SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 29
Downloaden Sie, um offline zu lesen
บทที่ 3
แนวทางการป้องกันควบคุมโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
3.1 แนวทางการคัดกรองเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การคัดกรองกลุ่มเสี่ยงต่อภาวะเบาหวานและความดันโลหิตสูง หมายถึง กระบวนการคัดแยกบุคคลที่มี
โอกาสเสี่ยงสูงต่อภาวะเบาหวานและความดันโลหิตสูงออกจากกลุ่มปกติ
แนวทางการคัดกรองกลุ่มเสี่ยงต่อภาวะเบาหวานและความดันโลหิตสูง หมายถึงการคัดกรองประชาชนอายุ
35 ปีขึ้นไป ที่ไม่ทราบว่าเป็นโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ได้รับบริการคัดกรองเบาหวาน และความดัน
โลหิตสูง พร้อมแจ้งผลโอกาสเสี่ยง และแนวทางปฏิบัติตนแก่ผู้ที่ได้รับการคัดกรอง ตามสถานะความเสี่ยง
(รายละเอียดให้ดูจากแนวปฏิบัติสาหรับเจ้าหน้าที่สาธารณสุขในการจัดบริการคัดกรองและเสริมทักษะการ
ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพลดเสี่ยงลดโรคไม่ติดต่อในสถานบริการและในชุมชน โดย สานักโรคไม่ติดต่อ กรม
ควบคุมโรค)
กลุ่มเสี่ยงสูงต่อภาวะเบาหวาน(Pre-diabetes)
กลุ่มเสี่ยงสูงต่อภาวะเบาหวาน (Pre-diabetes) หมายถึง ประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไป ที่ไม่ทราบว่าเป็น
โรคเบาหวาน ได้รับ การคัดกรองเบาหวานโดยการ ประเมินปัจจัยเสี่ยงด้วยวาจา (Verbal screening) แล้วพบว่ามี
ปัจจัยเสี่ยงตั้งแต่ 1 ข้อขึ้นไป และได้รับการตรวจน้าตาลในเลือด ( Fasting capillary blood glucose (FCG) หรือ
Fasting plasma glucose (FPG)) โดยมีค่าระดับน้าตาลในเลือดอยู่ในช่วง 100-125 มิลลิกรัม/ เดซิลิตร
ขั้นตอนการคัดกรองเบาหวาน
1. ใช้แบบสัมภาษณ์การคัดกรองเบาหวานด้วยวาจา เพื่อค้นหาปัจจัยเสี่ยงที่สาคัญอย่างใดอย่างหนึ่ง
ข้อบ่งชี้ มี ไม่มี
1. มีประวัติครอบครัว บิดา มารดา พี่หรือน้อง คนใดคนหนึ่งเป็นโรคเบาหวาน
หรือไม่
2. มีภาวะอ้วน (BMI  25 กก./ม.2
) และ/หรือ รอบเอว  90 ซม. ในผู้ชาย
หรือ  80 ซม. ในผู้หญิง
3. มีความดันโลหิต  140/90 มม.ปรอท หรือมีประวัติความดันโลหิตสูง หรือ
กาลังรับประทานยาควบคุมความดันโลหิตสูงหรือไม่
4. มีประวัติผลการตรวจเลือดไขมันผิดปกติ (ไตรกลีเซอไรด์) 250 มก./ดล.
และ/หรือ เอช ดี แอล คลอเรสเตอรอล (HDL cholesterol)  35 มก./ดล.
หรือไม่
16
5. มีประวัติเป็นเบาหวานขณะตั้งครรภ์ หรือเคยคลอดบุตรที่น้าหนักตัวแรกคลอด
 4000 กรัม หรือไม่
6. มีประวัติผลการตรวจน้าตาลในเลือดผิดปกติจากการตรวจเลือดโดยการงด
อาหาร(FPG)เท่ากับ 100-125 มก./ดล.(IFG) หรือตรวจน้าตาลในเลือด หลังดื่ม
กลูโคส 75 กรัม 2 ชั่วโมง (OGTT) เท่ากับ 140 - 199 มก./ดล. (IGT)
2. ถ้าคัดกรองแล้วพบว่ามีปัจจัยเสี่ยง ตั้งแต่หนึ่งข้อขึ้นไป ให้ส่งตรวจวัดระดับน้าตาลในเลือดด้วยวิธีเจาะ
ปลายนิ้ว (Fasting Capillary Blood Glucose: FCG) โดยเจ้าหน้าที่สาธารณสุข ทั้ง นี้ผู้รับการตรวจต้องอดอาหาร
อย่างน้อย 8 ชั่วโมงก่อนเจาะเลือด
การตรวจระดับระดับน้าตาลในเลือดโดยเจ้าหน้าที่สาธารณสุข ควรใช้การตรวจระดับพลาสมากลูโคสหลัง
อดอาหาร (Fasting Plasma Glucose: FPG) หรือถ้าไม่สามารถ ตรวจ FPG .ให้ใช้การตรวจวัดระดับน้าตาลในเลือด
จากปลายนิ้ว (FCG)
- ระดับ FCG น้อยกว่า 100 มก./ดล. ถือว่าโอกาสพบความผิดปกติ ของระดับน้าตาลในเลือดมี
น้อยจึงควรให้คาแนะนาแนวทางปฏิบัติเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมป้องกันโรคเบาหวานและนัด
มาตรวจซ้าทุก 1-3 ปี
- ระดับ FCG มากกว่าหรือเท่ากับ 100 มก./ดล. ให้ส่งตรวจระดับน้าตาลในเลือดโดยวิธีตรวจ
พลาสมากลูโคสขณะอดอาหาร
หมายเหตุ : ไม่แนะนาให้ตรวจวัดระดับน้าตาลในเลือดกรณีไม่อดอาหาร เนื่องจากค่าของระดับน้าตาลในเลือดมี
โอกาสคลาดเคลื่อน ดังนั้น หากต้องการตรวจระดับน้าตาลในเลือดควรแนะนาให้อดอาหารก่อนมาตรวจ 8 ชั่วโมง
17
3. การจัดกลุ่มเป้าหมายหลังตรวจระดับน้าตาลในเลือดด้วยวิธีเจาะปลายนิ้ว
ระดับน้้าตาลในเลือด
(FCG)
กลุ่ม ค้าแนะน้า
< 100 มก./ดล. ปกติ - ยังไม่เป็นโรค มีความเสี่ยงน้อย ให้นัดตรวจFPG ซ้า
ทุก 1 - 3 ปี
- ควบคุมอาหาร ออกกาลังกายอย่างสม่าเสมอ
100-125 มก./ดล. กลุ่มเสี่ยงสูงต่อ
เบาหวาน (Impaired
fasting glucose (IFG)
หรือ pre-diabetes)
- ให้ส่งตรวจFPG :ซ้า เพื่อยืนยัน ผลเลือดอีกครั้ง
- ป้องกันเบาหวาน โดยการควบคุมอาหาร ออกกาลัง
กายอย่างสม่าเสมอ และควบคุมปัจจัยเสี่ยงอื่น
- ติดตามตรวจFCG ซ้าทุก 6 เดือน ‟ 1 ปี
- ประเมินโอกาสเสี่ยงต่อ โรคหัวใจขาดเลือด และอัม
พฤกษ์อัมพาต ตามแนวปฏิบัติฯ สานักโรคไม่ติดต่อ
หรือ แบบประเมินความเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอด
เลือด (Rama-EGAT heart score)
≥ 126 มก./ดล. สงสัยว่าเป็น
โรคเบาหวาน
- ส่งตรวจด้วยวิธี FPG ซ้า เพื่อยืนยันก่อนการวินิจฉัย
ว่าเป็นโรคเบาหวาน
- ควบคุมอาหาร ออกกาลังกายอย่างสม่าเสมอ และ
ควบคุมปัจจัยเสี่ยงอื่น
- ประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจขาดเลือด และ
อัมพฤกษ์อัมพาต
กลุ่มเสี่ยงสูงต่อภาวะความดันโลหิตสูง(Pre-hypertension)
กลุ่มเสี่ยงสูงต่อภาวะความดันโลหิตสูง (Pre-hypertension) หมายถึง ประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไป ที่ไม่
ทราบว่าเป็นโรคความดันโลหิตสูง ที่ได้รับการวัดความดันโลหิต แล้วพบว่า มีค่าความดันโลหิตซิสโตลิค อยู่ในช่วง
120-139 มิลลิเมตรปรอท และ/หรือ ความดันโลหิตไดแอสโตลิค อยู่ในช่วง 80-89 มิลลิเมตรปรอท
หลักการคัดกรองความดันโลหิตสูง
การเตรียมตัวเพื่อวัดความดันโลหิต
1. ควรหยุดกิจกรรมที่ใช้พลังงานมาก 1 ชั่วโมงก่อนรับการตรวจวัดความดันโลหิต เช่น ออกกาลังกายหรือทางาน
หนักมาก เป็นต้น
18
2. ไม่ดื่มสุรา ชา กาแฟ เครื่องดื่มที่ผสมคาเฟอีน หรือสูบบุหรี่ก่อนวัดความดันโลหิต อย่างน้อย 30 นาที
3. ควรสวมเสื้อแขนสั้น หรือสวมเสื้อหลวมๆ สบายๆ สามารถพับแขนเสื้อขึ้นไปเหนือข้อศอกและต้นแขน
เพื่อความสะดวกในการวัด
4. ควรปัสสาวะก่อนวัดความดันโลหิต
5. ก่อนวัดความดันโลหิต ควรนั่งพักอย่างน้อย 5 นาที โดยนั่งหลังพิงพนักเก้าอี้และเท้าทั้งสองวางราบกับพื้น วาง
พักแขนบนโต๊ะที่ระดับหัวใจ
ขณะวัดความดันโลหิต
1. ต้องไม่พูดคุยกัน
2. วัดความดันโลหิตอย่างน้อย2 ครั้ง ห่างกัน 3 ‟ 5 นาที
3. แจ้งค่าและอธิบายความหมายระดับความดันโลหิตที่วัดได้แก่ผู้ที่ได้รับการคัดกรอง
4. แนะนาการปฏิบัติตัวที่เหมาะสมกับระดับความดันโลหิต
หมายเหตุ
เครื่องมือวัดความดันโลหิตที่มีมาตรฐานเพื่อการคัดกรองได้แก่
1. เครื่องมือวัดความดันโลหิตชนิดปรอทที่มีการสอบเทียบค่าเป็นระยะ
2. เครื่องมือวัดดิจิทอลชนิดcuff พันรอบแขนที่มีขนาดเหมาะสมกับผู้ถูกคัดกรองและเทียบ
ค่ากับเครื่องวัดความดันโลหิตชนิดปรอทที่มีการสอบเทียบค่าเป็นระยะๆ
การจัดกลุ่มตามระดับความดันโลหิต
ระดับความดันโลหิต กลุ่ม ค้าแนะน้า
< 120/80 มม.ปรอท ปกติ - มีโอกาสเสี่ยง ให้นัดตรวจซ้าอีก1-2 ปีข้างหน้า
- ควบคุมอาหาร ออกกาลังกายอย่างสม่าเสมอ
SBP 120-139และ/หรือ
DBP 80-89มม.ปรอท
เสี่ยงสูงต่อการเป็นโรคความดัน
โลหิตสูง(pre-hypertension)
- ให้นัดตรวจซ้า ทุก6 เดือน - 1ปี
- ควบคุมอาหาร ออกกาลังกายอย่างสม่าเสมอ
และควบคุมปัจจัยเสี่ยงอื่นร่วมด้วย
- ประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจขาดเลือดและ
อัมพฤกษ์ อัมพาต
≥ 140/90 มม.ปรอท สงสัยว่าเป็นความดันโลหิตสูง - ส่งต่อ ตรวจวัดความดันโลหิต ซ้า เพื่อยืนยัน
ก่อนการวินิจฉัย
- ควบคุมอาหาร ออกกาลังกายอย่างสม่าเสมอ
และควบคุมปัจจัยเสี่ยงอื่นร่วมด้วย
- ประเมินโอกาสเสี่ยงต่อกลุ่มโรค หัวใจขาดเลือด
และอัมพฤกษ์อัมพาต
19
แผนภูมิที่ 1 แนวทางการจัดบริการคัดกรองภาวะเบาหวาน และความดันโลหิตสูง
หมายเหตุ : BP = Blood Pressure IFG = Impaired Fasting Glucose
FCG = Fasting Capillary Blood Glucose FPG = Fasting Plasma Glucose
IGT = Impaired Glucose Tolerance
ใช่
ไม่ใช่
ตรวจระดับน้้าตาลในเลือด (FCG)
ส่งตรวจระดับน้้าตาลในเลือด (FPG)
FCG  100
mg/dl
FCG  100
mg/dl
ไม่ใช่
ใช่ใช่
FPG 100-125 mg/dl
(IFG)
ส่งตรวจ FPGครั้งที่ 2
เพื่อยืนยันเป็น
โรคเบาหวาน
FPG  126 mg/dl
ประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจ
และหลอดเลือดสมอง
ลงบันทึกผ่านการคัดกรองกลุ่มโรคหัวใจและหลอดเลือดสมอง
แจ้งผลโอกาสเสี่ยงและแนวการ
ปฏิบัติโรคหลอดเลือดสมอง
ซักประวัติเป็น
โรคเบาหวาน
เป็นโรค
คัดกรองปัจจัยเสี่ยงด้วยวาจา
(Verbal screening)
ปัจจัยเสี่ยง 1 ปัจจัย
ส่งตรวจวินิจฉัย
ยืนยันเป็นโรค
โดยแพทย์
วัดความดันโลหิตตามมาตรฐานซ้้า
คัดกรอง
วัดความดันโลหิต
ตามมาตรฐาน
ไม่ใช่
ซักประวัติเป็นโรค
ความดันโลหิตสูง
เป็นโรค
BP 120 / 
80 mmHg
BP 120 / 
80 mmHg
BP 120-139
และ/หรือ
 80 -89 mmHg
BP 140 /  90
mmHg
ลงทะเบียนคัดกรอง
เตรียมประชากร
(สื่อสาร แจ้งข่าว)
ประชากรกลุ่มอายุเสี่ยง
≥ 35ปี
แจ้งผลโอกาสเสี่ยงและ
แนวการปฏิบัติเบาหวาน
แจ้งผลโอกาสเสี่ยงและแนว
การปฏิบัติความดันโลหิตสูง
20
3.2 แนวทางการส่งเสริมสุขภาพประชากรกลุ่มภาวะปกติเพื่อลดปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
ประชากรที่ยังอยู่ในกลุ่ม ภาวะสุขภาพที่ปกติก็อาจมีปัจจัยที่ทาให้เสี่ยงต่อการเกิดโรคเบาหวาน และความ
ดันโลหิตสูงได้ ปัจจัยเหล่านั้นได้แก่ ภาวะอ้วนลงพุง การไม่ออกกาลังกาย การบริโภคอาหารที่ไม่เหมาะสม
การดื่มสุรา การสูบบุรี และการเกิดความเครียด ดังนั้น การส่งเสริมสุขภาพหรือการสร้างเสริมสุขภาพ ให้
ประชาชนทุกกลุ่มมีจิตสานึกและพฤติกรรมสร้างเสริมสุขภาพที่ดี ทั้งในระดับปัจเจกบุคคล ครอบครัว ชุมชน
ตลอดจนกลุ่มสังคมต่างๆ จึงเป็นเรื่องสาคัญ และจาเป็นอย่างยิ่งในการลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคภัยไข้เจ็บต่างๆ
ตามนโยบาย “สร้าง นา ซ่อม”
ภาวะอ้วนลงพุง(Obesity) เป็นหนึ่งในปัจจัยเสี่ยงที่สาคัญต่อการเกิดโรคไม่ติดต่อ เช่น โรคเบาหวาน
ความดันโลหิตสูง ไขมันในเลือดผิดปกติ และโรคหลอดเลือดหัวใจ ในการศึกษาทางระบาดวิทยาได้ใช้ค่าดัชนี
มวลกายเป็นเกณฑ์ โดยกาหนดว่าอ้วนเป็นภาวะที่ร่างกายมีค่าดัชนีมวลกายเท่ากับหรือมากกว่า 25 กิโลกรัมต่อ
ตารางเมตร น้าหนักเกินมีค่าดัชนีมวลกายระหว่าง 23-24.9 กิโลกรัมต่อตารางเมตร และน้าหนักน้อยมีค่าดัชนีมวล
กายน้อยกว่า 18.5 กิโลกรัมต่อตารางเมตร ดัชนีมวลกายเป็น “มาตรฐานทอง” สาหรับการค้นหาผู้ที่เสี่ยงสูงต่อการ
เกิดปัญหาสุขภาพที่สัมพันธ์กับภาวะไขมันสูง
อย่างไรก็ตาม เมื่อไม่นานมานี้มีหลักฐานมากขึ้นที่ยืนยันว่า รูปร่าง ( Body shape) และการกระจายตัวของ
ไขมันตามร่างกายเป็นปัจจัยเสี่ยงสาคัญต่อการเกิดโรคที่สัมพันธ์กับความอ้วน ผู้ที่มีภาวะอ้วนลงพุงหรือไขมันเกิน
ที่ท้อง มีความเสี่ยงสูงต่อการเกิดโรคหัวใจและเบาหวาน การวัดรอบเอวเป็นวิธีการง่ายๆ ที่บอกถึงภาวะอ้วนลงพุง
ดังนั้นเส้นรอบเอวจึงสะท้อนถึงรูปร่าง ขณะที่ดัชนีมวลกายสะท้อนถึงปริมาตรและมวลร่างกาย ทั้งดัชนีมวลกาย
และรอบเอวต่างมีความสัมพันธ์กับปริมาณไขมันทั้งหมดในร่างกายพอๆกัน แต่รอบเอวสะท้อนถึงปริมาณไขมันใน
ช่องท้องได้ดีกว่าดัชนีมวลกาย รอบเอวเป็นตัวทานายต่อการเกิดโรคเบาหวานได้หนักแน่นกว่าดัชนีมวลกาย
นอกจากนั้นรอบเอวยังเป็นตัวทานายที่สาคัญต่อการเกิดโรคเบาหวาน โรคหลอดเลือดหัวใจและอัตราการเสียชีวิต
โดยไม่ขึ้นกับความดันโลหิต ระดับน้าตาลและไขมันในเลือด นั่น จึงเป็นที่มาของการเสนอแนะให้วัดรอบเอวเพื่อ
เฝ้าระวังอ้วนลงพุงโดยเครือข่ายคนไทยไร้พุงและกรมอนามัย
