ: อิทธิพลของตัวแปรกำกั...
 
Competition pricing การกำหนดราคามุ่งหวังการแข่งขัน
Competition pricing การกำหนดราคามุ่งหวังการแข่งขันCompetition pricing การกำหนดราคามุ่งหวังการแข่งขัน
Competition pricing การกำหนดราคามุ่งหวังการแข่งขัน
 
Aec ดร. นิลสุวรรณ-ลีลารัศมี
Aec ดร. นิลสุวรรณ-ลีลารัศมีAec ดร. นิลสุวรรณ-ลีลารัศมี
Aec ดร. นิลสุวรรณ-ลีลารัศมี
 
Vortex Connect Mobilizing your Current HR System
Vortex Connect Mobilizing your Current HR SystemVortex Connect Mobilizing your Current HR System
Vortex Connect Mobilizing your Current HR System
 
การบำบัดทางชีวภาพ การให้การปรึกษาทางสุขภาพ และ การบำบัดทางจิตสังคม
การบำบัดทางชีวภาพ การให้การปรึกษาทางสุขภาพ และ การบำบัดทางจิตสังคมการบำบัดทางชีวภาพ การให้การปรึกษาทางสุขภาพ และ การบำบัดทางจิตสังคม
การบำบัดทางชีวภาพ การให้การปรึกษาทางสุขภาพ และ การบำบัดทางจิตสังคม
 
รายงานฉบับสมบรูณ์ โครงการการจัดทาข้อเสนอร้านยาคณุภาพกับระบบบริการสขุภาพถ้วนหน้า
รายงานฉบับสมบรูณ์ โครงการการจัดทาข้อเสนอร้านยาคณุภาพกับระบบบริการสขุภาพถ้วนหน้ารายงานฉบับสมบรูณ์ โครงการการจัดทาข้อเสนอร้านยาคณุภาพกับระบบบริการสขุภาพถ้วนหน้า
รายงานฉบับสมบรูณ์ โครงการการจัดทาข้อเสนอร้านยาคณุภาพกับระบบบริการสขุภาพถ้วนหน้า
 
รับรองรายงาน อย. 10 Feb 2015
รับรองรายงาน อย. 10 Feb 2015รับรองรายงาน อย. 10 Feb 2015
รับรองรายงาน อย. 10 Feb 2015
 
Clinical practice guideline for cancer pain
Clinical practice guideline for cancer painClinical practice guideline for cancer pain
Clinical practice guideline for cancer pain
 
ร้่านยาคุณภาพในระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
ร้่านยาคุณภาพในระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติร้่านยาคุณภาพในระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
ร้่านยาคุณภาพในระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
 
Discount pharmacy
Discount pharmacyDiscount pharmacy
Discount pharmacy
 
ร่าง กฎหมาย gpp สถานที่ และอุปกรณ์ แก้ตามมติ คกก.20 มีค57
ร่าง กฎหมาย gpp สถานที่ และอุปกรณ์  แก้ตามมติ คกก.20 มีค57ร่าง กฎหมาย gpp สถานที่ และอุปกรณ์  แก้ตามมติ คกก.20 มีค57
ร่าง กฎหมาย gpp สถานที่ และอุปกรณ์ แก้ตามมติ คกก.20 มีค57
 
DENGUE
DENGUE DENGUE
DENGUE
 
สเต็มเซลล์บำบัด
สเต็มเซลล์บำบัดสเต็มเซลล์บำบัด
สเต็มเซลล์บำบัด
 
ร่าง กฎหมาย Gpp สถานที่ และอุปกรณ์
ร่าง กฎหมาย Gpp สถานที่ และอุปกรณ์ร่าง กฎหมาย Gpp สถานที่ และอุปกรณ์
ร่าง กฎหมาย Gpp สถานที่ และอุปกรณ์
 
