SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 111
Downloaden Sie, um offline zu lesen
ชื่อหนังสือ : แนวทางการดูแลผูปวยสติปญญาบกพรอง ออทิสติก สมาธิสั้นและภาวะบกพรองทางการเรียน
สําหรับระบบเครือขายบริการสาธารณสุข
บรรณาธิการ : แพทยหญิงอนัญญา สินรัชตานันท
เภสัชกรหญิงธีรารัตน แทนขํา
พิมพครั้งที่ 1 : กุมภาพันธ 2556
จํานวนพิมพ : 4,000 เลม
ผลิตโดย : กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข… โดย
 โรงพยาบาลยุวประสาทไวทโยปถัมภ จ.สมุทรปราการ โทร. 0 2384 3381-3
 สถาบันราชานุกูล โทร. 0 2245 4601-5
 สถาบันพัฒนาการเด็กราชนครินทร จ.เชียงใหม โทร. 0 5389 0238 -44
 สถาบันสุขภาพจิตเด็กและวัยรุนราชนครินทร โทร. 0 2248 8999
สงวนลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติ
หามลอกเลียนแบบสวนหนึ่งสวนใดของหนังสือเลมนี้
โดยไมไดรับอนุญาตจากเจาของลิขสิทธิ์
พิมพที่ : โรงพิมพฟาสตบุคส
ก
คํานํา
แนวทางการดูแลผูปวยจิตเวชเด็ก 4 โรค ไดแก พัฒนาการลาชาและสติปญญาบกพรอง ภาวะออทิสติก
โรคสมาธิสั้น และภาวะบกพรองทางการเรียนรูเฉพาะดาน สําหรับระบบเครือขายบริการสาธารณสุข ชุดนี้
จัดทําขึ้นเพื่อใหแพทย พยาบาลและบุคลากรทางการแพทยที่ทําหนาที่ในการดูแลผูปวยเด็กนําไปใชเปนการ
เพิ่มพูนความรูและทักษะในการดูแลผูปวยทั้ง 4 โรค ชวยใหผูปวยเด็กสามารถเขาถึงบริการไดงายขึ้น การดูแล
ติดตามผูปวยหลังไดรับการวินิจฉัยสามารถดําเนินการไดในหนวยบริการสาธารณสุขใกลบาน ซึ่งจะทําใหเด็ก
และวัยรุนของประเทศไทยไดรับการดูแลชวยเหลือและแกไขภาวะที่เปนผลกระทบตอสติปญญาและ
ความสามารถในการเรียนไดอยางทันทวงที ชวยลดปญหาพฤติกรรมในวัยรุนที่เปนผลเกี่ยวเนื่องจากกลุมโรค
ทั้ง 4 โรค
ผูจัดทําแนวทางชุดนี้ยังหวังวาแนวทางชุดนี้จะทําใหเกิดการพัฒนางานการดูแลผูปวยจิตเวชเด็กตามแนว
ทางการพัฒนาคุณภาพระบบบริการสุขภาพจิตและจิตเวชที่มีคุณภาพและมาตรฐานเดียวกันทั่วประเทศอีกดวย
คณะผูจัดทํา
มกราคม 2556
ข
สารบัญ
หนา
คํานํา ก
สารบัญ ข
กรอบแนวคิดการสงเสริมพัฒนาการเด็กวัยแรกเกิด – 5 ป 1
แผนภูมิการใหบริการเด็กหรือวัยรุนที่มีปญหาบกพรองทางสติปญญาอายุ 6-18 ป 2
ตารางแสดงแผนการสงเสริมพัฒนาการเด็กวัยแรกเกิด-5 ป 3
ภาวะบกพรองทางสติปญญา / ภาวะปญญาออน
(Intellectual Disabilities / Mental Retardation )
7
แผนภูมิการใหบริการออทิสติก 25
ตารางแสดงแผนการบําบัดรักษาผูปวยออทิสติก 26
กลุมอาการออทิสติก (Autistic Spectrum Disorder) 29
แผนภูมิการดูแลเด็กที่มีปญหาพฤติกรรมและการเรียน 65
ตารางแสดงแผนการบําบัดรักษาเด็กที่มีปญหาสมาธิสั้น (ADHD) 66
โรคสมาธิสั้น (Attention Deficit Hyperactivity disorder) 69
ตารางแสดงแผนการบําบัดรักษาเด็กที่มีปญหาการเรียน (LD) 80
ภาวะบกพรองทางการเรียน (Learning Disability ) 83
ภาคผนวก 89
- แบบคัดกรอง KUS-SI Rating Scales: ADHD/LD/Autism (PDDs) 91
- แบบสอบถาม ADHD Rating Scale-IV 101
- แบบคัดกรองภาวะเสี่ยงตอโรคออทิซึมในเด็กอายุ 1-5 ป 102
- แบบสํารวจพัฒนาการเด็ก(PDDSQ) ชวงอายุ 1-4 ป(12 เดือน - 47 เดือน) 103
คณะทํางาน 105
พัฒนาการไมสมวัย  1
กรอบแนวคิดการสงเสริมพัฒนาการเด็กวัยแรกเกิด  – 5  ป
หนวยบริการ กระบวนการ Technology
หนวยบริการสาธารณสุข
(รพ.สต.) ทั่วประเทศ
- พยาบาลใน รพ.สต.
- พยาบาลใน รพ.สต.
- ผูปกครอง
- พยาบาลใน รพ.สต.
- พยาบาลใน รพ.สต.
- แนวปฏิบัติของกรมอนามัย
- 2ก 2ล (กรมอนามัยและกรม
สุขภาพจิต)
หนวยบริการสาธารณสุข
(รพช.ทั่วประเทศ)
- พยาบาลใน รพช.
- กุมารแพทย(ถามี)
- พยาบาลใน รพช.
หนวยบริการสาธารณสุข
(รพท./รพศ. ทั่วประเทศ)
- กุมารแพทย
- จิตแพทยเด็กและวัยรุน
(ถามี)
- ทีมสหวิชาชีพ (ถามี)
หนวยบริการสาธารณสุข
(รพจ. กรมสุขภาพจิต)
- จิตแพทยเด็กและวัยรุน
- ทีมสหวิชาชีพที่เกี่ยวของ
อนามัย 55 หมายถึง แบบคัดกรองพัฒนาการอนามัย 55 กรมอนามัย
TDSI 70 ขอ หมายถึง แบบคัดกรองและสงเสริมพัฒนาการเด็กแรกเกิดถึง 5 ป (TDSI) กรมสุขภาพจิต
DSI = Developmental Skills Inventory
สงเสริมพัฒนาการ
ตามวัย
ประเมินและปองกันพัฒนาการลาชา (TDSI 70 ขอ)
ระยะเวลา 1 เดือน : รหัสโรค H9348
ประเมินและแกไขพัฒนาการ (DSI 300 ขอ) ระยะเวลา
3 เดือน: รหัสโรค H9348 และ หรือวินิจฉัยเพิ่มเติม/อื่นๆ
สงกลับ รพ.สต.
ดูแลตอเนื่อง
วินิจฉัยและประเมิน และแกไขพัฒนาการ (DSI 300 ขอ)
และหรือใหการรักษาเพิ่มเติม
คัดกรองพัฒนาการเด็กวัยแรกเกิด ถึง 5 ป
(อนามัย 55) รหัสโรค Z 00.1
วินิจฉัย/ตรวจพิเศษ/ประเมิน และแกไข
พัฒนาการอยางละเอียด (DSI 643 ขอ)
และหรือใหการรักษาเพิ่มเติม(เฉพาะทาง)
พัฒนาการ
สมวัยหรือไม
สมวัย
ไมสมวัย (รหัสโรคR62) - คูมือประเมินและปองกันพัฒนาการ
ลาชาเด็กแรกเกิด-5 ป สําหรับ
บุคลากรสาธารณสุข (TDSI : 70 ขอ)
กรมสุขภาพจิต
- คูมือสงเสริมพัฒนาการเด็กแรก
เกิด-5 ปสําหรับผูปกครอง (TDSI :
70 ขอ) กรมสุขภาพจิต
พัฒนาการดีขึ้น
- คูมือประเมินและแกไข/ฟนฟู
พัฒนาการเด็กแรกเกิด-5 ปสําหรับ
บุคลากรสาธารณสุข (DSI : 300 ขอ)
กรมสุขภาพจิต
ดีขึ้น
ไมดีขึ้น
พัฒนาการดีขึ้น
- ตรวจวินิจฉัยและแกไขปญหา
เพิ่มเติมตามปญหาที่สงตอ
- CPG รายโรค
- คูมือประเมินและแกไข/ฟนฟู
พัฒนาการเด็กแรกเกิด-5 ปสําหรับ
บุคลากรสาธารณสุข (DSI: 300 ขอ)
กรมสุขภาพจิตดีขึ้น
พัฒนาการดีขึ้น
- แบบประเมินและแกไขปญหาของ
แตละวิชาชีพ
- CPG รายโรค
- คูมือประเมินและแกไข/ฟนฟู
พัฒนาการเด็กแรกเกิด-5 ปสําหรับ
บุคลากรสาธารณสุข (DSI : 643 ขอ)
กรมสุขภาพจิต
ไมใช
ดีขึ้น
ไมดีขึ้น
ลาชาเฉพาะ
ภาษา  สังคม ดูแผนภูมิการ
ใหบริการออทิสติก
ใช
ไมดีขึ้น
สงกลับ รพช.
ดูแลตอเนื่อง
ประเมินซ้ํา
2 |ภาวะบกพรองทางสติปญญา
แผนภูมิการใหบริการเด็กหรือวัยรุนที่มีปญหาบกพรองทางสติปญญาอายุ  6-18  ป
หนวยบริการ กระบวนการ Technology and Information
รพ. สต. 1. แบบประเมินความสามารถพื้นฐาน
ในการดํารงชีวิต
การรายงานขอมูล
1. การคัดกรองพัฒนาการ Z00.1
รพช. F1-F3
รพช. M2
และ รพท.
M1
1. คูมือฝกสมรรถนะพื้นฐาน
2. คูมือฝกทักษะการดํารงชีวิต
ประจําวัน (ADL)
การรายงานขอมูล
1. การสงเสริมพัฒนาการรายบุคคล
(H9348)
รพท. S และ
รพศ. A
1.คูมือฝกสมรรถนะพื้นฐาน
2.คูมือฝกทักษะการดํารงชีวิตประจําวัน
(ADL)
การรายงานขอมูล
1. การสงเสริมพัฒนาการรายบุคคล
(H9348)
2.รายงานภาวะโรครวม( Co-morbidity)
- ตรวจวินิจฉัย และรักษาเบื้องตน
- ใหคําแนะนําและแกไขพัฒนาการ (ฝก ADL)
ในกรณีผูบกพรองฯระดับ Moderate, Severe ID แตไม
ยุงยากซับซอน (ไมมีปญหาพฤติกรรมรุนแรง)
-ตรวจวินิจฉัย และรักษา
-ใหคําแนะนําและแกไขพัฒนาการ (ฝก ADL) ผูบกพรองฯระดับ
Moderate, severe ID ที่มีโรครวม
ใช
สงเสริมพัฒนาการ
รายบุคคลระดับ
รพช.
ใช
ติดตาม
พัฒนาการและ
ระดับ ADL
ไมใช
พัฒนาการไมสมวัย
ใหการวินิจฉัยเบื้องตนดวยแบบประเมิน
ความสามารถพื้นฐานในการดํารงชีวิตประจําวัน
สงสัยภาวะบกพรองทางสติปญญา
ใหคําแนะนําเบื้องตน สงตอขอมูล
ไมดีขึ้น /มีปญหา
พฤติกรรม หรือมีโรครวม
ไมดีขึ้น /มีปญหาพฤติกรรม
หรือมีโรครวมที่รุนแรง
ไมใช
ภาวะบกพรองทางสติปญญา | 3
หนวยบริการ กระบวนการ Technology and Information
รพ. จิตเวช 1.คูมือฝกสมรรถนะพื้นฐาน
2.คูมือฝกทักษะการดํารงชีวิตประจําวัน
(ADL)
การรายงานขอมูล
1. การสงเสริมพัฒนาการรายบุคคล
(H9348)
2.รายงานภาวะโรครวม ( Co-morbidity)
สงเสริมพัฒนาการ
ในระดับ รพช.
พัฒนาการดีขึ้น ปญหาพฤติกรรม
หรือ Co- morbidity ลดลง
-วินิจฉัย/ตรวจพิเศษ/ประเมินความสามารถ/
- แกไขปญหาพัฒนาการ และใหการรักษาเฉพาะ
ทาง แกผูบกพรองฯระดับ severe ที่มีปญหา
ยุงยากซับซอน โดยทีมสหวีชาชีพ
ใช
4
ตารางแสดงแผนการสงเสริมพัฒนาการเด็กวัยแรกเกิด-5  ป
Service Plan Health Workforce Instrument Knowledge and Technology Information
รพ.สต.
และ well child
clinic
พยาบาล/นักวิชาการ
สาธารณสุข
 แบบคัดกรองพัฒนาการ
(อนามัย55)
 แบบประเมินและปองกัน
พัฒนาการลาชาเด็กวัยแรก
เกิด-5 ป สําหรับบุคลากร
สาธารณสุข (TDSI-70)
 แนวปฏิบัติของกรมอนามัย
 2 ก 2 ล (กรมอนามัย+กรมสุขภาพจิต)
 คูมือประเมินและปองกันพัฒนาการลาชาเด็กแรกเกิดถึง 5 ป
สําหรับบุคากรสาธารณสุข (TDSI-70 ขอ) กรมสุขภาพจิต
 คูมือประเมินและปองกันพัฒนาการลาชาเด็กแรกเกิดถึง 5 ป
สําหรับผูปกครอง (TDSI-70 ขอ) กรมสุขภาพจิต
 การตรวจวัดพัฒนาการดวย DSI-300
 ระบบการสงตอและรับกลับ
 พัฒนาการไมสมวัย R62.0
delayed milestone
 การประเมินพัฒนาการ Z001
 สงเสริมพัฒนาการ H9348
รพช.
F1-3
รพช. M2
รพท. M1
 แพทย/กุมารแพทยที่
ผานการอบรม
พยาบาล
 DSI 300 ขอ  คูมือประเมินและแกไขพัฒนาการเด็กวัยแรกเกิด- 5 ป
สําหรับบุคลากรสาธารณสุข (DSI 300 ขอ) กรมสุขภาพจิต
 ความสามารถในการประเมินและแกไขพัฒนาการเด็ก
 ความสามารถในการระบุและจําแนกผูปวยมีปญหาพัฒนาการ
และสามารถวินิจฉัยไดในระดับ ICD หรือ DSM
 ความสามารถในการติดตามและประเมินผลการรักษาดวยยา
 ระบบฐานขอมูลสงตอ-รับกลับผูปวย
 พัฒนาการไมสมวัย R62.0
delayed milestone
 การประเมินพัฒนาการ Z001
 สงเสริมพัฒนาการ H9348
รพท. S
รพศ. A
กุมารแพทยที่ผานการ
อบรม
จิตแพทยเด็กและ
วัยรุน (ถามี)
พยาบาล PG เด็ก
 DSI 300 ขอ
 CPG รายโรค
 คูมือประเมินและแกไขพัฒนาการเด็กวัยแรกเกิด- 5 ป
สําหรับบุคลากรสาธารณสุข (DSI 300 ขอ) กรมสุขภาพจิต
 ความสามารถในการประเมิน วินิจฉัยใหการบําบัดรักษาผูปวย
ที่มีปญหาพัฒนาการ และปญหาสุขภาพที่เกี่ยวของกับ
พัฒนาการ
 การวินิจฉัยโรคโดยกุมาร
แพทย/จิตแพทย
5
Service Plan Health Workforce Instrument Knowledge and Technology Information
ทีมสหวิชาชีพที่
เกี่ยวของ (ถามี)
 สามารถใหการวินิจฉัย Common disease ที่เกี่ยวของกับ
พัฒนาการ และใหการบําบัดรักษา ติดตามและประเมิน
ผลการรักษา
 ความสามารถในการติดตามและประเมินผลการรักษาดวยยา
 ความสามารถในการใชเครื่องมือคัดกรองมาตรฐาน
 ระบบฐานขอมูลสงตอ-รับกลับผูปวย
รพ.จิตเวช จิตแพทยเด็กและ
วัยรุนหรือกุมารแพทย
ดานพัฒนาการ
พยาบาล PG เด็ก
นักจิตวิทยา
นักสังคมสงเคราะห
สหวิชาชีพ
 นักอรรถบําบัด
 นักกายภาพ/
กิจกรรมบําบัด
อนามัย55
TDSI-70
DSI-300
DSI-643
แบบประเมินและแกไขปญหา
ของแตละวิชาชีพ
CPG รายโรค
 หลักสูตรการใหคําปรึกษา และ Behavior Modification
 สามารถใหการวินิจฉัย บําบัดรักษา และติดตามผลการรักษา
โรคทางจิตเวชที่เกี่ยวของกับปญหาพัฒนาการ
 สามารถประเมินพัฒนาการดวยเครื่องมือที่ไดมาตรฐานสากล
โดยนักจิตวิทยาคลินิก
 ความสามารถในการใชเครื่องมือคัดกรอง/ประเมินมาตรฐาน
 ระบบฐานขอมูลสงตอ-รับกลับผูปวย
 การวินิจฉัยโรคโดยจิตแพทย
6 | ภ า ว ะ บ ก พ ร อ ง ท า ง ส ติ ป ญ ญ า
บันทึก
ภาวะบกพรองทางสติปญญา | 7
ภาวะบกพรองทางสติปญญา  /  ภาวะปญญาออน  
(Intellectual Disabilities / Mental Retardation )
คําจํากัดความ
ภาวะบกพรองทางสติปญญา / ภาวะปญญาออน (Intellectual Disabilities / Mental Retardation)
เปนภาวะที่มีพัฒนาการบกพรองซึ่งทําใหมีขอจํากัดดานสติปญญา การเรียนรูและการปรับตัวในการดํารงชีวิต
ประจําวัน ในปจจุบันเริ่มมีการใชคําวา “บกพรองทางสติปญญา” แทน “ภาวะปญญาออน” มากขึ้นใน
องคกรระดับนานาชาติ เชน IASSID (International Association for the Scientific Study of
Intellectual Disabilities) WHO (World Health Organization) WPA (World Psychiatry Association)
รวมทั้ง AAMR (The American Association on Mental Retardation ) หรือสมาคมบุคคลปญญาออนแหง
สหรัฐอเมริกา ซึ่งประกอบดวยสหวิชาชีพจากทั่วโลกและกอตั้งมาเปนเวลานาน 130 ป ก็ไดเปลี่ยนชื่อเปน The
American Association of Intellectual and Developmental Disabilities (AAIDD) เมื่อ 1 มกราคม
พ.ศ. 2550 เพื่อเสนอแนวทางที่จะทําใหสังคมยอมรับบุคคลที่มีภาวะบกพรองทางสติปญญามากขึ้น
คําจํากัดความของภาวะบกพรองทางสติปญญาหรือภาวะปญญาออน
ตามเกณฑของ Diagnostic and Statistical Manual of Mental Disorders, Fourth Edition,
Text Revision (DSM- IV-TR) โดย American Psychiatric Association (APA) ในป พ.ศ. 2543 ภาวะ
บกพรองทางสติปญญาหรือภาวะปญญาออน หมายถึง ภาวะที่มี
1. ระดับเชาวนปญญาต่ํากวาเกณฑเฉลี่ย
2. พฤติกรรมการปรับตนบกพรองตั้งแต 2 ดานขึ้นไป จากทั้งหมด 10 ดาน
3. อาการแสดงกอนอายุ 18 ป
ระดับเชาวนปญญาต่ํากวาเกณฑเฉลี่ย หมายถึงระดับเชาวนปญญาต่ํากวาเกณฑเฉลี่ยของคนปกติอยางมี
นัยสําคัญคือ 2 คาเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard deviation : SD) โดยทั่วไประดับเชาวนปญญาของคนปกติมี
คาอยูระหวาง 90-109 คาเฉลี่ยคือ 100 และคาเบี่ยงเบนมาตรฐานมีคาเทากับ 15
พฤติกรรมการปรับตน หมายถึง การปฏิบัติตนในชีวิตประจําวันทั่วๆ ไป ซึ่งเปนความสามารถของ
บุคคลนั้นที่จะสามารถดํารงชีวิตไดดวยตนเองในสังคม ประกอบดวย
1. การสื่อความหมาย (Communication)
2. การดูแลตนเอง (Self-care)
3. การดํารงชีวิตภายในบาน (Home living)
4. การปฏิสัมพันธกับผูอื่นในสังคม (Social and Interpersonal Skills)
5. การใชแหลงทรัพยากรในชุมชน (Use of Community Resources)
6. การควบคุมตนเอง (Self- direction)
7. การนําความรูมาใชในชีวิตประจําวัน (Functional Academic Skills)
8 | ภ า ว ะ บ ก พ ร อ ง ท า ง ส ติ ป ญ ญ า
8. การใชเวลาวาง (Leisure)
9. การทํางาน (Work)
10. การมีสุขอนามัยและความปลอดภัยเบื้องตน (Health and Safety)
AAMR หรือ AAIDD ในปจจุบัน ไดเปลี่ยนเกณฑการวินิจฉัยและจําแนกภาวะบกพรองทางสติปญญา
มาแลวทั้งหมด 10 ครั้ง ในครั้งที่ 9 เมื่อป พ.ศ. 2535 เปลี่ยนการจําแนกภาวะบกพรองทางสติปญญาตาม
คะแนนระดับเชาวนปญญาซึ่งแบงความรุนแรงเดิมเปน 4 ระดับ ไดแก เล็กนอย (mild) ปานกลาง
(moderate) รุนแรง (severe) และรุนแรงมาก (profound) มาเปนเพียง 2 ระดับ คือ เล็กนอย (ระดับเชาวน
ปญญาเทากับ 50-70) และ มาก (ระดับเชาวนปญญานอยกวา 50) โดยเนนที่ระดับความชวยเหลือที่บุคคลที่มี
ภาวะบกพรองทางสติปญญาตองการ
การแบงระดับความรุนแรงแบบนี้ เพื่อออกแบบและจัดหาบริการสนับสนุนสําหรับแตละบุคคลโดยแยก
กลุมที่ระดับเชาวนปญญาสูงกวา 50 ซึ่งถือวาเปนกลุมที่เรียนได (educable) ใหไดรับประโยชนจากโปรแกรม
การศึกษา สวนกลุมที่ระดับเชาวนปญญาต่ํากวา 50 จะเนนที่การฝกทักษะที่จําเปนตองใชในการดํารงชีวิต
(trainable)
ความชุก
โดยทั่วไปพบบุคคลที่มีภาวะบกพรองทางสติปญญารอยละ 1-3 ของประชากร ในประเทศไทยพบ
ความชุกของภาวะบกพรองทางสติปญญาประมาณรอยละ 0.4-4.7 ตามแตละรายงานซึ่งมีความแตกตางกันใน
ระเบียบวิธีวิจัยและเกือบทั้งหมดศึกษาดวยการวัดระดับเชาวนปญญาโดยที่ไมมีการประเมินพฤติกรรมการปรับ
ตนรวมดวย
Dr.Allen Stroller จากองคการอนามัยโลกสํารวจไวเมื่อ ป พ.ศ. 2500 พบบุคคลที่มีภาวะบกพรอง
ทางสติปญญารอยละ 1 ของประชากร หลังจากนั้นในป พ.ศ.2531-2532 โรงพยาบาลราชานุกูล สํารวจใน 4
ภาค ของประเทศไทย จํานวนประชากร 221,928 คน พบบุคคลที่มีภาวะบกพรองทางสติปญญา รอยละ 0.4
ของประชากร
ป พ.ศ. 2541 อนุรักษ บัณฑิตชาติและคณะ ไดศึกษาระบาดวิทยาของความผิดปกติทางจิตของ
ประชากรไทย จากกลุมตัวอยางจํานวน 7,157 คน พบความชุกของภาวะบกพรองทางสติปญญารอยละ 1.3
ป พ.ศ. 2542 กวี สุวรรณกิจและคณะ ไดศึกษาปญหาการเรียนของนักเรียนชั้นประถมศึกษาใน
กรุงเทพมหานคร จากกลุมตัวอยางจํานวน 1,057 คน พบความชุกของภาวะบกพรองทางสติปญญารอยละ
4.47
ป พ.ศ.2550 สํานักงานสถิติแหงชาติไดสํารวจประชากร 65,566,359 คน ในกลุมคนพิการ 1,319,832
คน พบเปนกลุมปญญาออน 57,193 คน (ไมรวมกลุมสมองพิการและบกพรองทางการเรียนรูอีกประมาณ
58,000 คน) คิดเปนรอยละ 0.09 ของประชากร
ภาวะบกพรองทางสติปญญา | 9
สาเหตุของภาวะบกพรองทางสติปญญา
เกิดจากปจจัยตางๆในดานชีวภาพ สังคมจิตวิทยา หรือหลายๆปจจัยรวมกัน ภาวะบกพรองทาง
สติปญญาในบางรายอาจไมทราบสาเหตุโดยเฉพาะในภาวะบกพรองทางสติปญญาระดับเล็กนอย ประมาณรอย
ละ 50 ของภาวะบกพรองทางสติปญญา มีสาเหตุมากกวาหนึ่งอยาง สาเหตุของภาวะบกพรองทางสติปญญา
แสดงในตารางที่ 1
ตารางที่ 1 สาเหตุของภาวะบกพรองทางสติปญญา
สาเหตุ ตัวอยาง รอยละ
ที่พบ
กอนคลอด (Prenatal causes)
ความผิดปกติทางพันธุกรรม
- โครโมโซมผิดปกติทั้งโครโมโซมหรือ
บางสวน การผาเหลาของยีน
ความผิดปกติจากการขาดหายไป
ของยีนบนโครโมโซม ( microdeletions
หรือ Subteleomeric deletions)
กลุมอาการดาวน (Down syndrome), tuberous
sclerosis, phenylketonuria และความผิดปกติทาง
เมแทบอลิกอื่นๆ, กลุมอาการโครโมโซมเอกซเปราะ
(fragile x syndrome), Prader-Willi syndrome,
Williams syndrome, Angelman syndrome
4-28
ความผิดปกติแตกําเนิด
 ความผิดปกติของระบบประสาท
สวนกลาง
กลุมอาการที่มีความผิดปกติหลายระบบ
(multiple malformation syndromes)
อื่นๆ
 การติดเชื้อในครรภ ไดรับสารพิษ
ครรภพิษ หรือรกผิดปกติ
หลอดประสาทไมปด (Neural tube defects),
Cornelia de Lange’s syndrome
การติดเชื้อหัดเยอรมัน (Congenital rubella), การ
ติดเชื้อเอชไอวี (Human Immunodeficiency Virus:
HIV), fetal alcohol syndrome, การเกิดกอน
กําหนด, ไดรับรังสีหรือภยันตรายระยะเกิด
7-17
5-13
ปริกําเนิด (Perinatal causes)
การติดเชื้อ ปญหาระหวางการคลอด
และอื่นๆ
เยื่อหุมสมองอักเสบ ภาวะขาดออกซิเจน bilirubin