ตาแหน่งของการวัดรอบเอวที่ผ่านมามีหลายตาแหน่ง แต่ที่เครือข่ายคนไทยไร้พุงและกรมอนามัยแนะนา
คือ การวัดบริเวณขอบบนของกระดูกเชิงกราน ซึ่งอาจจะยากเกินไปสาหรับประชาชนในการเฝ้าระวังตนเอง ดังนั้น
กรมอนามัยจึงแนะนาประชาชนให้วิธีง่ายๆโดยการวัดผ่านสะดือ ทั้งนี้จากการทบทวนงานวิจัยของ The American
Society for Nutrition (Klein S, Allison DB and et al. Am J Clin Nutr 2007; 85:1197-202.) พบว่ามีการวัดที่ระดับ
สะดือถึง 28 % สาหรับเกณฑ์การประเมินของคนไทย เป็นดังนี้
ผู้ชาย เท่ากับหรือมากกว่า 90 ซม. หมายถึง อ้วนลงพุง
ผู้หญิง เท่ากับหรือมากกว่า 80 ซม. หมายถึง อ้วนลงพุง
21
แนวทางการลดเสี่ยงต่อโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การดูแลกลุ่มปกติ ควรดาเนินการตามหลัก3อ 2ส เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคที่มีคุณภาพมากขึ้น
เคลื่อนไหวออกกาลังมากขึ้น ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและขจัดความเครียด
3.2.1 อ. ออกก้าลัง
สาหรับการลดน้าหนักและรอบเอว การลดการกินเพื่อลดพลังงานเข้าสู่ร่างกายเป็นเรื่องที่สาคัญเป็นลาดับ
แรก การเคลื่อนไหวออกแรง/ออกกาลังจะช่วยเสริมให้มีการลดน้าหนักโดยเฉพาะไขมันมากขึ้น แต่สาหรับการคง
น้าหนักหลังจากที่ลดลงได้แล้ว การเคลื่อนไหวออกแรง/ออกกาลังเป็นเรื่องที่สาคัญมาก ไม่เพียงแต่ลดหรือคง
น้าหนักเท่านั้น การเคลื่อนไหวออกแรง/ออกกาลังยังเกิดประโยชน์ต่อระบบต่างๆของร่างกายอีกมากมาย หาก
ต้องการปรับเปลี่ยนวิถีชีวิตเพียงอย่างใดอย่างหนึ่ง ขอแนะนาว่าการเคลื่อนไหวออกกาลังเป็นทางเลือกที่ดีมาก
ต่อไปนี้เป็นประโยชน์ต่อระบบของร่างกายบางส่วน
1. ลดความดันโลหิต
2. ลดไขมันชนิดเลว
3. เพิ่มไขมันชนิดดี
4. ลดความเสี่ยงต่อโรคหัวใจทั้งหมด
5. ลดความเสี่ยงต่อโรคมะเร็งบางชนิด
6. ลดระดับน้าตาล
7. ลดไขมันที่พุง
8. ช่วยให้อินซูลินทางานดีขึ้น
9. เพิ่มความหนาแน่นของกระดูก
10. เพิ่มความกระชับของกล้ามเนื้อและท่าทาง
11. เพิ่มประสิทธิภาพการทางานของหัวใจและปอด
12. ลดความเครียด
13. พัฒนาอารมณ์ให้ดีขึ้น
ประเภทการเคลื่อนไหวออกแรง/ออกก้าลัง
การเคลื่อนไหวออกแรง/ออกกาลังหรือการออกกาลังกาย มี 3 ประเภทคือ
1. การออกกาลังกายเพื่อความแข็งแรงของระบบไหลเวียน หัวใจและปอด ( Cardio-respiratory exercise) หรือ
การออกกาลังแบบแอโรบิก เป็นการออกกาลังที่ใช้กล้ามเนื้อมัดใหญ่ซ้าๆกันเป็นจังหวะต่อเนื่องกัน เพื่อฝึกความ
อดทนของหัวใจ ระบบหายใจและไหลเวียนโลหิต
ข้อแนะน้า
1.1 เคลื่อนไหวออกแรง/ออกกาลังแบบแอโรบิกด้วยความหนักปานกลาง(หายใจเร็วขึ้นถี่ขึ้นไม่หอบ
พูดคุยได้จนจบประโยค) สะสมอย่างน้อยวันละ 30 นาที อย่างน้อยสัปดาห์ละ 5 วัน ทั้งนี้ อาจทาเป็นช่วงสั้นๆ
22
ครั้งละ10-15 นาทีรวมทั้งวันให้ได้ 30 นาที หรือทากิจกรรมให้มี การเผาผลาญพลังงานเพิ่มขึ้น ครั้งละ
150 แคลอรี หรือ
1.2 เคลื่อนไหวออกแรง/ออกกาลังแบบแอโรบิก ด้วยความหนักระดับรุนแรง อย่างน้อยวัน
ละ 20 นาที อย่างน้อยสัปดาห์ละ 3 วัน
1.3 ความหนักระดับปานกลาง หัวใจควรเต้น 60-70% ของอัตราการเต้นของหัวใจสูงสุด
และระดับรุนแรง หัวใจเต้น 70-85 % ของอัตราการเต้นของหัวใจสูงสุด
1.4 การปฎิบัติ สามารถแบ่งออกได้เป็น 2 รูปแบบ คือ
 การเคลื่อนไหวออกแรง/ออกกาลังด้วยการฝึกฝนออกกาลังกายอย่างเป็นแบบแผน เช่น
เดินเร็ว วิ่งเหยาะ/วิ่ง ปั่นจักรยาน ว่ายน้า เต้นแอโรบิก เล่นกีฬาที่ฝึกความอดทน เป็นต้น
 การเคลื่อนไหวออกแรง/ออกกาลังในวิถีชีวิตประจาวัน เช่น เดินทางด้วยการเดินเท้า
ถีบจักรยาน ทางานบ้าน/งานอาชีพที่ออกแรง ทางานอดิเรกที่ออกแรง เป็นต้น
ตัวอย่างการออกก้าลังกายในระดับปานกลางที่ใช้พลังงาน 150 กิโลแคลอรี
23
2. การออกกาลังกายเพื่อความแข็งแรงและความอดทนของกล้ามเนื้อ (Resistive exercise) เพื่อเสริมสร้าง
กระดูกและทาให้ระบบกล้ามเนื้อมีความแข็งแรง ได้แก่ การยกน้าหนัก การบริหารร่างกาย เช่น นอนยกตัว
(Sit up ) วิดพื้น โหนบาร์เดี่ยว/คู่ เป็นต้น
ข้อแนะน้า
2.1 ฝึกความแข็งแรง 8-10 ท่าด้วยการใช้กล้ามเนื้อมัดใหญ่ตามสะโพก ขา หลัง หน้าอก หัวไหล่และ
หน้าท้อง
2.2 แต่ละท่าฝึก 1 ชุด ชุดละ 8-12 ครั้ง โดยใช้น้าหนักที่สามารถยกได้ 8-12 ครั้งแล้วเหนื่อยพอดี
2.3 ฝึกความแข็งแรง 2-3 วัน หรือวันเว้นวัน ต่อสัปดาห์
2.4 ระหว่างการออกแรงยกอย่ากลั้นหายใจ ให้หายใจเข้าออกตามปกติ
2.5 ถ้าเป็นไปได้ควรฝึกกับผู้ฝึกสอน หรือฝึกตามรูปแบบที่กรมอนามัยเผยแพร่
3. การออกกาลังกายเพื่อความยืดหยุ่น ( Flexibility exercise) เพื่อให้กล้ามเนื้อและข้อต่อมีความยืดหยุ่น
เคลื่อนไหวได้เต็มช่วงกว้างของข้อต่อ เช่น กายบริหาร โยคะ ราไม้พลองป้าบุญมี
ข้อแนะน้า
3.1 ยืดเหยียดกล้ามเนื้อมัดใหญ่แบบหยุดค้างนิ่งไว้
3.2 ฝึกอย่างน้อย 2-3 วันต่อสัปดาห์
3.3 ยืดเหยียดออกไปจนรู้สึกตึง แต่ไม่เจ็บ
3.4 ยืดเหยียดค้างไว้ 10-30 วินาที
3.5 ยืดเหยียดท่าละ 3-4 ครั้ง
หลักการพื้นฐานของการออกกาลัง สาหรับการเริ่มต้น หรือหยุดออกกาลังไปมากกว่า 2 สัปดาห์ ควรเริ่ม
ออกแรง/ออกกาลังอย่างช้าๆ โดยใช้เวลาเป็นหลัก จากนั้นเพิ่มระยะเวลาต่อวันมากขึ้นในแต่ละสัปดาห์ เพื่อให้
โอกาสกับร่างกายในการปรับตัว จากนั้นจึงค่อยๆเพิ่มความหนักหรือความเร็วของการออกกกาลัง การเคลื่อนไหว
ออกแรง/ออกกาลังที่กล่าวมาทั้งหมด สามารถสรุปเป็นรูปพีระมิดการเคลื่อนไหวร่างกายได้ดังนี้
พีระมิดการเคลื่อนไหว
ร่างกาย
ลด
ลดกิจกรรม
การนั่ง, นอนดูโทรทัศน์
การเล่นคอมพิวเตอร์
ยืดเหยียดและฝึกความแข็งแรงของกล้ามเนื้อ
- ยืดเหยียดช่วงพัก - ยกน้้าหนัก
- ร้ามวยจีน - บริหารกับยางยืด
- โยคะ - วิดพื้น, ซิคอัพ
2-3 วันต่อสัปดาห์
ออกก้าลังกายหรือเล่นกีฬากระตุ้นการท้างานของหัวใจ และปอด
- ถีบจักรยาน, เดินทางไกล - เต้นแอโรปิก
- วิ่ง/วิ่งเหยาะ - เดินเร็ว
- ว่ายน้้า - เล่นบาสเกตบอล
- แอโรปิกในน้้า - เทนนิส, แบดมินตัน
- เล่นสเก็ต
เคลื่อนไหวในชีวิตประจ้าวันให้มาก
- ท้ากิจกรรมกระฉับกระเฉง, ใช้แรงงาน - เดินบ่อย ๆ
- เดินขึ้นบันได - เดินไปซื้อของ
- ท้างานบ้าน/งานสนาม - งานสวน
3-5 วันต่อสัปดาห์
ทุกวัน
24
ขั้นตอนการเคลื่อนไหวออกแรง/ออกก้าลังกาย
1. อบอุ่นร่างกาย(warm-up) ด้วยการเดินหรือวิ่งเหยาะเบาๆและยืดเหยียดกล้ามเนื้อ 5-10 นาที
2. เคลื่อนไหวออกแรงหรือออกกาลังกายระดับปานกลางหรือรุนแรงตามความสามารถและความชอบ หรือ
ฝึกความแข็งแรงและออดทนของกล้ามเนื้อ
3. คลายกล้ามเนื้อ(cool down) ด้วยการผ่อนการออกกาลังลงช้าๆและยืดเหยียดกล้ามเนื้อ 5-10 นาที
การประเมินความพร้อมก่อนการออกก้าลัง
ก่อนที่จะให้ผู้สนใจทดสอบสมรรถภาพ หรือออกกาลังอย่างจริงจัง ควรแนะนาให้ผู้สนใจตอบแบบ
ประเมินความพร้อมก่อนการออกกาลัง เพื่อคัดกรองผู้ที่มีความเสี่ยง หากออกกาลังจะทาให้เกิดการบาดเจ็บหรือมี
ภาวะเฉียบพลันทางหัวใจได้ ทั้งนี้เพื่อความปลอดภัย ต่อไปนี้เป็นแบบประเมิน
แบบประเมินความพร้อมก่อนการออกก้าลังกาย
การออกกาลังกายอย่างสม่าเสมอเป็นผลดีต่อสุขภาพและมีความสนุกสนาน ประชาชนจานวนมากเริ่ม
สนใจที่จะเข้าร่วมออกกาลังกายมากขึ้นทุกวันโดยทั่วไปการออกกาลังกายหนักปานกลางค่อนข้างปลอดภัยสาหรับ
คนส่วนใหญ่
การตอบคาถามในแบบประเมินจะช่วยบอกว่าท่านสมควรเข้ารับการตรวจร่างกายจากแพทย์ก่อนที่ท่านจะ
เริ่มต้นออกกาลังหรือไม่ โปรดอ่านอย่างละเอียดและตอบคาถามเหล่านี้ตามความเป็นจริงว่า มี / เคย หรือ ไม่มี /
ไม่เคย ในช่วง 6 เดือน ที่ผ่านมา
เคย ไม่เคย 1. แพทย์ที่ตรวจรักษาท่านเคยบอกหรือไม่ว่า ท่านมีความผิดปกติของหัวใจและควร
ออกกาลังกาย ภายใต้คาแนะนาของแพทย์เท่านั้น ?
เคย มี ไม่มี 2. ท่านมีความรู้สึกเจ็บปวดหรือแน่นบริเวณหน้าอก ขณะที่ท่าน
ออกกาลังกายหรือไม่ ?
เคย ไม่เคย 3. ในรอบเดือนที่ผ่านมา ท่านเคยมีอาการเจ็บแน่นหน้าอก ในขณะ
ที่อยู่เฉย ๆ โดยไม่ได้ออกกาลังกายหรือไม่ ?
มี ไม่มี 4. ท่านมีอาการสูญเสียการทรงตัว (ยืนหรือเดินเซ) เนื่องมาจาก
อาการวิงเวียนศีรษะหรือไม่ ? หรือท่านเคยเป็นลมหมดสติหรือไม่ ?
มี ไม่มี 5. ท่านมีปัญหาที่กระดูกหรือข้อต่อ ซึ่งจะมีอาการแย่ลง ถ้าท่าน
ออกกาลังกายหรือไม่ ?
มี ไม่มี 6. แพทย์ที่ตรวจรักษาท่าน มีการสั่งยารักษาโรคความดันโลหิตสูง
หรือความผิดปกติของหัวใจให้ท่านหรือไม่ ?
มี ไม่มี 7. เท่าที่ท่านทราบ ยังมีเหตุผลอื่น ๆ อีก ที่ทาให้ท่านไม่สามารถ
ออกกาลังกายได้หรือไม่ ?
หากท่านตอบว่า มี หรือเคย แม้แต่ข้อเดียวควรปรึกษาแพทย์ เจ้าหน้าที่สาธารณสุข นักวิทยาศาสตร์
การกีฬา หรือนักเวชศาสตร์การกีฬา ก่อนเริ่มต้นออกกาลังกาย
25
การเคลื่อนไหวออกแรง/ออกก้าลัง เพื่อลดน้้าหนักและรอบเอว
การลดน้าหนักและรอบเอวของคนอ้วน ควรเริ่มต้นด้วยการลดพฤติกรรมการนั่งหรือการนอนอยู่เฉยๆ
โดยแทบไม่ค่อยเคลื่อนไหว ปิดโทรทัศน์หรือคอมพิวเตอร์เพื่อไปทากิจกรรมที่มีการเคลื่อนไหว เช่น เดิน หรือทา
กิจกรรมที่เคลื่อนไหวมากขึ้นกว่าที่เคยเป็นมาจากนั้นจึงเริ่มเคลื่อนไหวออกแรง/ออกกาลังมากขึ้น
ข้อแนะน้า
1. ให้เคลื่อนไหวออกแรง/ออกกาลังแบบแอโรบิก ด้วยความหนักปานกลาง (หายใจเร็วขึ้น ถี่ขึ้น ไม่หอบ
พูดคุยได้จนจบประโยค)สะสมอย่างน้อยวันละ 30 นาที อย่างน้อยสัปดาห์ละ 5 วัน ทั้งนี้ อาจทาเป็น
ช่วงสั้นๆ ครั้งละ10-15 นาทีรวมทั้งวันให้ได้ 30 นาทีหรือทากิจกรรมให้มี การ เผาผลาญพลังงาน
เพิ่มขึ้น ครั้งละ 150 แคลอรีโดยเริ่มต้นอย่างช้าๆ แล้วเพิ่มระยะเวลาขึ้นเรื่อยๆ จนถึงเป้าหมายที่กาหนด
2. ถ้าหากควบคุมอาหารเต็มที่แล้ว น้าหนักยังไม่ค่อยลด ให้เพิ่มระยะเวลาการเคลื่อนไหวออกแรง/
ออกกาลังเป็น 45- 60 นาทีต่อวัน
3. เมื่อน้าหนักลดลงถึงเป้าหมายที่ตั้งไว้ ในการคงน้าหนักไว้อาจต้องเคลื่อนไหวออกแรง/ออกกาลังเป็น
ระยะเวลา 60 - 90 นาทีต่อวัน
4. รูปแบบกิจกรรมที่เหมาะสมสาหรับคนอ้วน คือ การเดิน ว่ายน้า ถีบจักรยาน และ เคลื่อนไหวร่างกาย
ในชีวิตประจาวันให้มากขึ้น
5. เพิ่มการออกกาลังกายฝึกความแข็งแรงและความอดทนของกล้ามเนื้อดังกล่าว เพื่อช่วยรักษามวลของ
กล้ามเนื้อและเพิ่มการเผาผลาญพลังงาน
ข้อควรระวังในการเคลื่อนไหวออกแรง/ออกก้าลัง ส้าหรับคนอ้วน
1. ภาวะมีไข้ ถือเป็นข้อห้ามในการออกกาลังกาย การเพิ่มความร้อนในร่างกายจากผลของการออกกาลังกาย
จะทาให้เกิดอันตรายได้
2. ภาวะร่างกายขาดน้า ภาวะขาดน้าในร่างกายมีผลต่อปริมาณของเลือดในระบบไหลเวียนเลือด ดังนั้นถ้ามี
อาการถ่ายเหลว หรืออาเจียนมาก จะมีอาการอ่อนเพลีย ร่างกายมีกลไกชดเชยที่จะคอยปรับเพื่อให้การ
ไหลเวียนเลือดอยู่ในเกณฑ์ปกติได้ แต่ภาวะการขาดน้ามีผลต่อการคลายความร้อนออกจากร่างกาย จึงควร
เลือกกิจกรรมออกกาลังกายหรือเล่นกีฬาที่เหมาะสม
3. สภาพอากาศ ประเทศไทยเป็นเมืองร้อน มีแสงแดดมาก ดังนั้นควรดื่มน้าให้พอเพียงกับความต้องการของ
ร่างกาย และใส่เสื้อผ้าที่เหมาะสม
4. การบาดเจ็บ เพื่อป้องกันอันตรายและการบาดเจ็บที่จะเกิดขึ้นขณะออกกาลังกาย ควรปฏิบัติตามขั้นตอน
ในการเคลื่อนไหวออกแรง/ออกกาลังกาย และใส่รองเท้าที่เหมาะสมกับกิจกรรมนั้นๆ หากเกิดการ
บาดเจ็บและได้รับการปฐมพยาบาลในระยะเวลาหนึ่งแล้วยังไม่ดีขึ้น ก็ควรส่งให้แพทย์ตรวจเพื่อประเมิน
และรักษาอาการบาดเจ็บต่อไป
26
ข้อแนะน้าการเคลื่อนไหวออกแรง/ออกก้าลังกายเพื่อสุขภาพ
และเพื่อการจัดการลดน้้าหนัก ลดรอบเอวตามกลุ่มวัย
ที่เหมาะสมส้าหรับคนไทยพ.ศ.2553
(2010Recommendations of Physical Activity / Exercise for Health
and Weight Management to Reduce Waist in Appropriate Age for Thai People)
ข้อแนะน้าฯ ตามกลุ่มวัย ดังนี้
การเคลื่อนไหวออกแรง/ออกกาลังกาย
กลุ่มวัย เพื่อสุขภาพ(Health) เพื่อการจัดการลดน้้าหนัก