แนวทางเวชปฏิบัติสำหรับโรคเบาหวาน 2554 ฉบับสมบูรณ์
แนวทางเวชปฏิบัติสำหรับโรคเบาหวาน 2554 ฉบับสมบูรณ์แนวทางเวชปฏิบัติสำหรับโรคเบาหวาน 2554 ฉบับสมบูรณ์
แนวทางเวชปฏิบัติสำหรับโรคเบาหวาน 2554 ฉบับสมบูรณ์
 
Gpp drugstore2014
Gpp drugstore2014Gpp drugstore2014
Gpp drugstore2014
 
Headaches: diagnosis and management of headaches in young people and adults ,...
Headaches: diagnosis and management of headaches in young people and adults ,...Headaches: diagnosis and management of headaches in young people and adults ,...
Headaches: diagnosis and management of headaches in young people and adults ,...
 

Mehr von Utai Sukviwatsirikul

Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืนNanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืนUtai Sukviwatsirikul
 
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลันClinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลันUtai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...Utai Sukviwatsirikul
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoeaSaccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoeaUtai Sukviwatsirikul
 
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)Utai Sukviwatsirikul
 
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee VaravithyaDrugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee VaravithyaUtai Sukviwatsirikul
 
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...Utai Sukviwatsirikul
 
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...Utai Sukviwatsirikul
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...Utai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตแนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตUtai Sukviwatsirikul
 
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงUtai Sukviwatsirikul
 
ความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไตความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไตUtai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)Utai Sukviwatsirikul
 
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการพระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการUtai Sukviwatsirikul
 
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉินข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉินUtai Sukviwatsirikul
 

Mehr von Utai Sukviwatsirikul (20)

Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืนNanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
 
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลันClinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
 
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
 
Supply chain management
Supply chain managementSupply chain management
Supply chain management
 
Best practice in communication
Best practice in communicationBest practice in communication
Best practice in communication
 
Basic communication skills 2554
Basic communication skills 2554Basic communication skills 2554
Basic communication skills 2554
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoeaSaccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
 
SME Handbook
SME HandbookSME Handbook
SME Handbook
 
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
 
Scientific evidence of BIOFLOR
Scientific evidence of BIOFLORScientific evidence of BIOFLOR
Scientific evidence of BIOFLOR
 
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee VaravithyaDrugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
 
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
 
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
 
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตแนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
 
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
 
ความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไตความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไต
 
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
 
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการพระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
 
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉินข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
 