ในเลือดสูง
2-10
หลังคลอด (Postnatal causes)
การติดเชื้อ ไดรับสารพิษ ปญหาทางจิต
สังคม และอื่นๆ
สมองอักเสบ พิษจากตะกั่ว ภยันตรายหลังเกิด เนื้องอก
ในสมอง เศรษฐานะยากจน การเจ็บปวยทางจิตเวช
3-12
ไมทราบสาเหตุ (Unknown causes) 30-50
10 | ภ า ว ะ บ ก พ ร อ ง ท า ง ส ติ ป ญ ญ า
การแบงประเภทของภาวะบกพรองทางสติปญญา
อาจแบงตามระดับความรุนแรง สาเหตุหรือความชวยเหลือบุคคลที่มีภาวะบกพรองทางสติปญญาตองการ
ตารางที่ 2 การแบงระดับภาวะบกพรองทางสติปญญาตาม DSM IV และความชุก
ระดับ IQ ระดับความรุนแรงของภาวะ
บกพรองทางสติปญญา
รอยละที่พบ
55-69 นอย
(Mild)
85
40-54 ปานกลาง
(Moderate)
10
25-39 รุนแรง
(Severe)
3-4
<25 รุนแรงมาก
(Profound)
1-2
การแบงระดับภาวะบกพรองทางสติปญญา ตามความชวยเหลือที่บุคคลที่มีภาวะบกพรองทางสติปญญาตองการ
เปนการแบงตาม American of Mental Retardation (AAMR) ซึ่งไมไดเนนที่ระดับเชาวนปญญา
แตพิจารณาพฤติกรรมการปรับตน 10 ขอ แตการแบงวิธีนี้ก็ยังมีความสัมพันธกับความรุนแรงของภาวะ
บกพรองทางสติปญญา ไดแก
• ตองการความชวยเหลือเปนครั้งคราว (intermittent)
• ตองการความชวยเหลือปานกลาง (limited)
• ตองการความชวยเหลือมาก (extensive)
• ตองการความชวยเหลือตลอดเวลา (pervasive)
อาการและอาการแสดง
ไดแก พัฒนาการชา สวนใหญมักมาดวยเรื่องพูดชา ภาวะบกพรองทางสติปญญายิ่งรุนแรงมากเทาใด
พัฒนาการชายิ่งปรากฏใหเห็นเร็วขึ้นเทานั้น โดยเฉพาะภาวะบกพรองทางสติปญญาระดับรุนแรงจะพบวาเด็กมี
พัฒนาการชาทุกดานภายใน 2 ปแรก สวนกลุมบกพรองทางสติปญญาระดับเล็กนอย อาจพบพัฒนาการชาเมื่อ
อายุประมาณ 3–4 ป หรือพบปญหาการเรียนเมื่อเริ่มเขาเรียนในโรงเรียน บางรายมาดวยปญหาพฤติกรรม เชน
ซน สมาธิสั้น บุคคลที่มีภาวะบกพรองทางสติปญญาบางรายอาจมีลักษณะผิดปกติตางๆ (dysmorphic
features) ใหเห็นชัดเจนตั้งแตแรกเกิด เชน กลุมอาการดาวน
ภาวะบกพรองทางสติปญญา | 11
ลักษณะทางคลินิก แบงตามระดับไดดังนี้
1. ภาวะบกพรองทางสติปญญาระดับรุนแรงมาก พัฒนาการลาชาชัดเจนตั้งแตเล็กๆ ทั้งในดาน
ประสาทสัมผัสและการเคลื่อนไหว อาจจะฝกการชวยเหลือตนเองไดบาง แตตองอาศัยการฝกอยางมาก สวน
ใหญพบวามีพยาธิสภาพ ตองการการดูแลตลอดเวลา ตลอดชีวิต แมจะเปนผูใหญแลวก็ตาม
2. ภาวะบกพรองทางสติปญญาระดับรุนแรง พบความผิดปกติของพัฒนาการตั้งแตขวบปแรก มักมี
พัฒนาการลาชาทุกดาน โดยเฉพาะพัฒนาการดานภาษา สื่อความหมายไดเพียงเล็กนอยหรือพูดไมไดเลย บาง
รายเริ่มพูดไดเมื่อเขาสูวัยเรียน มีปญหาในการเคลื่อนไหว ในบางรายพบพยาธิสภาพมากกวา 1 อยาง มีทักษะ
การปองกันตนเองนอย มีความจํากัดในการดูแลตนเอง ทํางานงายๆได สวนใหญตองการการดูแลอยางใกลชิด
หรือตองชวยในทุกๆดานอยางมาก ตลอดชีวิต
3. ภาวะบกพรองทางสติปญญาระดับปานกลาง มักไดรับการวินิจฉัยตั้งแตวัยกอนเรียน เมื่ออายุ
ประมาณ 2- 3 ป โดยพบวาอาจมีความแตกตางของระดับความสามารถในดานตางๆ เชน กลุมอาการดาวน
ลาชาในดานการใชภาษา กลุมอาการวิลเลี่ยม (Williams syndrome) บกพรองในทักษะการเรียนรูที่เกี่ยวของ
กับมิติสัมพันธ (visuo-spatial processing skills) และบางรายมีความสามารถทางภาษาเดน ในบางรายพบ
พยาธิสภาพชัดเจน สามารถเรียนไดถึงชั้นประถมศึกษาปที่ 2-3 ในวัยเรียนมักตองการการจัดการศึกษาพิเศษ
สามารถเรียนรูการเดินทางตามลําพังไดในสถานที่ที่คุนเคย ใชชีวิตในชุมชนไดดีทั้งการดํารงชีวิตและการงาน
แตตองการความชวยเหลือปานกลาง ตลอดชีวิต ประมาณรอยละ 20 ดํารงชีวิตอยูไดดวยตนเอง
4. ภาวะบกพรองทางสติปญญาระดับเล็กนอย มักไดรับการวินิจฉัยเมื่อเด็กเขาสูวัยเรียนแลว
เนื่องจากในวัยกอนเรียนพัฒนาทักษะทางสังคมและการสื่อความหมายไดเพียงพอ สวนใหญเรียนไดถึงชั้น
ประถมศึกษาปที่ 6 หรือสูงกวา เมื่อเปนผูใหญสามารถทํางาน แตงงาน ดูแลครอบครัวได แตอาจตองการความ
ชวยเหลือบางเปนครั้งคราวเมื่อมีปญหาชีวิตหรือหนาที่การงาน มักไมพบสาเหตุทางพยาธิสภาพ สวนใหญจะ
สัมพันธกับปจจัยทางสังคมและเศรษฐสถานะยากจนหรือดอยโอกาส ซึ่งแสดงใหเห็นถึงความสําคัญของปจจัย
ดานสิ่งแวดลอมและวัฒนธรรมที่มีผลตอภาวะบกพรองทางสติปญญา
6. ความผิดปกติที่พบรวมดวย
พบความผิดปกติทางจิตเวชในบุคคลที่มีภาวะบกพรองทางสติปญญาไดถึงรอยละ 45 ซึ่งสูงกวา
ประชากรทั่วไป ความผิดปกติเหลานี้จะพบบอยขึ้นเมื่อความรุนแรงของภาวะบกพรองทางสติปญญามากขึ้น
สวนใหญเปนปญหาพฤติกรรม ความผิดปกติที่พบ ไดแก ซน สมาธิสั้น พบรอยละ 8-15 พฤติกรรมทําราย
ตนเอง รอยละ 3-15 นอกจากนี้ยังพบพฤติกรรมกาวราว กระตุนตนเอง เชน ตบมือ เขยงเทา ดื้อ เกเร พบโรค
อารมณสับสนแปรปรวนรอยละ 1-3.5 และโรคจิต (schizophrenia) รอยละ 3 การรักษาโดยการปรับ
พฤติกรรมและการใชยา การทําจิตบําบัดมักไมคอยไดผล
บุคคลที่มีภาวะบกพรองทางสติปญญาจะพบอาการชักไดบอยกวาบุคคลทั่วไปประมาณ 10 เทา
โดยเฉพาะในบุคคลที่มีภาวะบกพรองทางสติปญญาในระดับรุนแรงถึงรุนแรงมาก พบไดถึงรอยละ 30 อาการ
ชักมักควบคุมไดยาก เนื่องจากมีความผิดปกติจากกลุมอาการตางๆ มีพยาธิสภาพของระบบประสาทสวนกลาง
และในผูปวยแตละรายอาจพบอาการชักไดหลายรูปแบบ
12 | ภ า ว ะ บ ก พ ร อ ง ท า ง ส ติ ป ญ ญ า
ภาวะประสาทสัมผัสบกพรอง ไดแก การไดยินบกพรองหรือมีปญหาในการมองเห็นนั้นพบไดบอยใน
บุคคลที่มีภาวะบกพรองทางสติปญญา โดยเฉพาะในกลุมอาการที่มีความผิดปกติของใบหนาและศีรษะ
(craniofacial syndromes) ประมาณรอยละ 50 ของบุคคลที่มีภาวะบกพรองทางสติปญญาในระดับรุนแรงจะ
มีปญหาในการมองเห็น ที่พบบอยไดแก ตาเขและสายตาผิดปกติ
ภาวะบกพรองทางสติปญญาระดับเล็กนอยและรุนแรงพบความบกพรองในดานการเคลื่อนไหวซึ่งเขา
ไดกับสมองพิการ (cerebral palsy :CP) ประมาณรอยละ 10 และ 20 ตามลําดับ และประมาณรอยละ 50
ของเด็กสมองพิการ จะพบวามีภาวะบกพรองทางสติปญญาในระดับความรุนแรงตางๆรวมดวย โดยเฉพาะใน
กลุม spastic CP จะพบภาวะบกพรองทางสติปญญามากกวากลุม dyskinetic CP
ประมาณรอยละ 50-75 ของเด็กออทิสติกมีภาวะบกพรองทางสติปญญารวมดวย พฤติกรรมแบบ
ออทิสติก ไดแก พฤติกรรมซ้ําๆ หรือทํารายตนเองอาจพบไดในบุคคลที่มีภาวะบกพรองทางสติปญญา
โดยเฉพาะในระดับรุนแรง
แนวทางการประเมินวินิจฉัย
การวินิจฉัยภาวะบกพรองทางสติปญญาทําไดโดยการซักประวัติ ตรวจรางกาย ตรวจประเมิน
พัฒนาการ ประเมินระดับเชาวนปญญาและพฤติกรรมการปรับตน ในการประเมินพัฒนาการ ระดับเชาวน
ปญญา และพฤติกรรมการปรับตนนั้นมีแบบประเมินมาตรฐานหลายชนิด
แบบประเมินพัฒนาการและระดับเชาวนปญญา
 Bayley Scales of Infant Development
 Wechsler Preschool and Primary Scale of Intelligence III
 Stanford-Binet Intelligence Scale (5th
Ed)
 Kaufman Assessment Battery for Children II
 Wechsler Intelligence Scale for Children (WICS-IV)
แบบประเมินพฤติกรรมการปรับตน
 Vineland Adaptive Behavior Scale II (VBAS II)
 AAMR Adaptive Behavior Scales-School (ABS-s II)
แบบประเมินระดับเชาวนปญญาที่นิยมใชเปนมาตรฐานในประเทศไทย ไดแก Stanford-Binet
Intelligence Scale และ Wechsler Intelligence Scale for Children สวนแบบประเมินพฤติกรรมการ
ปรับตนที่ใช ไดแก Vineland Adaptive Behavior Scales
ภาวะบกพรองทางสติปญญา | 13
การประเมินเพื่อหาสาเหตุของภาวะบกพรองทางสติปญญา มีวัตถุประสงคเพื่อ
1. คนหาความผิดปกติแบบ progressive หรือ degenerative เชน Rett syndrome, Cockayne
syndrome
2. คนหาโรคที่รักษาได เชน phenylketonuria, ภาวะพรองไทรอยดฮอรโมน (hypothyroidism)
3. ใหคําแนะนําปรึกษาผูปกครองเกี่ยวกับอาการ อาการแสดง ภาวะแทรกซอน ความเสี่ยงในการเกิด
ซ้ํา เตรียมการแกไขปญหาที่พบรวมดวย
4. อาจชวยใหทราบพยากรณโรค
5. ลดการสืบคนทางหองปฏิบัติการอื่นๆ ที่ไมจําเปน
ตารางที่ 3 ขอมูลสําคัญในการประเมินภาวะบกพรองทางสติปญญา
ประวัติ
 กอนคลอด การคลอด และหลังคลอด
พงศาวลีของครอบครัว 3 รุน
 ปญหาการเรียน ความผิดปกติทางจิตเวช ภาวะบกพรองทางสติปญญา ความผิดปกติทางระบบ
ประสาท หรือพัฒนาการถดถอย
การตรวจรางกาย
 ประเมินลักษณะผิดปกติ minor physical anomalies
 การเจริญเติบโตและพัฒนาการดานรางกาย
 เสนรอบศีรษะเทียบกับคาปกติ
 ลักษะณะของใบหนา เชน คางเล็ก (micrognathia), ตาหาง (hypertelorism) หรือ ริมฝปากบนบาง
(thin upper lip) เปนตน
 ใชรูปถายหรือวิดีทัศนเพื่อดูลักษณะรางกายและทาเดิน (gait)
 ตรวจทางระบบประสาท
 ลักษณะพฤติกรรมที่แสดงออก (Behavior phenotypes)
 Wood’s light และ dermatoglyphic ตามขอบงชี้
ความผิดปกติที่พบรวมดวย
 ตรวจการไดยิน ตรวจตาและประเมินทางจิตวิทยา
การสืบคนทางหองปฏิบัติการตามขอบงชี้
 ถายภาพรังสีกระดูก
 ตรวจทางเมตาบอลิกเพื่อหา lysosomal, perioxisomal และ mitochondrial disorders
 Muscle biopsies
 ตรวจ ดีเอ็นเอ และอณูพันธุศาสตร
14 | ภ า ว ะ บ ก พ ร อ ง ท า ง ส ติ ป ญ ญ า
 วิเคราะหโครโมโซม
 ตรวจ Fluorescence in situ hybridization
 ตรวจหากลุมอาการโครโมโซมเอกซเปราะ
 ตรวจ organic and amino acids
 ตรวจทางรังสีระบบประสาท (magnetic resonance imaging : MRI and computed tomography : CT)
การตรวจทางเมทาบอลิกทําในกรณีมีประวัติการแตงงานในเครือญาติ มีสมาชิกในครอบครัวที่มีปญหา
คลายๆกัน พัฒนาการถดถอย ตรวจรางกายพบกลามเนื้อออนนิ่ม การเจริญเติบโตชา หรือตับมามโต เปนตน
การใชเทคนิค Fluorescence in situ hybridization (FISH) สามารถตรวจพบความผิดปกติของ
โครโมโซมสวนปลาย (Subtelomeric region rearrangements) ไดประมาณรอยละ 5–10 ของภาวะ
บกพรองทางสติปญญาที่ไมทราบสาเหตุ โดยเฉพาะกลุมบกพรองทางสติปญญาระดับปานกลางและรุนแรง ขอ
บงชี้ในการตรวจความผิดปกติของโครโมโซมสวนปลาย คือ
1. มีประวัติบกพรองทางสติปญญาในครอบครัว
2. การเจริญเติบโตชาตั้งแตอยูในครรภ หลังคลอด หรือเจริญเติบโตเร็วผิดปกติ
3. มีลักษณะใบหนาผิดปกติตั้งแต 2 อยางขึ้นไป
4. มีความผิดปกติที่ไมใชบริเวณใบหนา และ/หรือ ความผิดปกติแตกําเนิดตั้งแต 1 อยางขึ้นไป
แนวทางการดูแลรักษาและฟนฟูสมรรถภาพ
แมวาเมื่อเกิดภาวะบกพรองทางสติปญญาแลว จะไมอาจรักษาสมองสวนที่เสียไปใหกลับคืนมาทํางาน
ไดตามปกติก็ตาม แตก็สามารถจะคงสภาพหรือฟนฟูสภาพทางสมองสวนที่คงเหลืออยูใหทํางานไดเต็มที่ ดังนั้น
การดูแลรักษาภาวะบกพรองทางสติปญญา จึงเนนการฟนฟูสมรรถภาพของสมองและรางกายมากกวาการ
รักษาดวยยาเพียงอยางเดียว การวินิจฉัยใหไดเร็วที่สุดและการฟนฟูสมรรถภาพทันทีที่วินิจฉัยได จะชวย
หยุดยั้งความพิการมิใหเพิ่มขึ้น เปาหมายของการรักษาภาวะบกพรองทางสติปญญาจึงมิใชมุงรักษาใหหายจาก
โรค แตเพื่อใหสามารถดําเนินชีวิตในสังคมไดใกลเคียงกับคนปกติมากที่สุด ใหชวยตัวเองได ไมเปนภาระแก
ครอบครัวและสังคมมากเกินไป และสามารถประกอบอาชีพได
การฟนฟูสมรรถภาพในบุคคลที่มีภาวะบกพรองทางสติปญญา มีดังนี้
1. การฟนฟูสมรรถภาพทางการแพทย (Medical Rehabilitation)
การฟนฟูสมรรถภาพทางการแพทย ไดแก การรักษาโรคที่เกิดรวมกับภาวะบกพรองทางสติปญญา
การแกไขความพิการและการฟนฟูสภาพทางรางกาย เชน โรคลมชัก, Cretinism, Phenylketonuria (PKU),
cerebral palsy นอกจากการใชยารักษาตามอาการแลว ยังตองการบําบัดรักษาดวย ดังนี้
ภาวะบกพรองทางสติปญญา | 15
การสงเสริมพัฒนาการ (Early Intervention)
การสงเสริมพัฒนาการ หมายถึง การจัดโปรแกรมการฝกทักษะที่จําเปนในการเรียนรู เพื่อนําไปสู
พัฒนาการปกติตามวัยของเด็ก จากการวิจัยพบวา เด็กที่ไดรับการฝกทักษะที่จําเปนในการพัฒนาแตเยาววัย จะ
สามารถเรียนรูไดดีกวาการฝกเมื่อเด็กโตแลว ทันทีที่วินิจฉัยวาเด็กมีภาวะบกพรองทางสติปญญา เชน เด็กกลุม
อาการดาวน หรือเด็กที่มีอัตราเสี่ยงสูงวาจะมีภาวะบกพรองทางสติปญญา เชน เด็กคลอดกอนกําหนด มารดาตก
เลือดคณะตั้งครรภ เปนตน สามารถจัดโปรแกรมสงเสริมพัฒนาการใหเด็กกลุมนี้ไดทันที โดยไมตองนําเด็กมาไวที่
โรงพยาบาล โปรแกรมการสงเสริมพัฒนาการ คือ การจัดสภาพแวดลอมใหเอื้ออํานวยตอการเรียนรูของเด็ก
บิดามารดา และคนเลี้ยงดูมีบทบาทสําคัญยิ่งในการฝกเด็กใหพัฒนาไดตามโปรแกรมอยางสม่ําเสมอ ผลสําเร็จ
ของการสงเสริมพัฒนาการจึงขึ้นอยูกับความรวมมือ และความตั้งใจจริงของบุคคลในครอบครัวของเด็กมากกวาผู
ฝกที่เปนนักวิชาชีพ (Professional staff)
กายภาพบําบัด
บุคคลที่มีภาวะบกพรองทางสติปญญามักจะมีพัฒนาการดานการเคลื่อนไหวรางกาย (motor
development) ชากวาวัย นอกจากนี้บุคคลที่มีภาวะบกพรองทางสติปญญาขนาดหนักและหนักมาก สวนใหญ
ก็จะมีความผิดปกติของระบบประสาทสวนกลาง (central nervous system) ทําใหมีการเกร็งของแขน ขา
ลําตัว จึงจําเปนตองแกไขการเคลื่อนไหวที่ผิดปกติ เพื่อชวยลดการยึดติดของขอตอ และการสูญเสียกลามเนื้อ
เด็กจะชวยตัวเองไดมากขึ้น เมื่อเจริญวัยขึ้น
กิจกรรมบําบัด
เปนการฝกการใชกลามเนื้อมัดเล็ก ไดแก การใชมือหยิบจับสิ่งของ ฝกการทํางานของตา และมือ ให
ประสานกัน(eye-hand co-ordination) สามารถหยิบจับสิ่งของ เชน จับถวยกินน้ํา จับแปรงสีฟน หยิบชอน
กินขาวซึ่งจะชวยใหการดําเนินชีวิตประจําวัน เปนไปอยางราบรื่นและสะดวกขึ้น
การแกไขการพูด
บุคคลที่มีภาวะบกพรองทางสติปญญาเกินกวารอยละ 70 มีปญหาการพูดและการสื่อความหมาย
กระบวนการฝกในเรื่องนี้ มิใชเพื่อใหเปลงสําเนียงเปนภาษาที่คนทั่วไปเขาใจเทานั้น แตจะเริ่มจากการฝกใช
กลามเนื้อชวยพูด บังคับกลามเนื้อเปลงเสียง ออกเสียงใหถูกตอง ซึ่งการฝกพูดตองกระทําตั้งแตเด็กอายุต่ํากวา
4 ป จึงจะไดผลดีที่สุด
2. การฟนฟูสมรรถภาพทางการศึกษา (Educational Rehabilitation)
ควรเปดโอกาสใหบุคคลที่มีภาวะบกพรองทางสติปญญาเรียนรวมกับบุคคลปกติมากที่สุด การจัดการ
ศึกษาพิเศษเฉพาะบุคคลที่มีภาวะบกพรองทางสติปญญาลวนๆ (Special Education) จะจัดใหเทาที่จําเปน
จริงๆเทานั้นแตจะสงเสริมการจัด การเรียนรวม และ การเรียนรวม (Integration and Inclusion
Education) ใหมากที่สุด
3. การฟนฟูสมรรถภาพทางอาชีพ (Vocational Rehabilitation)
การเตรียมฝกอาชีพใหแกบุคคลที่มีภาวะบกพรองทางสติปญญา อายุ 15-18 ป เปนสิ่งจําเปนมากตอ
การประกอบอาชีพในวัยผูใหญ ไดแก ฝกการตรงตอเวลา รูจักรับคําสั่งและนํามาปฏิบัติเอง โดยไมตองมีผูเตือน
16 | ภ า ว ะ บ ก พ ร อ ง ท า ง ส ติ ป ญ ญ า
การปฏิบัติตนตอผูรวมงานและมารยาทในสังคม เมื่อเขาสูวัยผูใหญควรไดรับการชวยเหลือใหมีอาชีพที่
เหมาะสม อาชีพที่บุคคลที่มีภาวะบกพรองทางสติปญญาสามารถทําไดดี ไดแก อาชีพงานบาน งานบริการ งาน
ในโรงงาน งานในสํานักงาน เชน การรับสงหนังสือ ถายเอกสาร เปนตน
การฟนฟูสมรรถภาพของบุคคลที่มีภาวะบกพรองทางสติปญญา
1. การเตรียมความพรอม การจัดกิจกรรมการสอนตองคํานึงถึงความสามารถของแตละบุคคล
เนื่องจากมีการเรียนรูชา การสอนจึงควรทําซ้ํา ๆ การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ควรมีหลากหลายแตกตาง
กันไปเพื่อไมใหเบื่อ การสอนควรเริ่มจากสิ่งที่งาย ๆ ไปหายาก และใหเรียนกิจกรรมที่เรียนรูไดงายกอน สิ่ง
สําคัญคือ ควรใหมีความพรอมในพัฒนาการในทุกดาน ไดแก ดานการเคลื่อนไหว สติปญญา การใชภาษาพูด
และสื่อความหมาย รวมไปถึงดานสังคม
2. การจัดนันทนาการ การจัดกิจกรรมนันทนาการ ทําใหเกิดความสนุกสนานผอนคลาย และทําให
เกิดประโยชนตอพัฒนาการ เพื่อการบําบัดความบกพรองการจัดกิจกรรมตองคํานึงถึงบุคคลที่มีภาวะบกพรอง
ทางสติปญญาเปนศูนยกลาง และพัฒนาทางดานสังคมใหสามารถเลนกับเพื่อนได รูกฎกติกาของเกมการเลน
และการปฏิบัติตน สามารถนําไปปรับใชในการดําเนินชีวิตประจําวันตอไป
3. การปรับพฤติกรรม เปนกระบวนการในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจากพฤติกรรมที่ไมพึง
ประสงค ตลอดจนการสรางพฤติกรรมใหม การปรับพฤติกรรมมีหลายวิธี เชนการใชแรงเสริม การเปน
แบบอยางที่ดี การใหรางวัล การสะสมเหรียญ หรือคะแนนเพื่อนํามาแลกรางวัล อยางใดอยางหนึ่ง
4. การจัดศิลปะบําบัด ศิลปะบําบัดเปนการนําศิลปะมาเชื่อมตอกันโดยตางเพิ่มคุณคาใหแกกันและ
กัน ความสวยงามจากสิ่งที่เปนจริงกับความคิด ความรู ศิลปะบําบัด เปนวิธีการบําบัดจากสิ่งที่เปนจริง เกี่ยวกับ
ความคิด ความรู ความรูสึก เพื่อใหเกิดงานสรางสรรค
การสอนบุคคลที่มีภาวะบกพรองทางสติปญญา
1. ใชหลักการสอนแบบ 3R’ S คือ - Repetition คือ การสอนแบบซ้ําไปซ้ํามา- Relaxation คือ
การสอนแบบไมตึงเครียดนัก- Routine คือ การสอนใหเปนกิจวัตรประจําวัน
2. สอนทีละขั้นจากสิ่งใกลตัวไปหาสิ่งไกลตัว หรือจากงายไปหายาก
3. สอนโดยการกระทําจริง
4. สอนสิ่งที่มีความหมายจริง ๆ
5. ตองพยายามจัดการเรียนการสอนใหบุคคลที่มีภาวะบกพรองทางสติปญญา ไดมีประสบการณใหม ๆ
6. สอนโดยใชของจริง หรืออุปกรณประกอบทุกครั้ง
7. ตองใหเวลาพอสมควรในการเปลี่ยนกิจกรรมอยางหนึ่งไปสูกิจกรรมอีกอยางหนึ่ง
8. การสอนตองอาศัยแรงจูงใจ (Motivation) ทําใหอยากเรียนโดยการใหแรงเสริมทั้งทางบวก และ
ทางลบ
9. ตองคํานึงถึงความพรอมของแตละบุคคล
10. ตองสอนตามความสามารถ และความตองการของแตละบุคคล
ภาวะบกพรองทางสติปญญา | 17
11. สอนตามระดับสติปญญา
12. ยอมรับความสามารถ และพยายามสงเสริมความสามารถ
13. พยายามฝกใหชวยเหลือตนเองมากที่สุด
14. สอนโดยการแบงตามหมูตามตารางสอน
15. เมื่อฝกใหเด็กทํากิจกรรมตาง ๆ ตองพยายามแทรกการฝกหลาย ๆ ดานไปดวย
16. ตองชวยใหพัฒนาความเชื่อมั่นในตนเอง
17. ตองมีการวิเคราะหงาน (Task analysis )
18. มีการประเมินผลความกาวหนาอยูตลอดเวลา