ลดรอบเอว(Wt .Management)
1. กลุ่มเด็ก
(อายุ 6-12 ปี)
และเยาวชน
(อายุ 13-17ปี)
* ควรทากิจกรรมเคลื่อนไหวออกแรง/ออกกาลังกาย
ผสมผสานหลากหลายรูปแบบโดยเน้นความสนุกสนาน
ต่อเนื่องด้วยความหนักระดับปานกลาง (เช่น เดินเร็ว และ
ต้องทากิจกรรมจนถึงระดับหนัก/จนรู้สึกเหนื่อย เช่นวิ่ง
รวมอยู่ด้วยอย่างน้อยสัปดาห์ละ 3 วัน) รวมกันให้ได้อย่าง
น้อยวันละ 60นาที ทุกวัน
( สามารถทาสะสมได้อย่างน้อยครั้งละ 10 นาที)
(โดยรวม1. กิจกรรมออกก้าลังสร้างความแข็งแรงของ
กล้ามเนื้อ(Muscle-strengthening activities) แบบมีแรงต้าน
เพื่อสร้างความแข็งแรง อดทนของกล้ามเนื้อมัดใหญ่ (เช่น ปีน
ป่าย/ห้อยโหน/ดันพื้น เป็นต้น) และ 2. กิจกรรมสร้างความ
แข็งแรงของกระดูก(Bone-strengthening activities) (เช่น
กระโดด/ วิ่ง/เล่นกีฬา เป็นต้น)อย่างน้อย สัปดาห์ละ 3 วัน)
*ต้องท้าควบคู่กับการจัดการอาหาร
*เหมือนข้อแนะน้าฯเพื่อสุขภาพทุก
ประการ
*และเพิ่มกิจกรรมคือ
เด็กไม่ควรนั่งเฉยๆ ติดต่อกันเกิน
2 ชั่วโมงต่อวัน
27
การเคลื่อนไหวออกแรง/ออกก้าลังกาย(ต่อ)
กลุ่มวัย เพื่อสุขภาพ(Health) เพื่อการจัดการลดน้้าหนัก
ลดรอบเอว(Wt .Management)
2. กลุ่มผู้ใหญ่/วัย
ท้างาน
(อายุ 18-60ปี)
1.ควรทากิจกรรมเคลื่อนไหวออกแรง/ออกกาลังกายต่อเนื่อง
แบบผสมผสานหลากหลายรูปแบบรวมทั้งกิจกรรมพื้นบ้าน
ด้วยความหนักระดับปานกลาง (เช่น เดินเร็ว)และระดับหนัก
(เช่น วิ่ง) อย่างน้อยวันละ 30 นาที สัปดาห์ละ3-5 วัน
( สามารถทาสะสมได้อย่างน้อยครั้งละ 10 นาที)
หรือ2. ควรทากิจกรรมเคลื่อนไหวออกแรง/ออกกาลังกายด้วย
ความหนักระดับปานกลาง(เช่น เดินเร็ว) อย่างต่อเนื่อง
อย่างน้อยวันละ30 นาที สัปดาห์ละ3-5 วัน
( สามารถทาสะสมได้อย่างน้อยครั้งละ 10 นาที)
หรือ3.ควรทากิจกรรมเคลื่อนไหวออกแรง/ออกกาลังกายด้วย
ความหนักระดับหนัก (เช่น วิ่ง)อย่างน้อยวันละ20 นาที
สัปดาห์ละ 3 วัน
*และควรท้ากิจกรรมออกก้าลังสร้างความแข็งแรงของ
กล้ามเนื้อและกระดูก(Muscle&Bone-strengtheningactivities)
แบบมีแรงต้านเพื่อสร้างความแข็งแรง อดทนและยืดหยุ่นของ
กล้ามเนื้อมัดใหญ่(เช่น การยกน้าหนัก/หิ้วน้า /เดินขึ้นที่สูง/
ดันพื้นเป็นต้น) อย่างน้อยสัปดาห์ละ3 วัน
*และควรมีการยืดเหยียดกล้ามเนื้อก่อนและหลังการออกกาลัง
กายทุกครั้ง
*ต้องท้าควบคู่กับการจัดการอาหาร
*เหมือนข้อแนะน้าฯเพื่อสุขภาพข้อ
2 ที่ว่าควรทากิจกรรมเคลื่อนไหว
ออกแรง/ออกกาลังกายด้วยความ
หนักระดับปานกลางอย่างต่อเนื่อง
(เช่น เดินเร็ว)
*แต่เพิ่มเวลาเป็นอย่างน้อยวันละ
60 นาที สัปดาห์ละ5 วัน
28
การเคลื่อนไหวออกแรง/ออกก้าลังกาย(ต่อ)
กลุ่มวัย เพื่อสุขภาพ(Health) เพื่อการจัดการลดน้้าหนัก
ลดรอบเอว(Wt .Management)
3. กลุ่มผู้สูงอายุ
(อายุ 60 ปีขึ้นไป)
*ควรทากิจกรรมเคลื่อนไหวออกแรง/ออกกาลังกายโดยมีการ
เคลื่อนไหวตามวิถีชีวิตประจ้าวันแบบผสมผสานรวมหลาย
รูปแบบด้วยความหนักระดับปานกลาง(เช่น เดิน)และระดับ
หนัก (เช่น เดินเร็ว)อย่างน้อยวันละ 30 นาทีสัปดาห์ละ3-5 วัน
*ควรท้ากิจกรรมเคลื่อนไหวออกแรง/ออกก้าลังกายแบบ
ผสมผสาน หลีกเลี่ยงการเปลี่ยนทิศทางอย่างรวดเร็ว (ควรท้า
ตามความพร้อมของร่างกาย)
*ควรมีการยืดเหยียดกล้ามเนื้อก่อนและหลังการออกกาลังกาย
ทุกครั้ง
*และควรทากิจกรรมออกกาลังสร้างความแข็งแรงของ
กล้ามเนื้อและกระดูก(Muscle&Bone-strengthening activities)
แบบมีแรงต้านเพื่อสร้างความแข็งแรง อดทนและยืดหยุ่นของ
กล้ามเนื้อมัดใหญ่( เช่น หิ้วน้า/ เดินขึ้นที่สูง/ ดันพื้นเป็นต้น)
อย่างน้อยสัปดาห์ละ 3 วัน
*ต้องท้าควบคู่กับการจัดการอาหาร
* เหมือนข้อแนะน้าฯเพื่อสุขภาพ
ทุกประการ
*แต่เพิ่มเวลาเป็นอย่างน้อยวันละ
60 นาที สัปดาห์ละ5 วัน
29
3.2.2 อ. อาหาร
ค้าแนะน้าด้านการบริโภคอาหารเพื่อส่งเสริมสุขภาพ
การดูแลด้านอาหาร ต้องคานึงถึง ตามความต้องการที่แท้จริงของร่างกายเพื่อสุขภาพที่ดีในแต่ละวัย
และตามวัฒนธรรมการกินของคนไทย ให้ยึดแนวปฏิบัติการกินที่ถูกต้อง ตามข้อปฏิบัติการกินอาหารเพื่อสุขภาพที่
ดีของคนไทย 9 ข้อ ดังนี้
ข้อปฏิบัติการกินอาหารเพื่อสุขภาพที่ดีของคนไทย9 ข้อ
ข้อ ข้อปฏิบัติการกินอาหารเพื่อสุขภาพที่ดี
ของคนไทย
ข้อปฏิบัติที่ควรเน้นพิเศษเพื่อควบคุมน้้าหนัก
1 กินอาหารครบ ๕ หมู่ แต่ละหมู่
ให้หลากหลายและหมั่นดูแลน้าหนักตัว
เน้นกิน หลากหลายแต่ได้สมดุล
และหมั่นดูแลรอบเอว “80 90 ไม่ให้เกิน”
2 กินข้าวเป็นอาหารหลัก สลับกับ
อาหารประเภทแป้งเป็นบางมื้อ
เน้นกินธัญพืชเพื่อให้ได้กากใย เช่น ข้าวกล้อง ข้าวโพด
ลูกเดือย ข้าวโอ๊ต
3 กินพืชผักให้มากและกินผลไม้
เป็นประจา
เน้นพืชผักและผลไม้ 5 สี ได้แก่สีเขียว สีเหลืองส้ม
สีม่วงน้าเงิน สีแดง และสีขาว และกินในปริมาณที่มาก
พอให้ร่างกายได้รับใยอาหารไม่น้อยกว่า 20 กรัมต่อวัน
4 กินปลาเนื้อสัตว์ไม่ติดมัน ไข่
และถั่วเมล็ดแห้งเป็นประจา
เน้นวิธีการประกอบอาหารแบบไม่ใช้น้ามัน เช่น ต้ม นึ่ง
ลวก อบ ปิ้ง ย่าง
5 ดื่มนมให้เหมาะสมตามวัย เน้น ดื่มนมหรือโยเกิร์ต ขาดมันเนย รสจืด
6 กินอาหารที่มีไขมันแต่พอควร เน้น กรดไขมันไม่อิ่มตัวตาแหน่งเดียว เช่นน้ามันราข้าว
น้ามันงา น้ามันมะกอก น้ามันถั่วลิสง สลับกับ กรดไขมัน
ไม่อิ่มตัวหลายตาแหน่ง เช่นน้ามันปลาหรือ กรดโอเมก้า
3 น้ามันถั่วเหลือง ข้าวโพด ดอกคาฝอย เมล็ดทานตะวัน
เมล็ดฝ้าย ฯลฯ และหลีกเลี่ยง กรดไขมันทรานส์ พบมาก
ในมาร์การีน เฟรนซ์ฟรายส์ โดนัท แครกเกอร์ คุกกี้ เค้ก
และพาย และกรดไขมันอิ่มตัว เช่น น้ามันหมู น้ามันปาล์ม
น้ามันมะพร้าว เนย
7 หลีกเลี่ยงการกินอาหารรสหวานจัด และ
เค็มจัด
เน้น กินจืด ไม่ปรุงรสเพิ่มเติม
8 กินอาหารที่สะอาดปราศจากการปนเปื้อน เน้นกินอาหารสุกใหม่ ๆ และใช้แหล่งวัตถุดิบที่ปลอดจาก
สารพิษ
9 งดหรือลดเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ เน้นดื่มน้าเปล่าที่อุ่นๆ ให้มาก ๆ
30
อาหารตามกลุ่มวัย
ความต้องการสารอาหารและพลังงานแต่ละกลุ่มวัยแตกต่างกัน ตามเพศ อายุ น้าหนักตัว ส่วนสูง สภาวะ
ของร่างกาย ซึ่งกองโภชนาการได้กาหนดชนิดและปริมาณสารอาหารที่คนไทยควรได้รับใน1 วัน ดังธงโภชนาการ
3.2.3 อ. อารมณ์
การกินและการเคลื่อนไหวออกแรง/ออกกาลังแล้ว อารมณ์ยังเป็นเรื่องที่สาคัญเช่นกัน ความเครียดและ
การนอนที่ไม่เพียงพอเป็นปัจจัยส่งเสริมให้น้าหนักและรอบเอวเกินได้ รวมทั้งการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
ก็จาเป็นต้องใช้วิธีหรือกระบวนการทางจิตวิทยาเข้าช่วย
ความเครียดเป็นสาเหตุหนึ่งที่ทาให้อ้วนได้ เพราะคนที่อยู่ในภาวะเครียดมักเลือกวิธีการกินเพื่อสนอง
ความรู้สึกทางอารมณ์ (เครียด เบื่อ เพลีย) โดยมักอยากกินของหวาน เพราะรสหวานที่ลิ้นกระตุ้นการหลั่งสารเคมี
ในสมอง คือเอนเดอร์ฟิน และเซโรโทนิน ซึ่งช่วยให้อารมณ์ดีขึ้น และทาให้อารมณ์สงบไม่รุ่มร้อน ดังนั้น
ควรสังเกตอารมณ์เหล่านี้ว่าเกิดเมื่อใด และมองหากิจกรรมอื่นทดแทนการเลือกกินเพื่อบาบัดอารมณ์เหล่านี้
31
เช่น เดินเที่ยว คุยกับเพื่อน ฝึกเทคนิคการผ่อนคลาย หลบหลีกสถานการณ์และสิ่งยั่วยวนที่จะนาไปสู่พฤติกรรมกิน
ไม่อั้น
หลักการควบคุมอารมณ์และความรู้สึกขณะลดน้้าหนัก
ควรหลีกเลี่ยงความเครียด เพราะความเครียดทาให้ร่างกายหลั่งฮอร์โมนคอร์ติซอล มีผลให้ระบบ
เผาผลาญลดลง และความเครียดทาให้ร่างกายหลั่ง กลูโคคอร์ติคอยด์ มากขึ้น หากมีฮอร์โมนชนิดนี้มากจะทาให้
อ้วนและทาให้ภูมิต้านทานโรคอ่อนแอลง ผู้ที่มีความเครียด ควรเสริมวิตามินบี อาหารที่มีวิตามินบีสูง ได้แก่
เนื้อสัตว์ ส้ม นม เนยแข็ง ไข่ ถั่ว ผัก และผลไม้ และนอนหลับพักผ่อนให้เพียงพอ เพราะการนอนไม่เพียงพอ จะทา
ให้อ้วนลงพุงง่าย ทั้งนี้เกิดจากร่างกายหลั่ง Growth hormone (ทาหน้าที่ควบคุมสัดส่วนระหว่างปริมาณไขมันกับ
กล้ามเนื้อ) ลดลงทาให้มีแนวโน้มน้าหนักเกิน และร่างกายยังหลั่งสาร leptin (ทาหน้าที่ควบคุมการเผาผลาญ
คาร์โบไฮเดรต) ลดลงทาให้ร่างกายต้องการคาร์โบไฮเดรตอย่างมากโดยไม่คานึงถึงปริมาณแคลอรีที่ได้รับ
นอกจากนั้น การนอนน้อยกว่า 7-8 ชั่วโมงต่อวัน จะทาให้มีระดับน้าตาลและอินซูลินในเลือดสูง ทาให้ลดน้าหนัก
ยาก เพราะระดับอินซูลินสูงจะทาให้ร่างกายเก็บสะสมไขมันจากอาหารส่วนเกินง่ายขึ้น
สาหรับคนที่มีความเครียดนั้น จาเป็นต้องรู้วิธีจัดการกับความเครียด เพราะการจัดการความเครียดได้เร็ว
และเหมาะสมจะเป็นผลดีต่อสุขภาพร่างกาย และจิตใจ วิธีจัดการกับความเครียด ซึ่งอ่านรายละเอียดเพิ่มเติมได้จาก
การให้การปรึกษาในศูนย์สุขภาพชุมชน กรมสุขภาพจิต โดยแบ่งเป็น 3 วิธีดังต่อไปนี้
สกัด
สิ่งกระตุ้นที่ทาให้หิว
สะกด
ใจไม่ให้บริโภคเกิน
สะกิด
ให้คนรอบข้างช่วยเหลือ
พยายามหลีกเลี่ยงการไปศูนย์อาหาร หรือจุดที่มีอาหาร
เพื่อจะได้ไม่กระตุ้นให้เราหิวหรืออยากชิมอาหาร หาก
หลีกเลี่ยงไม่ได้อย่าพยายามนึกถึงความอร่อยหรือ
รสชาติของอาหารเหล่านั้น
เมื่อพบเห็นอาหารต้องพยายามสะกดอารมณ์ของตัวเอง
ไม่ให้อยากลองหรือบริโภคมากเกินโดยไม่มีสติ พร้อม
ทั้งต้องระลึกไว้เสมอว่าหากบริโภคอาหารมากเกินจะ
ทาให้เราอ้วนขึ้น
ต้องทาความเข้าใจกับครอบครัวและคนรอบข้าง ถึง
ความจาเป็นในการลดน้าหนักเพื่อคอยช่วยเหลือและ
เป็นกาลังใจขณะลดน้าหนัก รวมทั้งไม่ซ้าเติมหรือยั่ว
ให้เราบริโภคอาหารเกิน
32
1. การหันความสนใจ คือ การพักความคิดในเรื่องนั้นไว้ชั่วคราว อาจทาโดย ออกกาลังกาย หาอะไรทา
แล้วรู้สึกเพลิดเพลิน เช่น อ่านหนังสือ ปลูกต้นไม้ ไม่อยู่คนเดียว ใช้เวลาไปช่วยเหลือผู้อื่น
2. การผ่อนคลายความเครียด โดยการหันกลับมาสนใจที่ตัวเรา รับรู้ว่าตนเองกาลังเครียดและหาทาง
ผ่อนคลายความเครียดจากหนักเป็นเบา สงบลงได้ ซึ่งการผ่อนคลายความเครียดมีหลายวิธีได้แก่
การนวดคลายเครียด การฝึกหายใจ การผ่อนคลายกล้ามเนื้อ โดยขึ้นอยู่กับแต่ละคนจะเลือกนาไปใช้
ตามความเหมาสม
วิธีฝึกการผ่อนคลายกล้ามเนื้อ โดยแบ่งเป็น10 กลุ่ม ดังต่อไปนี้
1. มือและแขนขา โดยกามือ เกร็งแขน แล้วคลาย
2. มือและแขนซ้าย โดยทาเช่นเดียวกัน
3. หน้าผาก โดยเลิกคิ้วสูง แล้วคลาย ขมวดคิ้ว แล้วคลาย
4. ตาแก้มจมูก โดยหลับตาแน่น ย่นจมูก แล้วคลาย
5. ขากรรไกร ลิ้น ริมฝีปาก โดยกัดฟัน ใช้ลิ้นดันเพดานปาก แล้วคลาย เม้มปากแน่นแล้วคลาย
6. คอ โดยก้มหน้าให้คางจดคอ แล้วคลาย เงยหน้าจนสุด แล้วคลาย
7. อก ไหล่ และหลัง โดยหายใจเข้าลึกๆกลั้นใจ แล้วคลาย ยกไหล่สูง แล้วคลาย
8. หน้าท้อง และก้น โดยแขม่วท้อง แล้วคลาย ขมิบก้น แล้วคลาย
9. เท้าและขาขวา โดยเหยียดขา งอนิ้วเท้า แล้วคลาย เหยียดขากระดกปลายเท้า แล้วคลาย
10. เท้าและขาซ้าย โดยทาเช่นเดียวกัน
ข้อแนะน้าในการฝึกการผ่อนคลายกล้ามเนื้อ
- ระยะเวลาที่เกร็งกล้ามเนื้อ ให้น้อยกว่าระยะเวลาที่ผ่อนคลาย เช่น เกร็ง 3-5 วินาที ผ่อนคลาย 10-
15 วินาที
- เวลากามือ ระวังอย่าให้เล็บจิกเนื้อตัวเอง
- ควรฝึกประมาณ 5-12 ครั้ง เพื่อให้เกิดความชานาญ
- เมื่อคุ้นเคยกับการผ่อนคลายแล้ว ให้ฝึกคลายกล้ามเนื้อได้เลย โดยไม่จาเป็นต้องเกร็งก่อน
- อาจเลือกคลายกล้ามเนื้อ เฉพาะส่วนที่เป็นปัญหาเท่านั้นก็ได้ เช่น บริเวณใบหน้า ต้นคอ หลัง
ไหล่ เป็นต้น ไม่จาเป็นต้องคลายกล้ามเนื้อ ทั้งตัว จะช่วยให้ใช้เวลาน้อยลง และสะดวกมากขึ้น
3. การฝึกหายใจ คือ การหายใจด้วยการใช้กล้ามเนื้อกระบังลมบริเวณท้อง หายใจเข้าออก ช้าๆ ลึกๆ จะ
ช่วยให้ร่างกายได้อากาศเข้าสู่ปอดมากขึ้น เพิ่มปริมาณออกซิเจนในเลือด การหายใจที่ถูกต้องจะช่วย
ให้หัวใจเต้นช้าลง สมองแจ่มใส รู้สึกผ่อนคลาย ซึ่งคนที่มีความเครียดส่วนใหญ่เมื่อเครียดแล้วจะ
หายใจตื้น หายใจไม่เต็มปอด หรือที่บางคนบอกว่าหายใจไม่อิ่ม
3.2.4 ส. สุรา งด หรือลดการดื่มเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์
