SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 68
Downloaden Sie, um offline zu lesen
การจัดทําภาษีมูลคาเพิ่มไมยากอยางที่คิด
โดย
นายยศสรัล เสถียรธรรมกุล
อาจารยพิเศษ คณะบัญชีและคณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ
ผูสอบบัญชีภาษีรับอนุญาต
ผูสอบบัญชีภาษีอากร
1
ประมวลรัษฎากร (กฎหมายภาษีอากร)
กลุ่มธุรกิจเป้ าหมาย 6คลัสเตอร์ที่กรมสรรพากรมุ่งจัดระเบียบ
โครงการ Nation e-Payment (Prompt Pay)
ภาษีมูลค่าเพิ่ม (Vat) กับเภสัชกรเจ้าของธุรกิจร้านยา
ฐานภาษี VAT,ความรับผิดในการเสียภาษีมูลค่าเพิ่ม,ใบกํากับภาษี
รายงานที่เกี่ยวข้องกับภาษีมูลค่าเพิ่ม
การคํานวณและนําส่งภาษีมูลค่าเพิ่ม
ภาษีซื้อต้องห้าม
2
ประมวลรัษฎากร (กฎหมายภาษีอากร)
(2)
ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา
(3)
ภาษีเงินได้นิติบุคคล
(4)
ภาษีมูลค่าเพิ่ม
(6)
อากร
แสตมป์
(5)
ภาษีธุรกิจเฉพาะ
(2)
WHT
บุคคลธรรมดา นิติบุคคล
ภาษีทางตรง
ภาษีทางอ้อม
ผู้ประกอบการ
กลุ่มธุรกิจเป้ าหมาย 6 คลัสเตอร์ที่กรมสรรพากรมุ่งจัดระเบียบ
ที่มา เอกสารเผยแพร่ “จัดทําบัญชีอย่างไรให้เป็ นธรรมกับผู้เสียภาษี” กรมสรรพากร (www.rd.go.th) สืบค้นเมื่อวันที่ 29 สิงหาคม 2559
ที่มา เอกสารเผยแพร่ “จัดทําบัญชีอย่างไรให้เป็ นธรรมกับผู้เสียภาษี” กรมสรรพากร (www.rd.go.th) สืบค้นเมื่อวันที่ 29 สิงหาคม 2559
ที่มา เอกสารเผยแพร่ “จัดทําบัญชีอย่างไรให้เป็ นธรรมกับผู้เสียภาษี” กรมสรรพากร (www.rd.go.th) สืบค้นเมื่อวันที่ 29 สิงหาคม 2559
1. Any ID : Nation e-Payment (Prompt Pay)
ที่มา เอกสารเผยแพร่ “จัดทําบัญชีอย่างไรให้เป็ นธรรมกับผู้เสียภาษี” กรมสรรพากร (www.rd.go.th) สืบค้นเมื่อวันที่ 29 สิงหาคม 2559
บัตรอิเล็กทรอนิกส์ (บัตรเดบิต) เครื่องรูดบัตร Electronic Data Capture (EDC)
 เป็นการบริการรับชําระค่าสินค้าและบริการผ่านเครื่องรับบัตรเครดิต/เดบิต (เครื่อง EDC)
 ธนาคารพาณิชย์ต่าง ๆ จะแจกจ่ายเครื่อง EDC ให้แก่ร้านค้าทั่วประเทศ ประมาณปลายปี
2559
 และจะวางเครื่อง EDC ให้กับหน่วยงานราชการต่าง ๆ เพื่ออํานวยความสะดวกในการชําระ
เงินของประชาชน
ที่มา เอกสารเผยแพร่ “จัดทําบัญชีอย่างไรให้เป็ นธรรมกับผู้เสียภาษี” กรมสรรพากร (www.rd.go.th) สืบค้นเมื่อวันที่ 29 สิงหาคม 2559
2. ขยายการใช้บัตร : Nation e-Payment (Prompt Pay)
ที่มา เอกสารเผยแพร่ “จัดทําบัญชีอย่างไรให้เป็ นธรรมกับผู้เสียภาษี” กรมสรรพากร (www.rd.go.th) สืบค้นเมื่อวันที่ 29 สิงหาคม 2559
3. ภาษีอิเลคทรอนิกส์ : Nation e-Payment (Prompt Pay)
ผู้ประกอบการ ขนาดรายได้
เข้าระบบ e-Tax Invoice
VAT และ WHT
ขนาดใหญ่ > 500 ล้านบาท
ภายใน 31 ธ.ค. 2560
ขนาดกลาง
มากกว่า 30 ล้านบาท ถึง 500 ล้าน
บาท
ขนาดเล็ก มากกว่า 1.8 ล้านบาท ถึง 30 ล้านบาท ภายใน 31 ธ.ค. 2562
ขนาดไมโคร (จิ๋ว) <= 1.8 ล้านบาท ภายใน 31 ธ.ค. 2564
ผู้มีหน้าที่เสีย (ม.82)
VAT
1. ผู้ประกอบการ (ม.77/1 (5)) (5)) 2. ผู้นําเข้า (ม.77/1 (11))
ขายสินค้า (ม.77/1 (8)) ให้บริการ (ม.77/1 (10))
กระทําในราชอาณาจักร (ม.77/2)
ความรับผิด (ม.78)
ส่งมอบ (ม.78 (1)) รับชําระราคา (ม.78/1(1)) ชําระอากร (ม.78/2)
10
เภสัชกรที่เปดธุรกิจรานยา ถือวา เปน ผูประกอบการ ที่ ขายสินคา
หรือ ใหบริการ ในราชอาณาจักร(ในประเทศไทย)
ตองจดทะเบียนเปนผูประกอบการในระบบภาษีมูลคาเพิ่ม (Vat) ใน
กรณี (ก.) มีรายไดเกิน 1.8 ลานบาทตอป (ในระหวางป โดย
ไมไดนับวาตองครบ 12 เดือน)
(ข.) ประสงคจดทะเบียนเปนผูประกอบการ Vat (โดยไม
คํานึงวาจะมีรายไดถึงเกณฑ 1.8 ลานบาทหรือไม)
รูปแบบทั่วไป VAT ที่จัดเก็บ คือ ภาษีขาย (Output tax) หักดวย ภาษี
ซื้อ (Input tax)
11
สินคา ตามกฎหมาย VAT หมายถึง ทรัพยสินที่มีรูปรางหรือไมมีรูปราง ซึ่งอาจ
มีราคาและถือเอาได ไมวาจะมีไวเพื่อขาย เพื่อใช หรือเพื่อการใด ๆ
และใหความหมายรวมถึงสิ่งของทุกชนิดที่นําเขามาในราชอาณาจักร
(มาตรา ๗๗/๑ (๙))
ขาย ตามกฎหมาย VAT หมายถึง จําหนาย จาย โอนสินคาไมวาจะมี
ประโยชนหรือคาตอบแทนหรือไม เชน การซื้อขายสินคาทั่ว ๆ ไป
การแจกสินคา การแถมสินคา ฯลฯ นอกจากนี้ยังหมายความรวมถึง
(มาตรา ๗๗/๑ (๘))
บริการ ตามกฎหมาย VAT หมายถึง การกระทําใด ๆ อันอาจหาประโยชนอันมี
มูลคาซึ่งมิใชเปนการขายสินคา (มาตรา ๗๗/๑ (๑๐))
12
ภาษีขาย (Output tax) คือ ภาษีมูลคาเพิ่มที่ผูประกอบการจด
ทะเบียนในระบบ VAT ไดเรียกเก็บหรือพึงเรียกเก็บจากผูซื้อสินคา
หรือผูรับบริการ เมื่อมีการขายสินคาหรือใหบริการเกิดขึ้น
ภาษีซื้อ (Input tax) คือ ภาษีมูลคาเพิ่มที่ผูประกอบการจด
ทะเบียนในระบบ VAT ไดจายใหกับผูขายสินคาหรือผูใหบริการที่เปน
ผูจดทะเบียนในระบบ VAT เมื่อซื้อสินคา หรือชําระคาบริการ เพื่อใช
ในการประกอบกิจการของตน
13
 ภาษีมูลคาเพิ่ม (Vat) คํานวณจากยอดมูลคาของสินคาหรือบริการกอนหัก
รายจายใด ๆ ตามอัตราภาษีที่กําหนด ซึ่งมีอัตราเดียว คือ 10% (แตมีพระราช
กฤษฎีกาลดอัตราลงเหลือเพียง 7% เปนการชั่วคราวเปนครั้ง ๆ ทุกสองป) โดย
ตองคํานวณภาษีสําหรับราชการบริหารสวนทองถิ่นเพิ่มควบคูไปอีก 1 ใน 9 สวน
ของภาษีมูลคาเพิ่ม
 ใบกํากับภาษี (Tax Invoice) ถือเปนหลักฐานสําคัญในระบบภาษีมูลคาเพิ่ม
 เปนภาษีอากรประเมิน ซึ่งกําหนดใหผูประกอบการเสียภาษีโดย
ก. ยื่นรายการประเมินตนเอง ตามแบบ ภ.พ. 30 พรอมทั้งเสีย
ภาษีมูลคาเพิ่มเปนรายเดือน
ข. เสียภาษีมูลคาเพิ่มโดยเจาพนักงานประเมินเรียกเก็บ
14
ผู้ประกอบการที่ได้รับยกเว้น VAT (มาตรา ๘๑) จากการขายสินค้า (ที่ไม่ใช่การ
ส่งออก) หรือการให้บริการ ดังนี้ (นํามาเพียงบางข้อที่เกี่ยวข้องหรือน่าเกี่ยวข้อง)
(ก) การขายพืชผลทางการเกษตร ไม่ว่าจะเป็น ลําต้น กิ่ง ใบ เปลือก หน่อ ราก
เหง้า ดอก หัว ฝัก เมล็ด หรือส่วนอื่น ๆ ของพืช และวัตถุพลอยได้จากพืช ทั้งนี้ ที่อยู่ใน
สภาพสด หรือรักษาสภาพไว้มิให้เสียเป็นการชั่วคราวในระหว่างขนส่งด้วยการแช่เย็น
แช่เย็นจนแข็ง หรือด้วยการจัดทําหรือปรุงแต่งโดยวิธีการอื่น หรือรักษาสภาพไว้เพื่อมิ
ให้เสียเพื่อการขายปลีกหรือขายส่งด้วยวิธีการแช่เย็น แช่เย็นจนแข็ง ทําให้แห้ง บด ทํา
ให้เป็นชิ้น หรือด้วยวิธีการอื่น ข้าวสาร หรือผลิตภัณฑ์ที่ได้จาการสีข้าว แต่ไม่รวมถึง
ไม้ซุง ฟืน หรือผลิตภัณฑ์ที่ได้จากการเลื่อยไม้ หรือผลิตภัณฑ์อาหารที่บรรจุกระป๋อง
ภาชนะ หรือหีบห่อที่ทําเป็นอุตสาหกรรม ตามลักษณะ และเงื่อนไขที่อธิบดีกําหนด
15
ผู้ประกอบการที่ได้รับยกเว้น VAT (มาตรา ๘๑) จากการขายสินค้า (ที่ไม่ใช่การ
ส่งออก) หรือการให้บริการ ดังนี้ (นํามาเพียงบางข้อที่เกี่ยวข้องหรือน่าเกี่ยวข้อง)
(จ) การขายยาหรือเคมีภัณฑ์ที่ใช้สําหรับพืชหรือสัตว์ เพื่อบํารุงรักษาป้องกัน
ทําลายหรือกําจัดศัตรูหรือโรคของพืชและสัตว์
(ฉ) การขายหนังสือพิมพ์ นิตยสาร หรือตําราเรียน (การขายเทปประกอบกับตํารา
เรียน ถือเป็นการขายตําราเรียนที่ได้รับยกเว้น VAT ด้วยตามคํานิจฉัยของ
คณะกรรมการวินิจฉัยภาษีอากรที่32/2538)
(ฌ) การให้บริการการประกอบโรคศิลป์ การสอบบัญชี การว่าความ หรือการ
ประกอบวิชาชีพอิสระอื่นตามที่อธิบดีกําหนดโดยอนุมัติรัฐมนตรี ทั้งนี้เฉพาะวิชาชีพ
อิสระที่มีกฎหมายควบคุมการประกอบวิชาชีพนั้น
16
ผู้ประกอบการที่ได้รับยกเว้น VAT (มาตรา ๘๑) จากการขายสินค้า (ที่ไม่ใช่การ
ส่งออก) หรือการให้บริการ ดังนี้ (นํามาเพียงบางข้อที่เกี่ยวข้องหรือน่าเกี่ยวข้อง)
(ญ) การให้บริการรักษาพยาบาลของสถานพยาบาลตามกฎหมายว่าด้วย
สถานพยาบาล
(ฐ) การให้บริการตามสัญญาจ้างแรงงาน เช่น ลูกจ้าง/พนักงาน ที่ทํางานให้ (ถือ
เป็นการให้บริการแก่) นายจ้าง
(ต) การให้บริการเช่าอสังหาริมทรัพย์ เช่น ให้วางตู้ ATM หน้าร้านยา ฯลฯ
17
อัตราภาษีมูลค่าเพิ่ม (Vat Rate)
1. อัตราปกติตามประมวลรัษฎากร มีอัตราเดียว คือ ร้อยละ 10 (ยังไม่รวม
ภาษีมูลค่าเพิ่มของการบริหารราชการส่วนท้องถิ่น) แต่ปัจจุบันมีพระราชกฤษฎีการลดอัตรา
VAT เป็นการชั่วคราวจากร้อยละ 10 เหลือร้อยละ 7 (ซึ่งเป็นอัตราที่รวมภาษี VAT ส่วน
ท้องถิ่นแล้ว คือ 6.3 + 0.7) และถือเป็นอัตราโดยทั่วไปของผู้มีหน้าเสียภาษีมูลค่าเพิ่ม
2. อัตราร้อยละ 0 (มีผลเท่ากับไม่ต้องเสียภาษีขาย แต่ต้องเรียกเก็บ) ใช้สําหรับ
(ก) การส่งออกสินค้า ของผู้ประกอบการจดทะเบียน VAT
(ข) การให้บริการที่กระทําในราชอาณาจักรและได้มีการใช้บริการนั้นใน
ต่างประเทศ (ประกาศอธิบดีฯ ฉบับที่ 105, ฉบับที่ 122 และฉบับที่ 181) และให้รวมถึงการ
ให้บริการที่กระทําในราชอาณาจักร เพื่อผลิตสินค้าในเขตปลอดอากรเพื่อส่งออก และการ
ให้บริการที่กระทําในเขตดังกล่าวเพื่อใช้ผลิตสินค้าเพื่อส่งออกด้วย
18
อัตราภาษีมูลค่าเพิ่ม (Vat Rate)
(ค) การให้บริการขนส่งระหว่างประเทศโดยอากาศยานหรือเรือเดินทะเล ที่กระทํา
โดยผู้ประกอบการที่เป็นนิติบุคคล
(ง) การขายสินค้าหรือการให้บริการแก่ส่วนราชการหรือรัฐวิสาหกิจ ตามโครงการ
เงินกู้หรือเงินช่วยเหลือจากต่างประเทศ
(จ) การขายสินค้าหรือการให้บริการกับองค์การสหประชาชาติ ทบวงการชํานัญการ
พิเศษของสหประชาชาติ สถานเอกอัครราชทูต สถานกงสุลใหญ่ สถานกงสุล
(ฉ) การขายสินค้าหรือการให้บริการที่ก่อให้เกิดสินค้าที่มีรูปร่างหรือการให้บริการที่
ไม่ก่อให้เกิดสินค้าที่มีรูปร่าง แต่ทําให้สินค้ามีประสิทธิภาพมากขึ้น หรือมีมูลค่าเพิ่มขึ้นระหว่าง
คลังสินค้าทัณฑ์บนด้วยกัน หรือระหว่างผู้ประกอบการที่ประกอบกิจการอยู่ในเขตปลอดอากร
ไม่ว่าจะอยู่ในเขตเดียวกันหรือไม่ รวมทั้งการขายสินค้าหรือการให้บริการระหว่างคลังสินค้า
ทัณฑ์บนกับผู้ประกอบการที่ประกอบกิจการอยู่ในเขตปลอดอากร
19
การคํานวณภาษีมูลค่าเพิ่มในใบกํากับภาษี :
แบบแยกนอก เช่น สินค้าราคา 100 บาท x Vat 7% เท่ากับ 107 บาท (ราคาสินค้ารวม
vat)
แบบรวมใน เช่น สินค้าราคา 100 บาท (ราคาสินค้ารวมvat) เป็นภาษี 6.54 บาท เป็น
มูลค่าสินค้า 93.46 บาท (เศษทศนิยมให้ดูตําแหน่งที่สามว่าเกินห้าหรือไม่ ถ้าใช่ให้ปัดขึ้น)
vat = 100 x 7/107 = 6.5420 ปัดให้เหลือเป็นทศนิยมสองตําแหน่งได้ 6.54
มูลค่าสินค้า = 100 x 100/107= 93.4579 ปัดให้เหลือเป็นทศนิยมสองตําแหน่งได้ 93.46
“แบบรวมใน จะเป็นที่นิยมใช้กันโดยทั่วไปสําหรับธุรกิจร้านยา
ราคารวมภาษีมูลค่าเพิ่มแล้ว นั่นเอง”
20
ฐานภาษี (Tax Base)
จํานวนมูลค่าของสิ่งที่ได้รับหรือพึงได้รับ (เงินสด เช็ค ทรัพย์สิน
ต่างๆ) จากการดําเนินธุรกรรมซื้อขายสินค้าหรือบริการ ซึ่งจะใช้เป็น
ฐานในการคํานวณจํานวนภาษีมูลค่าเพิ่มที่จะเกิดขึ้น
ความรับผิดในการเสียภาษีมูลค่าเพิ่ม (Tax Point)
เป็นจุดเริ่มต้นของระยะเวลาที่ผู้ประกอบการ (กิจการ)
จะต้องบันทึกการรับรู้ภาษีมูลค่าเพิ่มที่เกิดขึ้นจากการดําเนินธุรกรรม
ของตน
21
ความรับผิดในการเสีย VAT
22
กรณี Tax Point Tax Base
1. การขายสินค้า และ
การรับเงินจอง เงินประกัน
เงินมัดจําล่วงหน้าจากการขาย
สินค้า
เมื่อส่งมอบสินค้าให้กับลูกค้า
เว้นแต่กรณีใดกรณีหนึ่งดังต่อไปนี้
เกิดขึ้นก่อนการส่งมอบสินค้า
-ได้โอนกรรมสิทธิ์สินค้า หรือ
- ได้รับชําระค่าสินค้า หรือ
- ได้ออกใบกํากับภาษี
มูลค่าสิ่งที่ได้รับหรือพึงได้รับจากการ
ขายสินค้า ไม่ว่าจะเป็นเงิน ทรัพย์สิน
ค่าตอบแทน ค่าบริการ หรือประโยชน์
ใด ๆ ที่คิดเป็นเงินได้ เว้นแต่
- ส่วนลดที่ให้ในขณะขายหรือ
ส่วนลดการค้า
- ค่าชดเชยหรือค่าอุดหนุนตาม
กฎหมาย
- ภาษีขาย
- ค่าตอบแทนอื่นตามที่
กฎหมายกําหนด
ความรับผิดในการเสีย VAT
23
กรณี Tax Point Tax Base
2. การขายสินค้าตามสัญญาให้เช่า
ซื้อหรือสัญญาซื้อขายผ่อนชําระที่
กรรมสิทธิ์ในสินค้ายังไม่โอนไปยัง
ผู้ซื้อเมื่อได้ส่งมอบ
เมื่อถึงกําหนดชําระราคาตามงวดที่
ถึงกําหนดชําระราคาในแต่ละงวด
เว้นแต่กรณีใดกรณีหนึ่งดังต่อไปนี้
เกิดขึ้นก่อนการส่งมอบสินค้า
- ได้รับชําระค่าสินค้า หรือ
- ได้ออกใบกํากับภาษี
มูลค่าสิ่งที่ได้รับหรือพึงได้รับจากการ
ขายสินค้า ไม่ว่าจะเป็นเงิน ทรัพย์สิน
ค่าตอบแทน ค่าบริการ หรือประโยชน์
ใด ๆ ที่คิดเป็นเงินได้ เว้นแต่
- ส่วนลดที่ให้ในขณะขายหรือ
ส่วนลดการค้า
- ค่าชดเชยหรือค่าอุดหนุนตาม
กฎหมาย
- ภาษีขาย
- ค่าตอบแทนอื่นตามที่
กฎหมายกําหนด
ความรับผิดในการเสีย VAT
24
กรณี Tax Point Tax Base
3. การขายสินค้าโดยมีการแต่งตั้ง
ตัวแทนเพื่อขายและได้ส่งมอบ
สิ น ค้ า ใ ห้ ตัว แ ท น แ ล้ ว ต า ม
หลักเกณฑ์ที่อธิบดีกําหนดโดย
อนุมัติรัฐมนตรี
เมื่อตัวแทนได้ส่งมอบสินค้าให้แก่ผู้
ซื้อ
เว้นแต่กรณีใดกรณีหนึ่งดังต่อไปนี้ที่
ตัวแทนได้กระทําก่อนการส่งมอบสินค้า
-ได้โอนกรรมสิทธิ์สินค้า หรือ
- ได้รับชําระค่าสินค้า หรือ
- ได้ออกใบกํากับภาษี หรือ
- ได้มีการนําสินค้าไปใช้
มูลค่าสิ่งที่ได้รับหรือพึงได้รับจากการ
ขายสินค้า ไม่ว่าจะเป็นเงิน ทรัพย์สิน
ค่าตอบแทน ค่าบริการ หรือประโยชน์
ใด ๆ ที่คิดเป็นเงินได้ เว้นแต่
- ส่วนลดที่ให้ในขณะขายหรือ
ส่วนลดการค้า
- ค่าชดเชยหรือค่าอุดหนุนตาม
กฎหมาย
- ภาษีขาย
- ค่าตอบแทนอื่นตามที่
กฎหมายกําหนด
ความรับผิดในการเสีย VAT
25
กรณี Tax Point Tax Base
4. การขายสินค้าโดยมีการส่งออก เมื่อชําระอากรขาออก หรือ
วันที่ได้มีการวางคํ้าประกันขาออก
แล้วแต่กรณี และหากเป็นกรณีที่ไม่
ต้องเสียหรือยกเว้นอากรขาออกให้
ความรับผิดเกิดขึ้นในวันที่มีการออก
ใบขนสินค้าตามกฎหมายว่าด้วย
ศุลกากร
มูลค่าสินค้าให้ใช้ฐาน FOB ของสินค้า
บวกภาษีสรรพาสามิต ค่าธรรมเนียม
พิเศษตามกฎหมายว่าด้วยการส่งเสริม
การลงทุน ภาษีและค่าธรรมเนียมอื่น
ๆ ตามที่กฎหมายกําหนด แต่ไม่รวม
อากรขาออก
ความรับผิดในการเสีย VAT
26
กรณี Tax Point Tax Base