วิธีการสอนเพื่อสรางพฤติกรรมที่เหมาะสม
1. ใชการแนะนําโดยการกระทํา คือการชวยใหเกิดการกระทําโดยจับมือใหทําตามพรอม
ทั้งการใชคําสั่ง แลวใหรางวัลหรือชมเชย การจับมือทํานี้จะคอย ๆ ลดการชวยเหลือเมื่อบุคคลที่มีภาวะ
บกพรองทางสติปญญาเริ่มพยายามทําดวยตนเอง
2. ใชวิธีการเลียนแบบ โดยการทําใหดูเปนตัวอยางแลวใหทําตาม ชมเชยหรือใหรางวัลเมื่อทําได การ
สอนใหเลียนแบบจะตองทําเปนขั้น ๆ เพื่อเปนการงาย จึงควรแบงงานออกเปนขั้นยอย ๆ จากงายไปหายาก ให
รางวัลชมเชย เมื่อทําไดดีในแตละขั้นแลวจึงสอนเพิ่มขึ้นในขั้นตอไปจนสําเร็จทั้งหมด
3. ใชแรงจูงใจ ใหบุคคลที่มีภาวะบกพรองทางสติปญญาไดใชความสามารถที่มีอยูใหเต็มที่ มีการ
ปรับพฤติกรรมที่ไมเหมาะสม
การรักษาดวยยา
บุคคลที่มีภาวะบกพรองทางสติปญญาอาจไดรับการรักษาดวยยาในกรณีที่มีโรคทางกายที่จําเปนตอง
ไดรับการรักษาดวยยา เชน ผูที่มีโรคลมชักรวมดวยก็จะไดรับยากันชัก หรือในกรณีที่มีปญหาพฤติกรรมหรือโรค
ทางจิตเวชรวมดวยก็จะไดรับการรักษาดวยยาทางจิตเวช
ตารางที่ 4 ยาที่ใชในบุคคลที่มีภาวะบกพรองทางสติปญญาที่มีปญหาทางจิตเวช
ประเภทของยา ตัวอยาง ขอบงชี้
Short-acting
stimulants
Methylphenidate (Ritalin) สมาธิสั้น ไมอยูนิ่ง การนอนผิดปกติ
Long-acting
stimulants
Methylphenidate (Concerta) สมาธิสั้น ไมอยูนิ่ง
Antipsychotics:
- Convetional
- Atypical
Haloperidol (Haldol)
Clozapine (Clozaril),
Risperidone (Risperdal)
โรคจิตเภท กาวราว พฤติกรรมทําราย
ตนเอง โรคอารมณสองขั้ว (bipolar
disorders)
18 | ภ า ว ะ บ ก พ ร อ ง ท า ง ส ติ ป ญ ญ า
ประเภทของยา ตัวอยาง ขอบงชี้
Antidepressants Fluoxetine (Prozac) ซึมเศรา วิตกกังวล โรคย้ําคิดย้ําทํา
ความอยากอาหารมากผิดปกติ
(bulimia) ตื่นตกใจรุนแรง (panic
disorder) กาวราว premenstrual
dysphoric disorder
sertraline (Zoloft) ซึ ม เ ศ ร า ตื่ น ต ก ใ จ รุ น แ ร ง
premenstrual dysphoric disorder
โรคย้ําคิดย้ําทํา วิตกกังวล กาวราว
fluvoxamine โรคย้ําคิดย้ําทํา
Mood stabilizers Lithium โรคอารมณสองขั้ว กาวราว ซึมเศรา
- Sodium valproate (Depakine)
- carbamazepine (Tegretol)
- Oxcarbazepine (Trileptal)
- Lamotrigine (Lamictal)
- topiramate (Topamax)
ชัก โรคอารมณสองขั้ว กาวราว
พฤติกรรมทํารายตนเอง
Other medications Antihypertensives: clonidine
(Catapress)
ความดันโลหิตสูง สมาธิสั้น ไมอยูนิ่ง
ควบคุมอารมณไมได
การวางแผนดูแลตอเนื่อง
การติดตามการดูแลบุคคลที่มีภาวะบกพรองทางสติปญญาตามวัยตางๆควรไดรับการวางแผนและ
ทบทวนเปนระยะๆรวมกับครอบครัว และประสานงานกับเครือขายบริการตางๆในชุมชนโดยติดตามระดับ
ความสามารถที่กาวหนาขึ้น ภาวะของความผิดปกติที่พบรวมดวย ปญหาการเรียน การปรับตัวในครอบครัว
สังคม ปญหาพฤติกรรม อาการทางจิตเวช การรับประทานยาสม่ําเสมอและผลขางเคียงจากยา
ผลที่คาดวาจะไดรับ  
1. บุคคลที่มีภาวะบกพรองทางสติปญญาไดรับการวินิจฉัย ประเมิน ดูแลรักษา และฟนฟูสมรรถภาพให
สามารถดํารงชีวิตไดอยางอิสระ (independent living) พึ่งพาตนเองได และสามารถใชชีวิตในสังคมได
ใกลเคียงกับคนปกติ (normalization)
2. ผูปกครองและครอบครัวไดรับคําแนะนําในการดูแลบุคคลที่มีภาวะบกพรองทางสติปญญา
ภาวะบกพรองทางสติปญญา | 19
การสงตอ
1. สงตอเพื่อการตรวจหาความผิดปกติที่พบรวมดวยและไมมีบริการนั้นๆในหนวยบริการ เชน การสงตอเพื่อ
ตรวจตา การตรวจคลื่นสมองไฟฟา เปนตน
2. สงตอเพื่อรับบริการอื่นๆ เชน การศึกษาในโรงเรียน บริการในชุมชน เปนตน
การใหคําแนะนําและความรู
ผูดูแลบุคคลที่มีภาวะบกพรองทางสติปญญาควรไดรับคําแนะนําในการฝกสอนบุคคลที่มีภาวะบกพรอง
ทางสติปญญาซึ่งมีจุดมุงหมายสูงสุด เพื่อใหไดมีความเปนอยูใกลเคียงคนปกติ และจะประสบความสําเร็จ
หรือไมเพียงใดนั้น ขึ้นอยูกับตัวแปรตอไปนี้ คือ
1. ระดับของภาวะบกพรองทางสติปญญา ผูที่มีภาวะบกพรองทางสติปญญาขนาดนอย มีโอกาสจะ
พัฒนาใหสามารถดําเนินชีวิต ใกลเคียงบุคคลปกติไดดีกวา ผูที่มีภาวะบกพรองทางสติปญญาขนาด
ปานกลางหรือขนาดหนัก
2. อาการแทรกซอนตางๆ ที่เปนอุปสรรคตอการฟนฟูสมรรถภาพ ทําใหไมประสบผลดีเทาที่ควร
3. การสงเสริมพัฒนาการ ถาเด็กไดรับการสงเสริมพัฒนาการในวัยเยาว จะมีความพรอมในการเรียน
รวมกับเด็กปกติในโรงเรียนทั่วไป มากกวาการฝกเมื่อเด็กโตแลว
4. ความรวมมือของครอบครัว ครอบครัวมีความสําคัญตอบุคคลที่มีภาวะบกพรองทางสติปญญา
มากที่สุด ตั้งแตแรกเกิดจนตลอดชีวิต จึงควรจะเตรียมครอบครัวใหเขาใจความบกพรอง ขอจํากัด
ของความสามารถ ความตองการพิเศษ ความคาดหวัง ตลอดจนวิธีการอบรมเลี้ยงดูและฝกสอนใน
ทิศทางที่ถูกตอง
บุคคลที่มีภาวะบกพรองทางสติปญญาสามารถเรียนรู และดําเนินชีวิตอยางทัดเทียมและมีความสุขใน
สังคมไดเชนเดียวกับบุคคลปกติ ถาสังคมเปดโอกาสและใหความชวยเหลือที่เหมาะสม อันจะเอื้ออํานวยให
บุคคลที่มีภาวะบกพรองทางสติปญญาไดใชชีวิตอยางมีศักดิ์ศรีและมีคุณคา
เอกสารอางอิง
1. นพวรรณ ศรีวงศพานิช. แนวเวชปฎิบัติเรื่องภาวะบกพรองทางสติปญญา สถาบันราชานุกูล กรมสุขภาพจิต, 2551.
20 | ภ า ว ะ บ ก พ ร อ ง ท า ง ส ติ ป ญ ญ า
แนวทางการบริการผูบกพรองทางพัฒนาการและสติปญญา  อายุ  6-18 ป
โรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบล
 กิจกรรม
1. ประเมินปญหาความตองการของผูบกพรองฯและสงตอพรอมขอมูล
1.1 สรางสัมพันธภาพดวยทาทีที่นุมนวลเพื่อใหเกิดความไววางใจและการประเมินปญหาและความ
ตองการของผูบกพรองทางพัฒนาการและครอบครัว
1.2 ประเมินความสามารถพื้นฐานในการดํารงชีวิตประจําวัน ตามขั้นตอนดังนี้
ขั้นเตรียมการ
- เตรียมอุปกรณตามทักษะที่จะประเมิน
- เตรียมสถานที่ฝก
ขั้นประเมิน
- สนทนาเตรียมความพรอม สรางความคุนเคย
- จัดทาเด็ก
- บอกเรื่องที่จะประเมินและวัตถุประสงคในการประเมิน
- บอกใหเด็กทํากิจกรรมโดยไมใหการชวยเหลือ
- ภายใน 5 วินาที เมื่อเด็กไมทําหรือทําไมถูกตอง บอกหรือสาธิตวิธีการทํากิจกรรมนั้นใหเด็กดู 1 ครั้ง
(เฉพาะทักษะที่เกี่ยวของกับการเลียนแบบ)
- บอกใหเด็กทํากิจกรรมนั้นซ้ําอีกครั้ง ดวยคําพูดที่งายๆ กระชับ ชัดเจน โดยไมใหการชวยเหลือ
(เฉพาะทักษะที่เกี่ยวของกับการเลียนแบบ)
- หยุดการประเมินเมื่อเด็กไมทําหรือทําไมถูกตองภายใน 5 วินาที
สังเกตการทํากิจกรรมของเด็กและบันทึกคะแนนในแบบประเมิน ตามเกณฑการประเมิน ดังนี้
0 = ทําไมได
1 = ทําไดโดยตองชวยทําทุกขั้นตอน
2 = ทําไดโดยตองชวยทําบางสวน
3 = ทําไดแตตองกระตุนดวยวาจา
4 = ทําไดเองทุกขั้นตอน
1.3 วิเคราะหคะแนนความสามารถในการปฏิบัติกิจกรรมทักษะการดํารงชีวิตประจําวัน โดยคํานวณ
จากคาคะแนนเฉลี่ยดังนี้
ระดับคะแนน
2.67 - 4.00 = มีความสามารถในการปฏิบัติกิจกรรม ระดับมาก
1.34 - 2.66 = มีความสามารถในการปฏิบัติกิจกรรม ระดับปานกลาง
0.0 - 1.33 = มีความสามารถในการปฏิบัติกิจกรรม ระดับพอใช
ภาวะบกพรองทางสติปญญา | 21
2. แพทยตรวจวินิจฉัยเบื้องตน
3. ใหคําแนะนําในการดูแล และ สงตอพรอมขอมูล
3.1 ใหขอมูลผูปกครองเกี่ยวกับความสามารถของเด็กที่ประเมินได ขอมูลที่ควรมีเพื่อการสงตอ ชื่อ-สกุล
อายุ การวินิจฉัยโรค ของเด็ก อาการและอาการแสดง/ลักษณะพัฒนาการ ผลการประเมิน
ความสามารถ การรักษาและคําแนะนําเบื้องตน
3.2 ใหความรูเพื่อสรางความเขาใจแกครอบครัวเกี่ยวกับภาวะบกพรองทางพัฒนาการและสติปญญา แนว
ทางการมีสวนรวมในการดูแลผูบกพรองทางพัฒนาการและสติปญญา
3.3 สงตอผูบกพรองทางพัฒนาการและสติปญญาพรอมขอมูลแก รพช. รพท. เพื่อรับการดูแลตอเนื่อง
 เครื่องมือ
- แบบประเมินความสามารถพื้นฐานในการดํารงชีวิตประจําวัน
- คูมือการลงคะแนนสรุปผลการประเมินความสามารถ
 การติดตามและประเมินผล
- นัดติดตาม
โรงพยาบาลชุมชน  และ  โรงพยาบาลทั่วไป
 กิจกรรม
1. แพทยตรวจวินิจฉัย และรักษาเบื้องตน
2. ใหคําแนะนําและแกไขพัฒนาการ(ฝกทักษะการดํารงชีวิตประจําวัน)
2.1 รวบรวมขอมูลที่เกี่ยวกับผูบกพรองทางพัฒนาการและสติปญญา บิดา มารดา หรือผูดูแล ขอมูลที่
รวบรวมประกอบดวย ขอมูลทั่วไป ความคาดหวังของครอบครัว การทําหนาที่ของครอบครัว แบบ
แผนการสื่อสารของผูบกพรองทางพัฒนาการและสติปญญา ขอมูลในการประเมินรางกาย ปญหา
พฤติกรรม
2.2 ประเมินภาวะสุขภาพที่เกี่ยวกับพัฒนาการดานการดูแลตนเองดานกิจวัตรประจําวัน ดานสติปญญา
และการไดรับการศึกษา พัฒนาการทางภาษาและสังคม สุขภาพอนามัยและความปลอดภัย 3.
ประเมินความสามารถในการปฏิบัติทักษะดํารงชีวิตประจําวัน ดังนี้
ขั้นเตรียมการ
- เตรียมอุปกรณตามทักษะที่จะประเมินเตรียมสถานที่ฝก
ขั้นประเมิน
- สนทนาเตรียมความพรอม สรางความคุนเคย
- จัดทาเด็ก
22 | ภ า ว ะ บ ก พ ร อ ง ท า ง ส ติ ป ญ ญ า
- บอกเรื่องที่จะประเมินและวัตถุประสงคในการประเมิน
- บอกใหเด็กทํากิจกรรมโดยไมใหการชวยเหลือ
- ภายใน 5 วินาที เมื่อเด็กไมทําหรือทําไมถูกตอง บอกหรือสาธิตวิธีการทํากิจกรรมนั้นใหเด็กดู 1
ครั้ง (เฉพาะทักษะที่เกี่ยวของกับการเลียนแบบ)
- บอกใหเด็กทํากิจกรรมนั้นซ้ําอีกครั้ง ดวยคําพูดที่งายๆ กระชับ ชัดเจน โดยไมใหการชวยเหลือ
(เฉพาะทักษะที่เกี่ยวของกับการเลียนแบบ)
- หยุดการประเมินเมื่อเด็กไมทําหรือทําไมถูกตองภายใน 5 วินาที
- สังเกตการทํากิจกรรมของเด็กและบันทึกคะแนนในแบบประเมิน ตามเกณฑการประเมิน ดังนี้
0 = ทําไมได
1 = ทําไดโดยตองชวยทําทุกขั้นตอน
2 = ทําไดโดยตองชวยทําบางสวน
3 = ทําไดแตตองกระตุนดวยวาจา
4 = ทําไดเองทุกขั้นตอน
2.3 วิเคราะหคะแนนความสามารถในการปฏิบัติกิจกรรมทักษะการดํารงชีวิตประจําวัน โดยคํานวณจากคา
คะแนนเฉลี่ยดังนี้
ระดับคะแนน
2.67 - 4.00 = มีความสามารถในการปฏิบัติกิจกรรม ระดับมาก
1.34 - 2.66 = มีความสามารถในการปฏิบัติกิจกรรม ระดับปานกลาง
0.00 - 1.33 = มีความสามารถในการปฏิบัติกิจกรรม ระดับพอใช
2.4 วางแผนการดูแลรวมกับบิดา มารดา หรือผูดูแลตามปญหาที่ประเมินได
2.5 ใหการดูแลชวยเหลือและแกไขพัฒนาการโดยการฝกทักษะการดํารงชีวิตประจําวัน
2.5.1 ฝกทักษะการดํารงชีวิตประจําวันตามขั้นตอนการฝก 3 ขั้นตอน ดังนี้
ขั้นนํา
- สรางสัมพันธภาพกับเด็ก เชน ชวนพูดคุยเรื่องทั่วๆ ไป
- อธิบายเรื่องที่จะฝก เชน บอกเด็กวา “เรามาใสเสื้อกันนะ”
- บอกวัตถุประสงคของการฝก เชน บอกเด็กวา “หนูจะไดใสเสื้อไปเที่ยวเองได”
- ใหเด็กดูอุปกรณที่ใชในการฝก เชน จับมือเด็กชี้เสื้อและพูดวา “เสื้อ”
- จัดทาของเด็กและผูฝกใหเหมาะสม เชน ถาเด็กอยูไมนิ่ง ใหผูฝกนั่งดานหลังของเด็กขณะฝกใสเสื้อ แต
ถาฝกพูดใหนั่งตรงขามกับเด็กเพื่อใหเด็กมองเห็นปากขณะผูฝกพูด
ขั้นฝก
- ผูฝกสาธิตใหเด็กดู
- ผูฝกใหเด็กเลียนแบบผูฝกทีละขั้นตอน
- ผูฝกใหเด็กปฏิบัติเองตั้งแตขั้นตอนแรกจนขั้นตอนสุดทาย ขณะฝกถาเด็กทําไมไดใหการชวยเหลือโดยจับ
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคสมาธิสั้น
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคสมาธิสั้น
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคสมาธิสั้น
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคสมาธิสั้น
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคสมาธิสั้น
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคสมาธิสั้น
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคสมาธิสั้น
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคสมาธิสั้น
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคสมาธิสั้น
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคสมาธิสั้น
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคสมาธิสั้น
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคสมาธิสั้น
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคสมาธิสั้น
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคสมาธิสั้น
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคสมาธิสั้น
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคสมาธิสั้น
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคสมาธิสั้น
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคสมาธิสั้น
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคสมาธิสั้น
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคสมาธิสั้น
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคสมาธิสั้น
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคสมาธิสั้น
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคสมาธิสั้น
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคสมาธิสั้น
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคสมาธิสั้น
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคสมาธิสั้น
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคสมาธิสั้น
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคสมาธิสั้น
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคสมาธิสั้น
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคสมาธิสั้น
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคสมาธิสั้น
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคสมาธิสั้น
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคสมาธิสั้น
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคสมาธิสั้น
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคสมาธิสั้น
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคสมาธิสั้น
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคสมาธิสั้น
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคสมาธิสั้น
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคสมาธิสั้น
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคสมาธิสั้น
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคสมาธิสั้น
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคสมาธิสั้น
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคสมาธิสั้น
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคสมาธิสั้น
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคสมาธิสั้น
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคสมาธิสั้น
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคสมาธิสั้น
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคสมาธิสั้น
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคสมาธิสั้น
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคสมาธิสั้น
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคสมาธิสั้น
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคสมาธิสั้น
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคสมาธิสั้น
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคสมาธิสั้น
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคสมาธิสั้น
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคสมาธิสั้น
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคสมาธิสั้น
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคสมาธิสั้น
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคสมาธิสั้น
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคสมาธิสั้น
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคสมาธิสั้น
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคสมาธิสั้น
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคสมาธิสั้น
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคสมาธิสั้น
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคสมาธิสั้น
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคสมาธิสั้น
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคสมาธิสั้น
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคสมาธิสั้น
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคสมาธิสั้น
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคสมาธิสั้น
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคสมาธิสั้น
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคสมาธิสั้น
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคสมาธิสั้น
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคสมาธิสั้น
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคสมาธิสั้น
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคสมาธิสั้น
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคสมาธิสั้น
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคสมาธิสั้น
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคสมาธิสั้น
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคสมาธิสั้น
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคสมาธิสั้น
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคสมาธิสั้น
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคสมาธิสั้น
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคสมาธิสั้น