เทคนิคบอกลา เครื่องดื่มแอลกอฮอล์
1. เขียนเหตุผลว่าทาไมจึงควรหยุดดื่มสุรา
33
2. ลงมือปฏิบัติ โดยกาหนดวันที่จะเริ่มหยุดดื่ม เขียนวันที่ตั้งใจจะเริ่มหยุดดื่มไว้ในที่เห็นได้ชัด
3. บอกความตั้งใจของคุณให้คนอื่นรับรู้ด้วย
4. ระหว่างที่หยุดดื่มนั้น ให้กลับมาดูรายการเหตุผล ที่เขียนไว้ในข้อแรกบ่อยๆ
5. หากเผลอดื่มในระหว่างที่งด ให้คิดว่าเป็นประสบการณ์เพื่อเรียนรู้และเริ่มต้นใหม่
6. หลังประสบความสาเร็จในการหยุดดื่ม ในช่วงเวลาที่ตั้งใจไว้ ให้ต่อเวลาออกไปอีก เมื่อทาไปเรื่อยๆ ก็
จะกลายเป็นความเคยชิน
7. หากความตั้งใจหยุดดื่มไม่สาเร็จอาจปรึกษาแพทย์
8. หลีกเลี่ยงสิ่งใดก็ตามที่จะทาลายความตั้งใจ
9. ตั้งเป้าหมายให้แน่วแน่ และจะประสบความสาเร็จในที่สุด
3.2.5 ส. ยาสูบ เลิกสูบบุหรี่และหลีกเลี่ยงจากควันบุหรี่
หลักการปฏิบัติตนเพื่อการเลิกบุหรี่
1. ขอคาปรึกษาเพื่อให้มีแนวทางในการเลิก จากแพทย์ ผู้ให้คาปรึกษา หรือผู้ที่สามารถเลิกบุหรี่
ได้สาเร็จ เช่น สมัครเข้าชมรมเพื่อการเลิกบุหรี่
2. หากาลังใจ บอกคนใกล้ชิดว่าเลิกบุหรี่ครั้งนี้เพื่อคนที่คุณรัก
3. ตั้งเป้าหมายให้แน่วแน่ ในการวางแผนเลิกบุหรี่ โดยกาหนดวันที่เลิก เช่น วันสาคัญต่างๆ
4. ไม่รอช้าลงมือปฏิบัติ เตรียมตัวเพื่อการเลิกบุหรี่ ถ้าหวั่นไหวอาจใช้การบาบัดทางยาช่วย เช่น
หมากฝรั่ง ยาอมบ้วนปากเพื่อลดการอยากบุหรี่
5. ถือคามั่นไม่หวั่นไหว แม้มีอาการไม่สุขสบาย หมั่นเตือนตนว่าจะเลิกบุหรี่ให้ได้
6. ห่างไกลสิ่งกระตุ้น ความอยากสูบ โดยหลีกเลี่ยงการอยู่ใกล้ชิดกับคนสูบบุหรี่
7. รู้สึกเครียดควรหยุดพัก และหาแนวทางคลายเครียด เช่น เล่นกีฬา ดูภาพยนตร์ ฟังเพลง พูดคุย
กับเพื่อน
8. ออกกาลังกาย วันละอย่างน้อย30 นาที จะช่วยคุมน้าหนักและทาให้สมองปลอดโปร่ง
9. ไม่ท้าทาย ไม่ควรคิดลองสูบบุหรี่อีกครั้ง เพราะจะทาให้หวนกลับสูบบุหรี่ได้
10. หากล้มเหลว ควรเริ่มต้นอีกครั้งอย่าท้อถอย จะพบความสาเร็จในการเลิก
3.3 แนวทางการดูแลกลุ่มเสี่ยงสูงต่อเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การดูแลกลุ่มเสี่ยงสูงตั้งแต่ยังไม่มีอาการ โดยการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและวิถีชีวิตที่ไม่เหมาะสม เพื่อลด
ปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง สามารถป้องกันและยืดระยะเวลาการเป็นโรคออกไปได้
ถึงร้อยละ 50 จึงเป็นวิธีการป้องกันการเกิดโรคที่ดีที่สุด
34
3.3.1 การจัดบริการเพื่อป้องกันเบาหวาน และความดันโลหิตสูงในกลุ่มเสี่ยงสูงฯ
1. ประเมินปัจจัยเสี่ยงรายบุคคลด้าน พฤติกรรมบริโภคอาหารผัก ผลไม้ การเคลื่อนไหวและการออกกาลัง
กาย ภาวะน้าหนักเกินและอ้วนการสูบบุหรี่ การดื่มสุรา และการจัดการความเครียด รวมถึงการประเมิน
สภาพแวดล้อมของผู้รับบริการ
2. กลุ่มเสี่ยงสูงต่อภาวะเบาหวาน (Pre-diabetes) ภาวะความดันโลหิตสูง (Pre-hypertension)
และผู้ให้บริการร่วมวิเคราะห์ ออกแบบ กาหนดเป้าหมาย ข้อตกลงร่วมกัน และเลือกวิธีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
รวมถึงความเป็นไปได้ ตามบริบทของกลุ่มเสี่ยง
3. จัดให้มีสมุดหรือบันทึกประจาตัวการติดตาม ซึ่งสามารถใช้ ตัวอย่างแบบบันทึกของกรมสุขภาพจิต และ
ปรับเพิ่มรายละเอียดกิจกรรมในกลุ่มเสี่ยงสูงต่อภาวะเบาหวานและความดันโลหิตสูง เพื่อติดตามและประเมิน การ
ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมรายบุคคล
4. จัดระบบการกระตุ้นเตือน และติดตามประเมิน ซึ่งจากการศึกษาของ Pan X และคณะ แนะนาให้มีการ
ติดตาม ทุก 1 เดือนใน 3 เดือนแรก และเดือนที่ 6 โดยวิธีต่างๆ เช่น นัดที่จุดบริการ ส่งจดหมาย โทรศัพท์ เยี่ยมบ้าน
ประกอบด้วยกิจกรรมดังต่อไปนี้
4.1 ประเมินรายบุคคล โดยการวัดรอบเอว ชั่งน้าหนัก และประเมินด้าน พฤติกรรม การบริโภค
อาหาร ผัก ผลไม้ การเคลื่อนไหว การออกกาลังกาย ภาวะน้าหนักเกินและอ้วน ความเครียด บุหรี่สุรา ร่วมวิเคราะห์
ปัญหา อุปสรรค ปัจจัยเสริม ปัจจัยเอื้อเพื่อหาวิธีการและแนวทางร่วมกันในการปรับเปลี่ยน พฤติกรรม และ ลง
บันทึกในสมุดบันทึกประจาตัวทุกครั้ง เพื่อติดตามการเปลี่ยนแปลง
4.2 เฉพาะในเดือนที่ 6 ประเมินตามข้อ 4.1 และตรวจน้าตาลในเลือด (FPG) / ค่าความดันโลหิต
(BP) เพื่อ ติดตาม การเปลี่ยนแปลงของผู้ที่เสี่ยงสูงต่อเบาหวานและความดันโลหิตสูง( Pre-diabetes /
Pre-hypertension)
5. แจ้งผลการประเมินให้แก่กลุ่มเสี่ยง พร้อมสนับสนุนให้เกิดการเรียนรู้ หรือขอคาแนะนาจาก คลินิก
DPAC ซึ่งเป็นหน่วยให้คาปรึกษา ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหาร และการจัดกิจกรรมการ
เคลื่อนไหวออกแรง/ออกกาลัง ให้เหมาะสมในแต่ละกลุ่มวัย รวมทั้งสนับสนุนให้มีการปฏิบัติอย่างต่อเนื่อง และ
ติดตาม ประเมินผล โดยครอบคลุม ประชาชนทั่วไป ผู้สนใจดูแลสุขภาพ กลุ่มเสี่ยงด้านพฤติกรรม และกลุ่มป่วย
ด้วยโรคเรื้อรัง
6. เฝ้าระวัง ติดตาม อย่างต่อเนื่อง
3.3.2 การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อลดปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและวิถีชีวิตสามารถป้องกันโรคดังกล่าวได้ซึ่งจากการศึกษาพบว่า
การดาเนินการ ในกลุ่มเสี่ยงสูงสามารถป้องกันการเกิดโรคได้โดยใช้หลัก3 อ 2 ส ดังที่จะกล่าวต่อไป
1. อาหาร ลดการรับประทานอาหารรสจัด (หวาน มัน เค็ม) และเพิ่มการรับประทานผัก ผลไม้ที่ ไม่หวาน
อย่างน้อย 5-6 ทัพพีหรือครึ่งกิโลกรัมต่อวัน
2. ออกกาลังกาย ที่เหมาะสมกับวัยอย่างสม่าเสมออย่างน้อย 30 นาที/วัน 5-7 วันต่อสัปดาห์
35
3. อารมณ์ โดยการทาจิตใจให้สบาย ฝึกหายใจช้าๆ เพื่อคลายเครียด
4. งดสูบบุหรี่ และหลีกเลี่ยงควันบุหรี่
5. งดเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์
3.4 แนวทางการดูแลกลุ่มป่วยด้วยโรคเบาหวานและ/หรือความดันโลหิตสูง
3.4.1 การตรวจวินิจฉัยโรค
ประชากรกลุ่มเสี่ยงที่พบภาวะผิดปกติ ได้รับการส่งต่อเพื่อรับการตรวจวินิจฉัยจากแพทย์เพื่อรับการรักษาที่
ถูกต้องเหมาะสม ตั้งแต่ระยะเริ่มแรก โดยมีเกณฑ์ในการวินิจฉัยโรค ดังนี้
เกณฑ์ในการวินิจฉัยโรค
การวินิจฉัยโรคเบาหวาน สามารถตรวจได้โดยวิธี
1.1 การตรวจระดับน้าตาลในเลือดขณะอดอาหารอย่างน้อย 8 ชั่วโมง ( Fasting plasma glucose, FPG)
ถ้าระดับน้าตาลที่ได้ มากกว่าหรือเท่ากับ 126 มก./ดล. ผู้ป่วยควรได้รับการตรวจซ้าอีก เพื่อยืนยันผล
1.2 การตรวจระดับน้าตาลในเลือดที่ 2 ชั่วโมงหลังดื่มน้าตาลกลูโคส 75 กรัม (OralGlucose Tolerance Test,
OGTT) ถ้าระดับน้าตาลที่ได้ มากกว่าหรือเท่ากับ 200 มก. / ดล. ถือว่าเป็นเบาหวาน ซึ่งผู้ป่วยควรได้รับการตรวจซ้า
เพื่อยืนยันผล
1.3 ในกรณีที่ผู้ป่วยมีอาการของโรคเบาหวานชัดเจน ได้แก่ หิวน้ามาก ปัสสาวะมากหรือน้าหนักตัวลดโดย
ไม่ทราบสาเหตุ ตรวจระดับพลาสมากลูโคสขณะที่ไม่อดอาหารได้มากกว่าหรือเท่ากับ 200 มก./ดล. ให้วินิจฉัยว่า
เป็นเบาหวานเช่นกัน
การวินิจฉัยความดันโลหิตสูง
วินิจฉัยว่าผู้ป่วยมีภาวะความดันโลหิตสูง เมื่อมีระดับความดันโลหิตมากกว่าหรือเท่ากับ 140/90 มม.ปรอท
ซึ่งจะเป็นค่าตัวบน หรือล่างก็ได้
3.4.2 การดูแลรักษาผู้ป่วยเบาหวานและ/หรือความดันโลหิตสูง
ภายหลังได้รับการวินิจฉัยจากแพทย์ ผู้ป่วย จะต้องได้รับการดูแลรักษาที่เหมาะสม เพื่อรักษาอาการที่
เกิดขึ้นจากภาวะน้าตาลในเลือดสูงหรือภาวะความดันโลหิตสูง ป้องกันและรักษาการเกิดโรคแทรกซ้อนระยะ
เฉียบพลัน ป้องกันหรือชะลอการเกิดโรคแทรกซ้อนเรื้อรัง รวมทั้งมีเป้าหมายเพื่อให้ผู้ป่วยมีคุณภาพชีวิตที่ดี
ใกล้เคียงคนปกติ แต่โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงเป็นโรคเรื้อรังที่ผู้ป่วยต้องเผชิญเป็นเวลายาวนาน การดูแล
รักษาที่จะเกิดผลดี จาเป็นต้องใช้ความร่วมมือระหว่างแพทย์ ตัวผู้ป่วยและญาติ ทีมบุคลากรสาขาอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
โดยการดูแลรักษาประกอบด้วย
36
1. ตั้งเป้าหมายการควบคุมระดับน้าตาลและระดับความดันโลหิตให้เหมาะสมกับอายุและ สภาวะของ
ผู้ป่วย
2. เน้นให้ผู้ป่วยและญาติมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมชีวิต ทั้งด้านอาหารและการออก
กาลังกายให้เหมาะสม
3. ส่งเสริมสนับสนุนการดูแลตนเองและประเมินผลการรักษาด้วยตนเองแก่ผู้ป่วยและ
ญาติโดยมีการกาหนดเป้าหมายในการควบคุมโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
เป้าหมายการควบคุมเบาหวาน เพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อนจากโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การควบคุม/การปฏิบัติตัว เป้าหมาย
การควบคุมเบาหวาน
• ระดับน้าตาลในเลือด*
- ก่อนอาหาร
- หลังอาหาร 1- 2 ชั่วโมง
- น้าตาลสะสมเฉลี่ย(HbA1C)
„ 70- 130 มก./ดล.
• น้อยกว่า 180 มก./ดล.
• น้อยกว่า 7 %
ระดับไขมันในเลือด
• ระดับโคเลสเตอรอลรวม
• ระดับ แอล ดี แอล โคเลสเตอรอล
• ระดับไตรกลีเซอร์ไรด์
• ระดับ เอช ดี แอลโคเลสเตอรอล : ชาย
: หญิง
„ 130-170มก./ดล.
• น้อยกว่า 100 มก./ดล.
• น้อยกว่า 150 มก./ดล.
• มากกว่าหรือเท่ากับ 40 มก./ดล.
• มากกว่าหรือเท่ากับ 50 มก./ดล.
ความดันโลหิต**
• ความดันโลหิตตัวบน( Systolic BP )
• ความดันโลหิตตัวล่าง( Diastolic BP)
• น้อยกว่า 130 มม.ปรอท
• น้อยกว่า 80 มม.ปรอท
37
น้้าหนักตัว
• ดัชนีมวลกาย
• รอบเอว : ผู้ชาย
: ผู้หญิง
„ 18.5 ‟ 22.9 กก. / ม.2
• น้อยกว่า 90 ซม.
• น้อยกว่า 80 ซม.
การสูบบุหรี่ ไม่สูบบุหรี่และหลีกเลี่ยงการรับควันบุหรี่
การออกก้าลังกาย ตามคาแนะนาของแพทย์
ที่มา : สมาคมโรคเบาหวานแห่งประเทศไทยฯ,สมาคมโรคต่อมไร้ท่อแห่งประเทศไทย, สานักงานหลักประกัน
สุขภาพแห่งชาติ . แนวทางเวชปฏิบัติสาหรับเบาหวาน พ.ศ. 2551
* American Diabetes Association, Standard of Medical care in Diabetes-2010
** ในผู้ป่วยสูงอายุและผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง เป้าหมายความดันโลหิตคือ น้อยกว่า 140/90 มม.ปรอท
หรือใกล้เคียง
3.4.3 เป้าหมายในการควบคุมความดันโลหิตสูง
ในการดูแลรักษาได้มีการกาหนดเป้าหมายของการลดความดันโลหิตในผู้ป่วย ดังนี้ -
- ในผู้ป่วยความดันโลหิตสูงที่ไม่มีภาวะแทรกซ้อน ควบคุมระดับความดันโลหิตให้ต่ากว่า140/90 มม.ปรอท
- ในผู้ป่วยอายุน้อย ผู้ป่วยเบาหวาน ผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง ผู้ป่วยหลังกล้ามเนื้อหัวใจตายและผู้ป่วยหลังเป็นอัม
พฤกษ์/อัมพาต ควรควบคุมระดับความดันโลหิตให้ต่ากว่า130/80 มม.ปรอท
3.4.4 การตรวจคัดกรองภาวะแทรกซ้อน
นอกจากการควบคุมให้ระดับน้าตาลและความดันโลหิตเป็นไปตามเป้าหมายในการดูแลรักษาแล้ว
การตรวจคัดกรองเพื่อค้นหาภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยเป็นสิ่งสาคัญที่ต้องดาเนินการอย่างต่อเนื่อง รวมทั้งหากตรวจ
พบภาวะผิดปกติ ต้องส่งต่อเพื่อให้ผู้ป่วยพบผู้เชี่ยวชาญเฉพาะทาง เพื่อรับการรักษาที่ถูกต้องเหมาะสม ดังนี้
ผู้ป่วยเบาหวาน
1. การตรวจคัดกรองภาวะแทรกซ้อนทางตา(ตรวจจอประสาทตา) โดยจักษุแพทย์ หรือโดยวิธีใช้กล้อง
ถ่ายภาพจอประสาทตา โดยมีคาแนะนาในการตรวจคัดกรองและติดตาม ดังตาราง
แนวทางการป้องกันควบคุมโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
แนวทางการป้องกันควบคุมโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
แนวทางการป้องกันควบคุมโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
แนวทางการป้องกันควบคุมโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
แนวทางการป้องกันควบคุมโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
แนวทางการป้องกันควบคุมโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง

Weitere ähnliche Inhalte

Mehr von Utai Sukviwatsirikul

การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)Utai Sukviwatsirikul
 
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee VaravithyaDrugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee VaravithyaUtai Sukviwatsirikul
 
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...Utai Sukviwatsirikul
 
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...Utai Sukviwatsirikul
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...Utai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตแนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตUtai Sukviwatsirikul
 
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงUtai Sukviwatsirikul
 
ความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไตความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไตUtai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)Utai Sukviwatsirikul
 
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการพระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการUtai Sukviwatsirikul
 
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉินข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉินUtai Sukviwatsirikul
 
Clinical case emergency contraceptives
Clinical case emergency contraceptivesClinical case emergency contraceptives
Clinical case emergency contraceptivesUtai Sukviwatsirikul
 
การบริหารคน ของคุณ รวิศ หาญอุตสาหะ
การบริหารคน ของคุณ รวิศ  หาญอุตสาหะ การบริหารคน ของคุณ รวิศ  หาญอุตสาหะ
การบริหารคน ของคุณ รวิศ หาญอุตสาหะ Utai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการดูแลรักษาผู้สัมผัสโรคพิษสุนัขบ้า 2561
แนวทางการดูแลรักษาผู้สัมผัสโรคพิษสุนัขบ้า 2561แนวทางการดูแลรักษาผู้สัมผัสโรคพิษสุนัขบ้า 2561
แนวทางการดูแลรักษาผู้สัมผัสโรคพิษสุนัขบ้า 2561Utai Sukviwatsirikul
 
การรักษาและป้องกันการบาดเจ็บและเสียชีวิตจากแมงกะพรุน Box jellyfish กับ Portug...
การรักษาและป้องกันการบาดเจ็บและเสียชีวิตจากแมงกะพรุน Box jellyfish กับ Portug...การรักษาและป้องกันการบาดเจ็บและเสียชีวิตจากแมงกะพรุน Box jellyfish กับ Portug...
การรักษาและป้องกันการบาดเจ็บและเสียชีวิตจากแมงกะพรุน Box jellyfish กับ Portug...Utai Sukviwatsirikul
 
Death dictionary ปทานุกรมความตาย
Death dictionary ปทานุกรมความตายDeath dictionary ปทานุกรมความตาย
Death dictionary ปทานุกรมความตายUtai Sukviwatsirikul
 

Mehr von Utai Sukviwatsirikul (20)

SME Handbook
SME HandbookSME Handbook
SME Handbook
 
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
 
Scientific evidence of BIOFLOR
Scientific evidence of BIOFLORScientific evidence of BIOFLOR
Scientific evidence of BIOFLOR
 
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee VaravithyaDrugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
 
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
 
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
 
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตแนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
 
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
 
ความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไตความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไต
 
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
 
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการพระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
 
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉินข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
 
Clinical case emergency contraceptives
Clinical case emergency contraceptivesClinical case emergency contraceptives
Clinical case emergency contraceptives
 
การบริหารคน ของคุณ รวิศ หาญอุตสาหะ
การบริหารคน ของคุณ รวิศ  หาญอุตสาหะ การบริหารคน ของคุณ รวิศ  หาญอุตสาหะ
การบริหารคน ของคุณ รวิศ หาญอุตสาหะ
 
แนวทางการดูแลรักษาผู้สัมผัสโรคพิษสุนัขบ้า 2561
แนวทางการดูแลรักษาผู้สัมผัสโรคพิษสุนัขบ้า 2561แนวทางการดูแลรักษาผู้สัมผัสโรคพิษสุนัขบ้า 2561
แนวทางการดูแลรักษาผู้สัมผัสโรคพิษสุนัขบ้า 2561
 
การรักษาและป้องกันการบาดเจ็บและเสียชีวิตจากแมงกะพรุน Box jellyfish กับ Portug...
การรักษาและป้องกันการบาดเจ็บและเสียชีวิตจากแมงกะพรุน Box jellyfish กับ Portug...การรักษาและป้องกันการบาดเจ็บและเสียชีวิตจากแมงกะพรุน Box jellyfish กับ Portug...
การรักษาและป้องกันการบาดเจ็บและเสียชีวิตจากแมงกะพรุน Box jellyfish กับ Portug...
 
A brief-guide-for-tobacco-control
A brief-guide-for-tobacco-controlA brief-guide-for-tobacco-control
A brief-guide-for-tobacco-control
 
Gambling helping
Gambling helpingGambling helping
Gambling helping
 
Death dictionary ปทานุกรมความตาย
Death dictionary ปทานุกรมความตายDeath dictionary ปทานุกรมความตาย
Death dictionary ปทานุกรมความตาย
 