5. การให้บริการ เมื่อได้รับชําระราคาค่าบริการ
เว้นแต่กรณีใดกรณีหนึ่งดังต่อไปนี้ที่ผู้
ให้บริการได้กระทําก่อน
- ได้ออกใบกํากับภาษี หรือ
- ได้มีการใช้บริการนั้นเอง
มูลค่าสิ่งที่ได้รับหรือพึงได้รับจากการ
ขายสินค้า ไม่ว่าจะเป็นเงิน ทรัพย์สิน
ค่าตอบแทน ค่าบริการ หรือประโยชน์
ใด ๆ ที่คิดเป็นเงินได้ เว้นแต่
- ส่วนลดที่ให้ในขณะขายหรือ
ส่วนลดการค้า
- ค่าชดเชยหรือค่าอุดหนุนตาม
กฎหมาย
- ภาษีขาย
- ค่าตอบแทนอื่นตามที่
กฎหมายกําหนด
ความรับผิดในการเสีย VAT
27
กรณี Tax Point Tax Base
6. การให้บริการตามสัญญาที่
กําหนดค่าตอบแทนตามส่วนของ
บริการที่ทํา
เมื่อได้รับชําระราคาค่าบริการตาม
ส่วนของบริการที่สิ้นสุดลง
เว้นแต่กรณีใดกรณีหนึ่งดังต่อไปนี้ที่ผู้
ให้บริการได้กระทําก่อน
- ได้ออกใบกํากับภาษี หรือ
- ได้มีการใช้บริการนั้นเอง
มูลค่าสิ่งที่ได้รับหรือพึงได้รับจากการ
ขายสินค้า ไม่ว่าจะเป็นเงิน ทรัพย์สิน
ค่าตอบแทน ค่าบริการ หรือประโยชน์
ใด ๆ ที่คิดเป็นเงินได้ เว้นแต่
- ส่วนลดที่ให้ในขณะขายหรือ
ส่วนลดการค้า
- ค่าชดเชยหรือค่าอุดหนุนตาม
กฎหมาย
- ภาษีขาย
- ค่าตอบแทนอื่นตามที่
กฎหมายกําหนด
ความรับผิดในการเสีย VAT
28
กรณี Tax Point Tax Base
7. การนําเข้าสินค้า เมื่อชําระอากรขาเข้า หรือ
วันที่ได้มีการวางคํ้าประกันขาเข้า
แล้วแต่กรณี และหากเป็นกรณีที่ไม่
ต้องเสียหรือยกเว้นอากรขาออกให้
ความรับผิดเกิดขึ้นในวันที่มีการออก
ใบขนสินค้าตามกฎหมายว่าด้วย
ศุลกากร
มูลค่าสินค้านําเข้าให้ใช้ฐาน CIF ของ
สินค้าบวกด้วยอากรขาเขา ภาษีสรรพา
สามิต ค่าธรรมเนียมพิเศษตาม
กฎหมายว่าด้วยการส่งเสริมการลงทุน
ภาษีและค่าธรรมเนียมอื่น ๆ ตามที่
กฎหมายกําหนด
ความรับผิดในการเสีย VAT
29
กรณี Tax Point Tax Base
8. กรณีพิเศษ
8.1 การขายกระแสไฟฟ้ า
นํ้าประปา หรือสินค้าที่มีลักษณะ
ทํานองเดียวกัน
เมื่อได้รับชําระราคาค่าสินค้า หรือ
ได้มีการออกใบกํากับภาษีก่อน
ได้รับชําระราคาสินค้า แล้วแต่กรณี
ทั้งนี้ให้ความรับผิดเกิดขึ้นตามส่วน
ของการกระทํา นั้น ๆ
มูลค่าสิ่งที่ได้รับหรือพึงได้รับจากการ
ขายสินค้า ไม่ว่าจะเป็นเงิน ทรัพย์สิน
ค่าตอบแทน ค่าบริการ หรือประโยชน์
ใด ๆ ที่คิดเป็นเงินได้ เว้นแต่
- ส่วนลดที่ให้ในขณะขายหรือ
ส่วนลดการค้า
- ค่าชดเชยหรือค่าอุดหนุนตาม
กฎหมาย
- ภาษีขาย
- ค่าตอบแทนอื่นตามที่
กฎหมายกําหนด
ความรับผิดในการเสีย VAT
30
กรณี Tax Point Tax Base
8. กรณีพิเศษ
8.2 การสินค้าที่ไม่มีรูป ร่าง เช่น
สิ ท ธิ ใ น สิ ท ธิ บัต ร กู๊ ด วิ ล ล์
เครื่องหมายการค้า ลิ ขสิ ทธิ์
สัมปทาน ค่าสิทธิ หรือสินค้าที่มี
ลักษณะทํานองเดียวกัน
เมื่อได้รับชําระราคาค่าสินค้า เว้น
แต่กรณีที่ได้มีการกระทําดังนี้เกิดก่อน
ได้รับชําระราคาสินค้า
-ได้โอนกรรมสิทธิ์สินค้า หรือ
- ได้ออกใบกํากับภาษี
ทั้งนี้ให้ความรับผิดเกิดขึ้นตามส่วน
ของการกระทํานั้น ๆ
มูลค่าของสิทธิในสิทธิบัตร กู๊ดวิลล์
เครื่องหมายการค้า ลิขสิทธิ์สัมปทาน
ค่าสิทธิ
ความรับผิดในการเสีย VAT
31
กรณี Tax Point Tax Base
8. กรณีพิเศษ
8.3 การขายสินค้าหรือการ
ให้บริการด้วยเครื่องอัตโนมัติโดย
ชําระราคาด้วยวิธีการหยอดเงิน
เหรียญ บัตร หรือด้วยวิธีการใน
ลักษณะทํานองเดียวกัน
เมื่อได้นําเงิน เหรียญ บัตร หรือสิ่ง
อื่นใดในลักษณะทํานองเดียวกัน
ออกจากเครื่องอัตโนมัติ
มูลค่าของเงิน เหรียญ บัตร หรือสิ่งอื่น
ใดในลักษณะทํานองเดียวกัน
ความรับผิดในการเสีย VAT
32
กรณี Tax Point Tax Base
9. กิจการที่ขายสินค้าโดยชําระด้วย
การใช้บัตรเครดิต หรือในลักษณะ
ทํานองเดียวกัน
เมื่อส่งมอบสินค้าให้กับลูกค้า
เว้นแต่กรณีใดกรณีหนึ่งดังต่อไปนี้
เกิดขึ้นก่อนการส่งมอบสินค้า
-ได้โอนกรรมสิทธิ์สินค้า หรือ
- ออกหลักฐานการใช้บัตรเครดิต
- ได้ออกใบกํากับภาษีแล้ว
มูลค่าสิ่งที่ได้รับหรือพึงได้รับจากการ
ขายสินค้า ไม่ว่าจะเป็นเงิน ทรัพย์สิน
ค่าตอบแทน ค่าบริการ หรือประโยชน์
ใด ๆ ที่คิดเป็นเงินได้ เว้นแต่
- ส่วนลดที่ให้ในขณะขายหรือ
ส่วนลดการค้า
- ค่าชดเชยหรือค่าอุดหนุนตาม
กฎหมาย
- ภาษีขาย
- ค่าตอบแทนอื่นตามที่
กฎหมายกําหนด
ความรับผิดในการเสีย VAT
33
กรณี Tax Point Tax Base
10. ผู้ประกอบการนําไปใช้เอง หรือ
ให้ผู้อื่นใช้
11. กรณี สิ นค้าขาดหายจาก
รายงานสินค้าและวัตถุดิบ
12. กรณีมีทรัพย์สินหรือสินค้า
คงเหลือเมื่อเลิกประกอบกิจการ
หรือได้รับคําสั่งถอนหรือแจ้งเพิก
ถอนการเป็นผู้ประกอบการ Vat
วันที่นําไปใช้ หรือ วันที่มอบให้ผู้อื่น
ไปใช้
วันที่ตรวจพบว่ามีสินค้าขาดหายไป
วันที่เลิกประกอบกิจการ หรือ
วันที่ได้รับคําสั่งถอน หรือ
วันที่แจ้งเพิกถอนทะเบียน Vat
ราคาตลาดของสินค้าที่นําไปใช้ หรือ
มอบให้ผู้อื่นไปใช้
ราคาตลาดของสินค้าที่ขาดหายนั้นๆ
มูลค่าของทรัพย์สินคงเหลือนั้น ๆ
ใบกํากับภาษี (Tax Invoice)
เป็นเอกสาร (หลักฐาน) สําคัญในระบบ VAT ที่ผู้ประกอบการ ต้อง
ออกให้แก่ผู้ซื้อสินค้าหรือผู้รับบริการในการขายสินค้าหรือให้บริการทันทีทุก
ครั้งที่ความรับผิดในการเสียภาษี VAT (Tax point) เกิดขึ้น โดยแสดงถึง
มูลค่าของสินค้าหรือบริการและจํานวนภาษีมูลค่าเพิ่มที่ผู้ประกอบการเรียก
เก็บหรือพึงเรียกเก็บ
ใบกํากับภาษี ยังรวมถึง ใบกํากับภาษีอย่างย่อ ใบเพิ่มหนี้ ใบลดหนี้
ใบเสร็จรับเงินที่ทางราชการออกให้ในการขายโดยวิธีอื่น ใบเสร็จรับเงิน
ของกรมสรรพากร ใบเสร็จรับเงินของกรมศุลกากรหรือกรมสรรพสามิต
เฉพาะส่วนที่เป็นภาษีมูลค่าเพิ่ม
34
ผู้ประกอบการจดทะเบียน Vat
ผู้ขาย ผู้ซื้อ
ออก ให้
ใบกํากับภาษี (Tax Invoice)
ถือเป็น ถือเป็น
ภาษีขาย ภาษีซื้อ
ของผู้ขาย ของผู้ซื้อ
35
รายการที่ต้องมีในใบกํากับภาษี
ใบกํากับภาษีจะเป็นภาษาไทย หน่วยเงินตราไทย เลขไทย เลขอารบิค หรือ
จัดทําเป็นภาษาอังกฤษทั้งฉบับหรือบางส่วน แต่ถ้าจะทําเป็นภาษาต่างประเทศอื่นที่
มิใช่ภาษาอังกฤษหรือหน่วยเงินตราต่างประเทศ จะต้องได้รับอนุมัติจากอธิบดี
กรมสรรพากร
ใบกํากับภาษีเต็มรูปแบบ ต้องมีรายการอย่างน้อย ดังนี้
1. คําว่า “ใบกํากับภาษี” ในที่ที่เห็นได้อย่างเด่นชัด
2. ชื่อ ที่อยู่ และเลขประจําตัวผู้เสียภาษีอากรของผู้ประกอบการจดทะเบียนที่ออกใบกํากับ
ภาษี หรือ ชื่อ ที่อยู่และเลขประจําตัวผู้เสียภาษีอากรของตัวแทน หรือผู้ทอดตลาดในกรณีที่ตัวแทน
หรือผู้ทอดตลาดเป็นผู้ออกใบกํากับภาษีในนามของผู้ประกอบการแทนผู้ประกอบการ
3. ชื่อ ที่อยู่ ของผู้ซื้อสินค้าหรือผู้รับบริการ
36
4. หมายเลขลําดับของใบกํากับภาษี และหมายเลขลําดับของเล่ม (ถ้ามี)
5. ชื่อ ชนิด ประเภท ปริมาณ และมูลค่าของสินค้าหรือบริการ ให้ระบุเฉพาะชื่อ ชนิด
ประเภทของสินค้าหรือบริการที่ต้องเสียภาษี VAT ในใบกํากับภาษีด้วย เว้นแต่ในกรณีที่มีความ
จําเป็นต้องระบุชื่อ ชนิด ประเภทของสินค้าหรือบริการที่ไม่ต้องเสียภาษี VAT ในใบกํากับภาษีด้วย
ให้กระทําได้โดยต้องจัดให้มีเครื่องหมายหรือแยกรายการแสดงให้เห็นชัดเจนว่าเป็นสินค้าหรือบริการ
ที่ไม่ต้องเสียภาษี VAT
6. มูลค่าของสินค้าหรือบริการที่ยังไม่รวมภาษี VAT และจํานวนภาษี VAT ที่คํานวณจากมูลค่า
ของสินค้าหรือบริการ โดยให้แยกออกจากมูลค่าของสินค้าหรือบริการ ให้ชัดเจน
7. วัน เดือน ปี ที่ออกใบกํากับภาษี ใช้ตัวเลขแทนการระบุชื่อเดือนก็ได้และใช้พุทธศักราชหรือ
คริสต์ศักราชก็ได้
37
8. ข้อความอื่นที่อธิบดีกําหนด (ประกาศอธิบดีฯ เกี่ยวกับ VAT #๓๙) ดังนี้
ก. กรณีจัดทําใบกํากับภาษีร่วมกับเอกสารอื่น เช่น ใบเสร็จรับเงิน ใบส่งของ ใบแจ้งหนี้ซึ่งมี
หลายฉบับในชุดเดียวกัน เพื่อออกให้กับลูกค้าที่ขายเชื่อและลูกค้าที่จ่ายเงินล่วงหน้า จะต้องมี
ข้อความว่า “เอกสารออกเป็นชุด” ในเอกสารทุกฉบับที่ออกเป็นชุดเดียวกัน
- เอกสารฉบับแรกของเอกสารชุดดังกล่าว หรือเอกสารที่เป็นต้นแบบของเอกสารอื่นใดก็
ตามที่มิใช่ใบกํากับภาษีต้องมีข้อความว่า “ไม่ใช่ใบกํากับภาษี” ไว้ในเอกสารฉบับนั้นด้วย
- เอกสารฉบับที่ถือเป็นสําเนาของเอกสารฉบับอื่นต้องมีคําว่า “สําเนา..........” ในฉบับที่
สําเนาของเอกสารนั้น ๆ ทุกฉบับด้วย
ข. กรณีที่ผู้ประกอบการจดทะเบียน มีสถานประกอบการหลายแห่ง สถานประกอบการที่ใช้
ใบกํากับภาษีที่สํานักงานใหญ่จัดทํา ต้องมีข้อความว่า “สาขาที่ออกใบกํากับภาษี คือ........”
ค. กรณีที่เป็นสถานีบริการนํ้ามัน (ปั๊มนํ้ามัน) ซึ่งจะต้องออกใบกํากับภาษีให้กับผู้ประกอบการ
จดทะเบียนรายอื่น จะต้องระบุเลขทะเบียนรถยนต์ไว้ในใบกํากับภาษีด้วย
38
39
40
ถือว่าเป็นใบกํากับภาษีด้วยเช่นกัน โดยให้นําไปคํานวณลดภาษีขายในรายงานภาษีขาย
ในเดือนที่ออกใบลดหนี้สําหรับผู้ออกใบลดหนี้ ส่วนผู้รับใบลดหนี้ให้นําไปลดภาษีซื้อในรายงานภาษี
ซื้อในเดือนที่รับใบลดหนี้ต้องมีรายการอย่างน้อย โดยต้องมีรายการอย่างน้อยดังต่อไปนี้
1. คําว่า “ใบลดหนี้” ในที่ที่เห็นได้เด่นชัด
2. ชื่อ ที่อยู่ และเลขประจําตัวผู้เสียภาษีอากรของผู้ประกอบการจดทะเบียนที่ออกใบลดหนี้
ในกรณีตัวแทนเป็นผู้ออกใบลดหนี้ในนามผู้ประกอบการจดทะเบียน ให้ระบุชื่อ ที่อยู่
และเลขประจําตัวผู้เสียภาษีอากรของตัวแทนนั้น
3. ชื่อ ที่อยู่ ของผู้ซื้อสินค้าหรือผู้รับบริการ และเลขประจําตัวผู้เสียภาษี (เพิ่มเมื่อ 1 ม.ค.58)
4. วัน เดือน ปี ที่ออกใบลดหนี้
41
5. หมายเลขลําดับของใบกํากับภาษีเดิม รวมทั้งหมายเลขลําดับของเล่ม (ถ้ามี) มูลค่าของสินค้า
หรือบริการที่แสดงไว้ในใบกํากับภาษีดังกล่าว มูลค่าที่ถูกต้องของสินค้าหรือบริการผลต่างของ
จํานวนมูลค่าทั้งสอง และจํานวนภาษีที่เรียกเก็บเพิ่มสําหรับส่วนต่างนั้น
6. คําอธิบายสั้น ๆ ถึงสาเหตุในการออกใบลดหนี้ ซึ่งจะจัดทําด้วยระบบคอมพิวเตอร์ ประทับตรา
ยาง เขียนด้วยหมึก พิมพ์ดีด หรือวิธีอื่นใดก็ได้
7. ข้อความอื่นที่อธิบดีกรมสรรพากรกําหนด
8. ใบลดหนี้ 1 ฉบับ จะอ้างถึงใบกํากับภาษีเดิมมากกว่า 1 ฉบับก็ได้ และใช้เอกสารแนบใบลดหนี้
อ้างถึงในกํากับภาษีเป็นรายใบกํากับภาษีก็ได้
42
เหตุในการออกใบลดหนี้ได้ (ตามที่อธิบดีกรมสรรพากรอนุญาต) :
มาตรา ๘๒/๑๐ ในกรณีที่ผู้ประกอบการจดทะเบียนขายสินค้าหรือให้บริการและได้นําภาษีขายไปรวม
คํานวณ เพื่อเสียภาษีมูลค่าเพิ่มตามมาตรา ๘๒/๓ แล้ว ต่อมาหากมีเหตุการณ์ อย่างหนึ่งอย่างใดดังต่อไปนี้เกิดขึ้น อันเป็น
เหตุให้ภาษีขาย ที่คํานวณจากมูลค่าของสินค้า หรือบริการมีจํานวนลดลงไม่ว่าทั้งหมด หรือบางส่วน ให้ผู้ประกอบการจด
ทะเบียนดังกล่าว นําภาษีขายที่คํานวณจากมูลค่าของสินค้า หรือบริการที่ลดลงนั้นมาหักออกจากภาษีขายของตนในเดือน
ภาษีที่ได้ออกใบลดหนี้ตามมาตรา ๘๒/๑๐
(1) มีการลดราคาสินค้าที่ขายเนื่องจากสินค้าผิดข้อกําหนดที่ตกลงกันสินค้าชํารุดเสียหายหรือขาด
จํานวน คํานวณราคาสินค้าผิดพลาดสูง กว่าที่เป็นจริงหรือเนื่องจากเหตุอื่นตามที่อธิบดีกําหนด
(2) มีการลดราคาค่าบริการเนื่องจากการให้บริการผิดข้อกําหนดที่ตกลงกัน บริการขาดจํานวน
คํานวณราคาค่าบริการ ผิดพลาดสูงกว่าที่เป็นจริง หรือเนื่องจากเหตุอื่นตามที่อธิบดีกําหนด
(3) ได้รับสินค้าที่ขายกลับคืนมาเนื่องจากสินค้าชํารุดบกพร่อง ไม่ตรงตามตัวอย่าง ไม่ตรงตามคํา
พรรณนา หรือเนื่องจากเหตุอื่นตามที่อธิบดีกําหนด
(4) มีการบอกเลิกสัญญาบริการเนื่องจากเหตุและตามเงื่อนไขที่อธิบดีกําหนด
ให้ผู้ประกอบการจดทะเบียนที่ได้รับใบลดหนี้นําภาษีมูลค่าเพิ่มที่ปรากฏตามใบลดหนี้ดังกล่าว มา
หักออกจากภาษีซื้อของตนในเดือนภาษีที่ได้รับใบลดหนี้นั้น
43
44
ถือว่าเป็นใบกํากับภาษีด้วยเช่นกัน โดยให้นําไปคํานวณเป็นภาษีขายในรายงานภาษีขาย
ในเดือนที่ออกใบเพิ่มหนี้สําหรับผู้ออกใบเพิ่มหนี้ ส่วนผู้รับใบเพิ่มหนี้ให้ถือเป็นภาษีซื้อในรายงาน
ภาษีซื้อในเดือนที่รับใบเพิ่มหนี้ โดยต้องมีรายการอย่างน้อย ดังต่อไปนี้
1. คําว่า “ใบเพิ่มหนี้” ในที่ที่เห็นได้เด่นชัด
2. ชื่อ ที่อยู่ และเลขประจําตัวผู้เสียภาษีอากรของผู้ประกอบการจดทะเบียนที่ออกใบลดหนี้
ในกรณีตัวแทนเป็นผู้ออกใบลดหนี้ในนามผู้ประกอบการจดทะเบียน ให้ระบุชื่อ ที่อยู่
และเลขประจําตัวผู้เสียภาษีอากรของตัวแทนนั้น
3. ชื่อ ที่อยู่ ของผู้ซื้อสินค้าหรือผู้รับบริการ และเลขประจําตัวผู้เสียภาษี (เพิ่มเมื่อ 1 ม.ค.58)
4. วัน เดือน ปี ที่ออกใบลดหนี้
45
5. หมายเลขลําดับของใบกํากับภาษีเดิม รวมทั้งหมายเลขลําดับของเล่ม (ถ้ามี) มูลค่าของสินค้า
หรือบริการที่แสดงไว้ในใบกํากับภาษีดังกล่าว มูลค่าที่ถูกต้องของสินค้าหรือบริการผลต่างของ
จํานวนมูลค่าทั้งสอง และจํานวนภาษีที่เรียกเก็บเพิ่มสําหรับส่วนต่างนั้น
6. คําอธิบายสั้น ๆ ถึงสาเหตุในการออกใบเพิ่มหนี้ ซึ่งจะจัดทําด้วยระบบคอมพิวเตอร์ ประทับตรา
ยาง เขียนด้วยหมึก พิมพ์ดีด หรือวิธีอื่นใดก็ได้
7. ข้อความอื่นที่อธิบดีกรมสรรพากรกําหนด
8. ใบเพิ่มหนี้ 1 ฉบับ จะอ้างถึงใบกํากับภาษีเดิมมากกว่า 1 ฉบับก็ได้ และใช้เอกสารแนบใบเพิ่ม
หนี้อ้างถึงในกํากับภาษีเป็นรายใบกํากับภาษีก็ได้
46
เหตุในการออกใบเพิ่มหนี้ได้ (ตามที่อธิบดีกรมสรรพากรอนุญาต) :
มาตรา ๘๒/๙ ในกรณีที่ผู้ประกอบการจดทะเบียนขายสินค้าหรือให้บริการและได้นําภาษีขายไป
รวมคํานวณ เพื่อเสียภาษีมูลค่าเพิ่มตามมาตรา ๘๒/๓ แล้ว ต่อมาหากมีเหตุการณ์อย่างหนึ่งอย่างใด
ดังต่อไปนี้ เกิดขึ้นอันเป็นเหตุให้ภาษีขายที่คํานวณจากมูลค่าของสินค้า หรือบริการมีจํานวนเพิ่มขึ้น
ไม่ว่าทั้งหมด หรือบางส่วน ให้ผู้ประกอบการจดทะเบียนดังกล่าวนําภาษีขายที่คํานวณจากมูลค่าของ
สินค้า หรือบริการที่เพิ่มขึ้นนั้น มารวมในการคํานวณภาษีมูลค่าเพิ่มโดยให้ถือเป็นภาษีขายของตนใน
เดือนภาษีที่ได้ออกใบเพิ่มหนี้ตามมาตรา ๘๖/๙