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

คู่มือความรู้และการดูแลผู้ป่วยโรคสมองเสื่อมสำหรับญาติและผู้ดูแล
คู่มือความรู้และการดูแลผู้ป่วยโรคสมองเสื่อมสำหรับญาติและผู้ดูแลคู่มือความรู้และการดูแลผู้ป่วยโรคสมองเสื่อมสำหรับญาติและผู้ดูแล
คู่มือความรู้และการดูแลผู้ป่วยโรคสมองเสื่อมสำหรับญาติและผู้ดูแลUtai Sukviwatsirikul
 
การศึกษาวิเคราะห์ระบบงานวิชาการในโรงเรียน
การศึกษาวิเคราะห์ระบบงานวิชาการในโรงเรียนการศึกษาวิเคราะห์ระบบงานวิชาการในโรงเรียน
การศึกษาวิเคราะห์ระบบงานวิชาการในโรงเรียนSuchanan Papan
 
คู่มือดำเนินงานดูแลผู้ป่วยจิตเวชเรื้อรังในชุมชน
คู่มือดำเนินงานดูแลผู้ป่วยจิตเวชเรื้อรังในชุมชนคู่มือดำเนินงานดูแลผู้ป่วยจิตเวชเรื้อรังในชุมชน
คู่มือดำเนินงานดูแลผู้ป่วยจิตเวชเรื้อรังในชุมชนUtai Sukviwatsirikul
 
เด็กที่มีความบกพร่องทางสติปัญญา
เด็กที่มีความบกพร่องทางสติปัญญาเด็กที่มีความบกพร่องทางสติปัญญา
เด็กที่มีความบกพร่องทางสติปัญญาDekDoy Khonderm
 
คู่มือการดำเนินงานการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุที่บ้าน
คู่มือการดำเนินงานการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุที่บ้านคู่มือการดำเนินงานการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุที่บ้าน
คู่มือการดำเนินงานการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุที่บ้านUtai Sukviwatsirikul
 
การเบิกจ่ายชดเชย การแก้ไขกรณีติด C และการปฏิเสธการจ่ายชดเชยค่าบริการทันตกรรมส...
การเบิกจ่ายชดเชย การแก้ไขกรณีติด C และการปฏิเสธการจ่ายชดเชยค่าบริการทันตกรรมส...การเบิกจ่ายชดเชย การแก้ไขกรณีติด C และการปฏิเสธการจ่ายชดเชยค่าบริการทันตกรรมส...
การเบิกจ่ายชดเชย การแก้ไขกรณีติด C และการปฏิเสธการจ่ายชดเชยค่าบริการทันตกรรมส...Sakarin Habusaya
 
9 การให้สุขศึกษา
9 การให้สุขศึกษา9 การให้สุขศึกษา
9 การให้สุขศึกษาWatcharin Chongkonsatit
 
การอ้างอิงทางวิชาการ
การอ้างอิงทางวิชาการการอ้างอิงทางวิชาการ
การอ้างอิงทางวิชาการWatcharapol Wiboolyasarin
 
แบบสอบถาม ใช้คอมแบบไม่พึงประสงค์
แบบสอบถาม ใช้คอมแบบไม่พึงประสงค์แบบสอบถาม ใช้คอมแบบไม่พึงประสงค์
แบบสอบถาม ใช้คอมแบบไม่พึงประสงค์สำเร็จ นางสีคุณ
 
โรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน (Acute myocardial infarction, AMI หรือ Acute c...
โรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน (Acute myocardial infarction, AMI หรือ Acute c...โรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน (Acute myocardial infarction, AMI หรือ Acute c...
โรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน (Acute myocardial infarction, AMI หรือ Acute c...Utai Sukviwatsirikul
 
แบบสอบถามวิจัย
แบบสอบถามวิจัยแบบสอบถามวิจัย
แบบสอบถามวิจัยNAT_A_DI
 
04+heap4+dltv54+ใบความรู้ ใบงาน สุขศึกษา ระดับประถม 4-6
04+heap4+dltv54+ใบความรู้ ใบงาน สุขศึกษา ระดับประถม 4-604+heap4+dltv54+ใบความรู้ ใบงาน สุขศึกษา ระดับประถม 4-6
04+heap4+dltv54+ใบความรู้ ใบงาน สุขศึกษา ระดับประถม 4-6Prachoom Rangkasikorn
 
คู่มือมาตรฐานคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพ
คู่มือมาตรฐานคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพ คู่มือมาตรฐานคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพ
คู่มือมาตรฐานคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพ โปรตอน บรรณารักษ์
 
Chula mental test
Chula mental testChula mental test
Chula mental testtaem
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 เรื่องสิ่งแวดล้อมกับสิ่งมีชีวิต
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 เรื่องสิ่งแวดล้อมกับสิ่งมีชีวิตแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 เรื่องสิ่งแวดล้อมกับสิ่งมีชีวิต
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 เรื่องสิ่งแวดล้อมกับสิ่งมีชีวิตMam Chongruk
 
9 รูปแบบการวิจัย
9 รูปแบบการวิจัย9 รูปแบบการวิจัย
9 รูปแบบการวิจัยguest9e1b8
 

Was ist angesagt? (20)

คู่มือความรู้และการดูแลผู้ป่วยโรคสมองเสื่อมสำหรับญาติและผู้ดูแล
คู่มือความรู้และการดูแลผู้ป่วยโรคสมองเสื่อมสำหรับญาติและผู้ดูแลคู่มือความรู้และการดูแลผู้ป่วยโรคสมองเสื่อมสำหรับญาติและผู้ดูแล
คู่มือความรู้และการดูแลผู้ป่วยโรคสมองเสื่อมสำหรับญาติและผู้ดูแล
 
การศึกษาวิเคราะห์ระบบงานวิชาการในโรงเรียน
การศึกษาวิเคราะห์ระบบงานวิชาการในโรงเรียนการศึกษาวิเคราะห์ระบบงานวิชาการในโรงเรียน
การศึกษาวิเคราะห์ระบบงานวิชาการในโรงเรียน
 
Genogram
GenogramGenogram
Genogram
 
คู่มือดำเนินงานดูแลผู้ป่วยจิตเวชเรื้อรังในชุมชน
คู่มือดำเนินงานดูแลผู้ป่วยจิตเวชเรื้อรังในชุมชนคู่มือดำเนินงานดูแลผู้ป่วยจิตเวชเรื้อรังในชุมชน
คู่มือดำเนินงานดูแลผู้ป่วยจิตเวชเรื้อรังในชุมชน
 
เด็กที่มีความบกพร่องทางสติปัญญา
เด็กที่มีความบกพร่องทางสติปัญญาเด็กที่มีความบกพร่องทางสติปัญญา
เด็กที่มีความบกพร่องทางสติปัญญา
 
Physical Assessment for Phamacist
Physical Assessment for PhamacistPhysical Assessment for Phamacist
Physical Assessment for Phamacist
 
คู่มือการดำเนินงานการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุที่บ้าน
คู่มือการดำเนินงานการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุที่บ้านคู่มือการดำเนินงานการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุที่บ้าน
คู่มือการดำเนินงานการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุที่บ้าน
 
การเบิกจ่ายชดเชย การแก้ไขกรณีติด C และการปฏิเสธการจ่ายชดเชยค่าบริการทันตกรรมส...
การเบิกจ่ายชดเชย การแก้ไขกรณีติด C และการปฏิเสธการจ่ายชดเชยค่าบริการทันตกรรมส...การเบิกจ่ายชดเชย การแก้ไขกรณีติด C และการปฏิเสธการจ่ายชดเชยค่าบริการทันตกรรมส...
การเบิกจ่ายชดเชย การแก้ไขกรณีติด C และการปฏิเสธการจ่ายชดเชยค่าบริการทันตกรรมส...
 
9 การให้สุขศึกษา
9 การให้สุขศึกษา9 การให้สุขศึกษา
9 การให้สุขศึกษา
 
การอ้างอิงทางวิชาการ
การอ้างอิงทางวิชาการการอ้างอิงทางวิชาการ
การอ้างอิงทางวิชาการ
 
แบบสอบถาม ใช้คอมแบบไม่พึงประสงค์
แบบสอบถาม ใช้คอมแบบไม่พึงประสงค์แบบสอบถาม ใช้คอมแบบไม่พึงประสงค์
แบบสอบถาม ใช้คอมแบบไม่พึงประสงค์
 
โรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน (Acute myocardial infarction, AMI หรือ Acute c...
โรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน (Acute myocardial infarction, AMI หรือ Acute c...โรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน (Acute myocardial infarction, AMI หรือ Acute c...
โรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน (Acute myocardial infarction, AMI หรือ Acute c...
 