แนวทางการป้องกันควบคุมโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง

  • 1. บทที่ 3 แนวทางการป้องกันควบคุมโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง 3.1 แนวทางการคัดกรองเบาหวานและความดันโลหิตสูง การคัดกรองกลุ่มเสี่ยงต่อภาวะเบาหวานและความดันโลหิตสูง หมายถึง กระบวนการคัดแยกบุคคลที่มี โอกาสเสี่ยงสูงต่อภาวะเบาหวานและความดันโลหิตสูงออกจากกลุ่มปกติ แนวทางการคัดกรองกลุ่มเสี่ยงต่อภาวะเบาหวานและความดันโลหิตสูง หมายถึงการคัดกรองประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไป ที่ไม่ทราบว่าเป็นโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ได้รับบริการคัดกรองเบาหวาน และความดัน โลหิตสูง พร้อมแจ้งผลโอกาสเสี่ยง และแนวทางปฏิบัติตนแก่ผู้ที่ได้รับการคัดกรอง ตามสถานะความเสี่ยง (รายละเอียดให้ดูจากแนวปฏิบัติสาหรับเจ้าหน้าที่สาธารณสุขในการจัดบริการคัดกรองและเสริมทักษะการ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพลดเสี่ยงลดโรคไม่ติดต่อในสถานบริการและในชุมชน โดย สานักโรคไม่ติดต่อ กรม ควบคุมโรค) กลุ่มเสี่ยงสูงต่อภาวะเบาหวาน(Pre-diabetes) กลุ่มเสี่ยงสูงต่อภาวะเบาหวาน (Pre-diabetes) หมายถึง ประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไป ที่ไม่ทราบว่าเป็น โรคเบาหวาน ได้รับ การคัดกรองเบาหวานโดยการ ประเมินปัจจัยเสี่ยงด้วยวาจา (Verbal screening) แล้วพบว่ามี ปัจจัยเสี่ยงตั้งแต่ 1 ข้อขึ้นไป และได้รับการตรวจน้าตาลในเลือด ( Fasting capillary blood glucose (FCG) หรือ Fasting plasma glucose (FPG)) โดยมีค่าระดับน้าตาลในเลือดอยู่ในช่วง 100-125 มิลลิกรัม/ เดซิลิตร ขั้นตอนการคัดกรองเบาหวาน 1. ใช้แบบสัมภาษณ์การคัดกรองเบาหวานด้วยวาจา เพื่อค้นหาปัจจัยเสี่ยงที่สาคัญอย่างใดอย่างหนึ่ง ข้อบ่งชี้ มี ไม่มี 1. มีประวัติครอบครัว บิดา มารดา พี่หรือน้อง คนใดคนหนึ่งเป็นโรคเบาหวาน หรือไม่ 2. มีภาวะอ้วน (BMI  25 กก./ม.2 ) และ/หรือ รอบเอว  90 ซม. ในผู้ชาย หรือ  80 ซม. ในผู้หญิง 3. มีความดันโลหิต  140/90 มม.ปรอท หรือมีประวัติความดันโลหิตสูง หรือ กาลังรับประทานยาควบคุมความดันโลหิตสูงหรือไม่ 4. มีประวัติผลการตรวจเลือดไขมันผิดปกติ (ไตรกลีเซอไรด์) 250 มก./ดล. และ/หรือ เอช ดี แอล คลอเรสเตอรอล (HDL cholesterol)  35 มก./ดล. หรือไม่
  • 2. 16 5. มีประวัติเป็นเบาหวานขณะตั้งครรภ์ หรือเคยคลอดบุตรที่น้าหนักตัวแรกคลอด  4000 กรัม หรือไม่ 6. มีประวัติผลการตรวจน้าตาลในเลือดผิดปกติจากการตรวจเลือดโดยการงด อาหาร(FPG)เท่ากับ 100-125 มก./ดล.(IFG) หรือตรวจน้าตาลในเลือด หลังดื่ม กลูโคส 75 กรัม 2 ชั่วโมง (OGTT) เท่ากับ 140 - 199 มก./ดล. (IGT) 2. ถ้าคัดกรองแล้วพบว่ามีปัจจัยเสี่ยง ตั้งแต่หนึ่งข้อขึ้นไป ให้ส่งตรวจวัดระดับน้าตาลในเลือดด้วยวิธีเจาะ ปลายนิ้ว (Fasting Capillary Blood Glucose: FCG) โดยเจ้าหน้าที่สาธารณสุข ทั้ง นี้ผู้รับการตรวจต้องอดอาหาร อย่างน้อย 8 ชั่วโมงก่อนเจาะเลือด การตรวจระดับระดับน้าตาลในเลือดโดยเจ้าหน้าที่สาธารณสุข ควรใช้การตรวจระดับพลาสมากลูโคสหลัง อดอาหาร (Fasting Plasma Glucose: FPG) หรือถ้าไม่สามารถ ตรวจ FPG .ให้ใช้การตรวจวัดระดับน้าตาลในเลือด จากปลายนิ้ว (FCG) - ระดับ FCG น้อยกว่า 100 มก./ดล. ถือว่าโอกาสพบความผิดปกติ ของระดับน้าตาลในเลือดมี น้อยจึงควรให้คาแนะนาแนวทางปฏิบัติเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมป้องกันโรคเบาหวานและนัด มาตรวจซ้าทุก 1-3 ปี - ระดับ FCG มากกว่าหรือเท่ากับ 100 มก./ดล. ให้ส่งตรวจระดับน้าตาลในเลือดโดยวิธีตรวจ พลาสมากลูโคสขณะอดอาหาร หมายเหตุ : ไม่แนะนาให้ตรวจวัดระดับน้าตาลในเลือดกรณีไม่อดอาหาร เนื่องจากค่าของระดับน้าตาลในเลือดมี โอกาสคลาดเคลื่อน ดังนั้น หากต้องการตรวจระดับน้าตาลในเลือดควรแนะนาให้อดอาหารก่อนมาตรวจ 8 ชั่วโมง
  • 3. 17 3. การจัดกลุ่มเป้าหมายหลังตรวจระดับน้าตาลในเลือดด้วยวิธีเจาะปลายนิ้ว ระดับน้้าตาลในเลือด (FCG) กลุ่ม ค้าแนะน้า < 100 มก./ดล. ปกติ - ยังไม่เป็นโรค มีความเสี่ยงน้อย ให้นัดตรวจFPG ซ้า ทุก 1 - 3 ปี - ควบคุมอาหาร ออกกาลังกายอย่างสม่าเสมอ 100-125 มก./ดล. กลุ่มเสี่ยงสูงต่อ เบาหวาน (Impaired fasting glucose (IFG) หรือ pre-diabetes) - ให้ส่งตรวจFPG :ซ้า เพื่อยืนยัน ผลเลือดอีกครั้ง - ป้องกันเบาหวาน โดยการควบคุมอาหาร ออกกาลัง กายอย่างสม่าเสมอ และควบคุมปัจจัยเสี่ยงอื่น - ติดตามตรวจFCG ซ้าทุก 6 เดือน ‟ 1 ปี - ประเมินโอกาสเสี่ยงต่อ โรคหัวใจขาดเลือด และอัม พฤกษ์อัมพาต ตามแนวปฏิบัติฯ สานักโรคไม่ติดต่อ หรือ แบบประเมินความเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอด เลือด (Rama-EGAT heart score) ≥ 126 มก./ดล. สงสัยว่าเป็น โรคเบาหวาน - ส่งตรวจด้วยวิธี FPG ซ้า เพื่อยืนยันก่อนการวินิจฉัย ว่าเป็นโรคเบาหวาน - ควบคุมอาหาร ออกกาลังกายอย่างสม่าเสมอ และ ควบคุมปัจจัยเสี่ยงอื่น - ประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจขาดเลือด และ อัมพฤกษ์อัมพาต กลุ่มเสี่ยงสูงต่อภาวะความดันโลหิตสูง(Pre-hypertension) กลุ่มเสี่ยงสูงต่อภาวะความดันโลหิตสูง (Pre-hypertension) หมายถึง ประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไป ที่ไม่ ทราบว่าเป็นโรคความดันโลหิตสูง ที่ได้รับการวัดความดันโลหิต แล้วพบว่า มีค่าความดันโลหิตซิสโตลิค อยู่ในช่วง 120-139 มิลลิเมตรปรอท และ/หรือ ความดันโลหิตไดแอสโตลิค อยู่ในช่วง 80-89 มิลลิเมตรปรอท หลักการคัดกรองความดันโลหิตสูง การเตรียมตัวเพื่อวัดความดันโลหิต 1. ควรหยุดกิจกรรมที่ใช้พลังงานมาก 1 ชั่วโมงก่อนรับการตรวจวัดความดันโลหิต เช่น ออกกาลังกายหรือทางาน หนักมาก เป็นต้น
  • 4. 18 2. ไม่ดื่มสุรา ชา กาแฟ เครื่องดื่มที่ผสมคาเฟอีน หรือสูบบุหรี่ก่อนวัดความดันโลหิต อย่างน้อย 30 นาที 3. ควรสวมเสื้อแขนสั้น หรือสวมเสื้อหลวมๆ สบายๆ สามารถพับแขนเสื้อขึ้นไปเหนือข้อศอกและต้นแขน เพื่อความสะดวกในการวัด 4. ควรปัสสาวะก่อนวัดความดันโลหิต 5. ก่อนวัดความดันโลหิต ควรนั่งพักอย่างน้อย 5 นาที โดยนั่งหลังพิงพนักเก้าอี้และเท้าทั้งสองวางราบกับพื้น วาง พักแขนบนโต๊ะที่ระดับหัวใจ ขณะวัดความดันโลหิต 1. ต้องไม่พูดคุยกัน 2. วัดความดันโลหิตอย่างน้อย2 ครั้ง ห่างกัน 3 ‟ 5 นาที 3. แจ้งค่าและอธิบายความหมายระดับความดันโลหิตที่วัดได้แก่ผู้ที่ได้รับการคัดกรอง 4. แนะนาการปฏิบัติตัวที่เหมาะสมกับระดับความดันโลหิต หมายเหตุ เครื่องมือวัดความดันโลหิตที่มีมาตรฐานเพื่อการคัดกรองได้แก่ 1. เครื่องมือวัดความดันโลหิตชนิดปรอทที่มีการสอบเทียบค่าเป็นระยะ 2. เครื่องมือวัดดิจิทอลชนิดcuff พันรอบแขนที่มีขนาดเหมาะสมกับผู้ถูกคัดกรองและเทียบ ค่ากับเครื่องวัดความดันโลหิตชนิดปรอทที่มีการสอบเทียบค่าเป็นระยะๆ การจัดกลุ่มตามระดับความดันโลหิต ระดับความดันโลหิต กลุ่ม ค้าแนะน้า < 120/80 มม.ปรอท ปกติ - มีโอกาสเสี่ยง ให้นัดตรวจซ้าอีก1-2 ปีข้างหน้า - ควบคุมอาหาร ออกกาลังกายอย่างสม่าเสมอ SBP 120-139และ/หรือ DBP 80-89มม.ปรอท เสี่ยงสูงต่อการเป็นโรคความดัน โลหิตสูง(pre-hypertension) - ให้นัดตรวจซ้า ทุก6 เดือน - 1ปี - ควบคุมอาหาร ออกกาลังกายอย่างสม่าเสมอ และควบคุมปัจจัยเสี่ยงอื่นร่วมด้วย - ประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจขาดเลือดและ อัมพฤกษ์ อัมพาต ≥ 140/90 มม.ปรอท สงสัยว่าเป็นความดันโลหิตสูง - ส่งต่อ ตรวจวัดความดันโลหิต ซ้า เพื่อยืนยัน ก่อนการวินิจฉัย - ควบคุมอาหาร ออกกาลังกายอย่างสม่าเสมอ และควบคุมปัจจัยเสี่ยงอื่นร่วมด้วย - ประเมินโอกาสเสี่ยงต่อกลุ่มโรค หัวใจขาดเลือด และอัมพฤกษ์อัมพาต
  • 5. 19 แผนภูมิที่ 1 แนวทางการจัดบริการคัดกรองภาวะเบาหวาน และความดันโลหิตสูง หมายเหตุ : BP = Blood Pressure IFG = Impaired Fasting Glucose FCG = Fasting Capillary Blood Glucose FPG = Fasting Plasma Glucose IGT = Impaired Glucose Tolerance ใช่ ไม่ใช่ ตรวจระดับน้้าตาลในเลือด (FCG) ส่งตรวจระดับน้้าตาลในเลือด (FPG) FCG  100 mg/dl FCG  100 mg/dl ไม่ใช่ ใช่ใช่ FPG 100-125 mg/dl (IFG) ส่งตรวจ FPGครั้งที่ 2 เพื่อยืนยันเป็น โรคเบาหวาน FPG  126 mg/dl ประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจ และหลอดเลือดสมอง ลงบันทึกผ่านการคัดกรองกลุ่มโรคหัวใจและหลอดเลือดสมอง แจ้งผลโอกาสเสี่ยงและแนวการ ปฏิบัติโรคหลอดเลือดสมอง ซักประวัติเป็น โรคเบาหวาน เป็นโรค คัดกรองปัจจัยเสี่ยงด้วยวาจา (Verbal screening) ปัจจัยเสี่ยง 1 ปัจจัย ส่งตรวจวินิจฉัย ยืนยันเป็นโรค โดยแพทย์ วัดความดันโลหิตตามมาตรฐานซ้้า คัดกรอง วัดความดันโลหิต ตามมาตรฐาน ไม่ใช่ ซักประวัติเป็นโรค ความดันโลหิตสูง เป็นโรค BP 120 /  80 mmHg BP 120 /  80 mmHg BP 120-139 และ/หรือ  80 -89 mmHg BP 140 /  90 mmHg ลงทะเบียนคัดกรอง เตรียมประชากร (สื่อสาร แจ้งข่าว) ประชากรกลุ่มอายุเสี่ยง ≥ 35ปี แจ้งผลโอกาสเสี่ยงและ แนวการปฏิบัติเบาหวาน แจ้งผลโอกาสเสี่ยงและแนว การปฏิบัติความดันโลหิตสูง
  • 6. 20 3.2 แนวทางการส่งเสริมสุขภาพประชากรกลุ่มภาวะปกติเพื่อลดปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ประชากรที่ยังอยู่ในกลุ่ม ภาวะสุขภาพที่ปกติก็อาจมีปัจจัยที่ทาให้เสี่ยงต่อการเกิดโรคเบาหวาน และความ ดันโลหิตสูงได้ ปัจจัยเหล่านั้นได้แก่ ภาวะอ้วนลงพุง การไม่ออกกาลังกาย การบริโภคอาหารที่ไม่เหมาะสม การดื่มสุรา การสูบบุรี และการเกิดความเครียด ดังนั้น การส่งเสริมสุขภาพหรือการสร้างเสริมสุขภาพ ให้ ประชาชนทุกกลุ่มมีจิตสานึกและพฤติกรรมสร้างเสริมสุขภาพที่ดี ทั้งในระดับปัจเจกบุคคล ครอบครัว ชุมชน ตลอดจนกลุ่มสังคมต่างๆ จึงเป็นเรื่องสาคัญ และจาเป็นอย่างยิ่งในการลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคภัยไข้เจ็บต่างๆ ตามนโยบาย “สร้าง นา ซ่อม” ภาวะอ้วนลงพุง(Obesity) เป็นหนึ่งในปัจจัยเสี่ยงที่สาคัญต่อการเกิดโรคไม่ติดต่อ เช่น โรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ไขมันในเลือดผิดปกติ และโรคหลอดเลือดหัวใจ ในการศึกษาทางระบาดวิทยาได้ใช้ค่าดัชนี มวลกายเป็นเกณฑ์ โดยกาหนดว่าอ้วนเป็นภาวะที่ร่างกายมีค่าดัชนีมวลกายเท่ากับหรือมากกว่า 25 กิโลกรัมต่อ ตารางเมตร น้าหนักเกินมีค่าดัชนีมวลกายระหว่าง 23-24.9 กิโลกรัมต่อตารางเมตร และน้าหนักน้อยมีค่าดัชนีมวล กายน้อยกว่า 18.5 กิโลกรัมต่อตารางเมตร ดัชนีมวลกายเป็น “มาตรฐานทอง” สาหรับการค้นหาผู้ที่เสี่ยงสูงต่อการ เกิดปัญหาสุขภาพที่สัมพันธ์กับภาวะไขมันสูง อย่างไรก็ตาม เมื่อไม่นานมานี้มีหลักฐานมากขึ้นที่ยืนยันว่า รูปร่าง ( Body shape) และการกระจายตัวของ ไขมันตามร่างกายเป็นปัจจัยเสี่ยงสาคัญต่อการเกิดโรคที่สัมพันธ์กับความอ้วน ผู้ที่มีภาวะอ้วนลงพุงหรือไขมันเกิน ที่ท้อง มีความเสี่ยงสูงต่อการเกิดโรคหัวใจและเบาหวาน การวัดรอบเอวเป็นวิธีการง่ายๆ ที่บอกถึงภาวะอ้วนลงพุง ดังนั้นเส้นรอบเอวจึงสะท้อนถึงรูปร่าง ขณะที่ดัชนีมวลกายสะท้อนถึงปริมาตรและมวลร่างกาย ทั้งดัชนีมวลกาย และรอบเอวต่างมีความสัมพันธ์กับปริมาณไขมันทั้งหมดในร่างกายพอๆกัน แต่รอบเอวสะท้อนถึงปริมาณไขมันใน ช่องท้องได้ดีกว่าดัชนีมวลกาย รอบเอวเป็นตัวทานายต่อการเกิดโรคเบาหวานได้หนักแน่นกว่าดัชนีมวลกาย นอกจากนั้นรอบเอวยังเป็นตัวทานายที่สาคัญต่อการเกิดโรคเบาหวาน โรคหลอดเลือดหัวใจและอัตราการเสียชีวิต โดยไม่ขึ้นกับความดันโลหิต ระดับน้าตาลและไขมันในเลือด นั่น จึงเป็นที่มาของการเสนอแนะให้วัดรอบเอวเพื่อ เฝ้าระวังอ้วนลงพุงโดยเครือข่ายคนไทยไร้พุงและกรมอนามัย ตาแหน่งของการวัดรอบเอวที่ผ่านมามีหลายตาแหน่ง แต่ที่เครือข่ายคนไทยไร้พุงและกรมอนามัยแนะนา คือ การวัดบริเวณขอบบนของกระดูกเชิงกราน ซึ่งอาจจะยากเกินไปสาหรับประชาชนในการเฝ้าระวังตนเอง ดังนั้น กรมอนามัยจึงแนะนาประชาชนให้วิธีง่ายๆโดยการวัดผ่านสะดือ ทั้งนี้จากการทบทวนงานวิจัยของ The American Society for Nutrition (Klein S, Allison DB and et al. Am J Clin Nutr 2007; 85:1197-202.) พบว่ามีการวัดที่ระดับ สะดือถึง 28 % สาหรับเกณฑ์การประเมินของคนไทย เป็นดังนี้ ผู้ชาย เท่ากับหรือมากกว่า 90 ซม. หมายถึง อ้วนลงพุง ผู้หญิง เท่ากับหรือมากกว่า 80 ซม. หมายถึง อ้วนลงพุง