(1) มีการเพิ่มราคาสินค้าที่ขายเนื่องจากสินค้าเกินกว่าจํานวนที่ตกลงซื้อขายกัน คํานวณราคาสินค้า
ผิดพลาดตํ่ากว่าที่เป็นจริง หรือเนื่องจากเหตุอื่นตามที่อธิบดีกําหนด
(2) มีการเพิ่มราคาค่าบริการเนื่องจากให้บริการเกินกว่าข้อกําหนดที่ตกลงกัน คํานวณราคา
ค่าบริการผิดพลาดตํ่ากว่าที่เป็นจริง หรือเนื่องจากเหตุอื่นตามที่อธิบดีกําหนด
ให้ผู้ประกอบการจดทะเบียนที่ได้รับใบเพิ่มหนี้ นําภาษีมูลค่าเพิ่มที่ปรากฏตามใบเพิ่มหนี้ดังกล่าว มา
หักออกในการคํานวณภาษีมูลค่าเพิ่ม โดยให้ถือเป็นภาษีซื้อของตนในเดือนภาษีที่ได้รับใบเพิ่มหนี้นั้น
47
48
การจัดทําใบกํากับภาษี
1. คําว่า “ใบกํากับภาษี” รวมทั้งชื่อ ที่อยู่ เลขประจําตัวผู้เสียภาษีอากรของผู้ออกใบกํากับภาษี
ต้องตีพิมพ์จากโรงพิมพ์ หรือต้องพิมพ์ด้วยระบบคอมพิวเตอร์ทั้งฉบับ
2. ห้ามแก้ไข เปลี่ยนแปลงใบกํากับภาษี
3. ผู้ออกใบกํากับภาษี ต้องส่งต้นฉบับให้กับผู้ซื้อ และเก็บสําเนาไว้
4. ในกรณีที่ยกเลิกใบกํากับภาษีที่ได้ออกไปแล้ว ให้ผู้ออกประทับตรา หรือขีดฆ่ายกเลิก และ
เก็บรวมกับสําเนาฉบับเดิมไว้ แล้วจึงออกใบกํากับภาษีฉบับใหม่ โดยลงวันเดือนปีให้ตรง
กับใบเดิมที่ยกเลิก และให้หมายเหตุไว้ในฉบับใหม่นี้ด้วยว่า “เป็นการยกเลิกและออกใบ
กํากับภาษีฉบับใหม่แทนฉบับเดิมเลขที่ .... เล่มที่..... (ถ้ามี)” และต้องหมายเหตุการยกเลิก
ไว้ในรายงานภาษีขายประจําเดือนที่ออกใบกํากับภาษีฉบับใหม่แทนด้วย
5. ผู้ที่ได้รับใบกํากับภาษีฉบับใหม่แทนฉบับเดิมที่ถูกยกเลิก ให้ถ่ายสําเนาใบกํากับภาษีฉบับ
เก่าเก็บไว้และส่งต้นฉบับคืนให้กับผู้ออกใบกํากับภาษี
49
การจัดทําใบกํากับภาษี (ต่อ)
6. ในกรณีที่ใบกํากับภาษี ใบเพิ่มหนี้ ใบลดหนี้ สูญหาย ถูกทําลาย หรือชํารุดในส่วนสําคัญ
ให้ถ่ายเอกสารใบกํากับภาษีเหล่านั้น แล้วบันทึกรายการต่อไปนี้
- ออกใบแทน ออกให้ครั้งที่
- วันเดือนปี ที่อออกใบแทน
- อธิบายอย่างย่อ ๆ ถึงสาเหตุการออกใบแทน
- ลายมือชื่อผู้ออกใบแทน ให้ผู้ออกใบแทนบันทึกรายการการออกใบแทนใน
รายงานภาษีขายในเดือนที่มีการออกใบแทน โดยระบุชื่อผู้ชื่อ เลขที่ เล่มที่ (ถ้ามี)
วันที่ออกใบกํากับภาษี ใบเพิ่มหนี้ ใบลดหนี้ ที่ได้มีการออกใบแทน
- ผู้ออกใบแทนฯ ต้องบันทึกรายการออกใบแทนในรายงานภาษีขาย
50
การออกใบกํากับภาษีของสํานักงานสาขา
ให้สาขาของผู้ประกอบการแต่ละสาขา จัดทําและออกใบกํากับภาษีเอง โดยสาขาดังกล่าว
จะต้องมีลักษณะเป็นสถานประกอบการ ซึ่งใช้ประกอบกิจการเป็นประจํา หรือเป็นสถานที่ที่ใช้
ผลิตหรือเก็บสินค้าเป็นประจําด้วย โดยสถานประกอบการนั้นจะใช้ที่อยู่อาศัยของ
ผู้ประกอบการก็ได้ แต่ถ้าสถานประกอบของสาขาอยู่ในระหว่างการดําเนินงานก่อสร้างอยู่ ก็
สามารถให้สํานักงานใหญ่เป็นผู้ออกใบกํากับภาษีแทนก่อนได้แต่ต้องระบุที่อยู่ตามที่ตั้งของ
สํานักงาน สาขา
ให้สาขาของผู้ประกอบการแต่ละสาขา ต้องระบุคําว่า “สาขาที่ออกใบกํากับภาษี คือ....” ใน
กรณีที่นําใบกํากับภาษีระบุที่อยู่ของสํานักงานใหญ่ไปส่งมอบให้กับผู้ซื้อสินค้าหรือรับบริการ
ทุกครั้งที่ความรับผิดใน VAT เกิดขึ้น โดยข้อความดังกล่าวจะตีพิมพ์ จัดทําด้วยระบบ
คอมพิวเตอร์ ประทับตรายาง เขียนด้วยหมึก พิมพ์ดีด หรือวิธีอื่นใดก็ได้
51
การออกใบกํากับภาษีของสํานักงานสาขา (ต่อ)
ในกรณีสํานักงานใหญ่จัดทําใบกํากับภาษีด้วยระบบคอมพิวเตอร์ ณ สํานักงานใหญ่ แต่
สาขาเป็นผู้สั่งพิมพ์และส่งมอบให้ลูกค้า ถือว่าสํานักงานใหญ่เป็นผู้ออกใบกํากับภาษี ไม่ต้อง
ระบุคําว่า “สาขาที่ออกใบกํากับภาษีคือ....”
ในกรณีที่สถานประกอบการสาขาได้แจ้งปิด (ต้องแจ้งการปิดภายใน 15 วันนับจากวันที่
ปิดสถานประกอบการสาขานั้น) ได้รับใบกํากับภาษีที่ระบุที่อยู่ของสาขาที่ปิดนั้น ให้ปฏิบัติ
ดังนี้
- ใบกํากับภาษีสําหรับการซื้อสินค้าหรือรับบริการก่อนการแจ้งปิด ให้นําไปเป็นภาษี
ซื้อของสํานักงานใหญ่ หรือสํานักงานสาขาอื่นที่กําลังดําเนินงานอยู่
- ใบกํากับภาษีสําหรับการซื้อสินค้าหรือรับบริการหลังการแจ้งปิด ไม่มีสิทธินําไป
เป็นภาษีซื้อได้ (แต่สามารถนําไปบันทึกบัญชีเป็นค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวข้องกับการนั้น ๆ
ได้)
52
ผู้ประกอบการจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่มมีหน้าที่จัดทํารายงานเกี่ยวกับ
ภาษีมูลค่าเพิ่ม ดังนี้ คือ
1. รายงานภาษีขาย
เป็นรายงานที่สรุปจํานวนภาษีขายของกิจการที่ได้เรียกเก็บ หรือพึงเรียกเก็บจาก
ลูกค้าในแต่ละเดือนภาษี โดยถือตามวันที่ออกในใบกํากับภาษีที่จัดทําให้ลูกค้า ภาษีขาย
ที่เกิดขึ้นในเดือนใดให้ถือเป็นภาษีขายของเดือนนั้น
2. รายงานภาษีซื้อ
เป็นรายงานที่สรุปจํานวนภาษีซื้อของกิจการที่ถูกผู้ประกอบการจดทะเบียนVAT
รายอื่นเรียกเก็บหรือพึงเรียกเก็บในแต่ละเดือนภาษี โดยถือตามวันที่ออกในใบกํากับภาษี
ที่ได้รับมาจากผู้ขายภาษีซื้อที่เกิดขึ้นในเดือนใดให้ถือว่าเป็นภาษีซื้อของเดือนนั้น
3. รายงานสินค้าและวัตถุดิบ (เฉพาะกิจการขายสินค้า)
เป็นรายงานแสดงปริมาณสินค้าและวัตถุดิบที่มีอยู่ ได้มา และจําหน่ายไปที่เกิด
จากการขายหรือการผลิต
53
รายงานสินค้าและวัตถุดิบ (เฉพาะกิจการขายสินค้า)
สําหรับผู้ผลิต ผู้นําเข้า และผู้ส่งออก ที่จัดทําบัญชีสินค้าซึ่งอยู่ในครอบครองตามพ.ร.บ.
บัญชีแล้วนั้น ให้ถือว่าบัญชีดังกล่าวเป็นรายงานสินค้าและวัตถุดิบตาม VAT ได้
ส่วนผู้ประกอบการ VATที่เป็นบุคคลธรรมดาให้จัดทําเฉพาะบัญชีการตรวจนับสินค้า
คงเหลือ ณ วันสิ้นปี ๆ ละครั้งเดียวเท่านั้น และให้ถือว่าบัญชีดังกล่าวเป็นรายงานสินค้าและวัตถุดิบ
สําหรับตัวแทนผู้รับฝากขาย ต้องจัดทํารายงานสินค้าและวัตถุดิบที่รับฝากขาย แยก
ต่างหากจากรายงานสินค้าและวัตถุดิบของตน
ส่วนผู้ประกอบการที่ขายสินค้า หรือบริการ โดยมีการรับประกันสินค้า หรือบริการที่มีการ
ชํารุดบกพร่อง ให้จัดทํารายงานการเปลี่ยนอะไหล่ หรือการซ่อมแซม เพิ่มเติมขึ้นมาอีกหนึ่งรายงาน
และต้องรายงานตามแบบที่อธิบดีกรมสรรพากรกําหนดไว้
54
55
ประจําเดือน เมษายน พ.ศ.25XX เลขประจําตัวผู้เสียภาษี 3100xxxxxxxxx
ชื่อผู้ประกอบการ บริษัท โรงงานอุตสาหกรรมเงาะกระป๋อง จํากัด
ชื่อสถานประกอบการ บริษัท โรงงานอุตสาหกรรมเงาะกระป๋อง จํากัด
เลขประจําตัว มูลค่าสินค้า จํานวนเงิน
ว.ด.ป. เลขที่ ผู้เสียภาษี หรือบริการ ภาษีมูลค่าเพิ่ม
1 1-เม.ย. 401 บจก. XXXX1 3100xxxxxx 6,000,000.00 420,000.00
2 17-เม.ย. 402 บจก. XXXX2 3100xxxxxx 8,000,000.00 560,000.00
3 29-เม.ย. 403 บจก. โรงงานอุตสาหกรรมเงาะกระป๋อง 3100xxxxxx 600,000.00 42,000.00
4 30-เม.ย. 404 บจก. โรงงานอุตสาหกรรมเงาะกระป๋อง 3100xxxxxx 1,000,000.00 70,000.00
5
6
15,600,000.00 1,092,000.00
ลําดับที่ ชื่อผู้ซื้อสินค้า/ผู้รับบริการ
ใบกํากับภาษี
รายงานภาษีขาย
รวมทั้งสิ้น
56
ประจําเดือน เมษายน พ.ศ.25XX เลขประจําตัวผู้เสียภาษี 3100xxxxxxxxx
ชื่อผู้ประกอบการ บริษัท โรงงานอุตสาหกรรมเงาะกระป๋อง จํากัด
ชื่อสถานประกอบการ บริษัท โรงงานอุตสาหกรรมเงาะกระป๋อง จํากัด
ลําดับที่ เลขประจําตัว มูลค่าสินค้า จํานวนเงิน
ว.ด.ป. เลขที่ ผู้เสียภาษี หรือบริการ ภาษีมูลค่าเพิ่ม
1 18-เม.ย. xxxx บจก. YYYY1 3100xxxxxx 2,800,000.00 196,000.00
2 21-เม.ย. xxxx บจก. นํ้ามัน 3100xxxxxx 1,500,000.00 105,000.00
3 25-เม.ย. xxxx บจก. นํ้ามัน 3100xxxxxx -425,000.00 -29,750.00
4 27-เม.ย. xxxx บจก. สมัยซิเคียวริตี้ 3100xxxxxx 475,000.00 33,250.00
5 30-เม.ย. xxxx บจก. ท่องเที่ยวทั่วไป 3100xxxxxx 1,300,000.00 91,000.00
5,650,000.00 395,500.00รวมทั้งสิ้น
รายงานภาษีซื้อ
ใบกํากับภาษี ชื่อผู้ขายสินค้า/ผู้ให้บริการ
การลงรายงานและการจัดเก็บรายงานภาษีมูลค่า (Vat Report)
1. ให้เขียนด้วยหมึก หรือพิมพ์ดีด หรือตีพิมพ์ และจะลงเป็นภาษาไทย หรือภาษาอังกฤษก็ได้
2. การลงรายงานเป็นรหัสด้วยเครื่องจักรทําบัญชี ต้องส่งคําแปลรหัสที่เป็นภาษาไทยต่ออธิบดี
กรมสรรพากร และถ้าลงรายงานด้วยระบบคอมพิวเตอร์ โดยซอฟแวร์ ระบบคอมพิวเตอร์
และซอฟแวร์ดังกล่าวต้องเป็นไปตามมาตรฐานที่กรมสรรพากรกําหนด
3. ต้องลงรายการในรายงานให้เสร็จภายใน 3 วันทําการนับแต่วันที่รายการดังกล่าวเกิดขึ้น
4. ถ้าทํารายงานด้วยคอมพิวเตอร์ ต้องพิมพ์รายงานทุกวัน
5. จัดทําและเก็บรายงานแยกตามรายสถานประกอบการของผู้ประกอบการ VAT เป็นเวลาไม่
น้อยกว่า 5 ปีนับแต่วันที่ต้องจัดทํารายงาน
6. เมื่อเลิกประกอบกิจการ จะต้องเก็บรักษารายงานต่อไปไม่น้อยกว่า 2 ปี นับแต่วันเลิก
57
ผู้ประกอบการต้องคํานวณและยื่นเสียภาษีมูลค่าเพิ่มทุกเดือน โดยนําจํานวน
ภาษีขายและภาษีซื้อที่เกิดขึ้นทั้งหมดในแต่ละเดือน (จากการบันทึกในรายงานภาษีขาย
และรายงานภาษีซื้อ) มาหักลบกันเพื่อคํานวณหาจํานวนผลต่างว่าเป็นเท่าใดและให้ยื่น
แบบนําส่งภาษีมูลค่าเพิ่ม (ภ.พ.30) เป็นรายเดือนภาษีตั้งแต่วันที่ 1 -15 ของเดือนภาษี
ถัดไป ไม่ว่าจะมีรายรับจากการขายสินค้าหรือให้บริการเกิดขึ้นหรือไม่ก็ตาม
ถ้าจํานวนผลต่างนั้นเป็นบวก (ภาษีขาย > ภาษีซื้อ) ผู้ประกอบการจะ ต้องชําระ
ค่าภาษี ให้แก่กรมสรรพากร
ถ้าจํานวนผลต่างนั้นเป็นลบ (ภาษีขาย < ภาษีซื้อ) ผู้ประกอบการก็มีสิทธิ เลือกที่
จะขอคืนหรือยกยอดไปเป็นเครดิตภาษีมูลค่าเพิ่มไว้ใช้คํานวณในเดือนภาษีถัดไปได้
58
ภาษีมูลค่าเพิ่มที่ต้องชําระ = ภาษีขาย - ภาษีซื้อ
การใช้ใบกํากับภาษีซื้อลงในรายงานภาษี VAT ไม่ตรงกับเดือนที่ใบกํากับภาษีนั้นออก
ก. กรณีที่ผู้ประกอบการไม่ได้ยื่นภาษีซื้อให้ถูกต้องตามเดือนที่เกิดรายการ โดยมีเหตุจําเป็น
ก็สามารถยื่นได้ (ลงในรายงานภาษีซื้อ) ในเดือนภาษีถัดไป แต่ต้องไม่เกิน 6 เดือนนับแต่
เดือนถัดจากเดือนที่ออกใบกํากับภาษี เหตุจําเป็นดังกล่าว ประกอบด้วย คือ
1. เหตุจําเป็นซึ่งเกิดขึ้นตามประเพณีการค้า
2. เหตุสุดวิสัย
3. ได้รับใบกํากับภาษีในเดือนภาษีอื่นที่มิใช่เดือนภาษีที่ระบุไว้ในใบกํากับภาษี
ผู้ประกอบการต้องระบุข้อความว่า “ถือเป็นภาษีซื้อในเดือนภาษี..........” ไว้ใน
ใบกํากับภาษีที่ยื่นไม่ตรงเดือน โดยจะตีพิมพ์ จะจัดทําขึ้นด้วยระบบคอมพิวเตอร์ จะ
ประทับตรายาง จะเขียนด้วยหมึก จะพิมพ์ดีด หรือวิธีอื่นทํานองเดียวกันได้
59
(1) ภ.พ. 30 ใช้สําหรับผู้ประกอบการจดทะเบียน (รวมทั้งผู้ประกอบการจดทะเบียนที่เป็นผู้
ส่งออกที่ต้องเสีย vat ในอัตราร้อยละ 0) โดยคํานวณจากภาษีขายหักด้วยภาษีซื้อในแต่ละเดือนภาษี
ภาษีมูลค่าเพิ่มที่ต้องชําระหรือขอคืนในเดือนภาษีใดให้ยื่นแบบฯ ภายในวันที่15 ของเดือนภาษีถัดไป
ไม่ว่าจะมีการขายสินค้าหรือให้บริการใดเดือนภาษีนั้นหรือไม่ก็ตาม
ในกรณีที่มีหลายสถานประกอบการสาขา ให้แยกยื่นแบบ ภ.พ. 30 เป็นรายสถาน
ประกอบการ เว้นแต่จะขออนุมัติจากอธิบดีฯ เพื่อยื่นแบบรวมกัน ณ สถานประกอบการแห่งใดแห่ง
หนึ่ง ตามแบบ ภ.พ. 02 และเมื่อได้รับอนุมัติแล้วให้ถือปฏิบัติตั้งแต่เดือนภาษีที่ได้รับอนุมัตินั้น
(2) แบบใบขนสินค้าขาเข้า ใช้สําหรับผู้นําเข้าที่มีหน้าที่เสียภาษีมูลค่าเพิ่ม ทั้งที่เป็น
ผู้ประกอบการจดทะเบียนและผู้นําเข้าอื่น ๆ โดยยื่นใบขนสินค้าขาเข้าพร้อมชําระภาษีมูลค่าเพิ่ม
พร้อมกับการชําระอากรขาเข้าตามกฎหมายว่าด้วยศุลกากร ณ ด่านศุลกากรเมื่อมีการนําเข้าสินค้า
60
(3) ภ.พ. 36 ใช้สําหรับผู้มีหน้าที่นําส่งภาษีมูลค่าเพิ่มที่จ่ายเงินค่าซื้อสินค้าหรือให้บริการให้แก่
- ผู้ประกอบการที่อยู่นอกราชอาณาจักร ซึ่งได้เข้ามาประกอบกิจการขายสินค้าหรือให้บริการใน
ราชอาณาจักรเป็นการชั่วคราว และไม่ได้จดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่มเป็นการชั่วคราว หรือ
- ผู้ประกอบการที่ได้ให้บริการในต่างประเทศและได้มีการใช้บริการนั้นในราชอาณาจักร
- ผู้ทอดตลาดซึ่งขายทรัพย์สินของผู้ประกอบการจดทะเบียน
โดยให้ยื่นแบบฯ ภายในวันที่7 วันนับแต่วันสิ้นเดือนของเดือนที่จ่ายเงินหรือรับเงินจากการ
ขายทอดตลาดแล้วแต่กรณี
- ผู้รับโอนสินค้าหรือรับโอนสิทธิในบริการที่ได้เสียภาษีมูลค่าเพิ่มไปแล้วในอัตราร้อยละ 0
โดยให้ยื่นแบบฯ ภายในวันที่7 วันนับแต่วันสิ้นเดือนที่ครบกําหนด 30 วันที่ความรับผิดใน
การเสียภาษีมูลค่าเพิ่มเกิดขึ้น
61
62
ภาษีซื้อต้องห้าม (Non-Refundable input tax)
ภาษีซื้อต้องห้าม เป็นภาษีซื้อที่กฎหมายไม่อนุญาตให้ผู้ประกอบการนํามาใช้ใน
การคํานวณภาษีหรือขอคืนในการคํานวณภาษีมูลค่าเพิ่มประจําเดือนภาษี เช่น
1. ไม่มีใบกํากับภาษี หรือไม่อาจแสดงใบกํากับภาษีได้ว่ามีการชําระภาษีซื้อ
เว้นแต่เหตุวิสัย
2. ใบกํากับภาษีนั้นมีข้อความไม่ถูกต้อง หรือไม่สมบูรณ์ในส่วนสาระสําคัญ
ตามที่อธิบดีฯ กําหนด
3. ภาษีซื้อที่ไม่เกี่ยวข้องโดยตรงกับการประกอบกิจการของผู้ประกอบการ
4. ภาษีซื้อที่เกิดจากค่ารับรอง หรือเพื่อการอันมีลักษณะเช่นนั้น
5. ภาษีซื้อตามใบกํากับภาษีซึ่งออกโดยผู้ไม่มีสิทธิออกใบกํากับภาษี
6. ภาษีซื้อต้องห้ามตามที่อธิบดีกําหนดประกาศ (VAT ฉบับที่ 42)
63
ภาษีซื้อต้องห้าม (Non-Refundable input tax)
ภาษีซื้อต้องห้าม ดังกล่าวข้างต้น ทางบัญชีการเงินบันทึกเป็น
ค่าใช้จ่ายในการดําเนินงานได้หมดถ้ามีหลักฐานครบถ้วน แต่ทาง
บัญชีภาษีอากรนั้นจะถือว่าเป็นรายจ่ายทางภาษีได้หรือไม่ต้อง
พิจารณาเป็นกรณี ๆ ไป ภาษีซื้อต้องห้ามรายการใดที่ไม่สามารถ
นําไปหักเป็นรายจ่ายทางภาษีได้หมายว่าเป็นค่าใช้จ่ายต้องห้ามที่
ผู้ประกอบการไม่สามารถนําไปใช้ในการคํานวณภาษีเงินได้ตอนสิ้นปี
บัญชีการเงิน เป็นรายงานเพื่อแสดงฐานะการเงิน ผลการดําเนินงาน ของกิจการ
บัญชีภาษีอากร อิงตามประมวลรัษฎากร (ที่นําบัญชีการเงิน มาปรับใช้) เพื่อเสียภาษี
อากรให้แก่รัฐ
64
65
66
67
Finish...Ha!
68