แบบสอบถามวิจัย
แบบสอบถามวิจัยแบบสอบถามวิจัย
แบบสอบถามวิจัย
 
04+heap4+dltv54+ใบความรู้ ใบงาน สุขศึกษา ระดับประถม 4-6
04+heap4+dltv54+ใบความรู้ ใบงาน สุขศึกษา ระดับประถม 4-604+heap4+dltv54+ใบความรู้ ใบงาน สุขศึกษา ระดับประถม 4-6
04+heap4+dltv54+ใบความรู้ ใบงาน สุขศึกษา ระดับประถม 4-6
 
Ppt. stroke1
Ppt. stroke1Ppt. stroke1
Ppt. stroke1
 
คู่มือมาตรฐานคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพ
คู่มือมาตรฐานคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพ คู่มือมาตรฐานคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพ
คู่มือมาตรฐานคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพ
 
Chula mental test
Chula mental testChula mental test
Chula mental test
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 เรื่องสิ่งแวดล้อมกับสิ่งมีชีวิต
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 เรื่องสิ่งแวดล้อมกับสิ่งมีชีวิตแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 เรื่องสิ่งแวดล้อมกับสิ่งมีชีวิต
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 เรื่องสิ่งแวดล้อมกับสิ่งมีชีวิต
 
9 รูปแบบการวิจัย
9 รูปแบบการวิจัย9 รูปแบบการวิจัย
9 รูปแบบการวิจัย
 
บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6
 

Ähnlich wie แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคสมาธิสั้น

สถานการณ์ด้านสุขภาพจิตของประเทศไทย
สถานการณ์ด้านสุขภาพจิตของประเทศไทยสถานการณ์ด้านสุขภาพจิตของประเทศไทย
สถานการณ์ด้านสุขภาพจิตของประเทศไทยMickey Toon Luffy
 
เรื่องที่ 1 การประเมินทางจิตเวช
เรื่องที่ 1 การประเมินทางจิตเวชเรื่องที่ 1 การประเมินทางจิตเวช
เรื่องที่ 1 การประเมินทางจิตเวชKanti Bkk
 
ปัจจัยที่ส่งผลต่อพัฒนาการเด็กปฐมวัยไทย+ศูนย์อนามัยที่+5.pdf
ปัจจัยที่ส่งผลต่อพัฒนาการเด็กปฐมวัยไทย+ศูนย์อนามัยที่+5.pdfปัจจัยที่ส่งผลต่อพัฒนาการเด็กปฐมวัยไทย+ศูนย์อนามัยที่+5.pdf
ปัจจัยที่ส่งผลต่อพัฒนาการเด็กปฐมวัยไทย+ศูนย์อนามัยที่+5.pdf60919
 
นำเสนอการดำเนินงาน Dhs ประเด็นสุขภาพ odop สุขภาพจิต
นำเสนอการดำเนินงาน Dhs ประเด็นสุขภาพ odop สุขภาพจิตนำเสนอการดำเนินงาน Dhs ประเด็นสุขภาพ odop สุขภาพจิต
นำเสนอการดำเนินงาน Dhs ประเด็นสุขภาพ odop สุขภาพจิตGob Chantaramanee
 
ธนะรัชต์ นามผลดี การสรรหาคัดกรองผู้เสพ ผู้ติดยาเสพติด
ธนะรัชต์ นามผลดี การสรรหาคัดกรองผู้เสพ ผู้ติดยาเสพติดธนะรัชต์ นามผลดี การสรรหาคัดกรองผู้เสพ ผู้ติดยาเสพติด
ธนะรัชต์ นามผลดี การสรรหาคัดกรองผู้เสพ ผู้ติดยาเสพติดpluakdeang Hospital
 
การจัดบริการอาชีวอนามัยในโรงพยาบาล
การจัดบริการอาชีวอนามัยในโรงพยาบาลการจัดบริการอาชีวอนามัยในโรงพยาบาล
การจัดบริการอาชีวอนามัยในโรงพยาบาลโรงพยาบาลสารภี
 
Ped emergency final to ems พญ.ศิราภรณ์ สวัสดิวร
Ped emergency final to ems พญ.ศิราภรณ์ สวัสดิวรPed emergency final to ems พญ.ศิราภรณ์ สวัสดิวร
Ped emergency final to ems พญ.ศิราภรณ์ สวัสดิวรtaem
 
คู่มือเด็กเล็ก 0 3 ปี
คู่มือเด็กเล็ก 0 3 ปีคู่มือเด็กเล็ก 0 3 ปี
คู่มือเด็กเล็ก 0 3 ปีUtai Sukviwatsirikul
 
นำเสนองานนักจิต.pptx
นำเสนองานนักจิต.pptxนำเสนองานนักจิต.pptx
นำเสนองานนักจิต.pptxNattikornKummano
 
คู่มือการฝากครรภ์ สำหรับบุคลากรสาธารณสุข .pdf
คู่มือการฝากครรภ์ สำหรับบุคลากรสาธารณสุข .pdfคู่มือการฝากครรภ์ สำหรับบุคลากรสาธารณสุข .pdf
คู่มือการฝากครรภ์ สำหรับบุคลากรสาธารณสุข .pdfSakarinHabusaya1
 
Service profile dentแก้ไข
Service profile dentแก้ไขService profile dentแก้ไข
Service profile dentแก้ไขThanakom Saena
 
Business Plan # Mind Health
Business Plan # Mind HealthBusiness Plan # Mind Health
Business Plan # Mind Healthmonsadako
 
แนวทางการตรวจสุขภาพที่จำเป็นและเหมาะสมสำหรับหญิงมีครรภ์
แนวทางการตรวจสุขภาพที่จำเป็นและเหมาะสมสำหรับหญิงมีครรภ์แนวทางการตรวจสุขภาพที่จำเป็นและเหมาะสมสำหรับหญิงมีครรภ์
แนวทางการตรวจสุขภาพที่จำเป็นและเหมาะสมสำหรับหญิงมีครรภ์Utai Sukviwatsirikul
 
การตรวจสุขภาพสตรีมีครรภ์
การตรวจสุขภาพสตรีมีครรภ์การตรวจสุขภาพสตรีมีครรภ์
การตรวจสุขภาพสตรีมีครรภ์Utai Sukviwatsirikul
 
การตรวจโรคสตรีมีครรภ์
การตรวจโรคสตรีมีครรภ์การตรวจโรคสตรีมีครรภ์
การตรวจโรคสตรีมีครรภ์Utai Sukviwatsirikul
 

Ähnlich wie แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคสมาธิสั้น (20)

สถานการณ์ด้านสุขภาพจิตของประเทศไทย
สถานการณ์ด้านสุขภาพจิตของประเทศไทยสถานการณ์ด้านสุขภาพจิตของประเทศไทย
สถานการณ์ด้านสุขภาพจิตของประเทศไทย
 
เรื่องที่ 1 การประเมินทางจิตเวช
เรื่องที่ 1 การประเมินทางจิตเวชเรื่องที่ 1 การประเมินทางจิตเวช
เรื่องที่ 1 การประเมินทางจิตเวช
 
ปัจจัยที่ส่งผลต่อพัฒนาการเด็กปฐมวัยไทย+ศูนย์อนามัยที่+5.pdf
ปัจจัยที่ส่งผลต่อพัฒนาการเด็กปฐมวัยไทย+ศูนย์อนามัยที่+5.pdfปัจจัยที่ส่งผลต่อพัฒนาการเด็กปฐมวัยไทย+ศูนย์อนามัยที่+5.pdf
ปัจจัยที่ส่งผลต่อพัฒนาการเด็กปฐมวัยไทย+ศูนย์อนามัยที่+5.pdf
 
นำเสนอหัวหน้างานแผน 59
นำเสนอหัวหน้างานแผน 59 นำเสนอหัวหน้างานแผน 59
นำเสนอหัวหน้างานแผน 59
 
นำเสนอการดำเนินงาน Dhs ประเด็นสุขภาพ odop สุขภาพจิต
นำเสนอการดำเนินงาน Dhs ประเด็นสุขภาพ odop สุขภาพจิตนำเสนอการดำเนินงาน Dhs ประเด็นสุขภาพ odop สุขภาพจิต
นำเสนอการดำเนินงาน Dhs ประเด็นสุขภาพ odop สุขภาพจิต
 
ธนะรัชต์ นามผลดี การสรรหาคัดกรองผู้เสพ ผู้ติดยาเสพติด
ธนะรัชต์ นามผลดี การสรรหาคัดกรองผู้เสพ ผู้ติดยาเสพติดธนะรัชต์ นามผลดี การสรรหาคัดกรองผู้เสพ ผู้ติดยาเสพติด
ธนะรัชต์ นามผลดี การสรรหาคัดกรองผู้เสพ ผู้ติดยาเสพติด
 
Narathiwat Health Strategic plan_56
Narathiwat Health Strategic plan_56Narathiwat Health Strategic plan_56
Narathiwat Health Strategic plan_56
 
การจัดบริการอาชีวอนามัยในโรงพยาบาล
การจัดบริการอาชีวอนามัยในโรงพยาบาลการจัดบริการอาชีวอนามัยในโรงพยาบาล
การจัดบริการอาชีวอนามัยในโรงพยาบาล
 
Ped emergency final to ems พญ.ศิราภรณ์ สวัสดิวร
Ped emergency final to ems พญ.ศิราภรณ์ สวัสดิวรPed emergency final to ems พญ.ศิราภรณ์ สวัสดิวร
Ped emergency final to ems พญ.ศิราภรณ์ สวัสดิวร
 
คู่มือเด็กเล็ก 0 3 ปี
คู่มือเด็กเล็ก 0 3 ปีคู่มือเด็กเล็ก 0 3 ปี
คู่มือเด็กเล็ก 0 3 ปี
 
นำเสนองานนักจิต.pptx
นำเสนองานนักจิต.pptxนำเสนองานนักจิต.pptx
นำเสนองานนักจิต.pptx
 
Elderly survey doh
Elderly survey dohElderly survey doh
Elderly survey doh
 
คู่มือการฝากครรภ์ สำหรับบุคลากรสาธารณสุข .pdf
คู่มือการฝากครรภ์ สำหรับบุคลากรสาธารณสุข .pdfคู่มือการฝากครรภ์ สำหรับบุคลากรสาธารณสุข .pdf
คู่มือการฝากครรภ์ สำหรับบุคลากรสาธารณสุข .pdf
 
Service profile dentแก้ไข
Service profile dentแก้ไขService profile dentแก้ไข
Service profile dentแก้ไข
 
antidote y57
antidote y57antidote y57
antidote y57
 
Business Plan # Mind Health
Business Plan # Mind HealthBusiness Plan # Mind Health
Business Plan # Mind Health
 
แนวทางการตรวจสุขภาพที่จำเป็นและเหมาะสมสำหรับหญิงมีครรภ์
แนวทางการตรวจสุขภาพที่จำเป็นและเหมาะสมสำหรับหญิงมีครรภ์แนวทางการตรวจสุขภาพที่จำเป็นและเหมาะสมสำหรับหญิงมีครรภ์
แนวทางการตรวจสุขภาพที่จำเป็นและเหมาะสมสำหรับหญิงมีครรภ์
 
การตรวจสุขภาพสตรีมีครรภ์
การตรวจสุขภาพสตรีมีครรภ์การตรวจสุขภาพสตรีมีครรภ์
การตรวจสุขภาพสตรีมีครรภ์
 
การตรวจโรคสตรีมีครรภ์
การตรวจโรคสตรีมีครรภ์การตรวจโรคสตรีมีครรภ์
การตรวจโรคสตรีมีครรภ์
 
สุขศึกษาและพลศึกษา ต้น
สุขศึกษาและพลศึกษา ต้นสุขศึกษาและพลศึกษา ต้น
สุขศึกษาและพลศึกษา ต้น
 

Mehr von Utai Sukviwatsirikul

Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืนNanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืนUtai Sukviwatsirikul
 
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลันClinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลันUtai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...Utai Sukviwatsirikul
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoeaSaccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoeaUtai Sukviwatsirikul
 
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)Utai Sukviwatsirikul
 
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee VaravithyaDrugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee VaravithyaUtai Sukviwatsirikul
 
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...Utai Sukviwatsirikul
 
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...Utai Sukviwatsirikul
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...Utai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตแนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตUtai Sukviwatsirikul
 
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงUtai Sukviwatsirikul
 
ความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไตความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไตUtai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)Utai Sukviwatsirikul
 
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการพระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการUtai Sukviwatsirikul
 
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉินข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉินUtai Sukviwatsirikul
 

Mehr von Utai Sukviwatsirikul (20)

Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืนNanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
 
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลันClinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
 
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
 
Supply chain management
Supply chain managementSupply chain management
Supply chain management
 
Best practice in communication
Best practice in communicationBest practice in communication
Best practice in communication
 
Basic communication skills 2554
Basic communication skills 2554Basic communication skills 2554
Basic communication skills 2554
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoeaSaccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
 
SME Handbook
SME HandbookSME Handbook
SME Handbook
 
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
 
Scientific evidence of BIOFLOR
Scientific evidence of BIOFLORScientific evidence of BIOFLOR
Scientific evidence of BIOFLOR
 
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee VaravithyaDrugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
 
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
 
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
 
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตแนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
 
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
 
ความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไตความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไต
 
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
 
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการพระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
 
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉินข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
 

แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคสมาธิสั้น

  • 1. ชื่อหนังสือ : แนวทางการดูแลผูปวยสติปญญาบกพรอง ออทิสติก สมาธิสั้นและภาวะบกพรองทางการเรียน สําหรับระบบเครือขายบริการสาธารณสุข บรรณาธิการ : แพทยหญิงอนัญญา สินรัชตานันท เภสัชกรหญิงธีรารัตน แทนขํา พิมพครั้งที่ 1 : กุมภาพันธ 2556 จํานวนพิมพ : 4,000 เลม ผลิตโดย : กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข… โดย  โรงพยาบาลยุวประสาทไวทโยปถัมภ จ.สมุทรปราการ โทร. 0 2384 3381-3  สถาบันราชานุกูล โทร. 0 2245 4601-5  สถาบันพัฒนาการเด็กราชนครินทร จ.เชียงใหม โทร. 0 5389 0238 -44  สถาบันสุขภาพจิตเด็กและวัยรุนราชนครินทร โทร. 0 2248 8999 สงวนลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติ หามลอกเลียนแบบสวนหนึ่งสวนใดของหนังสือเลมนี้ โดยไมไดรับอนุญาตจากเจาของลิขสิทธิ์ พิมพที่ : โรงพิมพฟาสตบุคส
  • 2. ก คํานํา แนวทางการดูแลผูปวยจิตเวชเด็ก 4 โรค ไดแก พัฒนาการลาชาและสติปญญาบกพรอง ภาวะออทิสติก โรคสมาธิสั้น และภาวะบกพรองทางการเรียนรูเฉพาะดาน สําหรับระบบเครือขายบริการสาธารณสุข ชุดนี้ จัดทําขึ้นเพื่อใหแพทย พยาบาลและบุคลากรทางการแพทยที่ทําหนาที่ในการดูแลผูปวยเด็กนําไปใชเปนการ เพิ่มพูนความรูและทักษะในการดูแลผูปวยทั้ง 4 โรค ชวยใหผูปวยเด็กสามารถเขาถึงบริการไดงายขึ้น การดูแล ติดตามผูปวยหลังไดรับการวินิจฉัยสามารถดําเนินการไดในหนวยบริการสาธารณสุขใกลบาน ซึ่งจะทําใหเด็ก และวัยรุนของประเทศไทยไดรับการดูแลชวยเหลือและแกไขภาวะที่เปนผลกระทบตอสติปญญาและ ความสามารถในการเรียนไดอยางทันทวงที ชวยลดปญหาพฤติกรรมในวัยรุนที่เปนผลเกี่ยวเนื่องจากกลุมโรค ทั้ง 4 โรค ผูจัดทําแนวทางชุดนี้ยังหวังวาแนวทางชุดนี้จะทําใหเกิดการพัฒนางานการดูแลผูปวยจิตเวชเด็กตามแนว ทางการพัฒนาคุณภาพระบบบริการสุขภาพจิตและจิตเวชที่มีคุณภาพและมาตรฐานเดียวกันทั่วประเทศอีกดวย คณะผูจัดทํา มกราคม 2556
  • 3.
  • 4. ข สารบัญ หนา คํานํา ก สารบัญ ข กรอบแนวคิดการสงเสริมพัฒนาการเด็กวัยแรกเกิด – 5 ป 1 แผนภูมิการใหบริการเด็กหรือวัยรุนที่มีปญหาบกพรองทางสติปญญาอายุ 6-18 ป 2 ตารางแสดงแผนการสงเสริมพัฒนาการเด็กวัยแรกเกิด-5 ป 3 ภาวะบกพรองทางสติปญญา / ภาวะปญญาออน (Intellectual Disabilities / Mental Retardation ) 7 แผนภูมิการใหบริการออทิสติก 25 ตารางแสดงแผนการบําบัดรักษาผูปวยออทิสติก 26 กลุมอาการออทิสติก (Autistic Spectrum Disorder) 29 แผนภูมิการดูแลเด็กที่มีปญหาพฤติกรรมและการเรียน 65 ตารางแสดงแผนการบําบัดรักษาเด็กที่มีปญหาสมาธิสั้น (ADHD) 66 โรคสมาธิสั้น (Attention Deficit Hyperactivity disorder) 69 ตารางแสดงแผนการบําบัดรักษาเด็กที่มีปญหาการเรียน (LD) 80 ภาวะบกพรองทางการเรียน (Learning Disability ) 83 ภาคผนวก 89 - แบบคัดกรอง KUS-SI Rating Scales: ADHD/LD/Autism (PDDs) 91 - แบบสอบถาม ADHD Rating Scale-IV 101 - แบบคัดกรองภาวะเสี่ยงตอโรคออทิซึมในเด็กอายุ 1-5 ป 102 - แบบสํารวจพัฒนาการเด็ก(PDDSQ) ชวงอายุ 1-4 ป(12 เดือน - 47 เดือน) 103 คณะทํางาน 105
  • 5.
  • 6. พัฒนาการไมสมวัย  1 กรอบแนวคิดการสงเสริมพัฒนาการเด็กวัยแรกเกิด  – 5  ป หนวยบริการ กระบวนการ Technology หนวยบริการสาธารณสุข (รพ.สต.) ทั่วประเทศ - พยาบาลใน รพ.สต. - พยาบาลใน รพ.สต. - ผูปกครอง - พยาบาลใน รพ.สต. - พยาบาลใน รพ.สต. - แนวปฏิบัติของกรมอนามัย - 2ก 2ล (กรมอนามัยและกรม สุขภาพจิต) หนวยบริการสาธารณสุข (รพช.ทั่วประเทศ) - พยาบาลใน รพช. - กุมารแพทย(ถามี) - พยาบาลใน รพช. หนวยบริการสาธารณสุข (รพท./รพศ. ทั่วประเทศ) - กุมารแพทย - จิตแพทยเด็กและวัยรุน (ถามี) - ทีมสหวิชาชีพ (ถามี) หนวยบริการสาธารณสุข (รพจ. กรมสุขภาพจิต) - จิตแพทยเด็กและวัยรุน - ทีมสหวิชาชีพที่เกี่ยวของ อนามัย 55 หมายถึง แบบคัดกรองพัฒนาการอนามัย 55 กรมอนามัย TDSI 70 ขอ หมายถึง แบบคัดกรองและสงเสริมพัฒนาการเด็กแรกเกิดถึง 5 ป (TDSI) กรมสุขภาพจิต DSI = Developmental Skills Inventory สงเสริมพัฒนาการ ตามวัย ประเมินและปองกันพัฒนาการลาชา (TDSI 70 ขอ) ระยะเวลา 1 เดือน : รหัสโรค H9348 ประเมินและแกไขพัฒนาการ (DSI 300 ขอ) ระยะเวลา 3 เดือน: รหัสโรค H9348 และ หรือวินิจฉัยเพิ่มเติม/อื่นๆ สงกลับ รพ.สต. ดูแลตอเนื่อง วินิจฉัยและประเมิน และแกไขพัฒนาการ (DSI 300 ขอ) และหรือใหการรักษาเพิ่มเติม คัดกรองพัฒนาการเด็กวัยแรกเกิด ถึง 5 ป (อนามัย 55) รหัสโรค Z 00.1 วินิจฉัย/ตรวจพิเศษ/ประเมิน และแกไข พัฒนาการอยางละเอียด (DSI 643 ขอ) และหรือใหการรักษาเพิ่มเติม(เฉพาะทาง) พัฒนาการ สมวัยหรือไม สมวัย ไมสมวัย (รหัสโรคR62) - คูมือประเมินและปองกันพัฒนาการ ลาชาเด็กแรกเกิด-5 ป สําหรับ บุคลากรสาธารณสุข (TDSI : 70 ขอ) กรมสุขภาพจิต - คูมือสงเสริมพัฒนาการเด็กแรก เกิด-5 ปสําหรับผูปกครอง (TDSI : 70 ขอ) กรมสุขภาพจิต พัฒนาการดีขึ้น - คูมือประเมินและแกไข/ฟนฟู พัฒนาการเด็กแรกเกิด-5 ปสําหรับ บุคลากรสาธารณสุข (DSI : 300 ขอ) กรมสุขภาพจิต ดีขึ้น ไมดีขึ้น พัฒนาการดีขึ้น - ตรวจวินิจฉัยและแกไขปญหา เพิ่มเติมตามปญหาที่สงตอ - CPG รายโรค - คูมือประเมินและแกไข/ฟนฟู พัฒนาการเด็กแรกเกิด-5 ปสําหรับ บุคลากรสาธารณสุข (DSI: 300 ขอ) กรมสุขภาพจิตดีขึ้น พัฒนาการดีขึ้น - แบบประเมินและแกไขปญหาของ แตละวิชาชีพ - CPG รายโรค - คูมือประเมินและแกไข/ฟนฟู พัฒนาการเด็กแรกเกิด-5 ปสําหรับ บุคลากรสาธารณสุข (DSI : 643 ขอ) กรมสุขภาพจิต ไมใช ดีขึ้น ไมดีขึ้น ลาชาเฉพาะ ภาษา  สังคม ดูแผนภูมิการ ใหบริการออทิสติก ใช ไมดีขึ้น สงกลับ รพช. ดูแลตอเนื่อง ประเมินซ้ํา
  • 7. 2 |ภาวะบกพรองทางสติปญญา แผนภูมิการใหบริการเด็กหรือวัยรุนที่มีปญหาบกพรองทางสติปญญาอายุ  6-18  ป หนวยบริการ กระบวนการ Technology and Information รพ. สต. 1. แบบประเมินความสามารถพื้นฐาน ในการดํารงชีวิต การรายงานขอมูล 1. การคัดกรองพัฒนาการ Z00.1 รพช. F1-F3 รพช. M2 และ รพท. M1 1. คูมือฝกสมรรถนะพื้นฐาน 2. คูมือฝกทักษะการดํารงชีวิต ประจําวัน (ADL) การรายงานขอมูล 1. การสงเสริมพัฒนาการรายบุคคล (H9348) รพท. S และ รพศ. A 1.คูมือฝกสมรรถนะพื้นฐาน 2.คูมือฝกทักษะการดํารงชีวิตประจําวัน (ADL) การรายงานขอมูล 1. การสงเสริมพัฒนาการรายบุคคล (H9348) 2.รายงานภาวะโรครวม( Co-morbidity) - ตรวจวินิจฉัย และรักษาเบื้องตน - ใหคําแนะนําและแกไขพัฒนาการ (ฝก ADL) ในกรณีผูบกพรองฯระดับ Moderate, Severe ID แตไม ยุงยากซับซอน (ไมมีปญหาพฤติกรรมรุนแรง) -ตรวจวินิจฉัย และรักษา -ใหคําแนะนําและแกไขพัฒนาการ (ฝก ADL) ผูบกพรองฯระดับ Moderate, severe ID ที่มีโรครวม ใช สงเสริมพัฒนาการ รายบุคคลระดับ รพช. ใช ติดตาม พัฒนาการและ ระดับ ADL ไมใช พัฒนาการไมสมวัย ใหการวินิจฉัยเบื้องตนดวยแบบประเมิน ความสามารถพื้นฐานในการดํารงชีวิตประจําวัน สงสัยภาวะบกพรองทางสติปญญา ใหคําแนะนําเบื้องตน สงตอขอมูล ไมดีขึ้น /มีปญหา พฤติกรรม หรือมีโรครวม ไมดีขึ้น /มีปญหาพฤติกรรม หรือมีโรครวมที่รุนแรง ไมใช
  • 8. ภาวะบกพรองทางสติปญญา | 3 หนวยบริการ กระบวนการ Technology and Information รพ. จิตเวช 1.คูมือฝกสมรรถนะพื้นฐาน 2.คูมือฝกทักษะการดํารงชีวิตประจําวัน (ADL) การรายงานขอมูล 1. การสงเสริมพัฒนาการรายบุคคล (H9348) 2.รายงานภาวะโรครวม ( Co-morbidity) สงเสริมพัฒนาการ ในระดับ รพช. พัฒนาการดีขึ้น ปญหาพฤติกรรม หรือ Co- morbidity ลดลง -วินิจฉัย/ตรวจพิเศษ/ประเมินความสามารถ/ - แกไขปญหาพัฒนาการ และใหการรักษาเฉพาะ ทาง แกผูบกพรองฯระดับ severe ที่มีปญหา ยุงยากซับซอน โดยทีมสหวีชาชีพ ใช
  • 9. 4 ตารางแสดงแผนการสงเสริมพัฒนาการเด็กวัยแรกเกิด-5  ป Service Plan Health Workforce Instrument Knowledge and Technology Information รพ.สต. และ well child clinic พยาบาล/นักวิชาการ สาธารณสุข  แบบคัดกรองพัฒนาการ (อนามัย55)  แบบประเมินและปองกัน พัฒนาการลาชาเด็กวัยแรก เกิด-5 ป สําหรับบุคลากร สาธารณสุข (TDSI-70)  แนวปฏิบัติของกรมอนามัย  2 ก 2 ล (กรมอนามัย+กรมสุขภาพจิต)  คูมือประเมินและปองกันพัฒนาการลาชาเด็กแรกเกิดถึง 5 ป สําหรับบุคากรสาธารณสุข (TDSI-70 ขอ) กรมสุขภาพจิต  คูมือประเมินและปองกันพัฒนาการลาชาเด็กแรกเกิดถึง 5 ป สําหรับผูปกครอง (TDSI-70 ขอ) กรมสุขภาพจิต  การตรวจวัดพัฒนาการดวย DSI-300  ระบบการสงตอและรับกลับ  พัฒนาการไมสมวัย R62.0 delayed milestone  การประเมินพัฒนาการ Z001  สงเสริมพัฒนาการ H9348 รพช. F1-3 รพช. M2 รพท. M1  แพทย/กุมารแพทยที่ ผานการอบรม พยาบาล  DSI 300 ขอ  คูมือประเมินและแกไขพัฒนาการเด็กวัยแรกเกิด- 5 ป สําหรับบุคลากรสาธารณสุข (DSI 300 ขอ) กรมสุขภาพจิต  ความสามารถในการประเมินและแกไขพัฒนาการเด็ก  ความสามารถในการระบุและจําแนกผูปวยมีปญหาพัฒนาการ และสามารถวินิจฉัยไดในระดับ ICD หรือ DSM  ความสามารถในการติดตามและประเมินผลการรักษาดวยยา  ระบบฐานขอมูลสงตอ-รับกลับผูปวย  พัฒนาการไมสมวัย R62.0 delayed milestone  การประเมินพัฒนาการ Z001  สงเสริมพัฒนาการ H9348 รพท. S รพศ. A กุมารแพทยที่ผานการ อบรม จิตแพทยเด็กและ วัยรุน (ถามี) พยาบาล PG เด็ก  DSI 300 ขอ  CPG รายโรค  คูมือประเมินและแกไขพัฒนาการเด็กวัยแรกเกิด- 5 ป สําหรับบุคลากรสาธารณสุข (DSI 300 ขอ) กรมสุขภาพจิต  ความสามารถในการประเมิน วินิจฉัยใหการบําบัดรักษาผูปวย ที่มีปญหาพัฒนาการ และปญหาสุขภาพที่เกี่ยวของกับ พัฒนาการ  การวินิจฉัยโรคโดยกุมาร แพทย/จิตแพทย
  • 10. 5 Service Plan Health Workforce Instrument Knowledge and Technology Information ทีมสหวิชาชีพที่ เกี่ยวของ (ถามี)  สามารถใหการวินิจฉัย Common disease ที่เกี่ยวของกับ พัฒนาการ และใหการบําบัดรักษา ติดตามและประเมิน ผลการรักษา  ความสามารถในการติดตามและประเมินผลการรักษาดวยยา  ความสามารถในการใชเครื่องมือคัดกรองมาตรฐาน  ระบบฐานขอมูลสงตอ-รับกลับผูปวย รพ.จิตเวช จิตแพทยเด็กและ วัยรุนหรือกุมารแพทย ดานพัฒนาการ พยาบาล PG เด็ก นักจิตวิทยา นักสังคมสงเคราะห สหวิชาชีพ  นักอรรถบําบัด  นักกายภาพ/ กิจกรรมบําบัด อนามัย55 TDSI-70 DSI-300 DSI-643 แบบประเมินและแกไขปญหา ของแตละวิชาชีพ CPG รายโรค  หลักสูตรการใหคําปรึกษา และ Behavior Modification  สามารถใหการวินิจฉัย บําบัดรักษา และติดตามผลการรักษา โรคทางจิตเวชที่เกี่ยวของกับปญหาพัฒนาการ  สามารถประเมินพัฒนาการดวยเครื่องมือที่ไดมาตรฐานสากล โดยนักจิตวิทยาคลินิก  ความสามารถในการใชเครื่องมือคัดกรอง/ประเมินมาตรฐาน  ระบบฐานขอมูลสงตอ-รับกลับผูปวย  การวินิจฉัยโรคโดยจิตแพทย
  • 11. 6 | ภ า ว ะ บ ก พ ร อ ง ท า ง ส ติ ป ญ ญ า บันทึก
  • 12. ภาวะบกพรองทางสติปญญา | 7 ภาวะบกพรองทางสติปญญา  /  ภาวะปญญาออน   (Intellectual Disabilities / Mental Retardation ) คําจํากัดความ ภาวะบกพรองทางสติปญญา / ภาวะปญญาออน (Intellectual Disabilities / Mental Retardation) เปนภาวะที่มีพัฒนาการบกพรองซึ่งทําใหมีขอจํากัดดานสติปญญา การเรียนรูและการปรับตัวในการดํารงชีวิต ประจําวัน ในปจจุบันเริ่มมีการใชคําวา “บกพรองทางสติปญญา” แทน “ภาวะปญญาออน” มากขึ้นใน องคกรระดับนานาชาติ เชน IASSID (International Association for the Scientific Study of Intellectual Disabilities) WHO (World Health Organization) WPA (World Psychiatry Association) รวมทั้ง AAMR (The American Association on Mental Retardation ) หรือสมาคมบุคคลปญญาออนแหง สหรัฐอเมริกา ซึ่งประกอบดวยสหวิชาชีพจากทั่วโลกและกอตั้งมาเปนเวลานาน 130 ป ก็ไดเปลี่ยนชื่อเปน The American Association of Intellectual and Developmental Disabilities (AAIDD) เมื่อ 1 มกราคม พ.ศ. 2550 เพื่อเสนอแนวทางที่จะทําใหสังคมยอมรับบุคคลที่มีภาวะบกพรองทางสติปญญามากขึ้น คําจํากัดความของภาวะบกพรองทางสติปญญาหรือภาวะปญญาออน ตามเกณฑของ Diagnostic and Statistical Manual of Mental Disorders, Fourth Edition, Text Revision (DSM- IV-TR) โดย American Psychiatric Association (APA) ในป พ.ศ. 2543 ภาวะ บกพรองทางสติปญญาหรือภาวะปญญาออน หมายถึง ภาวะที่มี 1. ระดับเชาวนปญญาต่ํากวาเกณฑเฉลี่ย 2. พฤติกรรมการปรับตนบกพรองตั้งแต 2 ดานขึ้นไป จากทั้งหมด 10 ดาน 3. อาการแสดงกอนอายุ 18 ป ระดับเชาวนปญญาต่ํากวาเกณฑเฉลี่ย หมายถึงระดับเชาวนปญญาต่ํากวาเกณฑเฉลี่ยของคนปกติอยางมี นัยสําคัญคือ 2 คาเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard deviation : SD) โดยทั่วไประดับเชาวนปญญาของคนปกติมี คาอยูระหวาง 90-109 คาเฉลี่ยคือ 100 และคาเบี่ยงเบนมาตรฐานมีคาเทากับ 15 พฤติกรรมการปรับตน หมายถึง การปฏิบัติตนในชีวิตประจําวันทั่วๆ ไป ซึ่งเปนความสามารถของ บุคคลนั้นที่จะสามารถดํารงชีวิตไดดวยตนเองในสังคม ประกอบดวย 1. การสื่อความหมาย (Communication) 2. การดูแลตนเอง (Self-care) 3. การดํารงชีวิตภายในบาน (Home living) 4. การปฏิสัมพันธกับผูอื่นในสังคม (Social and Interpersonal Skills) 5. การใชแหลงทรัพยากรในชุมชน (Use of Community Resources) 6. การควบคุมตนเอง (Self- direction) 7. การนําความรูมาใชในชีวิตประจําวัน (Functional Academic Skills)
  • 13. 8 | ภ า ว ะ บ ก พ ร อ ง ท า ง ส ติ ป ญ ญ า 8. การใชเวลาวาง (Leisure) 9. การทํางาน (Work) 10. การมีสุขอนามัยและความปลอดภัยเบื้องตน (Health and Safety) AAMR หรือ AAIDD ในปจจุบัน ไดเปลี่ยนเกณฑการวินิจฉัยและจําแนกภาวะบกพรองทางสติปญญา มาแลวทั้งหมด 10 ครั้ง ในครั้งที่ 9 เมื่อป พ.ศ. 2535 เปลี่ยนการจําแนกภาวะบกพรองทางสติปญญาตาม คะแนนระดับเชาวนปญญาซึ่งแบงความรุนแรงเดิมเปน 4 ระดับ ไดแก เล็กนอย (mild) ปานกลาง (moderate) รุนแรง (severe) และรุนแรงมาก (profound) มาเปนเพียง 2 ระดับ คือ เล็กนอย (ระดับเชาวน ปญญาเทากับ 50-70) และ มาก (ระดับเชาวนปญญานอยกวา 50) โดยเนนที่ระดับความชวยเหลือที่บุคคลที่มี ภาวะบกพรองทางสติปญญาตองการ การแบงระดับความรุนแรงแบบนี้ เพื่อออกแบบและจัดหาบริการสนับสนุนสําหรับแตละบุคคลโดยแยก กลุมที่ระดับเชาวนปญญาสูงกวา 50 ซึ่งถือวาเปนกลุมที่เรียนได (educable) ใหไดรับประโยชนจากโปรแกรม การศึกษา สวนกลุมที่ระดับเชาวนปญญาต่ํากวา 50 จะเนนที่การฝกทักษะที่จําเปนตองใชในการดํารงชีวิต (trainable) ความชุก โดยทั่วไปพบบุคคลที่มีภาวะบกพรองทางสติปญญารอยละ 1-3 ของประชากร ในประเทศไทยพบ ความชุกของภาวะบกพรองทางสติปญญาประมาณรอยละ 0.4-4.7 ตามแตละรายงานซึ่งมีความแตกตางกันใน ระเบียบวิธีวิจัยและเกือบทั้งหมดศึกษาดวยการวัดระดับเชาวนปญญาโดยที่ไมมีการประเมินพฤติกรรมการปรับ ตนรวมดวย Dr.Allen Stroller จากองคการอนามัยโลกสํารวจไวเมื่อ ป พ.ศ. 2500 พบบุคคลที่มีภาวะบกพรอง ทางสติปญญารอยละ 1 ของประชากร หลังจากนั้นในป พ.ศ.2531-2532 โรงพยาบาลราชานุกูล สํารวจใน 4 ภาค ของประเทศไทย จํานวนประชากร 221,928 คน พบบุคคลที่มีภาวะบกพรองทางสติปญญา รอยละ 0.4 ของประชากร ป พ.ศ. 2541 อนุรักษ บัณฑิตชาติและคณะ ไดศึกษาระบาดวิทยาของความผิดปกติทางจิตของ ประชากรไทย จากกลุมตัวอยางจํานวน 7,157 คน พบความชุกของภาวะบกพรองทางสติปญญารอยละ 1.3 ป พ.ศ. 2542 กวี สุวรรณกิจและคณะ ไดศึกษาปญหาการเรียนของนักเรียนชั้นประถมศึกษาใน กรุงเทพมหานคร จากกลุมตัวอยางจํานวน 1,057 คน พบความชุกของภาวะบกพรองทางสติปญญารอยละ 4.47 ป พ.ศ.2550 สํานักงานสถิติแหงชาติไดสํารวจประชากร 65,566,359 คน ในกลุมคนพิการ 1,319,832 คน พบเปนกลุมปญญาออน 57,193 คน (ไมรวมกลุมสมองพิการและบกพรองทางการเรียนรูอีกประมาณ 58,000 คน) คิดเปนรอยละ 0.09 ของประชากร