Nutrition for golden age โภชนาการกับผู้สูงอายุ

  • 1. รายละเอียดดูได้จาก http://www.cphs.chula.ac.th/surveillance ศูนย์ศึกษาและเฝ้าระวังปัญหาสุขภาพและสาธารณสุขด้านผู้สูงอายุ วิทยาลัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุข จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย WHO Collaborating Center (WHO CC) for Research and Training in Public Health Development สรุปประเด็นปัญหาสุขภาพและสาธารณสุข ปีที่ 4 ฉบับที่ 6 เดือน มิถุนายน 2554 ผู้สูงอายุ เป็นวัยที่ระบบการทางานของอวัยวะต่างๆ ใน ร่างกายเปลี่ยนแปลงไป ซึ่งอาจส่งผลกระทบกับภาวะ โภชนาการได้ทั้งปัญหาภาวะขาดสารอาหาร เช่น การขาดแร่ ธาตุแคลเซียม ธาตุเหล็กและขาดวิตามินต่างๆ และถ้าผู้สูงอายุ ได้อาหารบางชนิดมากเกินไป ก็อาจเกิดปัญหาโรคเรื้อรัง เช่น โรคอ้วน โรคเบาหวาน ไขมันอุดตันในหลอดเลือด และความ ดันโลหิตสูง เป็นต้น ซึ่งปัญหาเหล่านี้จะชะลอหรือป้องกันได้ถ้าผู้ที่อยู่ใกล้ชิด ให้ความดูแลเอาใจใส่ แนะนาเรื่องการบริโภคอาหาร โดย ผู้สูงอายุควรเลือกรับประทานอาหารที่มีปริมาณพลังงาน น้อยลง โดยการลดปริมาณการบริโภคไขมันและ คาร์โบไฮเดรต เช่น หลีกเลี่ยงการใช้น้ามันสัตว์หรือกะทิใน การปรุงอาหาร และหลีกเลี่ยงอาหารรสหวานจัดหรือเค็มจัด เป็นต้น ควรบริโภคผัก ผลไม้ และธัญพืชต่างๆให้เพียงพอ เพื่อให้ได้เกลือแร่ วิตามิน และใยอาหารครบถ้วนตามความ ต้องการสารอาหารของร่างกายในแต่ละวัน นอกจากนี้ ผู้สูงอายุควรได้รับน้าที่เพียงพอด้วยเช่นกัน เพื่อช่วยในระบบ ย่อยอาหาร และการขับถ่ายของเสียที่ดี และควรงดหรือลด เครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ สรุปโรคเฝ้าระวังที่พบบ่อย ที่มา : สานักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข. รายงานการเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา ปีที่ 42 ฉบับที่ 46 25 พฤศจิกายน 2554 1. PNEUMONIA (ADMITTED) 2. INFLUENZA 3. HAND, FOOT AND MOUTH DISEASE 4. MEASLES 5. LEPTOSPIROSIS โภชนาการกับผู้สูงอายุ จากรายงานสถานการณ์โรคเรื้อรังของประชากรไทย อันได้แก่ โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง และภาวะ ไขมันในเลือด จากข้อมูลการสารวจสุขภาพประชาชน ไทย ครั้งที่ 4 ในปี พ.ศ. 2551 – 2552 (สานักงาน สารวจสุขภาพประชาชนไทย 2553) พบว่า ความชุกของ โรคเบาหวานในประชากรไทยอายุ 15 ปีขึ้นไปมีร้อยละ 6.9 ความชุก ในผู้หญิงสูงกว่าในผู้ชาย ความชุกเพิ่มขึ้น ตามอายุที่สูงขึ้น และสูงที่สุดในกลุ่มอายุ 70-79 ปี โรคความดันโลหิตสูงในประชากรไทยอายุ 15 ปีขึ้นมี ร้อยละ 21.4 และสูงสุดในกลุ่มอายุ 80 ปีขึ้นไป ส่วน ความชุกของภาวะไขมันคอเลสเตอรอลรวม (Total cholesterol; TC ≥ 240 มก/ดล.) ในประชากรไทยอายุ 15 ปีขึ้นไปมีร้อยละ 19.1 ความชุกเพิ่มขึ้นตามอายุที่ เพิ่มขึ้นและสูงสุดในกลุ่มอายุ 60-69 ปี (ร้อยละ 27.4)
  • 2. หลักสูตรการสอน วิทยาลัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุข เปิดสอนหลักสูตรนานาชาติ - หลักสูตรไทย 1. หลักสูตรสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต ดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาสาธารณสุขศาสตร์ (นานาชาติ) 2. หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต ดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สาธารณสุข (นานาชาติ) สอบถามข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ : ศ.นพ.