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

AA211 hospitaliti dan pelancongan dalam Islam
AA211   hospitaliti dan pelancongan dalam IslamAA211   hospitaliti dan pelancongan dalam Islam
AA211 hospitaliti dan pelancongan dalam IslamAs Nuurien Najma
 
Overview of the iso 9001:2015
Overview of the iso 9001:2015Overview of the iso 9001:2015
Overview of the iso 9001:2015Enrique Biton
 
ABCat Cafe & Studio (ENT530 - Business Plan)
ABCat Cafe & Studio (ENT530 - Business Plan)ABCat Cafe & Studio (ENT530 - Business Plan)
ABCat Cafe & Studio (ENT530 - Business Plan)HarithDaniel9
 
Eeoqms management review
Eeoqms management reviewEeoqms management review
Eeoqms management reviewhardeep singh
 
POLC Frame Work of Coca Cola Presentaion (MAS after PGDPA)
POLC Frame Work of Coca Cola Presentaion (MAS after PGDPA)POLC Frame Work of Coca Cola Presentaion (MAS after PGDPA)
POLC Frame Work of Coca Cola Presentaion (MAS after PGDPA)Muhammad Asif Khan Awan
 
Importance of halal certification
Importance of halal certificationImportance of halal certification
Importance of halal certificationchandru sharma
 
A Business Plan On Catering Services (Wholesome Catering Services)
A Business Plan On Catering Services (Wholesome Catering Services)A Business Plan On Catering Services (Wholesome Catering Services)
A Business Plan On Catering Services (Wholesome Catering Services)Sneha J Chouhan
 
Chennai Emcee | Anchor | Model | Dancer | Singer Nandhini Portfolio
Chennai Emcee | Anchor | Model | Dancer | Singer Nandhini PortfolioChennai Emcee | Anchor | Model | Dancer | Singer Nandhini Portfolio
Chennai Emcee | Anchor | Model | Dancer | Singer Nandhini PortfolioNandhini Aravindan
 
Cafe coffe marketing strategy
Cafe coffe marketing strategyCafe coffe marketing strategy
Cafe coffe marketing strategyBhargav Naidu
 
Example Business Plan Presentation - Steamboat Leleh
Example Business Plan Presentation - Steamboat Leleh Example Business Plan Presentation - Steamboat Leleh
Example Business Plan Presentation - Steamboat Leleh normaisarah71
 
Halal logistics in malaysia and 5 continents
Halal logistics  in malaysia and 5 continentsHalal logistics  in malaysia and 5 continents
Halal logistics in malaysia and 5 continentsMohd Farid Awang
 
Fashion tourism
Fashion tourismFashion tourism
Fashion tourismLavanya D
 
ISO 9001:2015 Overview: Revisions & Impact - Part 1
ISO 9001:2015 Overview: Revisions & Impact - Part 1ISO 9001:2015 Overview: Revisions & Impact - Part 1
ISO 9001:2015 Overview: Revisions & Impact - Part 1DQS Inc.
 
Pengenalan Etika, Akhlak dan Moral
Pengenalan Etika, Akhlak dan MoralPengenalan Etika, Akhlak dan Moral
Pengenalan Etika, Akhlak dan MoralThomas Mon
 
Awareness of qms
Awareness of qmsAwareness of qms
Awareness of qmsalabs
 
Hospitality Management & Restaurant Consultancy
Hospitality Management & Restaurant Consultancy Hospitality Management & Restaurant Consultancy
Hospitality Management & Restaurant Consultancy Mahandru Associates LLC
 
BASICS FOR ISO 9001 QMS LEAD AUDITOR COURSE
BASICS  FOR ISO 9001 QMS LEAD AUDITOR COURSEBASICS  FOR ISO 9001 QMS LEAD AUDITOR COURSE
BASICS FOR ISO 9001 QMS LEAD AUDITOR COURSENithin V. Joseph
 

Was ist angesagt? (20)

business plan
business planbusiness plan
business plan
 
AA211 hospitaliti dan pelancongan dalam Islam
AA211   hospitaliti dan pelancongan dalam IslamAA211   hospitaliti dan pelancongan dalam Islam
AA211 hospitaliti dan pelancongan dalam Islam
 
Overview of the iso 9001:2015
Overview of the iso 9001:2015Overview of the iso 9001:2015
Overview of the iso 9001:2015
 
ABCat Cafe & Studio (ENT530 - Business Plan)
ABCat Cafe & Studio (ENT530 - Business Plan)ABCat Cafe & Studio (ENT530 - Business Plan)
ABCat Cafe & Studio (ENT530 - Business Plan)
 
Eeoqms management review
Eeoqms management reviewEeoqms management review
Eeoqms management review
 
POLC Frame Work of Coca Cola Presentaion (MAS after PGDPA)
POLC Frame Work of Coca Cola Presentaion (MAS after PGDPA)POLC Frame Work of Coca Cola Presentaion (MAS after PGDPA)
POLC Frame Work of Coca Cola Presentaion (MAS after PGDPA)
 
Importance of halal certification
Importance of halal certificationImportance of halal certification
Importance of halal certification
 
A Business Plan On Catering Services (Wholesome Catering Services)
A Business Plan On Catering Services (Wholesome Catering Services)A Business Plan On Catering Services (Wholesome Catering Services)
A Business Plan On Catering Services (Wholesome Catering Services)
 
Chennai Emcee | Anchor | Model | Dancer | Singer Nandhini Portfolio
Chennai Emcee | Anchor | Model | Dancer | Singer Nandhini PortfolioChennai Emcee | Anchor | Model | Dancer | Singer Nandhini Portfolio
Chennai Emcee | Anchor | Model | Dancer | Singer Nandhini Portfolio
 
Halal logistics
Halal logisticsHalal logistics
Halal logistics
 
Cafe coffe marketing strategy
Cafe coffe marketing strategyCafe coffe marketing strategy
Cafe coffe marketing strategy
 
7 eleven
7 eleven7 eleven
7 eleven
 
Example Business Plan Presentation - Steamboat Leleh
Example Business Plan Presentation - Steamboat Leleh Example Business Plan Presentation - Steamboat Leleh
Example Business Plan Presentation - Steamboat Leleh
 
Halal logistics in malaysia and 5 continents
Halal logistics  in malaysia and 5 continentsHalal logistics  in malaysia and 5 continents
Halal logistics in malaysia and 5 continents
 
Fashion tourism
Fashion tourismFashion tourism
Fashion tourism
 
ISO 9001:2015 Overview: Revisions & Impact - Part 1
ISO 9001:2015 Overview: Revisions & Impact - Part 1ISO 9001:2015 Overview: Revisions & Impact - Part 1
ISO 9001:2015 Overview: Revisions & Impact - Part 1
 
Pengenalan Etika, Akhlak dan Moral
Pengenalan Etika, Akhlak dan MoralPengenalan Etika, Akhlak dan Moral
Pengenalan Etika, Akhlak dan Moral
 
Awareness of qms
Awareness of qmsAwareness of qms
Awareness of qms
 
Hospitality Management & Restaurant Consultancy
Hospitality Management & Restaurant Consultancy Hospitality Management & Restaurant Consultancy
Hospitality Management & Restaurant Consultancy
 
BASICS FOR ISO 9001 QMS LEAD AUDITOR COURSE
BASICS  FOR ISO 9001 QMS LEAD AUDITOR COURSEBASICS  FOR ISO 9001 QMS LEAD AUDITOR COURSE
BASICS FOR ISO 9001 QMS LEAD AUDITOR COURSE
 

Andere mochten auch

แนวทางเวชปฏิบัติการใช้ยารักษาภาวะไขมันผิดปกติ เพื่อป็องกันโรคหัวใจและหลอดเลื...
แนวทางเวชปฏิบัติการใช้ยารักษาภาวะไขมันผิดปกติ  เพื่อป็องกันโรคหัวใจและหลอดเลื...แนวทางเวชปฏิบัติการใช้ยารักษาภาวะไขมันผิดปกติ  เพื่อป็องกันโรคหัวใจและหลอดเลื...
แนวทางเวชปฏิบัติการใช้ยารักษาภาวะไขมันผิดปกติ เพื่อป็องกันโรคหัวใจและหลอดเลื...Utai Sukviwatsirikul
 
09 arincare tutorial เพิ่มคนไข้ ในapp 29 9 59
09 arincare tutorial เพิ่มคนไข้ ในapp 29 9 5909 arincare tutorial เพิ่มคนไข้ ในapp 29 9 59
09 arincare tutorial เพิ่มคนไข้ ในapp 29 9 59Utai Sukviwatsirikul
 
Clinical Practice Guideline for myofascial pain syndrome fibromyagia
Clinical Practice Guideline for myofascial pain syndrome fibromyagiaClinical Practice Guideline for myofascial pain syndrome fibromyagia
Clinical Practice Guideline for myofascial pain syndrome fibromyagiaUtai Sukviwatsirikul
 
Supplement for Immunity
Supplement for ImmunitySupplement for Immunity
Supplement for ImmunityPha C
 
ร้านยาคุณภาพทำได้ง่ายนิดเดียว 20 july15
ร้านยาคุณภาพทำได้ง่ายนิดเดียว 20 july15ร้านยาคุณภาพทำได้ง่ายนิดเดียว 20 july15
ร้านยาคุณภาพทำได้ง่ายนิดเดียว 20 july15Utai Sukviwatsirikul
 
คู่มือร้านยาคุณภาพทำได้ง่ายนิดเดียว 20 july15
คู่มือร้านยาคุณภาพทำได้ง่ายนิดเดียว 20 july15คู่มือร้านยาคุณภาพทำได้ง่ายนิดเดียว 20 july15
คู่มือร้านยาคุณภาพทำได้ง่ายนิดเดียว 20 july15Utai Sukviwatsirikul
 
English conversation for pharmacist
English conversation for pharmacistEnglish conversation for pharmacist
English conversation for pharmacistUtai Sukviwatsirikul
 
CVD Brochure
CVD BrochureCVD Brochure
CVD BrochurePha C
 
บทที่ 2 อาหาร fast food
บทที่ 2 อาหาร fast foodบทที่ 2 อาหาร fast food
บทที่ 2 อาหาร fast foodKkae Rujira
 
Nsh management of acne guidelines jan 2015
Nsh management of acne guidelines jan 2015Nsh management of acne guidelines jan 2015
Nsh management of acne guidelines jan 2015Utai Sukviwatsirikul
 
Finish giตัด
Finish giตัดFinish giตัด
Finish giตัดsaowaluk2556
 
อาหารจานด่วนกับวิถีชีวิตของคนรุ่นใหม่
อาหารจานด่วนกับวิถีชีวิตของคนรุ่นใหม่อาหารจานด่วนกับวิถีชีวิตของคนรุ่นใหม่
อาหารจานด่วนกับวิถีชีวิตของคนรุ่นใหม่Batt Nives
 

Andere mochten auch (20)

160214 drug shop association
160214 drug shop association160214 drug shop association
160214 drug shop association
 
แนวทางเวชปฏิบัติการใช้ยารักษาภาวะไขมันผิดปกติ เพื่อป็องกันโรคหัวใจและหลอดเลื...
แนวทางเวชปฏิบัติการใช้ยารักษาภาวะไขมันผิดปกติ  เพื่อป็องกันโรคหัวใจและหลอดเลื...แนวทางเวชปฏิบัติการใช้ยารักษาภาวะไขมันผิดปกติ  เพื่อป็องกันโรคหัวใจและหลอดเลื...
แนวทางเวชปฏิบัติการใช้ยารักษาภาวะไขมันผิดปกติ เพื่อป็องกันโรคหัวใจและหลอดเลื...
 