  • 14. ภาวะบกพรองทางสติปญญา | 9 สาเหตุของภาวะบกพรองทางสติปญญา เกิดจากปจจัยตางๆในดานชีวภาพ สังคมจิตวิทยา หรือหลายๆปจจัยรวมกัน ภาวะบกพรองทาง สติปญญาในบางรายอาจไมทราบสาเหตุโดยเฉพาะในภาวะบกพรองทางสติปญญาระดับเล็กนอย ประมาณรอย ละ 50 ของภาวะบกพรองทางสติปญญา มีสาเหตุมากกวาหนึ่งอยาง สาเหตุของภาวะบกพรองทางสติปญญา แสดงในตารางที่ 1 ตารางที่ 1 สาเหตุของภาวะบกพรองทางสติปญญา สาเหตุ ตัวอยาง รอยละ ที่พบ กอนคลอด (Prenatal causes) ความผิดปกติทางพันธุกรรม - โครโมโซมผิดปกติทั้งโครโมโซมหรือ บางสวน การผาเหลาของยีน ความผิดปกติจากการขาดหายไป ของยีนบนโครโมโซม ( microdeletions หรือ Subteleomeric deletions) กลุมอาการดาวน (Down syndrome), tuberous sclerosis, phenylketonuria และความผิดปกติทาง เมแทบอลิกอื่นๆ, กลุมอาการโครโมโซมเอกซเปราะ (fragile x syndrome), Prader-Willi syndrome, Williams syndrome, Angelman syndrome 4-28 ความผิดปกติแตกําเนิด  ความผิดปกติของระบบประสาท สวนกลาง กลุมอาการที่มีความผิดปกติหลายระบบ (multiple malformation syndromes) อื่นๆ  การติดเชื้อในครรภ ไดรับสารพิษ ครรภพิษ หรือรกผิดปกติ หลอดประสาทไมปด (Neural tube defects), Cornelia de Lange’s syndrome การติดเชื้อหัดเยอรมัน (Congenital rubella), การ ติดเชื้อเอชไอวี (Human Immunodeficiency Virus: HIV), fetal alcohol syndrome, การเกิดกอน กําหนด, ไดรับรังสีหรือภยันตรายระยะเกิด 7-17 5-13 ปริกําเนิด (Perinatal causes) การติดเชื้อ ปญหาระหวางการคลอด และอื่นๆ เยื่อหุมสมองอักเสบ ภาวะขาดออกซิเจน bilirubin ในเลือดสูง 2-10 หลังคลอด (Postnatal causes) การติดเชื้อ ไดรับสารพิษ ปญหาทางจิต สังคม และอื่นๆ สมองอักเสบ พิษจากตะกั่ว ภยันตรายหลังเกิด เนื้องอก ในสมอง เศรษฐานะยากจน การเจ็บปวยทางจิตเวช 3-12 ไมทราบสาเหตุ (Unknown causes) 30-50
  • 15. 10 | ภ า ว ะ บ ก พ ร อ ง ท า ง ส ติ ป ญ ญ า การแบงประเภทของภาวะบกพรองทางสติปญญา อาจแบงตามระดับความรุนแรง สาเหตุหรือความชวยเหลือบุคคลที่มีภาวะบกพรองทางสติปญญาตองการ ตารางที่ 2 การแบงระดับภาวะบกพรองทางสติปญญาตาม DSM IV และความชุก ระดับ IQ ระดับความรุนแรงของภาวะ บกพรองทางสติปญญา รอยละที่พบ 55-69 นอย (Mild) 85 40-54 ปานกลาง (Moderate) 10 25-39 รุนแรง (Severe) 3-4 <25 รุนแรงมาก (Profound) 1-2 การแบงระดับภาวะบกพรองทางสติปญญา ตามความชวยเหลือที่บุคคลที่มีภาวะบกพรองทางสติปญญาตองการ เปนการแบงตาม American of Mental Retardation (AAMR) ซึ่งไมไดเนนที่ระดับเชาวนปญญา แตพิจารณาพฤติกรรมการปรับตน 10 ขอ แตการแบงวิธีนี้ก็ยังมีความสัมพันธกับความรุนแรงของภาวะ บกพรองทางสติปญญา ไดแก • ตองการความชวยเหลือเปนครั้งคราว (intermittent) • ตองการความชวยเหลือปานกลาง (limited) • ตองการความชวยเหลือมาก (extensive) • ตองการความชวยเหลือตลอดเวลา (pervasive) อาการและอาการแสดง ไดแก พัฒนาการชา สวนใหญมักมาดวยเรื่องพูดชา ภาวะบกพรองทางสติปญญายิ่งรุนแรงมากเทาใด พัฒนาการชายิ่งปรากฏใหเห็นเร็วขึ้นเทานั้น โดยเฉพาะภาวะบกพรองทางสติปญญาระดับรุนแรงจะพบวาเด็กมี พัฒนาการชาทุกดานภายใน 2 ปแรก สวนกลุมบกพรองทางสติปญญาระดับเล็กนอย อาจพบพัฒนาการชาเมื่อ อายุประมาณ 3–4 ป หรือพบปญหาการเรียนเมื่อเริ่มเขาเรียนในโรงเรียน บางรายมาดวยปญหาพฤติกรรม เชน ซน สมาธิสั้น บุคคลที่มีภาวะบกพรองทางสติปญญาบางรายอาจมีลักษณะผิดปกติตางๆ (dysmorphic features) ใหเห็นชัดเจนตั้งแตแรกเกิด เชน กลุมอาการดาวน
  • 16. ภาวะบกพรองทางสติปญญา | 11 ลักษณะทางคลินิก แบงตามระดับไดดังนี้ 1. ภาวะบกพรองทางสติปญญาระดับรุนแรงมาก พัฒนาการลาชาชัดเจนตั้งแตเล็กๆ ทั้งในดาน ประสาทสัมผัสและการเคลื่อนไหว อาจจะฝกการชวยเหลือตนเองไดบาง แตตองอาศัยการฝกอยางมาก สวน ใหญพบวามีพยาธิสภาพ ตองการการดูแลตลอดเวลา ตลอดชีวิต แมจะเปนผูใหญแลวก็ตาม 2. ภาวะบกพรองทางสติปญญาระดับรุนแรง พบความผิดปกติของพัฒนาการตั้งแตขวบปแรก มักมี พัฒนาการลาชาทุกดาน โดยเฉพาะพัฒนาการดานภาษา สื่อความหมายไดเพียงเล็กนอยหรือพูดไมไดเลย บาง รายเริ่มพูดไดเมื่อเขาสูวัยเรียน มีปญหาในการเคลื่อนไหว ในบางรายพบพยาธิสภาพมากกวา 1 อยาง มีทักษะ การปองกันตนเองนอย มีความจํากัดในการดูแลตนเอง ทํางานงายๆได สวนใหญตองการการดูแลอยางใกลชิด หรือตองชวยในทุกๆดานอยางมาก ตลอดชีวิต 3. ภาวะบกพรองทางสติปญญาระดับปานกลาง มักไดรับการวินิจฉัยตั้งแตวัยกอนเรียน เมื่ออายุ ประมาณ 2- 3 ป โดยพบวาอาจมีความแตกตางของระดับความสามารถในดานตางๆ เชน กลุมอาการดาวน ลาชาในดานการใชภาษา กลุมอาการวิลเลี่ยม (Williams syndrome) บกพรองในทักษะการเรียนรูที่เกี่ยวของ กับมิติสัมพันธ (visuo-spatial processing skills) และบางรายมีความสามารถทางภาษาเดน ในบางรายพบ พยาธิสภาพชัดเจน สามารถเรียนไดถึงชั้นประถมศึกษาปที่ 2-3 ในวัยเรียนมักตองการการจัดการศึกษาพิเศษ สามารถเรียนรูการเดินทางตามลําพังไดในสถานที่ที่คุนเคย ใชชีวิตในชุมชนไดดีทั้งการดํารงชีวิตและการงาน แตตองการความชวยเหลือปานกลาง ตลอดชีวิต ประมาณรอยละ 20 ดํารงชีวิตอยูไดดวยตนเอง 4. ภาวะบกพรองทางสติปญญาระดับเล็กนอย มักไดรับการวินิจฉัยเมื่อเด็กเขาสูวัยเรียนแลว เนื่องจากในวัยกอนเรียนพัฒนาทักษะทางสังคมและการสื่อความหมายไดเพียงพอ สวนใหญเรียนไดถึงชั้น ประถมศึกษาปที่ 6 หรือสูงกวา เมื่อเปนผูใหญสามารถทํางาน แตงงาน ดูแลครอบครัวได แตอาจตองการความ ชวยเหลือบางเปนครั้งคราวเมื่อมีปญหาชีวิตหรือหนาที่การงาน มักไมพบสาเหตุทางพยาธิสภาพ สวนใหญจะ สัมพันธกับปจจัยทางสังคมและเศรษฐสถานะยากจนหรือดอยโอกาส ซึ่งแสดงใหเห็นถึงความสําคัญของปจจัย ดานสิ่งแวดลอมและวัฒนธรรมที่มีผลตอภาวะบกพรองทางสติปญญา 6. ความผิดปกติที่พบรวมดวย พบความผิดปกติทางจิตเวชในบุคคลที่มีภาวะบกพรองทางสติปญญาไดถึงรอยละ 45 ซึ่งสูงกวา ประชากรทั่วไป ความผิดปกติเหลานี้จะพบบอยขึ้นเมื่อความรุนแรงของภาวะบกพรองทางสติปญญามากขึ้น สวนใหญเปนปญหาพฤติกรรม ความผิดปกติที่พบ ไดแก ซน สมาธิสั้น พบรอยละ 8-15 พฤติกรรมทําราย ตนเอง รอยละ 3-15 นอกจากนี้ยังพบพฤติกรรมกาวราว กระตุนตนเอง เชน ตบมือ เขยงเทา ดื้อ เกเร พบโรค อารมณสับสนแปรปรวนรอยละ 1-3.5 และโรคจิต (schizophrenia) รอยละ 3 การรักษาโดยการปรับ พฤติกรรมและการใชยา การทําจิตบําบัดมักไมคอยไดผล บุคคลที่มีภาวะบกพรองทางสติปญญาจะพบอาการชักไดบอยกวาบุคคลทั่วไปประมาณ 10 เทา โดยเฉพาะในบุคคลที่มีภาวะบกพรองทางสติปญญาในระดับรุนแรงถึงรุนแรงมาก พบไดถึงรอยละ 30 อาการ ชักมักควบคุมไดยาก เนื่องจากมีความผิดปกติจากกลุมอาการตางๆ มีพยาธิสภาพของระบบประสาทสวนกลาง และในผูปวยแตละรายอาจพบอาการชักไดหลายรูปแบบ
  • 17. 12 | ภ า ว ะ บ ก พ ร อ ง ท า ง ส ติ ป ญ ญ า ภาวะประสาทสัมผัสบกพรอง ไดแก การไดยินบกพรองหรือมีปญหาในการมองเห็นนั้นพบไดบอยใน บุคคลที่มีภาวะบกพรองทางสติปญญา โดยเฉพาะในกลุมอาการที่มีความผิดปกติของใบหนาและศีรษะ (craniofacial syndromes) ประมาณรอยละ 50 ของบุคคลที่มีภาวะบกพรองทางสติปญญาในระดับรุนแรงจะ มีปญหาในการมองเห็น ที่พบบอยไดแก ตาเขและสายตาผิดปกติ ภาวะบกพรองทางสติปญญาระดับเล็กนอยและรุนแรงพบความบกพรองในดานการเคลื่อนไหวซึ่งเขา ไดกับสมองพิการ (cerebral palsy :CP) ประมาณรอยละ 10 และ 20 ตามลําดับ และประมาณรอยละ 50 ของเด็กสมองพิการ จะพบวามีภาวะบกพรองทางสติปญญาในระดับความรุนแรงตางๆรวมดวย โดยเฉพาะใน กลุม spastic CP จะพบภาวะบกพรองทางสติปญญามากกวากลุม dyskinetic CP ประมาณรอยละ 50-75 ของเด็กออทิสติกมีภาวะบกพรองทางสติปญญารวมดวย พฤติกรรมแบบ ออทิสติก ไดแก พฤติกรรมซ้ําๆ หรือทํารายตนเองอาจพบไดในบุคคลที่มีภาวะบกพรองทางสติปญญา โดยเฉพาะในระดับรุนแรง แนวทางการประเมินวินิจฉัย การวินิจฉัยภาวะบกพรองทางสติปญญาทําไดโดยการซักประวัติ ตรวจรางกาย ตรวจประเมิน พัฒนาการ ประเมินระดับเชาวนปญญาและพฤติกรรมการปรับตน ในการประเมินพัฒนาการ ระดับเชาวน ปญญา และพฤติกรรมการปรับตนนั้นมีแบบประเมินมาตรฐานหลายชนิด แบบประเมินพัฒนาการและระดับเชาวนปญญา  Bayley Scales of Infant Development  Wechsler Preschool and Primary Scale of Intelligence III  Stanford-Binet Intelligence Scale (5th Ed)  Kaufman Assessment Battery for Children II  Wechsler Intelligence Scale for Children (WICS-IV) แบบประเมินพฤติกรรมการปรับตน  Vineland Adaptive Behavior Scale II (VBAS II)  AAMR Adaptive Behavior Scales-School (ABS-s II) แบบประเมินระดับเชาวนปญญาที่นิยมใชเปนมาตรฐานในประเทศไทย ไดแก Stanford-Binet Intelligence Scale และ Wechsler Intelligence Scale for Children สวนแบบประเมินพฤติกรรมการ ปรับตนที่ใช ไดแก Vineland Adaptive Behavior Scales
  • 18. ภาวะบกพรองทางสติปญญา | 13 การประเมินเพื่อหาสาเหตุของภาวะบกพรองทางสติปญญา มีวัตถุประสงคเพื่อ 1. คนหาความผิดปกติแบบ progressive หรือ degenerative เชน Rett syndrome, Cockayne syndrome 2. คนหาโรคที่รักษาได เชน phenylketonuria, ภาวะพรองไทรอยดฮอรโมน (hypothyroidism) 3. ใหคําแนะนําปรึกษาผูปกครองเกี่ยวกับอาการ อาการแสดง ภาวะแทรกซอน ความเสี่ยงในการเกิด ซ้ํา เตรียมการแกไขปญหาที่พบรวมดวย 4. อาจชวยใหทราบพยากรณโรค 5. ลดการสืบคนทางหองปฏิบัติการอื่นๆ ที่ไมจําเปน ตารางที่ 3 ขอมูลสําคัญในการประเมินภาวะบกพรองทางสติปญญา ประวัติ  กอนคลอด การคลอด และหลังคลอด พงศาวลีของครอบครัว 3 รุน  ปญหาการเรียน ความผิดปกติทางจิตเวช ภาวะบกพรองทางสติปญญา ความผิดปกติทางระบบ ประสาท หรือพัฒนาการถดถอย การตรวจรางกาย  ประเมินลักษณะผิดปกติ minor physical anomalies  การเจริญเติบโตและพัฒนาการดานรางกาย  เสนรอบศีรษะเทียบกับคาปกติ  ลักษะณะของใบหนา เชน คางเล็ก (micrognathia), ตาหาง (hypertelorism) หรือ ริมฝปากบนบาง (thin upper lip) เปนตน  ใชรูปถายหรือวิดีทัศนเพื่อดูลักษณะรางกายและทาเดิน (gait)  ตรวจทางระบบประสาท  ลักษณะพฤติกรรมที่แสดงออก (Behavior phenotypes)  Wood’s light และ dermatoglyphic ตามขอบงชี้ ความผิดปกติที่พบรวมดวย  ตรวจการไดยิน ตรวจตาและประเมินทางจิตวิทยา การสืบคนทางหองปฏิบัติการตามขอบงชี้  ถายภาพรังสีกระดูก  ตรวจทางเมตาบอลิกเพื่อหา lysosomal, perioxisomal และ mitochondrial disorders  Muscle biopsies  ตรวจ ดีเอ็นเอ และอณูพันธุศาสตร
  • 19. 14 | ภ า ว ะ บ ก พ ร อ ง ท า ง ส ติ ป ญ ญ า  วิเคราะหโครโมโซม  ตรวจ Fluorescence in situ hybridization  ตรวจหากลุมอาการโครโมโซมเอกซเปราะ  ตรวจ organic and amino acids  ตรวจทางรังสีระบบประสาท (magnetic resonance imaging : MRI and computed tomography : CT) การตรวจทางเมทาบอลิกทําในกรณีมีประวัติการแตงงานในเครือญาติ มีสมาชิกในครอบครัวที่มีปญหา คลายๆกัน พัฒนาการถดถอย ตรวจรางกายพบกลามเนื้อออนนิ่ม การเจริญเติบโตชา หรือตับมามโต เปนตน การใชเทคนิค Fluorescence in situ hybridization (FISH) สามารถตรวจพบความผิดปกติของ โครโมโซมสวนปลาย (Subtelomeric region rearrangements) ไดประมาณรอยละ 5–10 ของภาวะ บกพรองทางสติปญญาที่ไมทราบสาเหตุ โดยเฉพาะกลุมบกพรองทางสติปญญาระดับปานกลางและรุนแรง ขอ บงชี้ในการตรวจความผิดปกติของโครโมโซมสวนปลาย คือ 1. มีประวัติบกพรองทางสติปญญาในครอบครัว 2. การเจริญเติบโตชาตั้งแตอยูในครรภ หลังคลอด หรือเจริญเติบโตเร็วผิดปกติ 3. มีลักษณะใบหนาผิดปกติตั้งแต 2 อยางขึ้นไป 4. มีความผิดปกติที่ไมใชบริเวณใบหนา และ/หรือ ความผิดปกติแตกําเนิดตั้งแต 1 อยางขึ้นไป แนวทางการดูแลรักษาและฟนฟูสมรรถภาพ แมวาเมื่อเกิดภาวะบกพรองทางสติปญญาแลว จะไมอาจรักษาสมองสวนที่เสียไปใหกลับคืนมาทํางาน ไดตามปกติก็ตาม แตก็สามารถจะคงสภาพหรือฟนฟูสภาพทางสมองสวนที่คงเหลืออยูใหทํางานไดเต็มที่ ดังนั้น การดูแลรักษาภาวะบกพรองทางสติปญญา จึงเนนการฟนฟูสมรรถภาพของสมองและรางกายมากกวาการ รักษาดวยยาเพียงอยางเดียว การวินิจฉัยใหไดเร็วที่สุดและการฟนฟูสมรรถภาพทันทีที่วินิจฉัยได จะชวย หยุดยั้งความพิการมิใหเพิ่มขึ้น เปาหมายของการรักษาภาวะบกพรองทางสติปญญาจึงมิใชมุงรักษาใหหายจาก โรค แตเพื่อใหสามารถดําเนินชีวิตในสังคมไดใกลเคียงกับคนปกติมากที่สุด ใหชวยตัวเองได ไมเปนภาระแก ครอบครัวและสังคมมากเกินไป และสามารถประกอบอาชีพได การฟนฟูสมรรถภาพในบุคคลที่มีภาวะบกพรองทางสติปญญา มีดังนี้ 1. การฟนฟูสมรรถภาพทางการแพทย (Medical Rehabilitation) การฟนฟูสมรรถภาพทางการแพทย ไดแก การรักษาโรคที่เกิดรวมกับภาวะบกพรองทางสติปญญา การแกไขความพิการและการฟนฟูสภาพทางรางกาย เชน โรคลมชัก, Cretinism, Phenylketonuria (PKU), cerebral palsy นอกจากการใชยารักษาตามอาการแลว ยังตองการบําบัดรักษาดวย ดังนี้
  • 20. ภาวะบกพรองทางสติปญญา | 15 การสงเสริมพัฒนาการ (Early Intervention) การสงเสริมพัฒนาการ หมายถึง การจัดโปรแกรมการฝกทักษะที่จําเปนในการเรียนรู เพื่อนําไปสู พัฒนาการปกติตามวัยของเด็ก จากการวิจัยพบวา เด็กที่ไดรับการฝกทักษะที่จําเปนในการพัฒนาแตเยาววัย จะ สามารถเรียนรูไดดีกวาการฝกเมื่อเด็กโตแลว ทันทีที่วินิจฉัยวาเด็กมีภาวะบกพรองทางสติปญญา เชน เด็กกลุม อาการดาวน หรือเด็กที่มีอัตราเสี่ยงสูงวาจะมีภาวะบกพรองทางสติปญญา เชน เด็กคลอดกอนกําหนด มารดาตก เลือดคณะตั้งครรภ เปนตน สามารถจัดโปรแกรมสงเสริมพัฒนาการใหเด็กกลุมนี้ไดทันที โดยไมตองนําเด็กมาไวที่ โรงพยาบาล โปรแกรมการสงเสริมพัฒนาการ คือ การจัดสภาพแวดลอมใหเอื้ออํานวยตอการเรียนรูของเด็ก บิดามารดา และคนเลี้ยงดูมีบทบาทสําคัญยิ่งในการฝกเด็กใหพัฒนาไดตามโปรแกรมอยางสม่ําเสมอ ผลสําเร็จ ของการสงเสริมพัฒนาการจึงขึ้นอยูกับความรวมมือ และความตั้งใจจริงของบุคคลในครอบครัวของเด็กมากกวาผู ฝกที่เปนนักวิชาชีพ (Professional staff) กายภาพบําบัด บุคคลที่มีภาวะบกพรองทางสติปญญามักจะมีพัฒนาการดานการเคลื่อนไหวรางกาย (motor development) ชากวาวัย นอกจากนี้บุคคลที่มีภาวะบกพรองทางสติปญญาขนาดหนักและหนักมาก สวนใหญ ก็จะมีความผิดปกติของระบบประสาทสวนกลาง (central nervous system) ทําใหมีการเกร็งของแขน ขา ลําตัว จึงจําเปนตองแกไขการเคลื่อนไหวที่ผิดปกติ เพื่อชวยลดการยึดติดของขอตอ และการสูญเสียกลามเนื้อ เด็กจะชวยตัวเองไดมากขึ้น เมื่อเจริญวัยขึ้น กิจกรรมบําบัด เปนการฝกการใชกลามเนื้อมัดเล็ก ไดแก การใชมือหยิบจับสิ่งของ ฝกการทํางานของตา และมือ ให ประสานกัน(eye-hand co-ordination) สามารถหยิบจับสิ่งของ เชน จับถวยกินน้ํา จับแปรงสีฟน หยิบชอน กินขาวซึ่งจะชวยใหการดําเนินชีวิตประจําวัน เปนไปอยางราบรื่นและสะดวกขึ้น การแกไขการพูด บุคคลที่มีภาวะบกพรองทางสติปญญาเกินกวารอยละ 70 มีปญหาการพูดและการสื่อความหมาย กระบวนการฝกในเรื่องนี้ มิใชเพื่อใหเปลงสําเนียงเปนภาษาที่คนทั่วไปเขาใจเทานั้น แตจะเริ่มจากการฝกใช กลามเนื้อชวยพูด บังคับกลามเนื้อเปลงเสียง ออกเสียงใหถูกตอง ซึ่งการฝกพูดตองกระทําตั้งแตเด็กอายุต่ํากวา 4 ป จึงจะไดผลดีที่สุด 2. การฟนฟูสมรรถภาพทางการศึกษา (Educational Rehabilitation) ควรเปดโอกาสใหบุคคลที่มีภาวะบกพรองทางสติปญญาเรียนรวมกับบุคคลปกติมากที่สุด การจัดการ ศึกษาพิเศษเฉพาะบุคคลที่มีภาวะบกพรองทางสติปญญาลวนๆ (Special Education) จะจัดใหเทาที่จําเปน จริงๆเทานั้นแตจะสงเสริมการจัด การเรียนรวม และ การเรียนรวม (Integration and Inclusion Education) ใหมากที่สุด 3. การฟนฟูสมรรถภาพทางอาชีพ (Vocational Rehabilitation) การเตรียมฝกอาชีพใหแกบุคคลที่มีภาวะบกพรองทางสติปญญา อายุ 15-18 ป เปนสิ่งจําเปนมากตอ การประกอบอาชีพในวัยผูใหญ ไดแก ฝกการตรงตอเวลา รูจักรับคําสั่งและนํามาปฏิบัติเอง โดยไมตองมีผูเตือน