สุรศักดิ์ ฐานีพานิชสกุล คณบดีวิทยาลัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุข จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย อาคารสถาบัน 3 ชั้น10 ซ.จุฬาฯ 62 ถ.พญาไท ปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330 โทร. 66(2) 218-8193 โทรสาร 66(2)251-7041, E-mail: academic_cphs@chula.ac.th Website: www.cphs.chula.ac.th ที่มา: ปาจรีย์ อับดุลลากาซิม และ รัตนา สาโรงทอง. ประมวลและสังเคราะห์ข้อมูล สถานการณ์ การดาเนินงานส่งเสริมสุขภาพ : กรณีโภชนาการ. วิทยาลัยวิทยาศาสตร์ สาธารณสุข จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. 2554 ได้รับการสนับสนุนจาก โครงการส่งเสริมการวิจัยในอุดมศึกษาและการพัฒนามหาวิทยาลัยวิจัยแห่งชาติ ของสานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (ต่อจากหน้า 1) ในขณะที่ภาครัฐ ได้มีการดาเนินงานเฝ้าระวังและติดตาม พฤติกรรมสุขภาพ โดยการคัดกรองความเสี่ยงของโรคอ้วน ลงพุง และโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ซึ่งเป็นการรวมมือกันบูรณา การโครงการเพื่อส่งเสริมสุขภาพ ของ กระทรวงสาธารณสุข กรมควบคุมโรค กรมอนามัย กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กรมสุขภาพจิต สานักงานคณะกรรมการอาหารและยา สานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข และสานักงาน หลักประกันสุขภาพแห่งชาติ โดยใช้แนวคิดการขับเคลื่อน “แผนงานส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคที่มีความสาคัญ ระดับชาติ” เพื่อลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรังที่เป็นปัญหา ระดับประเทศ ภายใต้ 6 มาตรการหลัก (นิตยา พันธุเวทย์ 2552)ได้แก่ มาตรการที่ 1 ระบบการเฝ้าระวังติดตามพฤติกรรม สุขภาพ และการคัดกรองความเสี่ยงโรคเสี่ยงโรคอ้วนลงพุง มาตรการที่ 2 การสร้างความตระหนัก การให้ความรู้ ในวงกว้าง และการรณรงค์สร้างกระแส เน้นเรื่องการ ปรับเปลี่ยนวิถีชีวิต มาตรการที่ 3 การเสริมสร้างสิ่งแวดล้อมและลดเสี่ยง ในชุมชน มาตรการที่ 4 การให้คาปรึกษา และปรับพฤติกรรมใน กลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วย ในสถานบริการ มาตรการที่ 5 การจัดการความรู้ และการสร้างเสริม ศักยภาพ ผู้ดาเนินงานตามแผนงานส่งเสริมสุขภาพ และ ป้องกันโรคที่มีความสาคัญระดับชาติให้มีความเข้มแข็ง มาตรการที่ 6 การนิเทศ กากับ ติดตาม และ ประเมินผล จะเห็นได้ว่าการร่วมมือกันของกระทรวงต่างๆ และ หน่วยงานที่เกี่ยวข้องนั้นจะช่วยให้สามารถแก้ไขปัญหา สุขภาพได้ในเชิงบูรณาการ และช่วยสร้างเครือข่ายความ ร่วมมือในแก้ไขปัญหาด้านโภชนาการอาหารในวัยสูงอายุ ซึ่งจะนาไปสู่การมีสุขภาพที่ดีในวัยสูงอายุได้ โภชนาการกับผู้สูงอายุ ตัวอย่างเมนูอาหารที่เหมาะสมสาหรับผู้สูงอายุได้แก่ มื้อเช้า ข้าวต้มปลา และนมถั่วเหลือง 250 ซี.ซี. มื้อกลางวัน ก๋วยเตี๋ยวน้าเส้นลวกเปื่อย และส้มเขียวหวาน มื้อเย็น ข้าวสวยหุงแฉะ น้าพริกกะปิ ผักต้ม ปลาทู และแกงส้ม การส่งเสริมภาวะ โภชนาการในคนสูงอายุ จึงเป็นสิ่งสาคัญมากเพื่อ คงไว้ซึ่งสุขภาพที่แข็งแรง และลดภาวะความรุนแรงของ โรคต่างๆ เช่น โรคหัวใจ โรคมะเร็ง โรคความดันโลหิตสูง เป็นต้น รวมทั้งมีสุขภาพจิตที่ดีด้วย โดยคานึงถึงความ ต้องการสารอาหาร เน้นความสมดุล ความพอดี และความ หลากหลายของอาหาร นอกจากนี้การออกกาลังกาย การ ผ่อนคลายทางกายและจิต และการหลีกเลี่ยงสิ่งที่เป็นพิษ ล้วนเป็นปัจจัยที่สาคัญสาหรับพื้นฐานการมีสุขภาพดีของ ผู้สูงอายุด้วยเช่นกัน ที่มา : www.pink-her.com