09 arincare tutorial เพิ่มคนไข้ ในapp 29 9 59
09 arincare tutorial เพิ่มคนไข้ ในapp 29 9 5909 arincare tutorial เพิ่มคนไข้ ในapp 29 9 59
09 arincare tutorial เพิ่มคนไข้ ในapp 29 9 59
 
Myofascialpain fibromyalgia
Myofascialpain fibromyalgiaMyofascialpain fibromyalgia
Myofascialpain fibromyalgia
 
Clinical Practice Guideline for myofascial pain syndrome fibromyagia
Clinical Practice Guideline for myofascial pain syndrome fibromyagiaClinical Practice Guideline for myofascial pain syndrome fibromyagia
Clinical Practice Guideline for myofascial pain syndrome fibromyagia
 
Cpn corporate report q1 2016
Cpn corporate report q1 2016Cpn corporate report q1 2016
Cpn corporate report q1 2016
 
Service design workbook by tcdc
Service design workbook by tcdcService design workbook by tcdc
Service design workbook by tcdc
 
Supplement for Immunity
Supplement for ImmunitySupplement for Immunity
Supplement for Immunity
 
Bmc vpd-2016
Bmc vpd-2016Bmc vpd-2016
Bmc vpd-2016
 
ร้านยาคุณภาพทำได้ง่ายนิดเดียว 20 july15
ร้านยาคุณภาพทำได้ง่ายนิดเดียว 20 july15ร้านยาคุณภาพทำได้ง่ายนิดเดียว 20 july15
ร้านยาคุณภาพทำได้ง่ายนิดเดียว 20 july15
 
ATMinHealthcare
ATMinHealthcareATMinHealthcare
ATMinHealthcare
 
คู่มือร้านยาคุณภาพทำได้ง่ายนิดเดียว 20 july15
คู่มือร้านยาคุณภาพทำได้ง่ายนิดเดียว 20 july15คู่มือร้านยาคุณภาพทำได้ง่ายนิดเดียว 20 july15
คู่มือร้านยาคุณภาพทำได้ง่ายนิดเดียว 20 july15
 
Handbook medical conversation
Handbook medical conversationHandbook medical conversation
Handbook medical conversation
 
English conversation for pharmacist
English conversation for pharmacistEnglish conversation for pharmacist
English conversation for pharmacist
 
Business Models of Social Business
Business Models of Social BusinessBusiness Models of Social Business
Business Models of Social Business
 
CVD Brochure
CVD BrochureCVD Brochure
CVD Brochure
 
บทที่ 2 อาหาร fast food
บทที่ 2 อาหาร fast foodบทที่ 2 อาหาร fast food
บทที่ 2 อาหาร fast food
 
Nsh management of acne guidelines jan 2015
Nsh management of acne guidelines jan 2015Nsh management of acne guidelines jan 2015
Nsh management of acne guidelines jan 2015
 
Finish giตัด
Finish giตัดFinish giตัด
Finish giตัด
 
อาหารจานด่วนกับวิถีชีวิตของคนรุ่นใหม่
อาหารจานด่วนกับวิถีชีวิตของคนรุ่นใหม่อาหารจานด่วนกับวิถีชีวิตของคนรุ่นใหม่
อาหารจานด่วนกับวิถีชีวิตของคนรุ่นใหม่
 

Ähnlich wie การจัดทำภาษีมูลค่าเพิ่ม for community pharmacist

คู่มือภาษี สำหรับ ผู้ประกอบการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
คู่มือภาษี สำหรับ ผู้ประกอบการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์คู่มือภาษี สำหรับ ผู้ประกอบการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
คู่มือภาษี สำหรับ ผู้ประกอบการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์Thanawat Malabuppha
 
แจกฟรี คู่มือภาษีพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ จากกรมสรรพกร - Thailand e commerce tax...
แจกฟรี คู่มือภาษีพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ จากกรมสรรพกร - Thailand e commerce tax...แจกฟรี คู่มือภาษีพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ จากกรมสรรพกร - Thailand e commerce tax...
แจกฟรี คู่มือภาษีพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ จากกรมสรรพกร - Thailand e commerce tax...Pawoot (Pom) Pongvitayapanu
 
บบที่10
บบที่10บบที่10
บบที่10praphol
 
9789740336365
97897403363659789740336365
9789740336365CUPress
 
คู่มือภาษีอากรร้านขายยา
คู่มือภาษีอากรร้านขายยาคู่มือภาษีอากรร้านขายยา
คู่มือภาษีอากรร้านขายยาUtai Sukviwatsirikul
 
การวิเคราะห์ต้นทุนทางภาษี
การวิเคราะห์ต้นทุนทางภาษีการวิเคราะห์ต้นทุนทางภาษี
การวิเคราะห์ต้นทุนทางภาษีChaiyong_SP
 

Ähnlich wie การจัดทำภาษีมูลค่าเพิ่ม for community pharmacist (10)

คู่มือภาษี สำหรับ ผู้ประกอบการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
คู่มือภาษี สำหรับ ผู้ประกอบการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์คู่มือภาษี สำหรับ ผู้ประกอบการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
คู่มือภาษี สำหรับ ผู้ประกอบการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
 
แจกฟรี คู่มือภาษีพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ จากกรมสรรพกร - Thailand e commerce tax...
แจกฟรี คู่มือภาษีพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ จากกรมสรรพกร - Thailand e commerce tax...แจกฟรี คู่มือภาษีพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ จากกรมสรรพกร - Thailand e commerce tax...
แจกฟรี คู่มือภาษีพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ จากกรมสรรพกร - Thailand e commerce tax...
 
บบที่10
บบที่10บบที่10
บบที่10
 
Ec961
Ec961Ec961
Ec961
 
9789740336365
97897403363659789740336365
9789740336365
 
คู่มือภาษีอากรร้านขายยา
คู่มือภาษีอากรร้านขายยาคู่มือภาษีอากรร้านขายยา
คู่มือภาษีอากรร้านขายยา
 
Final
FinalFinal
Final
 
Final
FinalFinal
Final
 
การวิเคราะห์ต้นทุนทางภาษี
การวิเคราะห์ต้นทุนทางภาษีการวิเคราะห์ต้นทุนทางภาษี
การวิเคราะห์ต้นทุนทางภาษี
 
63
6363
63
 

Mehr von Utai Sukviwatsirikul

Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืนNanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืนUtai Sukviwatsirikul
 
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลันClinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลันUtai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...Utai Sukviwatsirikul
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoeaSaccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoeaUtai Sukviwatsirikul
 
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)Utai Sukviwatsirikul
 
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee VaravithyaDrugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee VaravithyaUtai Sukviwatsirikul
 
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...Utai Sukviwatsirikul
 
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...Utai Sukviwatsirikul
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...Utai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตแนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตUtai Sukviwatsirikul
 
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงUtai Sukviwatsirikul
 
ความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไตความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไตUtai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)Utai Sukviwatsirikul
 
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการพระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการUtai Sukviwatsirikul
 
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉินข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉินUtai Sukviwatsirikul
 

Mehr von Utai Sukviwatsirikul (20)

Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืนNanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
 
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลันClinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
 
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
 
Supply chain management
Supply chain managementSupply chain management
Supply chain management
 
Best practice in communication
Best practice in communicationBest practice in communication
Best practice in communication
 
Basic communication skills 2554
Basic communication skills 2554Basic communication skills 2554
Basic communication skills 2554
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoeaSaccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
 
SME Handbook
SME HandbookSME Handbook
SME Handbook
 
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
 
Scientific evidence of BIOFLOR
Scientific evidence of BIOFLORScientific evidence of BIOFLOR
Scientific evidence of BIOFLOR
 
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee VaravithyaDrugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
 
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
 
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
 
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตแนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
 
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
 
ความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไตความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไต
 
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
 
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการพระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
 
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉินข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
 