  • 7. 21 แนวทางการลดเสี่ยงต่อโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง การดูแลกลุ่มปกติ ควรดาเนินการตามหลัก3อ 2ส เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคที่มีคุณภาพมากขึ้น เคลื่อนไหวออกกาลังมากขึ้น ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและขจัดความเครียด 3.2.1 อ. ออกก้าลัง สาหรับการลดน้าหนักและรอบเอว การลดการกินเพื่อลดพลังงานเข้าสู่ร่างกายเป็นเรื่องที่สาคัญเป็นลาดับ แรก การเคลื่อนไหวออกแรง/ออกกาลังจะช่วยเสริมให้มีการลดน้าหนักโดยเฉพาะไขมันมากขึ้น แต่สาหรับการคง น้าหนักหลังจากที่ลดลงได้แล้ว การเคลื่อนไหวออกแรง/ออกกาลังเป็นเรื่องที่สาคัญมาก ไม่เพียงแต่ลดหรือคง น้าหนักเท่านั้น การเคลื่อนไหวออกแรง/ออกกาลังยังเกิดประโยชน์ต่อระบบต่างๆของร่างกายอีกมากมาย หาก ต้องการปรับเปลี่ยนวิถีชีวิตเพียงอย่างใดอย่างหนึ่ง ขอแนะนาว่าการเคลื่อนไหวออกกาลังเป็นทางเลือกที่ดีมาก ต่อไปนี้เป็นประโยชน์ต่อระบบของร่างกายบางส่วน 1. ลดความดันโลหิต 2. ลดไขมันชนิดเลว 3. เพิ่มไขมันชนิดดี 4. ลดความเสี่ยงต่อโรคหัวใจทั้งหมด 5. ลดความเสี่ยงต่อโรคมะเร็งบางชนิด 6. ลดระดับน้าตาล 7. ลดไขมันที่พุง 8. ช่วยให้อินซูลินทางานดีขึ้น 9. เพิ่มความหนาแน่นของกระดูก 10. เพิ่มความกระชับของกล้ามเนื้อและท่าทาง 11. เพิ่มประสิทธิภาพการทางานของหัวใจและปอด 12. ลดความเครียด 13. พัฒนาอารมณ์ให้ดีขึ้น ประเภทการเคลื่อนไหวออกแรง/ออกก้าลัง การเคลื่อนไหวออกแรง/ออกกาลังหรือการออกกาลังกาย มี 3 ประเภทคือ 1. การออกกาลังกายเพื่อความแข็งแรงของระบบไหลเวียน หัวใจและปอด ( Cardio-respiratory exercise) หรือ การออกกาลังแบบแอโรบิก เป็นการออกกาลังที่ใช้กล้ามเนื้อมัดใหญ่ซ้าๆกันเป็นจังหวะต่อเนื่องกัน เพื่อฝึกความ อดทนของหัวใจ ระบบหายใจและไหลเวียนโลหิต ข้อแนะน้า 1.1 เคลื่อนไหวออกแรง/ออกกาลังแบบแอโรบิกด้วยความหนักปานกลาง(หายใจเร็วขึ้นถี่ขึ้นไม่หอบ พูดคุยได้จนจบประโยค) สะสมอย่างน้อยวันละ 30 นาที อย่างน้อยสัปดาห์ละ 5 วัน ทั้งนี้ อาจทาเป็นช่วงสั้นๆ
  • 8. 22 ครั้งละ10-15 นาทีรวมทั้งวันให้ได้ 30 นาที หรือทากิจกรรมให้มี การเผาผลาญพลังงานเพิ่มขึ้น ครั้งละ 150 แคลอรี หรือ 1.2 เคลื่อนไหวออกแรง/ออกกาลังแบบแอโรบิก ด้วยความหนักระดับรุนแรง อย่างน้อยวัน ละ 20 นาที อย่างน้อยสัปดาห์ละ 3 วัน 1.3 ความหนักระดับปานกลาง หัวใจควรเต้น 60-70% ของอัตราการเต้นของหัวใจสูงสุด และระดับรุนแรง หัวใจเต้น 70-85 % ของอัตราการเต้นของหัวใจสูงสุด 1.4 การปฎิบัติ สามารถแบ่งออกได้เป็น 2 รูปแบบ คือ  การเคลื่อนไหวออกแรง/ออกกาลังด้วยการฝึกฝนออกกาลังกายอย่างเป็นแบบแผน เช่น เดินเร็ว วิ่งเหยาะ/วิ่ง ปั่นจักรยาน ว่ายน้า เต้นแอโรบิก เล่นกีฬาที่ฝึกความอดทน เป็นต้น  การเคลื่อนไหวออกแรง/ออกกาลังในวิถีชีวิตประจาวัน เช่น เดินทางด้วยการเดินเท้า ถีบจักรยาน ทางานบ้าน/งานอาชีพที่ออกแรง ทางานอดิเรกที่ออกแรง เป็นต้น ตัวอย่างการออกก้าลังกายในระดับปานกลางที่ใช้พลังงาน 150 กิโลแคลอรี
  • 9. 23 2. การออกกาลังกายเพื่อความแข็งแรงและความอดทนของกล้ามเนื้อ (Resistive exercise) เพื่อเสริมสร้าง กระดูกและทาให้ระบบกล้ามเนื้อมีความแข็งแรง ได้แก่ การยกน้าหนัก การบริหารร่างกาย เช่น นอนยกตัว (Sit up ) วิดพื้น โหนบาร์เดี่ยว/คู่ เป็นต้น ข้อแนะน้า 2.1 ฝึกความแข็งแรง 8-10 ท่าด้วยการใช้กล้ามเนื้อมัดใหญ่ตามสะโพก ขา หลัง หน้าอก หัวไหล่และ หน้าท้อง 2.2 แต่ละท่าฝึก 1 ชุด ชุดละ 8-12 ครั้ง โดยใช้น้าหนักที่สามารถยกได้ 8-12 ครั้งแล้วเหนื่อยพอดี 2.3 ฝึกความแข็งแรง 2-3 วัน หรือวันเว้นวัน ต่อสัปดาห์ 2.4 ระหว่างการออกแรงยกอย่ากลั้นหายใจ ให้หายใจเข้าออกตามปกติ 2.5 ถ้าเป็นไปได้ควรฝึกกับผู้ฝึกสอน หรือฝึกตามรูปแบบที่กรมอนามัยเผยแพร่ 3. การออกกาลังกายเพื่อความยืดหยุ่น ( Flexibility exercise) เพื่อให้กล้ามเนื้อและข้อต่อมีความยืดหยุ่น เคลื่อนไหวได้เต็มช่วงกว้างของข้อต่อ เช่น กายบริหาร โยคะ ราไม้พลองป้าบุญมี ข้อแนะน้า 3.1 ยืดเหยียดกล้ามเนื้อมัดใหญ่แบบหยุดค้างนิ่งไว้ 3.2 ฝึกอย่างน้อย 2-3 วันต่อสัปดาห์ 3.3 ยืดเหยียดออกไปจนรู้สึกตึง แต่ไม่เจ็บ 3.4 ยืดเหยียดค้างไว้ 10-30 วินาที 3.5 ยืดเหยียดท่าละ 3-4 ครั้ง หลักการพื้นฐานของการออกกาลัง สาหรับการเริ่มต้น หรือหยุดออกกาลังไปมากกว่า 2 สัปดาห์ ควรเริ่ม ออกแรง/ออกกาลังอย่างช้าๆ โดยใช้เวลาเป็นหลัก จากนั้นเพิ่มระยะเวลาต่อวันมากขึ้นในแต่ละสัปดาห์ เพื่อให้ โอกาสกับร่างกายในการปรับตัว จากนั้นจึงค่อยๆเพิ่มความหนักหรือความเร็วของการออกกกาลัง การเคลื่อนไหว ออกแรง/ออกกาลังที่กล่าวมาทั้งหมด สามารถสรุปเป็นรูปพีระมิดการเคลื่อนไหวร่างกายได้ดังนี้ พีระมิดการเคลื่อนไหว ร่างกาย ลด ลดกิจกรรม การนั่ง, นอนดูโทรทัศน์ การเล่นคอมพิวเตอร์ ยืดเหยียดและฝึกความแข็งแรงของกล้ามเนื้อ - ยืดเหยียดช่วงพัก - ยกน้้าหนัก - ร้ามวยจีน - บริหารกับยางยืด - โยคะ - วิดพื้น, ซิคอัพ 2-3 วันต่อสัปดาห์ ออกก้าลังกายหรือเล่นกีฬากระตุ้นการท้างานของหัวใจ และปอด - ถีบจักรยาน, เดินทางไกล - เต้นแอโรปิก - วิ่ง/วิ่งเหยาะ - เดินเร็ว - ว่ายน้้า - เล่นบาสเกตบอล - แอโรปิกในน้้า - เทนนิส, แบดมินตัน - เล่นสเก็ต เคลื่อนไหวในชีวิตประจ้าวันให้มาก - ท้ากิจกรรมกระฉับกระเฉง, ใช้แรงงาน - เดินบ่อย ๆ - เดินขึ้นบันได - เดินไปซื้อของ - ท้างานบ้าน/งานสนาม - งานสวน 3-5 วันต่อสัปดาห์ ทุกวัน
  • 10. 24 ขั้นตอนการเคลื่อนไหวออกแรง/ออกก้าลังกาย 1. อบอุ่นร่างกาย(warm-up) ด้วยการเดินหรือวิ่งเหยาะเบาๆและยืดเหยียดกล้ามเนื้อ 5-10 นาที 2. เคลื่อนไหวออกแรงหรือออกกาลังกายระดับปานกลางหรือรุนแรงตามความสามารถและความชอบ หรือ ฝึกความแข็งแรงและออดทนของกล้ามเนื้อ 3. คลายกล้ามเนื้อ(cool down) ด้วยการผ่อนการออกกาลังลงช้าๆและยืดเหยียดกล้ามเนื้อ 5-10 นาที การประเมินความพร้อมก่อนการออกก้าลัง ก่อนที่จะให้ผู้สนใจทดสอบสมรรถภาพ หรือออกกาลังอย่างจริงจัง ควรแนะนาให้ผู้สนใจตอบแบบ ประเมินความพร้อมก่อนการออกกาลัง เพื่อคัดกรองผู้ที่มีความเสี่ยง หากออกกาลังจะทาให้เกิดการบาดเจ็บหรือมี ภาวะเฉียบพลันทางหัวใจได้ ทั้งนี้เพื่อความปลอดภัย ต่อไปนี้เป็นแบบประเมิน แบบประเมินความพร้อมก่อนการออกก้าลังกาย การออกกาลังกายอย่างสม่าเสมอเป็นผลดีต่อสุขภาพและมีความสนุกสนาน ประชาชนจานวนมากเริ่ม สนใจที่จะเข้าร่วมออกกาลังกายมากขึ้นทุกวันโดยทั่วไปการออกกาลังกายหนักปานกลางค่อนข้างปลอดภัยสาหรับ คนส่วนใหญ่ การตอบคาถามในแบบประเมินจะช่วยบอกว่าท่านสมควรเข้ารับการตรวจร่างกายจากแพทย์ก่อนที่ท่านจะ เริ่มต้นออกกาลังหรือไม่ โปรดอ่านอย่างละเอียดและตอบคาถามเหล่านี้ตามความเป็นจริงว่า มี / เคย หรือ ไม่มี / ไม่เคย ในช่วง 6 เดือน ที่ผ่านมา เคย ไม่เคย 1. แพทย์ที่ตรวจรักษาท่านเคยบอกหรือไม่ว่า ท่านมีความผิดปกติของหัวใจและควร ออกกาลังกาย ภายใต้คาแนะนาของแพทย์เท่านั้น ? เคย มี ไม่มี 2. ท่านมีความรู้สึกเจ็บปวดหรือแน่นบริเวณหน้าอก ขณะที่ท่าน ออกกาลังกายหรือไม่ ? เคย ไม่เคย 3. ในรอบเดือนที่ผ่านมา ท่านเคยมีอาการเจ็บแน่นหน้าอก ในขณะ ที่อยู่เฉย ๆ โดยไม่ได้ออกกาลังกายหรือไม่ ? มี ไม่มี 4. ท่านมีอาการสูญเสียการทรงตัว (ยืนหรือเดินเซ) เนื่องมาจาก อาการวิงเวียนศีรษะหรือไม่ ? หรือท่านเคยเป็นลมหมดสติหรือไม่ ? มี ไม่มี 5. ท่านมีปัญหาที่กระดูกหรือข้อต่อ ซึ่งจะมีอาการแย่ลง ถ้าท่าน ออกกาลังกายหรือไม่ ? มี ไม่มี 6. แพทย์ที่ตรวจรักษาท่าน มีการสั่งยารักษาโรคความดันโลหิตสูง หรือความผิดปกติของหัวใจให้ท่านหรือไม่ ? มี ไม่มี 7. เท่าที่ท่านทราบ ยังมีเหตุผลอื่น ๆ อีก ที่ทาให้ท่านไม่สามารถ ออกกาลังกายได้หรือไม่ ? หากท่านตอบว่า มี หรือเคย แม้แต่ข้อเดียวควรปรึกษาแพทย์ เจ้าหน้าที่สาธารณสุข นักวิทยาศาสตร์ การกีฬา หรือนักเวชศาสตร์การกีฬา ก่อนเริ่มต้นออกกาลังกาย
  • 11. 25 การเคลื่อนไหวออกแรง/ออกก้าลัง เพื่อลดน้้าหนักและรอบเอว การลดน้าหนักและรอบเอวของคนอ้วน ควรเริ่มต้นด้วยการลดพฤติกรรมการนั่งหรือการนอนอยู่เฉยๆ โดยแทบไม่ค่อยเคลื่อนไหว ปิดโทรทัศน์หรือคอมพิวเตอร์เพื่อไปทากิจกรรมที่มีการเคลื่อนไหว เช่น เดิน หรือทา กิจกรรมที่เคลื่อนไหวมากขึ้นกว่าที่เคยเป็นมาจากนั้นจึงเริ่มเคลื่อนไหวออกแรง/ออกกาลังมากขึ้น ข้อแนะน้า 1. ให้เคลื่อนไหวออกแรง/ออกกาลังแบบแอโรบิก ด้วยความหนักปานกลาง (หายใจเร็วขึ้น ถี่ขึ้น ไม่หอบ พูดคุยได้จนจบประโยค)สะสมอย่างน้อยวันละ 30 นาที อย่างน้อยสัปดาห์ละ 5 วัน ทั้งนี้ อาจทาเป็น ช่วงสั้นๆ ครั้งละ10-15 นาทีรวมทั้งวันให้ได้ 30 นาทีหรือทากิจกรรมให้มี การ เผาผลาญพลังงาน เพิ่มขึ้น ครั้งละ 150 แคลอรีโดยเริ่มต้นอย่างช้าๆ แล้วเพิ่มระยะเวลาขึ้นเรื่อยๆ จนถึงเป้าหมายที่กาหนด 2. ถ้าหากควบคุมอาหารเต็มที่แล้ว น้าหนักยังไม่ค่อยลด ให้เพิ่มระยะเวลาการเคลื่อนไหวออกแรง/ ออกกาลังเป็น 45- 60 นาทีต่อวัน 3. เมื่อน้าหนักลดลงถึงเป้าหมายที่ตั้งไว้ ในการคงน้าหนักไว้อาจต้องเคลื่อนไหวออกแรง/ออกกาลังเป็น ระยะเวลา 60 - 90 นาทีต่อวัน 4. รูปแบบกิจกรรมที่เหมาะสมสาหรับคนอ้วน คือ การเดิน ว่ายน้า ถีบจักรยาน และ เคลื่อนไหวร่างกาย ในชีวิตประจาวันให้มากขึ้น 5. เพิ่มการออกกาลังกายฝึกความแข็งแรงและความอดทนของกล้ามเนื้อดังกล่าว เพื่อช่วยรักษามวลของ กล้ามเนื้อและเพิ่มการเผาผลาญพลังงาน ข้อควรระวังในการเคลื่อนไหวออกแรง/ออกก้าลัง ส้าหรับคนอ้วน 1. ภาวะมีไข้ ถือเป็นข้อห้ามในการออกกาลังกาย การเพิ่มความร้อนในร่างกายจากผลของการออกกาลังกาย จะทาให้เกิดอันตรายได้ 2. ภาวะร่างกายขาดน้า ภาวะขาดน้าในร่างกายมีผลต่อปริมาณของเลือดในระบบไหลเวียนเลือด ดังนั้นถ้ามี อาการถ่ายเหลว หรืออาเจียนมาก จะมีอาการอ่อนเพลีย ร่างกายมีกลไกชดเชยที่จะคอยปรับเพื่อให้การ ไหลเวียนเลือดอยู่ในเกณฑ์ปกติได้ แต่ภาวะการขาดน้ามีผลต่อการคลายความร้อนออกจากร่างกาย จึงควร เลือกกิจกรรมออกกาลังกายหรือเล่นกีฬาที่เหมาะสม 3. สภาพอากาศ ประเทศไทยเป็นเมืองร้อน มีแสงแดดมาก ดังนั้นควรดื่มน้าให้พอเพียงกับความต้องการของ ร่างกาย และใส่เสื้อผ้าที่เหมาะสม 4. การบาดเจ็บ เพื่อป้องกันอันตรายและการบาดเจ็บที่จะเกิดขึ้นขณะออกกาลังกาย ควรปฏิบัติตามขั้นตอน ในการเคลื่อนไหวออกแรง/ออกกาลังกาย และใส่รองเท้าที่เหมาะสมกับกิจกรรมนั้นๆ หากเกิดการ บาดเจ็บและได้รับการปฐมพยาบาลในระยะเวลาหนึ่งแล้วยังไม่ดีขึ้น ก็ควรส่งให้แพทย์ตรวจเพื่อประเมิน และรักษาอาการบาดเจ็บต่อไป
  • 12. 26 ข้อแนะน้าการเคลื่อนไหวออกแรง/ออกก้าลังกายเพื่อสุขภาพ และเพื่อการจัดการลดน้้าหนัก ลดรอบเอวตามกลุ่มวัย ที่เหมาะสมส้าหรับคนไทยพ.ศ.2553 (2010Recommendations of Physical Activity / Exercise for Health and Weight Management to Reduce Waist in Appropriate Age for Thai People) ข้อแนะน้าฯ ตามกลุ่มวัย ดังนี้ การเคลื่อนไหวออกแรง/ออกกาลังกาย กลุ่มวัย เพื่อสุขภาพ(Health) เพื่อการจัดการลดน้้าหนัก ลดรอบเอว(Wt .Management) 1. กลุ่มเด็ก (อายุ 6-12 ปี) และเยาวชน (อายุ 13-17ปี) * ควรทากิจกรรมเคลื่อนไหวออกแรง/ออกกาลังกาย ผสมผสานหลากหลายรูปแบบโดยเน้นความสนุกสนาน ต่อเนื่องด้วยความหนักระดับปานกลาง (เช่น เดินเร็ว และ ต้องทากิจกรรมจนถึงระดับหนัก/จนรู้สึกเหนื่อย เช่นวิ่ง รวมอยู่ด้วยอย่างน้อยสัปดาห์ละ 3 วัน) รวมกันให้ได้อย่าง น้อยวันละ 60นาที ทุกวัน ( สามารถทาสะสมได้อย่างน้อยครั้งละ 10 นาที) (โดยรวม1. กิจกรรมออกก้าลังสร้างความแข็งแรงของ กล้ามเนื้อ(Muscle-strengthening activities) แบบมีแรงต้าน เพื่อสร้างความแข็งแรง อดทนของกล้ามเนื้อมัดใหญ่ (เช่น ปีน ป่าย/ห้อยโหน/ดันพื้น เป็นต้น) และ 2. กิจกรรมสร้างความ แข็งแรงของกระดูก(Bone-strengthening activities) (เช่น กระโดด/ วิ่ง/เล่นกีฬา เป็นต้น)อย่างน้อย สัปดาห์ละ 3 วัน) *ต้องท้าควบคู่กับการจัดการอาหาร *เหมือนข้อแนะน้าฯเพื่อสุขภาพทุก ประการ *และเพิ่มกิจกรรมคือ เด็กไม่ควรนั่งเฉยๆ ติดต่อกันเกิน 2 ชั่วโมงต่อวัน