  • 21. 16 | ภ า ว ะ บ ก พ ร อ ง ท า ง ส ติ ป ญ ญ า การปฏิบัติตนตอผูรวมงานและมารยาทในสังคม เมื่อเขาสูวัยผูใหญควรไดรับการชวยเหลือใหมีอาชีพที่ เหมาะสม อาชีพที่บุคคลที่มีภาวะบกพรองทางสติปญญาสามารถทําไดดี ไดแก อาชีพงานบาน งานบริการ งาน ในโรงงาน งานในสํานักงาน เชน การรับสงหนังสือ ถายเอกสาร เปนตน การฟนฟูสมรรถภาพของบุคคลที่มีภาวะบกพรองทางสติปญญา 1. การเตรียมความพรอม การจัดกิจกรรมการสอนตองคํานึงถึงความสามารถของแตละบุคคล เนื่องจากมีการเรียนรูชา การสอนจึงควรทําซ้ํา ๆ การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ควรมีหลากหลายแตกตาง กันไปเพื่อไมใหเบื่อ การสอนควรเริ่มจากสิ่งที่งาย ๆ ไปหายาก และใหเรียนกิจกรรมที่เรียนรูไดงายกอน สิ่ง สําคัญคือ ควรใหมีความพรอมในพัฒนาการในทุกดาน ไดแก ดานการเคลื่อนไหว สติปญญา การใชภาษาพูด และสื่อความหมาย รวมไปถึงดานสังคม 2. การจัดนันทนาการ การจัดกิจกรรมนันทนาการ ทําใหเกิดความสนุกสนานผอนคลาย และทําให เกิดประโยชนตอพัฒนาการ เพื่อการบําบัดความบกพรองการจัดกิจกรรมตองคํานึงถึงบุคคลที่มีภาวะบกพรอง ทางสติปญญาเปนศูนยกลาง และพัฒนาทางดานสังคมใหสามารถเลนกับเพื่อนได รูกฎกติกาของเกมการเลน และการปฏิบัติตน สามารถนําไปปรับใชในการดําเนินชีวิตประจําวันตอไป 3. การปรับพฤติกรรม เปนกระบวนการในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจากพฤติกรรมที่ไมพึง ประสงค ตลอดจนการสรางพฤติกรรมใหม การปรับพฤติกรรมมีหลายวิธี เชนการใชแรงเสริม การเปน แบบอยางที่ดี การใหรางวัล การสะสมเหรียญ หรือคะแนนเพื่อนํามาแลกรางวัล อยางใดอยางหนึ่ง 4. การจัดศิลปะบําบัด ศิลปะบําบัดเปนการนําศิลปะมาเชื่อมตอกันโดยตางเพิ่มคุณคาใหแกกันและ กัน ความสวยงามจากสิ่งที่เปนจริงกับความคิด ความรู ศิลปะบําบัด เปนวิธีการบําบัดจากสิ่งที่เปนจริง เกี่ยวกับ ความคิด ความรู ความรูสึก เพื่อใหเกิดงานสรางสรรค การสอนบุคคลที่มีภาวะบกพรองทางสติปญญา 1. ใชหลักการสอนแบบ 3R’ S คือ - Repetition คือ การสอนแบบซ้ําไปซ้ํามา- Relaxation คือ การสอนแบบไมตึงเครียดนัก- Routine คือ การสอนใหเปนกิจวัตรประจําวัน 2. สอนทีละขั้นจากสิ่งใกลตัวไปหาสิ่งไกลตัว หรือจากงายไปหายาก 3. สอนโดยการกระทําจริง 4. สอนสิ่งที่มีความหมายจริง ๆ 5. ตองพยายามจัดการเรียนการสอนใหบุคคลที่มีภาวะบกพรองทางสติปญญา ไดมีประสบการณใหม ๆ 6. สอนโดยใชของจริง หรืออุปกรณประกอบทุกครั้ง 7. ตองใหเวลาพอสมควรในการเปลี่ยนกิจกรรมอยางหนึ่งไปสูกิจกรรมอีกอยางหนึ่ง 8. การสอนตองอาศัยแรงจูงใจ (Motivation) ทําใหอยากเรียนโดยการใหแรงเสริมทั้งทางบวก และ ทางลบ 9. ตองคํานึงถึงความพรอมของแตละบุคคล 10. ตองสอนตามความสามารถ และความตองการของแตละบุคคล
  • 22. ภาวะบกพรองทางสติปญญา | 17 11. สอนตามระดับสติปญญา 12. ยอมรับความสามารถ และพยายามสงเสริมความสามารถ 13. พยายามฝกใหชวยเหลือตนเองมากที่สุด 14. สอนโดยการแบงตามหมูตามตารางสอน 15. เมื่อฝกใหเด็กทํากิจกรรมตาง ๆ ตองพยายามแทรกการฝกหลาย ๆ ดานไปดวย 16. ตองชวยใหพัฒนาความเชื่อมั่นในตนเอง 17. ตองมีการวิเคราะหงาน (Task analysis ) 18. มีการประเมินผลความกาวหนาอยูตลอดเวลา วิธีการสอนเพื่อสรางพฤติกรรมที่เหมาะสม 1. ใชการแนะนําโดยการกระทํา คือการชวยใหเกิดการกระทําโดยจับมือใหทําตามพรอม ทั้งการใชคําสั่ง แลวใหรางวัลหรือชมเชย การจับมือทํานี้จะคอย ๆ ลดการชวยเหลือเมื่อบุคคลที่มีภาวะ บกพรองทางสติปญญาเริ่มพยายามทําดวยตนเอง 2. ใชวิธีการเลียนแบบ โดยการทําใหดูเปนตัวอยางแลวใหทําตาม ชมเชยหรือใหรางวัลเมื่อทําได การ สอนใหเลียนแบบจะตองทําเปนขั้น ๆ เพื่อเปนการงาย จึงควรแบงงานออกเปนขั้นยอย ๆ จากงายไปหายาก ให รางวัลชมเชย เมื่อทําไดดีในแตละขั้นแลวจึงสอนเพิ่มขึ้นในขั้นตอไปจนสําเร็จทั้งหมด 3. ใชแรงจูงใจ ใหบุคคลที่มีภาวะบกพรองทางสติปญญาไดใชความสามารถที่มีอยูใหเต็มที่ มีการ ปรับพฤติกรรมที่ไมเหมาะสม การรักษาดวยยา บุคคลที่มีภาวะบกพรองทางสติปญญาอาจไดรับการรักษาดวยยาในกรณีที่มีโรคทางกายที่จําเปนตอง ไดรับการรักษาดวยยา เชน ผูที่มีโรคลมชักรวมดวยก็จะไดรับยากันชัก หรือในกรณีที่มีปญหาพฤติกรรมหรือโรค ทางจิตเวชรวมดวยก็จะไดรับการรักษาดวยยาทางจิตเวช ตารางที่ 4 ยาที่ใชในบุคคลที่มีภาวะบกพรองทางสติปญญาที่มีปญหาทางจิตเวช ประเภทของยา ตัวอยาง ขอบงชี้ Short-acting stimulants Methylphenidate (Ritalin) สมาธิสั้น ไมอยูนิ่ง การนอนผิดปกติ Long-acting stimulants Methylphenidate (Concerta) สมาธิสั้น ไมอยูนิ่ง Antipsychotics: - Convetional - Atypical Haloperidol (Haldol) Clozapine (Clozaril), Risperidone (Risperdal) โรคจิตเภท กาวราว พฤติกรรมทําราย ตนเอง โรคอารมณสองขั้ว (bipolar disorders)
  • 23. 18 | ภ า ว ะ บ ก พ ร อ ง ท า ง ส ติ ป ญ ญ า ประเภทของยา ตัวอยาง ขอบงชี้ Antidepressants Fluoxetine (Prozac) ซึมเศรา วิตกกังวล โรคย้ําคิดย้ําทํา ความอยากอาหารมากผิดปกติ (bulimia) ตื่นตกใจรุนแรง (panic disorder) กาวราว premenstrual dysphoric disorder sertraline (Zoloft) ซึ ม เ ศ ร า ตื่ น ต ก ใ จ รุ น แ ร ง premenstrual dysphoric disorder โรคย้ําคิดย้ําทํา วิตกกังวล กาวราว fluvoxamine โรคย้ําคิดย้ําทํา Mood stabilizers Lithium โรคอารมณสองขั้ว กาวราว ซึมเศรา - Sodium valproate (Depakine) - carbamazepine (Tegretol) - Oxcarbazepine (Trileptal) - Lamotrigine (Lamictal) - topiramate (Topamax) ชัก โรคอารมณสองขั้ว กาวราว พฤติกรรมทํารายตนเอง Other medications Antihypertensives: clonidine (Catapress) ความดันโลหิตสูง สมาธิสั้น ไมอยูนิ่ง ควบคุมอารมณไมได การวางแผนดูแลตอเนื่อง การติดตามการดูแลบุคคลที่มีภาวะบกพรองทางสติปญญาตามวัยตางๆควรไดรับการวางแผนและ ทบทวนเปนระยะๆรวมกับครอบครัว และประสานงานกับเครือขายบริการตางๆในชุมชนโดยติดตามระดับ ความสามารถที่กาวหนาขึ้น ภาวะของความผิดปกติที่พบรวมดวย ปญหาการเรียน การปรับตัวในครอบครัว สังคม ปญหาพฤติกรรม อาการทางจิตเวช การรับประทานยาสม่ําเสมอและผลขางเคียงจากยา ผลที่คาดวาจะไดรับ   1. บุคคลที่มีภาวะบกพรองทางสติปญญาไดรับการวินิจฉัย ประเมิน ดูแลรักษา และฟนฟูสมรรถภาพให สามารถดํารงชีวิตไดอยางอิสระ (independent living) พึ่งพาตนเองได และสามารถใชชีวิตในสังคมได ใกลเคียงกับคนปกติ (normalization) 2. ผูปกครองและครอบครัวไดรับคําแนะนําในการดูแลบุคคลที่มีภาวะบกพรองทางสติปญญา
  • 24. ภาวะบกพรองทางสติปญญา | 19 การสงตอ 1. สงตอเพื่อการตรวจหาความผิดปกติที่พบรวมดวยและไมมีบริการนั้นๆในหนวยบริการ เชน การสงตอเพื่อ ตรวจตา การตรวจคลื่นสมองไฟฟา เปนตน 2. สงตอเพื่อรับบริการอื่นๆ เชน การศึกษาในโรงเรียน บริการในชุมชน เปนตน การใหคําแนะนําและความรู ผูดูแลบุคคลที่มีภาวะบกพรองทางสติปญญาควรไดรับคําแนะนําในการฝกสอนบุคคลที่มีภาวะบกพรอง ทางสติปญญาซึ่งมีจุดมุงหมายสูงสุด เพื่อใหไดมีความเปนอยูใกลเคียงคนปกติ และจะประสบความสําเร็จ หรือไมเพียงใดนั้น ขึ้นอยูกับตัวแปรตอไปนี้ คือ 1. ระดับของภาวะบกพรองทางสติปญญา ผูที่มีภาวะบกพรองทางสติปญญาขนาดนอย มีโอกาสจะ พัฒนาใหสามารถดําเนินชีวิต ใกลเคียงบุคคลปกติไดดีกวา ผูที่มีภาวะบกพรองทางสติปญญาขนาด ปานกลางหรือขนาดหนัก 2. อาการแทรกซอนตางๆ ที่เปนอุปสรรคตอการฟนฟูสมรรถภาพ ทําใหไมประสบผลดีเทาที่ควร 3. การสงเสริมพัฒนาการ ถาเด็กไดรับการสงเสริมพัฒนาการในวัยเยาว จะมีความพรอมในการเรียน รวมกับเด็กปกติในโรงเรียนทั่วไป มากกวาการฝกเมื่อเด็กโตแลว 4. ความรวมมือของครอบครัว ครอบครัวมีความสําคัญตอบุคคลที่มีภาวะบกพรองทางสติปญญา มากที่สุด ตั้งแตแรกเกิดจนตลอดชีวิต จึงควรจะเตรียมครอบครัวใหเขาใจความบกพรอง ขอจํากัด ของความสามารถ ความตองการพิเศษ ความคาดหวัง ตลอดจนวิธีการอบรมเลี้ยงดูและฝกสอนใน ทิศทางที่ถูกตอง บุคคลที่มีภาวะบกพรองทางสติปญญาสามารถเรียนรู และดําเนินชีวิตอยางทัดเทียมและมีความสุขใน สังคมไดเชนเดียวกับบุคคลปกติ ถาสังคมเปดโอกาสและใหความชวยเหลือที่เหมาะสม อันจะเอื้ออํานวยให บุคคลที่มีภาวะบกพรองทางสติปญญาไดใชชีวิตอยางมีศักดิ์ศรีและมีคุณคา เอกสารอางอิง 1. นพวรรณ ศรีวงศพานิช. แนวเวชปฎิบัติเรื่องภาวะบกพรองทางสติปญญา สถาบันราชานุกูล กรมสุขภาพจิต, 2551.
  • 25. 20 | ภ า ว ะ บ ก พ ร อ ง ท า ง ส ติ ป ญ ญ า แนวทางการบริการผูบกพรองทางพัฒนาการและสติปญญา  อายุ  6-18 ป โรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบล  กิจกรรม 1. ประเมินปญหาความตองการของผูบกพรองฯและสงตอพรอมขอมูล 1.1 สรางสัมพันธภาพดวยทาทีที่นุมนวลเพื่อใหเกิดความไววางใจและการประเมินปญหาและความ ตองการของผูบกพรองทางพัฒนาการและครอบครัว 1.2 ประเมินความสามารถพื้นฐานในการดํารงชีวิตประจําวัน ตามขั้นตอนดังนี้ ขั้นเตรียมการ - เตรียมอุปกรณตามทักษะที่จะประเมิน - เตรียมสถานที่ฝก ขั้นประเมิน - สนทนาเตรียมความพรอม สรางความคุนเคย - จัดทาเด็ก - บอกเรื่องที่จะประเมินและวัตถุประสงคในการประเมิน - บอกใหเด็กทํากิจกรรมโดยไมใหการชวยเหลือ - ภายใน 5 วินาที เมื่อเด็กไมทําหรือทําไมถูกตอง บอกหรือสาธิตวิธีการทํากิจกรรมนั้นใหเด็กดู 1 ครั้ง (เฉพาะทักษะที่เกี่ยวของกับการเลียนแบบ) - บอกใหเด็กทํากิจกรรมนั้นซ้ําอีกครั้ง ดวยคําพูดที่งายๆ กระชับ ชัดเจน โดยไมใหการชวยเหลือ (เฉพาะทักษะที่เกี่ยวของกับการเลียนแบบ) - หยุดการประเมินเมื่อเด็กไมทําหรือทําไมถูกตองภายใน 5 วินาที สังเกตการทํากิจกรรมของเด็กและบันทึกคะแนนในแบบประเมิน ตามเกณฑการประเมิน ดังนี้ 0 = ทําไมได 1 = ทําไดโดยตองชวยทําทุกขั้นตอน 2 = ทําไดโดยตองชวยทําบางสวน 3 = ทําไดแตตองกระตุนดวยวาจา 4 = ทําไดเองทุกขั้นตอน 1.3 วิเคราะหคะแนนความสามารถในการปฏิบัติกิจกรรมทักษะการดํารงชีวิตประจําวัน โดยคํานวณ จากคาคะแนนเฉลี่ยดังนี้ ระดับคะแนน 2.67 - 4.00 = มีความสามารถในการปฏิบัติกิจกรรม ระดับมาก 1.34 - 2.66 = มีความสามารถในการปฏิบัติกิจกรรม ระดับปานกลาง 0.0 - 1.33 = มีความสามารถในการปฏิบัติกิจกรรม ระดับพอใช
  • 26. ภาวะบกพรองทางสติปญญา | 21 2. แพทยตรวจวินิจฉัยเบื้องตน 3. ใหคําแนะนําในการดูแล และ สงตอพรอมขอมูล 3.1 ใหขอมูลผูปกครองเกี่ยวกับความสามารถของเด็กที่ประเมินได ขอมูลที่ควรมีเพื่อการสงตอ ชื่อ-สกุล อายุ การวินิจฉัยโรค ของเด็ก อาการและอาการแสดง/ลักษณะพัฒนาการ ผลการประเมิน ความสามารถ การรักษาและคําแนะนําเบื้องตน 3.2 ใหความรูเพื่อสรางความเขาใจแกครอบครัวเกี่ยวกับภาวะบกพรองทางพัฒนาการและสติปญญา แนว ทางการมีสวนรวมในการดูแลผูบกพรองทางพัฒนาการและสติปญญา 3.3 สงตอผูบกพรองทางพัฒนาการและสติปญญาพรอมขอมูลแก รพช. รพท. เพื่อรับการดูแลตอเนื่อง  เครื่องมือ - แบบประเมินความสามารถพื้นฐานในการดํารงชีวิตประจําวัน - คูมือการลงคะแนนสรุปผลการประเมินความสามารถ  การติดตามและประเมินผล - นัดติดตาม โรงพยาบาลชุมชน  และ  โรงพยาบาลทั่วไป  กิจกรรม 1. แพทยตรวจวินิจฉัย และรักษาเบื้องตน 2. ใหคําแนะนําและแกไขพัฒนาการ(ฝกทักษะการดํารงชีวิตประจําวัน) 2.1 รวบรวมขอมูลที่เกี่ยวกับผูบกพรองทางพัฒนาการและสติปญญา บิดา มารดา หรือผูดูแล ขอมูลที่ รวบรวมประกอบดวย ขอมูลทั่วไป ความคาดหวังของครอบครัว การทําหนาที่ของครอบครัว แบบ แผนการสื่อสารของผูบกพรองทางพัฒนาการและสติปญญา ขอมูลในการประเมินรางกาย ปญหา พฤติกรรม 2.2 ประเมินภาวะสุขภาพที่เกี่ยวกับพัฒนาการดานการดูแลตนเองดานกิจวัตรประจําวัน ดานสติปญญา และการไดรับการศึกษา พัฒนาการทางภาษาและสังคม สุขภาพอนามัยและความปลอดภัย 3. ประเมินความสามารถในการปฏิบัติทักษะดํารงชีวิตประจําวัน ดังนี้ ขั้นเตรียมการ - เตรียมอุปกรณตามทักษะที่จะประเมินเตรียมสถานที่ฝก ขั้นประเมิน - สนทนาเตรียมความพรอม สรางความคุนเคย - จัดทาเด็ก
  • 27. 22 | ภ า ว ะ บ ก พ ร อ ง ท า ง ส ติ ป ญ ญ า - บอกเรื่องที่จะประเมินและวัตถุประสงคในการประเมิน - บอกใหเด็กทํากิจกรรมโดยไมใหการชวยเหลือ - ภายใน 5 วินาที เมื่อเด็กไมทําหรือทําไมถูกตอง บอกหรือสาธิตวิธีการทํากิจกรรมนั้นใหเด็กดู 1 ครั้ง (เฉพาะทักษะที่เกี่ยวของกับการเลียนแบบ) - บอกใหเด็กทํากิจกรรมนั้นซ้ําอีกครั้ง ดวยคําพูดที่งายๆ กระชับ ชัดเจน โดยไมใหการชวยเหลือ (เฉพาะทักษะที่เกี่ยวของกับการเลียนแบบ) - หยุดการประเมินเมื่อเด็กไมทําหรือทําไมถูกตองภายใน 5 วินาที - สังเกตการทํากิจกรรมของเด็กและบันทึกคะแนนในแบบประเมิน ตามเกณฑการประเมิน ดังนี้ 0 = ทําไมได 1 = ทําไดโดยตองชวยทําทุกขั้นตอน 2 = ทําไดโดยตองชวยทําบางสวน 3 = ทําไดแตตองกระตุนดวยวาจา 4 = ทําไดเองทุกขั้นตอน 2.3 วิเคราะหคะแนนความสามารถในการปฏิบัติกิจกรรมทักษะการดํารงชีวิตประจําวัน โดยคํานวณจากคา คะแนนเฉลี่ยดังนี้ ระดับคะแนน 2.67 - 4.00 = มีความสามารถในการปฏิบัติกิจกรรม ระดับมาก 1.34 - 2.66 = มีความสามารถในการปฏิบัติกิจกรรม ระดับปานกลาง 0.00 - 1.33 = มีความสามารถในการปฏิบัติกิจกรรม ระดับพอใช 2.4 วางแผนการดูแลรวมกับบิดา มารดา หรือผูดูแลตามปญหาที่ประเมินได 2.5 ใหการดูแลชวยเหลือและแกไขพัฒนาการโดยการฝกทักษะการดํารงชีวิตประจําวัน 2.5.1 ฝกทักษะการดํารงชีวิตประจําวันตามขั้นตอนการฝก 3 ขั้นตอน ดังนี้ ขั้นนํา - สรางสัมพันธภาพกับเด็ก เชน ชวนพูดคุยเรื่องทั่วๆ ไป - อธิบายเรื่องที่จะฝก เชน บอกเด็กวา “เรามาใสเสื้อกันนะ” - บอกวัตถุประสงคของการฝก เชน บอกเด็กวา “หนูจะไดใสเสื้อไปเที่ยวเองได” - ใหเด็กดูอุปกรณที่ใชในการฝก เชน จับมือเด็กชี้เสื้อและพูดวา “เสื้อ” - จัดทาของเด็กและผูฝกใหเหมาะสม เชน ถาเด็กอยูไมนิ่ง ใหผูฝกนั่งดานหลังของเด็กขณะฝกใสเสื้อ แต ถาฝกพูดใหนั่งตรงขามกับเด็กเพื่อใหเด็กมองเห็นปากขณะผูฝกพูด ขั้นฝก - ผูฝกสาธิตใหเด็กดู - ผูฝกใหเด็กเลียนแบบผูฝกทีละขั้นตอน - ผูฝกใหเด็กปฏิบัติเองตั้งแตขั้นตอนแรกจนขั้นตอนสุดทาย ขณะฝกถาเด็กทําไมไดใหการชวยเหลือโดยจับ