การจัดทำภาษีมูลค่าเพิ่ม for community pharmacist

  • 2. ประมวลรัษฎากร (กฎหมายภาษีอากร) กลุ่มธุรกิจเป้ าหมาย 6คลัสเตอร์ที่กรมสรรพากรมุ่งจัดระเบียบ โครงการ Nation e-Payment (Prompt Pay) ภาษีมูลค่าเพิ่ม (Vat) กับเภสัชกรเจ้าของธุรกิจร้านยา ฐานภาษี VAT,ความรับผิดในการเสียภาษีมูลค่าเพิ่ม,ใบกํากับภาษี รายงานที่เกี่ยวข้องกับภาษีมูลค่าเพิ่ม การคํานวณและนําส่งภาษีมูลค่าเพิ่ม ภาษีซื้อต้องห้าม 2
  • 4. กลุ่มธุรกิจเป้ าหมาย 6 คลัสเตอร์ที่กรมสรรพากรมุ่งจัดระเบียบ ที่มา เอกสารเผยแพร่ “จัดทําบัญชีอย่างไรให้เป็ นธรรมกับผู้เสียภาษี” กรมสรรพากร (www.rd.go.th) สืบค้นเมื่อวันที่ 29 สิงหาคม 2559
  • 5. ที่มา เอกสารเผยแพร่ “จัดทําบัญชีอย่างไรให้เป็ นธรรมกับผู้เสียภาษี” กรมสรรพากร (www.rd.go.th) สืบค้นเมื่อวันที่ 29 สิงหาคม 2559
  • 6. ที่มา เอกสารเผยแพร่ “จัดทําบัญชีอย่างไรให้เป็ นธรรมกับผู้เสียภาษี” กรมสรรพากร (www.rd.go.th) สืบค้นเมื่อวันที่ 29 สิงหาคม 2559
  • 7. 1. Any ID : Nation e-Payment (Prompt Pay) ที่มา เอกสารเผยแพร่ “จัดทําบัญชีอย่างไรให้เป็ นธรรมกับผู้เสียภาษี” กรมสรรพากร (www.rd.go.th) สืบค้นเมื่อวันที่ 29 สิงหาคม 2559
  • 8. บัตรอิเล็กทรอนิกส์ (บัตรเดบิต) เครื่องรูดบัตร Electronic Data Capture (EDC)  เป็นการบริการรับชําระค่าสินค้าและบริการผ่านเครื่องรับบัตรเครดิต/เดบิต (เครื่อง EDC)  ธนาคารพาณิชย์ต่าง ๆ จะแจกจ่ายเครื่อง EDC ให้แก่ร้านค้าทั่วประเทศ ประมาณปลายปี 2559  และจะวางเครื่อง EDC ให้กับหน่วยงานราชการต่าง ๆ เพื่ออํานวยความสะดวกในการชําระ เงินของประชาชน ที่มา เอกสารเผยแพร่ “จัดทําบัญชีอย่างไรให้เป็ นธรรมกับผู้เสียภาษี” กรมสรรพากร (www.rd.go.th) สืบค้นเมื่อวันที่ 29 สิงหาคม 2559 2. ขยายการใช้บัตร : Nation e-Payment (Prompt Pay)
  • 9. ที่มา เอกสารเผยแพร่ “จัดทําบัญชีอย่างไรให้เป็ นธรรมกับผู้เสียภาษี” กรมสรรพากร (www.rd.go.th) สืบค้นเมื่อวันที่ 29 สิงหาคม 2559 3. ภาษีอิเลคทรอนิกส์ : Nation e-Payment (Prompt Pay) ผู้ประกอบการ ขนาดรายได้ เข้าระบบ e-Tax Invoice VAT และ WHT ขนาดใหญ่ > 500 ล้านบาท ภายใน 31 ธ.ค. 2560 ขนาดกลาง มากกว่า 30 ล้านบาท ถึง 500 ล้าน บาท ขนาดเล็ก มากกว่า 1.8 ล้านบาท ถึง 30 ล้านบาท ภายใน 31 ธ.ค. 2562 ขนาดไมโคร (จิ๋ว) <= 1.8 ล้านบาท ภายใน 31 ธ.ค. 2564
  • 10. ผู้มีหน้าที่เสีย (ม.82) VAT 1. ผู้ประกอบการ (ม.77/1 (5)) (5)) 2. ผู้นําเข้า (ม.77/1 (11)) ขายสินค้า (ม.77/1 (8)) ให้บริการ (ม.77/1 (10)) กระทําในราชอาณาจักร (ม.77/2) ความรับผิด (ม.78) ส่งมอบ (ม.78 (1)) รับชําระราคา (ม.78/1(1)) ชําระอากร (ม.78/2) 10
  • 11. เภสัชกรที่เปดธุรกิจรานยา ถือวา เปน ผูประกอบการ ที่ ขายสินคา หรือ ใหบริการ ในราชอาณาจักร(ในประเทศไทย) ตองจดทะเบียนเปนผูประกอบการในระบบภาษีมูลคาเพิ่ม (Vat) ใน กรณี (ก.) มีรายไดเกิน 1.8 ลานบาทตอป (ในระหวางป โดย ไมไดนับวาตองครบ 12 เดือน) (ข.) ประสงคจดทะเบียนเปนผูประกอบการ Vat (โดยไม คํานึงวาจะมีรายไดถึงเกณฑ 1.8 ลานบาทหรือไม) รูปแบบทั่วไป VAT ที่จัดเก็บ คือ ภาษีขาย (Output tax) หักดวย ภาษี ซื้อ (Input tax) 11
  • 12. สินคา ตามกฎหมาย VAT หมายถึง ทรัพยสินที่มีรูปรางหรือไมมีรูปราง ซึ่งอาจ มีราคาและถือเอาได ไมวาจะมีไวเพื่อขาย เพื่อใช หรือเพื่อการใด ๆ และใหความหมายรวมถึงสิ่งของทุกชนิดที่นําเขามาในราชอาณาจักร (มาตรา ๗๗/๑ (๙)) ขาย ตามกฎหมาย VAT หมายถึง จําหนาย จาย โอนสินคาไมวาจะมี ประโยชนหรือคาตอบแทนหรือไม เชน การซื้อขายสินคาทั่ว ๆ ไป การแจกสินคา การแถมสินคา ฯลฯ นอกจากนี้ยังหมายความรวมถึง (มาตรา ๗๗/๑ (๘)) บริการ ตามกฎหมาย VAT หมายถึง การกระทําใด ๆ อันอาจหาประโยชนอันมี มูลคาซึ่งมิใชเปนการขายสินคา (มาตรา ๗๗/๑ (๑๐)) 12
  • 13. ภาษีขาย (Output tax) คือ ภาษีมูลคาเพิ่มที่ผูประกอบการจด ทะเบียนในระบบ VAT ไดเรียกเก็บหรือพึงเรียกเก็บจากผูซื้อสินคา หรือผูรับบริการ เมื่อมีการขายสินคาหรือใหบริการเกิดขึ้น ภาษีซื้อ (Input tax) คือ ภาษีมูลคาเพิ่มที่ผูประกอบการจด ทะเบียนในระบบ VAT ไดจายใหกับผูขายสินคาหรือผูใหบริการที่เปน ผูจดทะเบียนในระบบ VAT เมื่อซื้อสินคา หรือชําระคาบริการ เพื่อใช ในการประกอบกิจการของตน 13
  • 14.  ภาษีมูลคาเพิ่ม (Vat) คํานวณจากยอดมูลคาของสินคาหรือบริการกอนหัก รายจายใด ๆ ตามอัตราภาษีที่กําหนด ซึ่งมีอัตราเดียว คือ 10% (แตมีพระราช กฤษฎีกาลดอัตราลงเหลือเพียง 7% เปนการชั่วคราวเปนครั้ง ๆ ทุกสองป) โดย ตองคํานวณภาษีสําหรับราชการบริหารสวนทองถิ่นเพิ่มควบคูไปอีก 1 ใน 9 สวน ของภาษีมูลคาเพิ่ม  ใบกํากับภาษี (Tax Invoice) ถือเปนหลักฐานสําคัญในระบบภาษีมูลคาเพิ่ม  เปนภาษีอากรประเมิน ซึ่งกําหนดใหผูประกอบการเสียภาษีโดย ก. ยื่นรายการประเมินตนเอง ตามแบบ ภ.พ. 30 พรอมทั้งเสีย ภาษีมูลคาเพิ่มเปนรายเดือน ข. เสียภาษีมูลคาเพิ่มโดยเจาพนักงานประเมินเรียกเก็บ 14
  • 15. ผู้ประกอบการที่ได้รับยกเว้น VAT (มาตรา ๘๑) จากการขายสินค้า (ที่ไม่ใช่การ ส่งออก) หรือการให้บริการ ดังนี้ (นํามาเพียงบางข้อที่เกี่ยวข้องหรือน่าเกี่ยวข้อง) (ก) การขายพืชผลทางการเกษตร ไม่ว่าจะเป็น ลําต้น กิ่ง ใบ เปลือก หน่อ ราก เหง้า ดอก หัว ฝัก เมล็ด หรือส่วนอื่น ๆ ของพืช และวัตถุพลอยได้จากพืช ทั้งนี้ ที่อยู่ใน สภาพสด หรือรักษาสภาพไว้มิให้เสียเป็นการชั่วคราวในระหว่างขนส่งด้วยการแช่เย็น แช่เย็นจนแข็ง หรือด้วยการจัดทําหรือปรุงแต่งโดยวิธีการอื่น หรือรักษาสภาพไว้เพื่อมิ ให้เสียเพื่อการขายปลีกหรือขายส่งด้วยวิธีการแช่เย็น แช่เย็นจนแข็ง ทําให้แห้ง บด ทํา ให้เป็นชิ้น หรือด้วยวิธีการอื่น ข้าวสาร หรือผลิตภัณฑ์ที่ได้จาการสีข้าว แต่ไม่รวมถึง ไม้ซุง ฟืน หรือผลิตภัณฑ์ที่ได้จากการเลื่อยไม้ หรือผลิตภัณฑ์อาหารที่บรรจุกระป๋อง ภาชนะ หรือหีบห่อที่ทําเป็นอุตสาหกรรม ตามลักษณะ และเงื่อนไขที่อธิบดีกําหนด 15
  • 16. ผู้ประกอบการที่ได้รับยกเว้น VAT (มาตรา ๘๑) จากการขายสินค้า (ที่ไม่ใช่การ ส่งออก) หรือการให้บริการ ดังนี้ (นํามาเพียงบางข้อที่เกี่ยวข้องหรือน่าเกี่ยวข้อง) (จ) การขายยาหรือเคมีภัณฑ์ที่ใช้สําหรับพืชหรือสัตว์ เพื่อบํารุงรักษาป้องกัน ทําลายหรือกําจัดศัตรูหรือโรคของพืชและสัตว์ (ฉ) การขายหนังสือพิมพ์ นิตยสาร หรือตําราเรียน (การขายเทปประกอบกับตํารา เรียน ถือเป็นการขายตําราเรียนที่ได้รับยกเว้น VAT ด้วยตามคํานิจฉัยของ คณะกรรมการวินิจฉัยภาษีอากรที่32/2538) (ฌ) การให้บริการการประกอบโรคศิลป์ การสอบบัญชี การว่าความ หรือการ ประกอบวิชาชีพอิสระอื่นตามที่อธิบดีกําหนดโดยอนุมัติรัฐมนตรี ทั้งนี้เฉพาะวิชาชีพ อิสระที่มีกฎหมายควบคุมการประกอบวิชาชีพนั้น 16
  • 17. ผู้ประกอบการที่ได้รับยกเว้น VAT (มาตรา ๘๑) จากการขายสินค้า (ที่ไม่ใช่การ ส่งออก) หรือการให้บริการ ดังนี้ (นํามาเพียงบางข้อที่เกี่ยวข้องหรือน่าเกี่ยวข้อง) (ญ) การให้บริการรักษาพยาบาลของสถานพยาบาลตามกฎหมายว่าด้วย สถานพยาบาล (ฐ) การให้บริการตามสัญญาจ้างแรงงาน เช่น ลูกจ้าง/พนักงาน ที่ทํางานให้ (ถือ เป็นการให้บริการแก่) นายจ้าง (ต) การให้บริการเช่าอสังหาริมทรัพย์ เช่น ให้วางตู้ ATM หน้าร้านยา ฯลฯ 17
  • 18. อัตราภาษีมูลค่าเพิ่ม (Vat Rate) 1. อัตราปกติตามประมวลรัษฎากร มีอัตราเดียว คือ ร้อยละ 10 (ยังไม่รวม ภาษีมูลค่าเพิ่มของการบริหารราชการส่วนท้องถิ่น) แต่ปัจจุบันมีพระราชกฤษฎีการลดอัตรา VAT เป็นการชั่วคราวจากร้อยละ 10 เหลือร้อยละ 7 (ซึ่งเป็นอัตราที่รวมภาษี VAT ส่วน ท้องถิ่นแล้ว คือ 6.3 + 0.7) และถือเป็นอัตราโดยทั่วไปของผู้มีหน้าเสียภาษีมูลค่าเพิ่ม 2. อัตราร้อยละ 0 (มีผลเท่ากับไม่ต้องเสียภาษีขาย แต่ต้องเรียกเก็บ) ใช้สําหรับ (ก) การส่งออกสินค้า ของผู้ประกอบการจดทะเบียน VAT (ข) การให้บริการที่กระทําในราชอาณาจักรและได้มีการใช้บริการนั้นใน ต่างประเทศ (ประกาศอธิบดีฯ ฉบับที่ 105, ฉบับที่ 122 และฉบับที่ 181) และให้รวมถึงการ ให้บริการที่กระทําในราชอาณาจักร เพื่อผลิตสินค้าในเขตปลอดอากรเพื่อส่งออก และการ ให้บริการที่กระทําในเขตดังกล่าวเพื่อใช้ผลิตสินค้าเพื่อส่งออกด้วย 18
  • 19. อัตราภาษีมูลค่าเพิ่ม (Vat Rate) (ค) การให้บริการขนส่งระหว่างประเทศโดยอากาศยานหรือเรือเดินทะเล ที่กระทํา โดยผู้ประกอบการที่เป็นนิติบุคคล (ง) การขายสินค้าหรือการให้บริการแก่ส่วนราชการหรือรัฐวิสาหกิจ ตามโครงการ เงินกู้หรือเงินช่วยเหลือจากต่างประเทศ (จ) การขายสินค้าหรือการให้บริการกับองค์การสหประชาชาติ ทบวงการชํานัญการ พิเศษของสหประชาชาติ สถานเอกอัครราชทูต สถานกงสุลใหญ่ สถานกงสุล (ฉ) การขายสินค้าหรือการให้บริการที่ก่อให้เกิดสินค้าที่มีรูปร่างหรือการให้บริการที่ ไม่ก่อให้เกิดสินค้าที่มีรูปร่าง แต่ทําให้สินค้ามีประสิทธิภาพมากขึ้น หรือมีมูลค่าเพิ่มขึ้นระหว่าง คลังสินค้าทัณฑ์บนด้วยกัน หรือระหว่างผู้ประกอบการที่ประกอบกิจการอยู่ในเขตปลอดอากร ไม่ว่าจะอยู่ในเขตเดียวกันหรือไม่ รวมทั้งการขายสินค้าหรือการให้บริการระหว่างคลังสินค้า ทัณฑ์บนกับผู้ประกอบการที่ประกอบกิจการอยู่ในเขตปลอดอากร 19
  • 20. การคํานวณภาษีมูลค่าเพิ่มในใบกํากับภาษี : แบบแยกนอก เช่น สินค้าราคา 100 บาท x Vat 7% เท่ากับ 107 บาท (ราคาสินค้ารวม vat) แบบรวมใน เช่น สินค้าราคา 100 บาท (ราคาสินค้ารวมvat) เป็นภาษี 6.54 บาท เป็น มูลค่าสินค้า 93.46 บาท (เศษทศนิยมให้ดูตําแหน่งที่สามว่าเกินห้าหรือไม่ ถ้าใช่ให้ปัดขึ้น) vat = 100 x 7/107 = 6.5420 ปัดให้เหลือเป็นทศนิยมสองตําแหน่งได้ 6.54 มูลค่าสินค้า = 100 x 100/107= 93.4579 ปัดให้เหลือเป็นทศนิยมสองตําแหน่งได้ 93.46 “แบบรวมใน จะเป็นที่นิยมใช้กันโดยทั่วไปสําหรับธุรกิจร้านยา ราคารวมภาษีมูลค่าเพิ่มแล้ว นั่นเอง” 20
  • 21. ฐานภาษี (Tax Base) จํานวนมูลค่าของสิ่งที่ได้รับหรือพึงได้รับ (เงินสด เช็ค ทรัพย์สิน ต่างๆ) จากการดําเนินธุรกรรมซื้อขายสินค้าหรือบริการ ซึ่งจะใช้เป็น ฐานในการคํานวณจํานวนภาษีมูลค่าเพิ่มที่จะเกิดขึ้น ความรับผิดในการเสียภาษีมูลค่าเพิ่ม (Tax Point) เป็นจุดเริ่มต้นของระยะเวลาที่ผู้ประกอบการ (กิจการ) จะต้องบันทึกการรับรู้ภาษีมูลค่าเพิ่มที่เกิดขึ้นจากการดําเนินธุรกรรม ของตน 21
  • 22. ความรับผิดในการเสีย VAT 22 กรณี Tax Point Tax Base 1. การขายสินค้า และ การรับเงินจอง เงินประกัน เงินมัดจําล่วงหน้าจากการขาย สินค้า เมื่อส่งมอบสินค้าให้กับลูกค้า เว้นแต่กรณีใดกรณีหนึ่งดังต่อไปนี้ เกิดขึ้นก่อนการส่งมอบสินค้า -ได้โอนกรรมสิทธิ์สินค้า หรือ - ได้รับชําระค่าสินค้า หรือ - ได้ออกใบกํากับภาษี มูลค่าสิ่งที่ได้รับหรือพึงได้รับจากการ ขายสินค้า ไม่ว่าจะเป็นเงิน ทรัพย์สิน ค่าตอบแทน ค่าบริการ หรือประโยชน์ ใด ๆ ที่คิดเป็นเงินได้ เว้นแต่ - ส่วนลดที่ให้ในขณะขายหรือ ส่วนลดการค้า - ค่าชดเชยหรือค่าอุดหนุนตาม กฎหมาย - ภาษีขาย - ค่าตอบแทนอื่นตามที่ กฎหมายกําหนด
  • 23. ความรับผิดในการเสีย VAT 23 กรณี Tax Point Tax Base 2. การขายสินค้าตามสัญญาให้เช่า ซื้อหรือสัญญาซื้อขายผ่อนชําระที่ กรรมสิทธิ์ในสินค้ายังไม่โอนไปยัง ผู้ซื้อเมื่อได้ส่งมอบ เมื่อถึงกําหนดชําระราคาตามงวดที่ ถึงกําหนดชําระราคาในแต่ละงวด เว้นแต่กรณีใดกรณีหนึ่งดังต่อไปนี้ เกิดขึ้นก่อนการส่งมอบสินค้า - ได้รับชําระค่าสินค้า หรือ - ได้ออกใบกํากับภาษี มูลค่าสิ่งที่ได้รับหรือพึงได้รับจากการ ขายสินค้า ไม่ว่าจะเป็นเงิน ทรัพย์สิน ค่าตอบแทน ค่าบริการ หรือประโยชน์ ใด ๆ ที่คิดเป็นเงินได้ เว้นแต่ - ส่วนลดที่ให้ในขณะขายหรือ ส่วนลดการค้า - ค่าชดเชยหรือค่าอุดหนุนตาม กฎหมาย - ภาษีขาย - ค่าตอบแทนอื่นตามที่ กฎหมายกําหนด
  • 24. ความรับผิดในการเสีย VAT 24 กรณี Tax Point Tax Base 3. การขายสินค้าโดยมีการแต่งตั้ง ตัวแทนเพื่อขายและได้ส่งมอบ สิ น ค้ า ใ ห้ ตัว แ ท น แ ล้ ว ต า ม หลักเกณฑ์ที่อธิบดีกําหนดโดย อนุมัติรัฐมนตรี เมื่อตัวแทนได้ส่งมอบสินค้าให้แก่ผู้ ซื้อ เว้นแต่กรณีใดกรณีหนึ่งดังต่อไปนี้ที่ ตัวแทนได้กระทําก่อนการส่งมอบสินค้า -ได้โอนกรรมสิทธิ์สินค้า หรือ - ได้รับชําระค่าสินค้า หรือ - ได้ออกใบกํากับภาษี หรือ - ได้มีการนําสินค้าไปใช้ มูลค่าสิ่งที่ได้รับหรือพึงได้รับจากการ ขายสินค้า ไม่ว่าจะเป็นเงิน ทรัพย์สิน ค่าตอบแทน ค่าบริการ หรือประโยชน์ ใด ๆ ที่คิดเป็นเงินได้ เว้นแต่ - ส่วนลดที่ให้ในขณะขายหรือ ส่วนลดการค้า - ค่าชดเชยหรือค่าอุดหนุนตาม กฎหมาย - ภาษีขาย - ค่าตอบแทนอื่นตามที่ กฎหมายกําหนด
  • 25. ความรับผิดในการเสีย VAT 25 กรณี Tax Point Tax Base 4. การขายสินค้าโดยมีการส่งออก เมื่อชําระอากรขาออก หรือ วันที่ได้มีการวางคํ้าประกันขาออก แล้วแต่กรณี และหากเป็นกรณีที่ไม่ ต้องเสียหรือยกเว้นอากรขาออกให้ ความรับผิดเกิดขึ้นในวันที่มีการออก ใบขนสินค้าตามกฎหมายว่าด้วย ศุลกากร มูลค่าสินค้าให้ใช้ฐาน FOB ของสินค้า บวกภาษีสรรพาสามิต ค่าธรรมเนียม พิเศษตามกฎหมายว่าด้วยการส่งเสริม การลงทุน ภาษีและค่าธรรมเนียมอื่น ๆ ตามที่กฎหมายกําหนด แต่ไม่รวม อากรขาออก
  • 26. ความรับผิดในการเสีย VAT 26 กรณี Tax Point Tax Base 5. การให้บริการ เมื่อได้รับชําระราคาค่าบริการ เว้นแต่กรณีใดกรณีหนึ่งดังต่อไปนี้ที่ผู้ ให้บริการได้กระทําก่อน - ได้ออกใบกํากับภาษี หรือ - ได้มีการใช้บริการนั้นเอง มูลค่าสิ่งที่ได้รับหรือพึงได้รับจากการ ขายสินค้า ไม่ว่าจะเป็นเงิน ทรัพย์สิน ค่าตอบแทน ค่าบริการ หรือประโยชน์ ใด ๆ ที่คิดเป็นเงินได้ เว้นแต่ - ส่วนลดที่ให้ในขณะขายหรือ ส่วนลดการค้า - ค่าชดเชยหรือค่าอุดหนุนตาม กฎหมาย - ภาษีขาย - ค่าตอบแทนอื่นตามที่ กฎหมายกําหนด
  • 27. ความรับผิดในการเสีย VAT 27 กรณี Tax Point Tax Base 6. การให้บริการตามสัญญาที่ กําหนดค่าตอบแทนตามส่วนของ บริการที่ทํา เมื่อได้รับชําระราคาค่าบริการตาม ส่วนของบริการที่สิ้นสุดลง เว้นแต่กรณีใดกรณีหนึ่งดังต่อไปนี้ที่ผู้ ให้บริการได้กระทําก่อน - ได้ออกใบกํากับภาษี หรือ - ได้มีการใช้บริการนั้นเอง มูลค่าสิ่งที่ได้รับหรือพึงได้รับจากการ ขายสินค้า ไม่ว่าจะเป็นเงิน ทรัพย์สิน ค่าตอบแทน ค่าบริการ หรือประโยชน์ ใด ๆ ที่คิดเป็นเงินได้ เว้นแต่ - ส่วนลดที่ให้ในขณะขายหรือ ส่วนลดการค้า - ค่าชดเชยหรือค่าอุดหนุนตาม กฎหมาย - ภาษีขาย - ค่าตอบแทนอื่นตามที่ กฎหมายกําหนด
  • 28. ความรับผิดในการเสีย VAT 28 กรณี Tax Point Tax Base 7. การนําเข้าสินค้า เมื่อชําระอากรขาเข้า หรือ วันที่ได้มีการวางคํ้าประกันขาเข้า แล้วแต่กรณี และหากเป็นกรณีที่ไม่ ต้องเสียหรือยกเว้นอากรขาออกให้ ความรับผิดเกิดขึ้นในวันที่มีการออก ใบขนสินค้าตามกฎหมายว่าด้วย ศุลกากร มูลค่าสินค้านําเข้าให้ใช้ฐาน CIF ของ สินค้าบวกด้วยอากรขาเขา ภาษีสรรพา สามิต ค่าธรรมเนียมพิเศษตาม กฎหมายว่าด้วยการส่งเสริมการลงทุน ภาษีและค่าธรรมเนียมอื่น ๆ ตามที่ กฎหมายกําหนด
  • 29. ความรับผิดในการเสีย VAT 29 กรณี Tax Point Tax Base 8. กรณีพิเศษ 8.1 การขายกระแสไฟฟ้ า นํ้าประปา หรือสินค้าที่มีลักษณะ ทํานองเดียวกัน เมื่อได้รับชําระราคาค่าสินค้า หรือ ได้มีการออกใบกํากับภาษีก่อน ได้รับชําระราคาสินค้า แล้วแต่กรณี ทั้งนี้ให้ความรับผิดเกิดขึ้นตามส่วน ของการกระทํา นั้น ๆ มูลค่าสิ่งที่ได้รับหรือพึงได้รับจากการ ขายสินค้า ไม่ว่าจะเป็นเงิน ทรัพย์สิน ค่าตอบแทน ค่าบริการ หรือประโยชน์ ใด ๆ ที่คิดเป็นเงินได้ เว้นแต่ - ส่วนลดที่ให้ในขณะขายหรือ ส่วนลดการค้า - ค่าชดเชยหรือค่าอุดหนุนตาม กฎหมาย - ภาษีขาย - ค่าตอบแทนอื่นตามที่ กฎหมายกําหนด
  • 30. ความรับผิดในการเสีย VAT 30 กรณี Tax Point Tax Base 8. กรณีพิเศษ 8.2 การสินค้าที่ไม่มีรูป ร่าง เช่น สิ ท ธิ ใ น สิ ท ธิ บัต ร กู๊ ด วิ ล ล์ เครื่องหมายการค้า ลิ ขสิ ทธิ์ สัมปทาน ค่าสิทธิ หรือสินค้าที่มี ลักษณะทํานองเดียวกัน เมื่อได้รับชําระราคาค่าสินค้า เว้น แต่กรณีที่ได้มีการกระทําดังนี้เกิดก่อน ได้รับชําระราคาสินค้า -ได้โอนกรรมสิทธิ์สินค้า หรือ - ได้ออกใบกํากับภาษี ทั้งนี้ให้ความรับผิดเกิดขึ้นตามส่วน ของการกระทํานั้น ๆ มูลค่าของสิทธิในสิทธิบัตร กู๊ดวิลล์ เครื่องหมายการค้า ลิขสิทธิ์สัมปทาน ค่าสิทธิ
  • 31. ความรับผิดในการเสีย VAT 31 กรณี Tax Point Tax Base 8. กรณีพิเศษ 8.3 การขายสินค้าหรือการ ให้บริการด้วยเครื่องอัตโนมัติโดย ชําระราคาด้วยวิธีการหยอดเงิน เหรียญ บัตร หรือด้วยวิธีการใน ลักษณะทํานองเดียวกัน เมื่อได้นําเงิน เหรียญ บัตร หรือสิ่ง อื่นใดในลักษณะทํานองเดียวกัน ออกจากเครื่องอัตโนมัติ มูลค่าของเงิน เหรียญ บัตร หรือสิ่งอื่น ใดในลักษณะทํานองเดียวกัน
  • 32. ความรับผิดในการเสีย VAT 32 กรณี Tax Point Tax Base 9. กิจการที่ขายสินค้าโดยชําระด้วย การใช้บัตรเครดิต หรือในลักษณะ ทํานองเดียวกัน เมื่อส่งมอบสินค้าให้กับลูกค้า เว้นแต่กรณีใดกรณีหนึ่งดังต่อไปนี้ เกิดขึ้นก่อนการส่งมอบสินค้า -ได้โอนกรรมสิทธิ์สินค้า หรือ - ออกหลักฐานการใช้บัตรเครดิต - ได้ออกใบกํากับภาษีแล้ว มูลค่าสิ่งที่ได้รับหรือพึงได้รับจากการ ขายสินค้า ไม่ว่าจะเป็นเงิน ทรัพย์สิน ค่าตอบแทน ค่าบริการ หรือประโยชน์ ใด ๆ ที่คิดเป็นเงินได้ เว้นแต่ - ส่วนลดที่ให้ในขณะขายหรือ ส่วนลดการค้า - ค่าชดเชยหรือค่าอุดหนุนตาม กฎหมาย - ภาษีขาย - ค่าตอบแทนอื่นตามที่ กฎหมายกําหนด
  • 33. ความรับผิดในการเสีย VAT 33 กรณี Tax Point Tax Base 10. ผู้ประกอบการนําไปใช้เอง หรือ ให้ผู้อื่นใช้ 11. กรณี สิ นค้าขาดหายจาก รายงานสินค้าและวัตถุดิบ 12. กรณีมีทรัพย์สินหรือสินค้า คงเหลือเมื่อเลิกประกอบกิจการ หรือได้รับคําสั่งถอนหรือแจ้งเพิก ถอนการเป็นผู้ประกอบการ Vat วันที่นําไปใช้ หรือ วันที่มอบให้ผู้อื่น ไปใช้ วันที่ตรวจพบว่ามีสินค้าขาดหายไป วันที่เลิกประกอบกิจการ หรือ วันที่ได้รับคําสั่งถอน หรือ วันที่แจ้งเพิกถอนทะเบียน Vat ราคาตลาดของสินค้าที่นําไปใช้ หรือ มอบให้ผู้อื่นไปใช้ ราคาตลาดของสินค้าที่ขาดหายนั้นๆ มูลค่าของทรัพย์สินคงเหลือนั้น ๆ
  • 34. ใบกํากับภาษี (Tax Invoice) เป็นเอกสาร (หลักฐาน) สําคัญในระบบ VAT ที่ผู้ประกอบการ ต้อง ออกให้แก่ผู้ซื้อสินค้าหรือผู้รับบริการในการขายสินค้าหรือให้บริการทันทีทุก ครั้งที่ความรับผิดในการเสียภาษี VAT (Tax point) เกิดขึ้น โดยแสดงถึง มูลค่าของสินค้าหรือบริการและจํานวนภาษีมูลค่าเพิ่มที่ผู้ประกอบการเรียก เก็บหรือพึงเรียกเก็บ ใบกํากับภาษี ยังรวมถึง ใบกํากับภาษีอย่างย่อ ใบเพิ่มหนี้ ใบลดหนี้ ใบเสร็จรับเงินที่ทางราชการออกให้ในการขายโดยวิธีอื่น ใบเสร็จรับเงิน ของกรมสรรพากร ใบเสร็จรับเงินของกรมศุลกากรหรือกรมสรรพสามิต เฉพาะส่วนที่เป็นภาษีมูลค่าเพิ่ม 34
  • 35. ผู้ประกอบการจดทะเบียน Vat ผู้ขาย ผู้ซื้อ ออก ให้ ใบกํากับภาษี (Tax Invoice) ถือเป็น ถือเป็น ภาษีขาย ภาษีซื้อ ของผู้ขาย ของผู้ซื้อ 35
  • 36. รายการที่ต้องมีในใบกํากับภาษี ใบกํากับภาษีจะเป็นภาษาไทย หน่วยเงินตราไทย เลขไทย เลขอารบิค หรือ จัดทําเป็นภาษาอังกฤษทั้งฉบับหรือบางส่วน แต่ถ้าจะทําเป็นภาษาต่างประเทศอื่นที่ มิใช่ภาษาอังกฤษหรือหน่วยเงินตราต่างประเทศ จะต้องได้รับอนุมัติจากอธิบดี กรมสรรพากร ใบกํากับภาษีเต็มรูปแบบ ต้องมีรายการอย่างน้อย ดังนี้ 1. คําว่า “ใบกํากับภาษี” ในที่ที่เห็นได้อย่างเด่นชัด 2. ชื่อ ที่อยู่ และเลขประจําตัวผู้เสียภาษีอากรของผู้ประกอบการจดทะเบียนที่ออกใบกํากับ ภาษี หรือ ชื่อ ที่อยู่และเลขประจําตัวผู้เสียภาษีอากรของตัวแทน หรือผู้ทอดตลาดในกรณีที่ตัวแทน หรือผู้ทอดตลาดเป็นผู้ออกใบกํากับภาษีในนามของผู้ประกอบการแทนผู้ประกอบการ 3. ชื่อ ที่อยู่ ของผู้ซื้อสินค้าหรือผู้รับบริการ 36
  • 37. 4. หมายเลขลําดับของใบกํากับภาษี และหมายเลขลําดับของเล่ม (ถ้ามี) 5. ชื่อ ชนิด ประเภท ปริมาณ และมูลค่าของสินค้าหรือบริการ ให้ระบุเฉพาะชื่อ ชนิด ประเภทของสินค้าหรือบริการที่ต้องเสียภาษี VAT ในใบกํากับภาษีด้วย เว้นแต่ในกรณีที่มีความ จําเป็นต้องระบุชื่อ ชนิด ประเภทของสินค้าหรือบริการที่ไม่ต้องเสียภาษี VAT ในใบกํากับภาษีด้วย ให้กระทําได้โดยต้องจัดให้มีเครื่องหมายหรือแยกรายการแสดงให้เห็นชัดเจนว่าเป็นสินค้าหรือบริการ ที่ไม่ต้องเสียภาษี VAT 6. มูลค่าของสินค้าหรือบริการที่ยังไม่รวมภาษี VAT และจํานวนภาษี VAT ที่คํานวณจากมูลค่า ของสินค้าหรือบริการ โดยให้แยกออกจากมูลค่าของสินค้าหรือบริการ ให้ชัดเจน 7. วัน เดือน ปี ที่ออกใบกํากับภาษี ใช้ตัวเลขแทนการระบุชื่อเดือนก็ได้และใช้พุทธศักราชหรือ คริสต์ศักราชก็ได้ 37
  • 38. 8. ข้อความอื่นที่อธิบดีกําหนด (ประกาศอธิบดีฯ เกี่ยวกับ VAT #๓๙) ดังนี้ ก. กรณีจัดทําใบกํากับภาษีร่วมกับเอกสารอื่น เช่น ใบเสร็จรับเงิน ใบส่งของ ใบแจ้งหนี้ซึ่งมี หลายฉบับในชุดเดียวกัน เพื่อออกให้กับลูกค้าที่ขายเชื่อและลูกค้าที่จ่ายเงินล่วงหน้า จะต้องมี ข้อความว่า “เอกสารออกเป็นชุด” ในเอกสารทุกฉบับที่ออกเป็นชุดเดียวกัน - เอกสารฉบับแรกของเอกสารชุดดังกล่าว หรือเอกสารที่เป็นต้นแบบของเอกสารอื่นใดก็ ตามที่มิใช่ใบกํากับภาษีต้องมีข้อความว่า “ไม่ใช่ใบกํากับภาษี” ไว้ในเอกสารฉบับนั้นด้วย - เอกสารฉบับที่ถือเป็นสําเนาของเอกสารฉบับอื่นต้องมีคําว่า “สําเนา..........” ในฉบับที่ สําเนาของเอกสารนั้น ๆ ทุกฉบับด้วย ข. กรณีที่ผู้ประกอบการจดทะเบียน มีสถานประกอบการหลายแห่ง สถานประกอบการที่ใช้ ใบกํากับภาษีที่สํานักงานใหญ่จัดทํา ต้องมีข้อความว่า “สาขาที่ออกใบกํากับภาษี คือ........” ค. กรณีที่เป็นสถานีบริการนํ้ามัน (ปั๊มนํ้ามัน) ซึ่งจะต้องออกใบกํากับภาษีให้กับผู้ประกอบการ จดทะเบียนรายอื่น จะต้องระบุเลขทะเบียนรถยนต์ไว้ในใบกํากับภาษีด้วย 38
  • 39. 39
  • 40. 40
  • 41. ถือว่าเป็นใบกํากับภาษีด้วยเช่นกัน โดยให้นําไปคํานวณลดภาษีขายในรายงานภาษีขาย ในเดือนที่ออกใบลดหนี้สําหรับผู้ออกใบลดหนี้ ส่วนผู้รับใบลดหนี้ให้นําไปลดภาษีซื้อในรายงานภาษี ซื้อในเดือนที่รับใบลดหนี้ต้องมีรายการอย่างน้อย โดยต้องมีรายการอย่างน้อยดังต่อไปนี้ 1. คําว่า “ใบลดหนี้” ในที่ที่เห็นได้เด่นชัด 2. ชื่อ ที่อยู่ และเลขประจําตัวผู้เสียภาษีอากรของผู้ประกอบการจดทะเบียนที่ออกใบลดหนี้ ในกรณีตัวแทนเป็นผู้ออกใบลดหนี้ในนามผู้ประกอบการจดทะเบียน ให้ระบุชื่อ ที่อยู่ และเลขประจําตัวผู้เสียภาษีอากรของตัวแทนนั้น 3. ชื่อ ที่อยู่ ของผู้ซื้อสินค้าหรือผู้รับบริการ และเลขประจําตัวผู้เสียภาษี (เพิ่มเมื่อ 1 ม.ค.58) 4. วัน เดือน ปี ที่ออกใบลดหนี้ 41
  • 42. 5. หมายเลขลําดับของใบกํากับภาษีเดิม รวมทั้งหมายเลขลําดับของเล่ม (ถ้ามี) มูลค่าของสินค้า หรือบริการที่แสดงไว้ในใบกํากับภาษีดังกล่าว มูลค่าที่ถูกต้องของสินค้าหรือบริการผลต่างของ จํานวนมูลค่าทั้งสอง และจํานวนภาษีที่เรียกเก็บเพิ่มสําหรับส่วนต่างนั้น 6. คําอธิบายสั้น ๆ ถึงสาเหตุในการออกใบลดหนี้ ซึ่งจะจัดทําด้วยระบบคอมพิวเตอร์ ประทับตรา ยาง เขียนด้วยหมึก พิมพ์ดีด หรือวิธีอื่นใดก็ได้ 7. ข้อความอื่นที่อธิบดีกรมสรรพากรกําหนด 8. ใบลดหนี้ 1 ฉบับ จะอ้างถึงใบกํากับภาษีเดิมมากกว่า 1 ฉบับก็ได้ และใช้เอกสารแนบใบลดหนี้ อ้างถึงในกํากับภาษีเป็นรายใบกํากับภาษีก็ได้ 42
  • 43. เหตุในการออกใบลดหนี้ได้ (ตามที่อธิบดีกรมสรรพากรอนุญาต) : มาตรา ๘๒/๑๐ ในกรณีที่ผู้ประกอบการจดทะเบียนขายสินค้าหรือให้บริการและได้นําภาษีขายไปรวม คํานวณ เพื่อเสียภาษีมูลค่าเพิ่มตามมาตรา ๘๒/๓ แล้ว ต่อมาหากมีเหตุการณ์ อย่างหนึ่งอย่างใดดังต่อไปนี้เกิดขึ้น อันเป็น เหตุให้ภาษีขาย ที่คํานวณจากมูลค่าของสินค้า หรือบริการมีจํานวนลดลงไม่ว่าทั้งหมด หรือบางส่วน ให้ผู้ประกอบการจด ทะเบียนดังกล่าว นําภาษีขายที่คํานวณจากมูลค่าของสินค้า หรือบริการที่ลดลงนั้นมาหักออกจากภาษีขายของตนในเดือน ภาษีที่ได้ออกใบลดหนี้ตามมาตรา ๘๒/๑๐ (1) มีการลดราคาสินค้าที่ขายเนื่องจากสินค้าผิดข้อกําหนดที่ตกลงกันสินค้าชํารุดเสียหายหรือขาด จํานวน คํานวณราคาสินค้าผิดพลาดสูง กว่าที่เป็นจริงหรือเนื่องจากเหตุอื่นตามที่อธิบดีกําหนด (2) มีการลดราคาค่าบริการเนื่องจากการให้บริการผิดข้อกําหนดที่ตกลงกัน บริการขาดจํานวน คํานวณราคาค่าบริการ ผิดพลาดสูงกว่าที่เป็นจริง หรือเนื่องจากเหตุอื่นตามที่อธิบดีกําหนด (3) ได้รับสินค้าที่ขายกลับคืนมาเนื่องจากสินค้าชํารุดบกพร่อง ไม่ตรงตามตัวอย่าง ไม่ตรงตามคํา พรรณนา หรือเนื่องจากเหตุอื่นตามที่อธิบดีกําหนด (4) มีการบอกเลิกสัญญาบริการเนื่องจากเหตุและตามเงื่อนไขที่อธิบดีกําหนด ให้ผู้ประกอบการจดทะเบียนที่ได้รับใบลดหนี้นําภาษีมูลค่าเพิ่มที่ปรากฏตามใบลดหนี้ดังกล่าว มา หักออกจากภาษีซื้อของตนในเดือนภาษีที่ได้รับใบลดหนี้นั้น 43
  • 44. 44
  • 45. ถือว่าเป็นใบกํากับภาษีด้วยเช่นกัน โดยให้นําไปคํานวณเป็นภาษีขายในรายงานภาษีขาย ในเดือนที่ออกใบเพิ่มหนี้สําหรับผู้ออกใบเพิ่มหนี้ ส่วนผู้รับใบเพิ่มหนี้ให้ถือเป็นภาษีซื้อในรายงาน ภาษีซื้อในเดือนที่รับใบเพิ่มหนี้ โดยต้องมีรายการอย่างน้อย ดังต่อไปนี้ 1. คําว่า “ใบเพิ่มหนี้” ในที่ที่เห็นได้เด่นชัด 2. ชื่อ ที่อยู่ และเลขประจําตัวผู้เสียภาษีอากรของผู้ประกอบการจดทะเบียนที่ออกใบลดหนี้ ในกรณีตัวแทนเป็นผู้ออกใบลดหนี้ในนามผู้ประกอบการจดทะเบียน ให้ระบุชื่อ ที่อยู่ และเลขประจําตัวผู้เสียภาษีอากรของตัวแทนนั้น 3. ชื่อ ที่อยู่ ของผู้ซื้อสินค้าหรือผู้รับบริการ และเลขประจําตัวผู้เสียภาษี (เพิ่มเมื่อ 1 ม.ค.58) 4. วัน เดือน ปี ที่ออกใบลดหนี้ 45
  • 46. 5. หมายเลขลําดับของใบกํากับภาษีเดิม รวมทั้งหมายเลขลําดับของเล่ม (ถ้ามี) มูลค่าของสินค้า หรือบริการที่แสดงไว้ในใบกํากับภาษีดังกล่าว มูลค่าที่ถูกต้องของสินค้าหรือบริการผลต่างของ จํานวนมูลค่าทั้งสอง และจํานวนภาษีที่เรียกเก็บเพิ่มสําหรับส่วนต่างนั้น 6. คําอธิบายสั้น ๆ ถึงสาเหตุในการออกใบเพิ่มหนี้ ซึ่งจะจัดทําด้วยระบบคอมพิวเตอร์ ประทับตรา ยาง เขียนด้วยหมึก พิมพ์ดีด หรือวิธีอื่นใดก็ได้ 7. ข้อความอื่นที่อธิบดีกรมสรรพากรกําหนด 8. ใบเพิ่มหนี้ 1 ฉบับ จะอ้างถึงใบกํากับภาษีเดิมมากกว่า 1 ฉบับก็ได้ และใช้เอกสารแนบใบเพิ่ม หนี้อ้างถึงในกํากับภาษีเป็นรายใบกํากับภาษีก็ได้ 46
  • 47. เหตุในการออกใบเพิ่มหนี้ได้ (ตามที่อธิบดีกรมสรรพากรอนุญาต) : มาตรา ๘๒/๙ ในกรณีที่ผู้ประกอบการจดทะเบียนขายสินค้าหรือให้บริการและได้นําภาษีขายไป รวมคํานวณ เพื่อเสียภาษีมูลค่าเพิ่มตามมาตรา ๘๒/๓ แล้ว ต่อมาหากมีเหตุการณ์อย่างหนึ่งอย่างใด ดังต่อไปนี้ เกิดขึ้นอันเป็นเหตุให้ภาษีขายที่คํานวณจากมูลค่าของสินค้า หรือบริการมีจํานวนเพิ่มขึ้น ไม่ว่าทั้งหมด หรือบางส่วน ให้ผู้ประกอบการจดทะเบียนดังกล่าวนําภาษีขายที่คํานวณจากมูลค่าของ สินค้า หรือบริการที่เพิ่มขึ้นนั้น มารวมในการคํานวณภาษีมูลค่าเพิ่มโดยให้ถือเป็นภาษีขายของตนใน เดือนภาษีที่ได้ออกใบเพิ่มหนี้ตามมาตรา ๘๖/๙ (1) มีการเพิ่มราคาสินค้าที่ขายเนื่องจากสินค้าเกินกว่าจํานวนที่ตกลงซื้อขายกัน คํานวณราคาสินค้า ผิดพลาดตํ่ากว่าที่เป็นจริง หรือเนื่องจากเหตุอื่นตามที่อธิบดีกําหนด (2) มีการเพิ่มราคาค่าบริการเนื่องจากให้บริการเกินกว่าข้อกําหนดที่ตกลงกัน คํานวณราคา ค่าบริการผิดพลาดตํ่ากว่าที่เป็นจริง หรือเนื่องจากเหตุอื่นตามที่อธิบดีกําหนด ให้ผู้ประกอบการจดทะเบียนที่ได้รับใบเพิ่มหนี้ นําภาษีมูลค่าเพิ่มที่ปรากฏตามใบเพิ่มหนี้ดังกล่าว มา หักออกในการคํานวณภาษีมูลค่าเพิ่ม โดยให้ถือเป็นภาษีซื้อของตนในเดือนภาษีที่ได้รับใบเพิ่มหนี้นั้น 47
  • 48. 48
  • 49. การจัดทําใบกํากับภาษี 1. คําว่า “ใบกํากับภาษี” รวมทั้งชื่อ ที่อยู่ เลขประจําตัวผู้เสียภาษีอากรของผู้ออกใบกํากับภาษี ต้องตีพิมพ์จากโรงพิมพ์ หรือต้องพิมพ์ด้วยระบบคอมพิวเตอร์ทั้งฉบับ 2. ห้ามแก้ไข เปลี่ยนแปลงใบกํากับภาษี 3. ผู้ออกใบกํากับภาษี ต้องส่งต้นฉบับให้กับผู้ซื้อ และเก็บสําเนาไว้ 4. ในกรณีที่ยกเลิกใบกํากับภาษีที่ได้ออกไปแล้ว ให้ผู้ออกประทับตรา หรือขีดฆ่ายกเลิก และ เก็บรวมกับสําเนาฉบับเดิมไว้ แล้วจึงออกใบกํากับภาษีฉบับใหม่ โดยลงวันเดือนปีให้ตรง กับใบเดิมที่ยกเลิก และให้หมายเหตุไว้ในฉบับใหม่นี้ด้วยว่า “เป็นการยกเลิกและออกใบ กํากับภาษีฉบับใหม่แทนฉบับเดิมเลขที่ .... เล่มที่..... (ถ้ามี)” และต้องหมายเหตุการยกเลิก ไว้ในรายงานภาษีขายประจําเดือนที่ออกใบกํากับภาษีฉบับใหม่แทนด้วย 5. ผู้ที่ได้รับใบกํากับภาษีฉบับใหม่แทนฉบับเดิมที่ถูกยกเลิก ให้ถ่ายสําเนาใบกํากับภาษีฉบับ เก่าเก็บไว้และส่งต้นฉบับคืนให้กับผู้ออกใบกํากับภาษี 49
  • 50. การจัดทําใบกํากับภาษี (ต่อ) 6. ในกรณีที่ใบกํากับภาษี ใบเพิ่มหนี้ ใบลดหนี้ สูญหาย ถูกทําลาย หรือชํารุดในส่วนสําคัญ ให้ถ่ายเอกสารใบกํากับภาษีเหล่านั้น แล้วบันทึกรายการต่อไปนี้ - ออกใบแทน ออกให้ครั้งที่ - วันเดือนปี ที่อออกใบแทน - อธิบายอย่างย่อ ๆ ถึงสาเหตุการออกใบแทน - ลายมือชื่อผู้ออกใบแทน ให้ผู้ออกใบแทนบันทึกรายการการออกใบแทนใน รายงานภาษีขายในเดือนที่มีการออกใบแทน โดยระบุชื่อผู้ชื่อ เลขที่ เล่มที่ (ถ้ามี) วันที่ออกใบกํากับภาษี ใบเพิ่มหนี้ ใบลดหนี้ ที่ได้มีการออกใบแทน - ผู้ออกใบแทนฯ ต้องบันทึกรายการออกใบแทนในรายงานภาษีขาย 50
  • 51. การออกใบกํากับภาษีของสํานักงานสาขา ให้สาขาของผู้ประกอบการแต่ละสาขา จัดทําและออกใบกํากับภาษีเอง โดยสาขาดังกล่าว จะต้องมีลักษณะเป็นสถานประกอบการ ซึ่งใช้ประกอบกิจการเป็นประจํา หรือเป็นสถานที่ที่ใช้ ผลิตหรือเก็บสินค้าเป็นประจําด้วย โดยสถานประกอบการนั้นจะใช้ที่อยู่อาศัยของ ผู้ประกอบการก็ได้ แต่ถ้าสถานประกอบของสาขาอยู่ในระหว่างการดําเนินงานก่อสร้างอยู่ ก็ สามารถให้สํานักงานใหญ่เป็นผู้ออกใบกํากับภาษีแทนก่อนได้แต่ต้องระบุที่อยู่ตามที่ตั้งของ สํานักงาน สาขา ให้สาขาของผู้ประกอบการแต่ละสาขา ต้องระบุคําว่า “สาขาที่ออกใบกํากับภาษี คือ....” ใน กรณีที่นําใบกํากับภาษีระบุที่อยู่ของสํานักงานใหญ่ไปส่งมอบให้กับผู้ซื้อสินค้าหรือรับบริการ ทุกครั้งที่ความรับผิดใน VAT เกิดขึ้น โดยข้อความดังกล่าวจะตีพิมพ์ จัดทําด้วยระบบ คอมพิวเตอร์ ประทับตรายาง เขียนด้วยหมึก พิมพ์ดีด หรือวิธีอื่นใดก็ได้ 51
  • 52. การออกใบกํากับภาษีของสํานักงานสาขา (ต่อ) ในกรณีสํานักงานใหญ่จัดทําใบกํากับภาษีด้วยระบบคอมพิวเตอร์ ณ สํานักงานใหญ่ แต่ สาขาเป็นผู้สั่งพิมพ์และส่งมอบให้ลูกค้า ถือว่าสํานักงานใหญ่เป็นผู้ออกใบกํากับภาษี ไม่ต้อง ระบุคําว่า “สาขาที่ออกใบกํากับภาษีคือ....” ในกรณีที่สถานประกอบการสาขาได้แจ้งปิด (ต้องแจ้งการปิดภายใน 15 วันนับจากวันที่ ปิดสถานประกอบการสาขานั้น) ได้รับใบกํากับภาษีที่ระบุที่อยู่ของสาขาที่ปิดนั้น ให้ปฏิบัติ ดังนี้ - ใบกํากับภาษีสําหรับการซื้อสินค้าหรือรับบริการก่อนการแจ้งปิด ให้นําไปเป็นภาษี ซื้อของสํานักงานใหญ่ หรือสํานักงานสาขาอื่นที่กําลังดําเนินงานอยู่ - ใบกํากับภาษีสําหรับการซื้อสินค้าหรือรับบริการหลังการแจ้งปิด ไม่มีสิทธินําไป เป็นภาษีซื้อได้ (แต่สามารถนําไปบันทึกบัญชีเป็นค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวข้องกับการนั้น ๆ ได้) 52
  • 53. ผู้ประกอบการจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่มมีหน้าที่จัดทํารายงานเกี่ยวกับ ภาษีมูลค่าเพิ่ม ดังนี้ คือ 1. รายงานภาษีขาย เป็นรายงานที่สรุปจํานวนภาษีขายของกิจการที่ได้เรียกเก็บ หรือพึงเรียกเก็บจาก ลูกค้าในแต่ละเดือนภาษี โดยถือตามวันที่ออกในใบกํากับภาษีที่จัดทําให้ลูกค้า ภาษีขาย ที่เกิดขึ้นในเดือนใดให้ถือเป็นภาษีขายของเดือนนั้น 2. รายงานภาษีซื้อ เป็นรายงานที่สรุปจํานวนภาษีซื้อของกิจการที่ถูกผู้ประกอบการจดทะเบียนVAT รายอื่นเรียกเก็บหรือพึงเรียกเก็บในแต่ละเดือนภาษี โดยถือตามวันที่ออกในใบกํากับภาษี ที่ได้รับมาจากผู้ขายภาษีซื้อที่เกิดขึ้นในเดือนใดให้ถือว่าเป็นภาษีซื้อของเดือนนั้น 3. รายงานสินค้าและวัตถุดิบ (เฉพาะกิจการขายสินค้า) เป็นรายงานแสดงปริมาณสินค้าและวัตถุดิบที่มีอยู่ ได้มา และจําหน่ายไปที่เกิด จากการขายหรือการผลิต 53
  • 54. รายงานสินค้าและวัตถุดิบ (เฉพาะกิจการขายสินค้า) สําหรับผู้ผลิต ผู้นําเข้า และผู้ส่งออก ที่จัดทําบัญชีสินค้าซึ่งอยู่ในครอบครองตามพ.ร.บ. บัญชีแล้วนั้น ให้ถือว่าบัญชีดังกล่าวเป็นรายงานสินค้าและวัตถุดิบตาม VAT ได้ ส่วนผู้ประกอบการ VATที่เป็นบุคคลธรรมดาให้จัดทําเฉพาะบัญชีการตรวจนับสินค้า คงเหลือ ณ วันสิ้นปี ๆ ละครั้งเดียวเท่านั้น และให้ถือว่าบัญชีดังกล่าวเป็นรายงานสินค้าและวัตถุดิบ สําหรับตัวแทนผู้รับฝากขาย ต้องจัดทํารายงานสินค้าและวัตถุดิบที่รับฝากขาย แยก ต่างหากจากรายงานสินค้าและวัตถุดิบของตน ส่วนผู้ประกอบการที่ขายสินค้า หรือบริการ โดยมีการรับประกันสินค้า หรือบริการที่มีการ ชํารุดบกพร่อง ให้จัดทํารายงานการเปลี่ยนอะไหล่ หรือการซ่อมแซม เพิ่มเติมขึ้นมาอีกหนึ่งรายงาน และต้องรายงานตามแบบที่อธิบดีกรมสรรพากรกําหนดไว้ 54
  • 55. 55 ประจําเดือน เมษายน พ.ศ.25XX เลขประจําตัวผู้เสียภาษี 3100xxxxxxxxx ชื่อผู้ประกอบการ บริษัท โรงงานอุตสาหกรรมเงาะกระป๋อง จํากัด ชื่อสถานประกอบการ บริษัท โรงงานอุตสาหกรรมเงาะกระป๋อง จํากัด เลขประจําตัว มูลค่าสินค้า จํานวนเงิน ว.ด.ป. เลขที่ ผู้เสียภาษี หรือบริการ ภาษีมูลค่าเพิ่ม 1 1-เม.ย. 401 บจก. XXXX1 3100xxxxxx 6,000,000.00 420,000.00 2 17-เม.ย. 402 บจก. XXXX2 3100xxxxxx 8,000,000.00 560,000.00 3 29-เม.ย. 403 บจก. โรงงานอุตสาหกรรมเงาะกระป๋อง 3100xxxxxx 600,000.00 42,000.00 4 30-เม.ย. 404 บจก. โรงงานอุตสาหกรรมเงาะกระป๋อง 3100xxxxxx 1,000,000.00 70,000.00 5 6 15,600,000.00 1,092,000.00 ลําดับที่ ชื่อผู้ซื้อสินค้า/ผู้รับบริการ ใบกํากับภาษี รายงานภาษีขาย รวมทั้งสิ้น
  • 56. 56 ประจําเดือน เมษายน พ.ศ.25XX เลขประจําตัวผู้เสียภาษี 3100xxxxxxxxx ชื่อผู้ประกอบการ บริษัท โรงงานอุตสาหกรรมเงาะกระป๋อง จํากัด ชื่อสถานประกอบการ บริษัท โรงงานอุตสาหกรรมเงาะกระป๋อง จํากัด ลําดับที่ เลขประจําตัว มูลค่าสินค้า จํานวนเงิน ว.ด.ป. เลขที่ ผู้เสียภาษี หรือบริการ ภาษีมูลค่าเพิ่ม 1 18-เม.ย. xxxx บจก. YYYY1 3100xxxxxx 2,800,000.00 196,000.00 2 21-เม.ย. xxxx บจก. นํ้ามัน 3100xxxxxx 1,500,000.00 105,000.00 3 25-เม.ย. xxxx บจก. นํ้ามัน 3100xxxxxx -425,000.00 -29,750.00 4 27-เม.ย. xxxx บจก. สมัยซิเคียวริตี้ 3100xxxxxx 475,000.00 33,250.00 5 30-เม.ย. xxxx บจก. ท่องเที่ยวทั่วไป 3100xxxxxx 1,300,000.00 91,000.00 5,650,000.00 395,500.00รวมทั้งสิ้น รายงานภาษีซื้อ ใบกํากับภาษี ชื่อผู้ขายสินค้า/ผู้ให้บริการ
  • 57. การลงรายงานและการจัดเก็บรายงานภาษีมูลค่า (Vat Report) 1. ให้เขียนด้วยหมึก หรือพิมพ์ดีด หรือตีพิมพ์ และจะลงเป็นภาษาไทย หรือภาษาอังกฤษก็ได้ 2. การลงรายงานเป็นรหัสด้วยเครื่องจักรทําบัญชี ต้องส่งคําแปลรหัสที่เป็นภาษาไทยต่ออธิบดี กรมสรรพากร และถ้าลงรายงานด้วยระบบคอมพิวเตอร์ โดยซอฟแวร์ ระบบคอมพิวเตอร์ และซอฟแวร์ดังกล่าวต้องเป็นไปตามมาตรฐานที่กรมสรรพากรกําหนด 3. ต้องลงรายการในรายงานให้เสร็จภายใน 3 วันทําการนับแต่วันที่รายการดังกล่าวเกิดขึ้น 4. ถ้าทํารายงานด้วยคอมพิวเตอร์ ต้องพิมพ์รายงานทุกวัน 5. จัดทําและเก็บรายงานแยกตามรายสถานประกอบการของผู้ประกอบการ VAT เป็นเวลาไม่ น้อยกว่า 5 ปีนับแต่วันที่ต้องจัดทํารายงาน 6. เมื่อเลิกประกอบกิจการ จะต้องเก็บรักษารายงานต่อไปไม่น้อยกว่า 2 ปี นับแต่วันเลิก 57
  • 58. ผู้ประกอบการต้องคํานวณและยื่นเสียภาษีมูลค่าเพิ่มทุกเดือน โดยนําจํานวน ภาษีขายและภาษีซื้อที่เกิดขึ้นทั้งหมดในแต่ละเดือน (จากการบันทึกในรายงานภาษีขาย และรายงานภาษีซื้อ) มาหักลบกันเพื่อคํานวณหาจํานวนผลต่างว่าเป็นเท่าใดและให้ยื่น แบบนําส่งภาษีมูลค่าเพิ่ม (ภ.พ.30) เป็นรายเดือนภาษีตั้งแต่วันที่ 1 -15 ของเดือนภาษี ถัดไป ไม่ว่าจะมีรายรับจากการขายสินค้าหรือให้บริการเกิดขึ้นหรือไม่ก็ตาม ถ้าจํานวนผลต่างนั้นเป็นบวก (ภาษีขาย > ภาษีซื้อ) ผู้ประกอบการจะ ต้องชําระ ค่าภาษี ให้แก่กรมสรรพากร ถ้าจํานวนผลต่างนั้นเป็นลบ (ภาษีขาย < ภาษีซื้อ) ผู้ประกอบการก็มีสิทธิ เลือกที่ จะขอคืนหรือยกยอดไปเป็นเครดิตภาษีมูลค่าเพิ่มไว้ใช้คํานวณในเดือนภาษีถัดไปได้ 58 ภาษีมูลค่าเพิ่มที่ต้องชําระ = ภาษีขาย - ภาษีซื้อ
  • 59. การใช้ใบกํากับภาษีซื้อลงในรายงานภาษี VAT ไม่ตรงกับเดือนที่ใบกํากับภาษีนั้นออก ก. กรณีที่ผู้ประกอบการไม่ได้ยื่นภาษีซื้อให้ถูกต้องตามเดือนที่เกิดรายการ โดยมีเหตุจําเป็น ก็สามารถยื่นได้ (ลงในรายงานภาษีซื้อ) ในเดือนภาษีถัดไป แต่ต้องไม่เกิน 6 เดือนนับแต่ เดือนถัดจากเดือนที่ออกใบกํากับภาษี เหตุจําเป็นดังกล่าว ประกอบด้วย คือ 1. เหตุจําเป็นซึ่งเกิดขึ้นตามประเพณีการค้า 2. เหตุสุดวิสัย 3. ได้รับใบกํากับภาษีในเดือนภาษีอื่นที่มิใช่เดือนภาษีที่ระบุไว้ในใบกํากับภาษี ผู้ประกอบการต้องระบุข้อความว่า “ถือเป็นภาษีซื้อในเดือนภาษี..........” ไว้ใน ใบกํากับภาษีที่ยื่นไม่ตรงเดือน โดยจะตีพิมพ์ จะจัดทําขึ้นด้วยระบบคอมพิวเตอร์ จะ ประทับตรายาง จะเขียนด้วยหมึก จะพิมพ์ดีด หรือวิธีอื่นทํานองเดียวกันได้ 59
  • 60. (1) ภ.พ. 30 ใช้สําหรับผู้ประกอบการจดทะเบียน (รวมทั้งผู้ประกอบการจดทะเบียนที่เป็นผู้ ส่งออกที่ต้องเสีย vat ในอัตราร้อยละ 0) โดยคํานวณจากภาษีขายหักด้วยภาษีซื้อในแต่ละเดือนภาษี ภาษีมูลค่าเพิ่มที่ต้องชําระหรือขอคืนในเดือนภาษีใดให้ยื่นแบบฯ ภายในวันที่15 ของเดือนภาษีถัดไป ไม่ว่าจะมีการขายสินค้าหรือให้บริการใดเดือนภาษีนั้นหรือไม่ก็ตาม ในกรณีที่มีหลายสถานประกอบการสาขา ให้แยกยื่นแบบ ภ.พ. 30 เป็นรายสถาน ประกอบการ เว้นแต่จะขออนุมัติจากอธิบดีฯ เพื่อยื่นแบบรวมกัน ณ สถานประกอบการแห่งใดแห่ง หนึ่ง ตามแบบ ภ.พ. 02 และเมื่อได้รับอนุมัติแล้วให้ถือปฏิบัติตั้งแต่เดือนภาษีที่ได้รับอนุมัตินั้น (2) แบบใบขนสินค้าขาเข้า ใช้สําหรับผู้นําเข้าที่มีหน้าที่เสียภาษีมูลค่าเพิ่ม ทั้งที่เป็น ผู้ประกอบการจดทะเบียนและผู้นําเข้าอื่น ๆ โดยยื่นใบขนสินค้าขาเข้าพร้อมชําระภาษีมูลค่าเพิ่ม พร้อมกับการชําระอากรขาเข้าตามกฎหมายว่าด้วยศุลกากร ณ ด่านศุลกากรเมื่อมีการนําเข้าสินค้า 60
  • 61. (3) ภ.พ. 36 ใช้สําหรับผู้มีหน้าที่นําส่งภาษีมูลค่าเพิ่มที่จ่ายเงินค่าซื้อสินค้าหรือให้บริการให้แก่ - ผู้ประกอบการที่อยู่นอกราชอาณาจักร ซึ่งได้เข้ามาประกอบกิจการขายสินค้าหรือให้บริการใน ราชอาณาจักรเป็นการชั่วคราว และไม่ได้จดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่มเป็นการชั่วคราว หรือ - ผู้ประกอบการที่ได้ให้บริการในต่างประเทศและได้มีการใช้บริการนั้นในราชอาณาจักร - ผู้ทอดตลาดซึ่งขายทรัพย์สินของผู้ประกอบการจดทะเบียน โดยให้ยื่นแบบฯ ภายในวันที่7 วันนับแต่วันสิ้นเดือนของเดือนที่จ่ายเงินหรือรับเงินจากการ ขายทอดตลาดแล้วแต่กรณี - ผู้รับโอนสินค้าหรือรับโอนสิทธิในบริการที่ได้เสียภาษีมูลค่าเพิ่มไปแล้วในอัตราร้อยละ 0 โดยให้ยื่นแบบฯ ภายในวันที่7 วันนับแต่วันสิ้นเดือนที่ครบกําหนด 30 วันที่ความรับผิดใน การเสียภาษีมูลค่าเพิ่มเกิดขึ้น 61
  • 62. 62
  • 63. ภาษีซื้อต้องห้าม (Non-Refundable input tax) ภาษีซื้อต้องห้าม เป็นภาษีซื้อที่กฎหมายไม่อนุญาตให้ผู้ประกอบการนํามาใช้ใน การคํานวณภาษีหรือขอคืนในการคํานวณภาษีมูลค่าเพิ่มประจําเดือนภาษี เช่น 1. ไม่มีใบกํากับภาษี หรือไม่อาจแสดงใบกํากับภาษีได้ว่ามีการชําระภาษีซื้อ เว้นแต่เหตุวิสัย 2. ใบกํากับภาษีนั้นมีข้อความไม่ถูกต้อง หรือไม่สมบูรณ์ในส่วนสาระสําคัญ ตามที่อธิบดีฯ กําหนด 3. ภาษีซื้อที่ไม่เกี่ยวข้องโดยตรงกับการประกอบกิจการของผู้ประกอบการ 4. ภาษีซื้อที่เกิดจากค่ารับรอง หรือเพื่อการอันมีลักษณะเช่นนั้น 5. ภาษีซื้อตามใบกํากับภาษีซึ่งออกโดยผู้ไม่มีสิทธิออกใบกํากับภาษี 6. ภาษีซื้อต้องห้ามตามที่อธิบดีกําหนดประกาศ (VAT ฉบับที่ 42) 63
  • 64. ภาษีซื้อต้องห้าม (Non-Refundable input tax) ภาษีซื้อต้องห้าม ดังกล่าวข้างต้น ทางบัญชีการเงินบันทึกเป็น ค่าใช้จ่ายในการดําเนินงานได้หมดถ้ามีหลักฐานครบถ้วน แต่ทาง บัญชีภาษีอากรนั้นจะถือว่าเป็นรายจ่ายทางภาษีได้หรือไม่ต้อง พิจารณาเป็นกรณี ๆ ไป ภาษีซื้อต้องห้ามรายการใดที่ไม่สามารถ นําไปหักเป็นรายจ่ายทางภาษีได้หมายว่าเป็นค่าใช้จ่ายต้องห้ามที่ ผู้ประกอบการไม่สามารถนําไปใช้ในการคํานวณภาษีเงินได้ตอนสิ้นปี บัญชีการเงิน เป็นรายงานเพื่อแสดงฐานะการเงิน ผลการดําเนินงาน ของกิจการ บัญชีภาษีอากร อิงตามประมวลรัษฎากร (ที่นําบัญชีการเงิน มาปรับใช้) เพื่อเสียภาษี อากรให้แก่รัฐ 64
  • 65. 65
  • 66. 66
  • 67. 67