  • 13. 27 การเคลื่อนไหวออกแรง/ออกก้าลังกาย(ต่อ) กลุ่มวัย เพื่อสุขภาพ(Health) เพื่อการจัดการลดน้้าหนัก ลดรอบเอว(Wt .Management) 2. กลุ่มผู้ใหญ่/วัย ท้างาน (อายุ 18-60ปี) 1.ควรทากิจกรรมเคลื่อนไหวออกแรง/ออกกาลังกายต่อเนื่อง แบบผสมผสานหลากหลายรูปแบบรวมทั้งกิจกรรมพื้นบ้าน ด้วยความหนักระดับปานกลาง (เช่น เดินเร็ว)และระดับหนัก (เช่น วิ่ง) อย่างน้อยวันละ 30 นาที สัปดาห์ละ3-5 วัน ( สามารถทาสะสมได้อย่างน้อยครั้งละ 10 นาที) หรือ2. ควรทากิจกรรมเคลื่อนไหวออกแรง/ออกกาลังกายด้วย ความหนักระดับปานกลาง(เช่น เดินเร็ว) อย่างต่อเนื่อง อย่างน้อยวันละ30 นาที สัปดาห์ละ3-5 วัน ( สามารถทาสะสมได้อย่างน้อยครั้งละ 10 นาที) หรือ3.ควรทากิจกรรมเคลื่อนไหวออกแรง/ออกกาลังกายด้วย ความหนักระดับหนัก (เช่น วิ่ง)อย่างน้อยวันละ20 นาที สัปดาห์ละ 3 วัน *และควรท้ากิจกรรมออกก้าลังสร้างความแข็งแรงของ กล้ามเนื้อและกระดูก(Muscle&Bone-strengtheningactivities) แบบมีแรงต้านเพื่อสร้างความแข็งแรง อดทนและยืดหยุ่นของ กล้ามเนื้อมัดใหญ่(เช่น การยกน้าหนัก/หิ้วน้า /เดินขึ้นที่สูง/ ดันพื้นเป็นต้น) อย่างน้อยสัปดาห์ละ3 วัน *และควรมีการยืดเหยียดกล้ามเนื้อก่อนและหลังการออกกาลัง กายทุกครั้ง *ต้องท้าควบคู่กับการจัดการอาหาร *เหมือนข้อแนะน้าฯเพื่อสุขภาพข้อ 2 ที่ว่าควรทากิจกรรมเคลื่อนไหว ออกแรง/ออกกาลังกายด้วยความ หนักระดับปานกลางอย่างต่อเนื่อง (เช่น เดินเร็ว) *แต่เพิ่มเวลาเป็นอย่างน้อยวันละ 60 นาที สัปดาห์ละ5 วัน
  • 14. 28 การเคลื่อนไหวออกแรง/ออกก้าลังกาย(ต่อ) กลุ่มวัย เพื่อสุขภาพ(Health) เพื่อการจัดการลดน้้าหนัก ลดรอบเอว(Wt .Management) 3. กลุ่มผู้สูงอายุ (อายุ 60 ปีขึ้นไป) *ควรทากิจกรรมเคลื่อนไหวออกแรง/ออกกาลังกายโดยมีการ เคลื่อนไหวตามวิถีชีวิตประจ้าวันแบบผสมผสานรวมหลาย รูปแบบด้วยความหนักระดับปานกลาง(เช่น เดิน)และระดับ หนัก (เช่น เดินเร็ว)อย่างน้อยวันละ 30 นาทีสัปดาห์ละ3-5 วัน *ควรท้ากิจกรรมเคลื่อนไหวออกแรง/ออกก้าลังกายแบบ ผสมผสาน หลีกเลี่ยงการเปลี่ยนทิศทางอย่างรวดเร็ว (ควรท้า ตามความพร้อมของร่างกาย) *ควรมีการยืดเหยียดกล้ามเนื้อก่อนและหลังการออกกาลังกาย ทุกครั้ง *และควรทากิจกรรมออกกาลังสร้างความแข็งแรงของ กล้ามเนื้อและกระดูก(Muscle&Bone-strengthening activities) แบบมีแรงต้านเพื่อสร้างความแข็งแรง อดทนและยืดหยุ่นของ กล้ามเนื้อมัดใหญ่( เช่น หิ้วน้า/ เดินขึ้นที่สูง/ ดันพื้นเป็นต้น) อย่างน้อยสัปดาห์ละ 3 วัน *ต้องท้าควบคู่กับการจัดการอาหาร * เหมือนข้อแนะน้าฯเพื่อสุขภาพ ทุกประการ *แต่เพิ่มเวลาเป็นอย่างน้อยวันละ 60 นาที สัปดาห์ละ5 วัน
  • 15. 29 3.2.2 อ. อาหาร ค้าแนะน้าด้านการบริโภคอาหารเพื่อส่งเสริมสุขภาพ การดูแลด้านอาหาร ต้องคานึงถึง ตามความต้องการที่แท้จริงของร่างกายเพื่อสุขภาพที่ดีในแต่ละวัย และตามวัฒนธรรมการกินของคนไทย ให้ยึดแนวปฏิบัติการกินที่ถูกต้อง ตามข้อปฏิบัติการกินอาหารเพื่อสุขภาพที่ ดีของคนไทย 9 ข้อ ดังนี้ ข้อปฏิบัติการกินอาหารเพื่อสุขภาพที่ดีของคนไทย9 ข้อ ข้อ ข้อปฏิบัติการกินอาหารเพื่อสุขภาพที่ดี ของคนไทย ข้อปฏิบัติที่ควรเน้นพิเศษเพื่อควบคุมน้้าหนัก 1 กินอาหารครบ ๕ หมู่ แต่ละหมู่ ให้หลากหลายและหมั่นดูแลน้าหนักตัว เน้นกิน หลากหลายแต่ได้สมดุล และหมั่นดูแลรอบเอว “80 90 ไม่ให้เกิน” 2 กินข้าวเป็นอาหารหลัก สลับกับ อาหารประเภทแป้งเป็นบางมื้อ เน้นกินธัญพืชเพื่อให้ได้กากใย เช่น ข้าวกล้อง ข้าวโพด ลูกเดือย ข้าวโอ๊ต 3 กินพืชผักให้มากและกินผลไม้ เป็นประจา เน้นพืชผักและผลไม้ 5 สี ได้แก่สีเขียว สีเหลืองส้ม สีม่วงน้าเงิน สีแดง และสีขาว และกินในปริมาณที่มาก พอให้ร่างกายได้รับใยอาหารไม่น้อยกว่า 20 กรัมต่อวัน 4 กินปลาเนื้อสัตว์ไม่ติดมัน ไข่ และถั่วเมล็ดแห้งเป็นประจา เน้นวิธีการประกอบอาหารแบบไม่ใช้น้ามัน เช่น ต้ม นึ่ง ลวก อบ ปิ้ง ย่าง 5 ดื่มนมให้เหมาะสมตามวัย เน้น ดื่มนมหรือโยเกิร์ต ขาดมันเนย รสจืด 6 กินอาหารที่มีไขมันแต่พอควร เน้น กรดไขมันไม่อิ่มตัวตาแหน่งเดียว เช่นน้ามันราข้าว น้ามันงา น้ามันมะกอก น้ามันถั่วลิสง สลับกับ กรดไขมัน ไม่อิ่มตัวหลายตาแหน่ง เช่นน้ามันปลาหรือ กรดโอเมก้า 3 น้ามันถั่วเหลือง ข้าวโพด ดอกคาฝอย เมล็ดทานตะวัน เมล็ดฝ้าย ฯลฯ และหลีกเลี่ยง กรดไขมันทรานส์ พบมาก ในมาร์การีน เฟรนซ์ฟรายส์ โดนัท แครกเกอร์ คุกกี้ เค้ก และพาย และกรดไขมันอิ่มตัว เช่น น้ามันหมู น้ามันปาล์ม น้ามันมะพร้าว เนย 7 หลีกเลี่ยงการกินอาหารรสหวานจัด และ เค็มจัด เน้น กินจืด ไม่ปรุงรสเพิ่มเติม 8 กินอาหารที่สะอาดปราศจากการปนเปื้อน เน้นกินอาหารสุกใหม่ ๆ และใช้แหล่งวัตถุดิบที่ปลอดจาก สารพิษ 9 งดหรือลดเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ เน้นดื่มน้าเปล่าที่อุ่นๆ ให้มาก ๆ
  • 16. 30 อาหารตามกลุ่มวัย ความต้องการสารอาหารและพลังงานแต่ละกลุ่มวัยแตกต่างกัน ตามเพศ อายุ น้าหนักตัว ส่วนสูง สภาวะ ของร่างกาย ซึ่งกองโภชนาการได้กาหนดชนิดและปริมาณสารอาหารที่คนไทยควรได้รับใน1 วัน ดังธงโภชนาการ 3.2.3 อ. อารมณ์ การกินและการเคลื่อนไหวออกแรง/ออกกาลังแล้ว อารมณ์ยังเป็นเรื่องที่สาคัญเช่นกัน ความเครียดและ การนอนที่ไม่เพียงพอเป็นปัจจัยส่งเสริมให้น้าหนักและรอบเอวเกินได้ รวมทั้งการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ก็จาเป็นต้องใช้วิธีหรือกระบวนการทางจิตวิทยาเข้าช่วย ความเครียดเป็นสาเหตุหนึ่งที่ทาให้อ้วนได้ เพราะคนที่อยู่ในภาวะเครียดมักเลือกวิธีการกินเพื่อสนอง ความรู้สึกทางอารมณ์ (เครียด เบื่อ เพลีย) โดยมักอยากกินของหวาน เพราะรสหวานที่ลิ้นกระตุ้นการหลั่งสารเคมี ในสมอง คือเอนเดอร์ฟิน และเซโรโทนิน ซึ่งช่วยให้อารมณ์ดีขึ้น และทาให้อารมณ์สงบไม่รุ่มร้อน ดังนั้น ควรสังเกตอารมณ์เหล่านี้ว่าเกิดเมื่อใด และมองหากิจกรรมอื่นทดแทนการเลือกกินเพื่อบาบัดอารมณ์เหล่านี้
  • 17. 31 เช่น เดินเที่ยว คุยกับเพื่อน ฝึกเทคนิคการผ่อนคลาย หลบหลีกสถานการณ์และสิ่งยั่วยวนที่จะนาไปสู่พฤติกรรมกิน ไม่อั้น หลักการควบคุมอารมณ์และความรู้สึกขณะลดน้้าหนัก ควรหลีกเลี่ยงความเครียด เพราะความเครียดทาให้ร่างกายหลั่งฮอร์โมนคอร์ติซอล มีผลให้ระบบ เผาผลาญลดลง และความเครียดทาให้ร่างกายหลั่ง กลูโคคอร์ติคอยด์ มากขึ้น หากมีฮอร์โมนชนิดนี้มากจะทาให้ อ้วนและทาให้ภูมิต้านทานโรคอ่อนแอลง ผู้ที่มีความเครียด ควรเสริมวิตามินบี อาหารที่มีวิตามินบีสูง ได้แก่ เนื้อสัตว์ ส้ม นม เนยแข็ง ไข่ ถั่ว ผัก และผลไม้ และนอนหลับพักผ่อนให้เพียงพอ เพราะการนอนไม่เพียงพอ จะทา ให้อ้วนลงพุงง่าย ทั้งนี้เกิดจากร่างกายหลั่ง Growth hormone (ทาหน้าที่ควบคุมสัดส่วนระหว่างปริมาณไขมันกับ กล้ามเนื้อ) ลดลงทาให้มีแนวโน้มน้าหนักเกิน และร่างกายยังหลั่งสาร leptin (ทาหน้าที่ควบคุมการเผาผลาญ คาร์โบไฮเดรต) ลดลงทาให้ร่างกายต้องการคาร์โบไฮเดรตอย่างมากโดยไม่คานึงถึงปริมาณแคลอรีที่ได้รับ นอกจากนั้น การนอนน้อยกว่า 7-8 ชั่วโมงต่อวัน จะทาให้มีระดับน้าตาลและอินซูลินในเลือดสูง ทาให้ลดน้าหนัก ยาก เพราะระดับอินซูลินสูงจะทาให้ร่างกายเก็บสะสมไขมันจากอาหารส่วนเกินง่ายขึ้น สาหรับคนที่มีความเครียดนั้น จาเป็นต้องรู้วิธีจัดการกับความเครียด เพราะการจัดการความเครียดได้เร็ว และเหมาะสมจะเป็นผลดีต่อสุขภาพร่างกาย และจิตใจ วิธีจัดการกับความเครียด ซึ่งอ่านรายละเอียดเพิ่มเติมได้จาก การให้การปรึกษาในศูนย์สุขภาพชุมชน กรมสุขภาพจิต โดยแบ่งเป็น 3 วิธีดังต่อไปนี้ สกัด สิ่งกระตุ้นที่ทาให้หิว สะกด ใจไม่ให้บริโภคเกิน สะกิด ให้คนรอบข้างช่วยเหลือ พยายามหลีกเลี่ยงการไปศูนย์อาหาร หรือจุดที่มีอาหาร เพื่อจะได้ไม่กระตุ้นให้เราหิวหรืออยากชิมอาหาร หาก หลีกเลี่ยงไม่ได้อย่าพยายามนึกถึงความอร่อยหรือ รสชาติของอาหารเหล่านั้น เมื่อพบเห็นอาหารต้องพยายามสะกดอารมณ์ของตัวเอง ไม่ให้อยากลองหรือบริโภคมากเกินโดยไม่มีสติ พร้อม ทั้งต้องระลึกไว้เสมอว่าหากบริโภคอาหารมากเกินจะ ทาให้เราอ้วนขึ้น ต้องทาความเข้าใจกับครอบครัวและคนรอบข้าง ถึง ความจาเป็นในการลดน้าหนักเพื่อคอยช่วยเหลือและ เป็นกาลังใจขณะลดน้าหนัก รวมทั้งไม่ซ้าเติมหรือยั่ว ให้เราบริโภคอาหารเกิน
  • 18. 32 1. การหันความสนใจ คือ การพักความคิดในเรื่องนั้นไว้ชั่วคราว อาจทาโดย ออกกาลังกาย หาอะไรทา แล้วรู้สึกเพลิดเพลิน เช่น อ่านหนังสือ ปลูกต้นไม้ ไม่อยู่คนเดียว ใช้เวลาไปช่วยเหลือผู้อื่น 2. การผ่อนคลายความเครียด โดยการหันกลับมาสนใจที่ตัวเรา รับรู้ว่าตนเองกาลังเครียดและหาทาง ผ่อนคลายความเครียดจากหนักเป็นเบา สงบลงได้ ซึ่งการผ่อนคลายความเครียดมีหลายวิธีได้แก่ การนวดคลายเครียด การฝึกหายใจ การผ่อนคลายกล้ามเนื้อ โดยขึ้นอยู่กับแต่ละคนจะเลือกนาไปใช้ ตามความเหมาสม วิธีฝึกการผ่อนคลายกล้ามเนื้อ โดยแบ่งเป็น10 กลุ่ม ดังต่อไปนี้ 1. มือและแขนขา โดยกามือ เกร็งแขน แล้วคลาย 2. มือและแขนซ้าย โดยทาเช่นเดียวกัน 3. หน้าผาก โดยเลิกคิ้วสูง แล้วคลาย ขมวดคิ้ว แล้วคลาย 4. ตาแก้มจมูก โดยหลับตาแน่น ย่นจมูก แล้วคลาย 5. ขากรรไกร ลิ้น ริมฝีปาก โดยกัดฟัน ใช้ลิ้นดันเพดานปาก แล้วคลาย เม้มปากแน่นแล้วคลาย 6. คอ โดยก้มหน้าให้คางจดคอ แล้วคลาย เงยหน้าจนสุด แล้วคลาย 7. อก ไหล่ และหลัง โดยหายใจเข้าลึกๆกลั้นใจ แล้วคลาย ยกไหล่สูง แล้วคลาย 8. หน้าท้อง และก้น โดยแขม่วท้อง แล้วคลาย ขมิบก้น แล้วคลาย 9. เท้าและขาขวา โดยเหยียดขา งอนิ้วเท้า แล้วคลาย เหยียดขากระดกปลายเท้า แล้วคลาย 10. เท้าและขาซ้าย โดยทาเช่นเดียวกัน ข้อแนะน้าในการฝึกการผ่อนคลายกล้ามเนื้อ - ระยะเวลาที่เกร็งกล้ามเนื้อ ให้น้อยกว่าระยะเวลาที่ผ่อนคลาย เช่น เกร็ง 3-5 วินาที ผ่อนคลาย 10- 15 วินาที - เวลากามือ ระวังอย่าให้เล็บจิกเนื้อตัวเอง - ควรฝึกประมาณ 5-12 ครั้ง เพื่อให้เกิดความชานาญ - เมื่อคุ้นเคยกับการผ่อนคลายแล้ว ให้ฝึกคลายกล้ามเนื้อได้เลย โดยไม่จาเป็นต้องเกร็งก่อน - อาจเลือกคลายกล้ามเนื้อ เฉพาะส่วนที่เป็นปัญหาเท่านั้นก็ได้ เช่น บริเวณใบหน้า ต้นคอ หลัง ไหล่ เป็นต้น ไม่จาเป็นต้องคลายกล้ามเนื้อ ทั้งตัว จะช่วยให้ใช้เวลาน้อยลง และสะดวกมากขึ้น 3. การฝึกหายใจ คือ การหายใจด้วยการใช้กล้ามเนื้อกระบังลมบริเวณท้อง หายใจเข้าออก ช้าๆ ลึกๆ จะ ช่วยให้ร่างกายได้อากาศเข้าสู่ปอดมากขึ้น เพิ่มปริมาณออกซิเจนในเลือด การหายใจที่ถูกต้องจะช่วย ให้หัวใจเต้นช้าลง สมองแจ่มใส รู้สึกผ่อนคลาย ซึ่งคนที่มีความเครียดส่วนใหญ่เมื่อเครียดแล้วจะ หายใจตื้น หายใจไม่เต็มปอด หรือที่บางคนบอกว่าหายใจไม่อิ่ม 3.2.4 ส. สุรา งด หรือลดการดื่มเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ เทคนิคบอกลา เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ 1. เขียนเหตุผลว่าทาไมจึงควรหยุดดื่มสุรา
  • 19. 33 2. ลงมือปฏิบัติ โดยกาหนดวันที่จะเริ่มหยุดดื่ม เขียนวันที่ตั้งใจจะเริ่มหยุดดื่มไว้ในที่เห็นได้ชัด 3. บอกความตั้งใจของคุณให้คนอื่นรับรู้ด้วย 4. ระหว่างที่หยุดดื่มนั้น ให้กลับมาดูรายการเหตุผล ที่เขียนไว้ในข้อแรกบ่อยๆ 5. หากเผลอดื่มในระหว่างที่งด ให้คิดว่าเป็นประสบการณ์เพื่อเรียนรู้และเริ่มต้นใหม่ 6. หลังประสบความสาเร็จในการหยุดดื่ม ในช่วงเวลาที่ตั้งใจไว้ ให้ต่อเวลาออกไปอีก เมื่อทาไปเรื่อยๆ ก็ จะกลายเป็นความเคยชิน 7. หากความตั้งใจหยุดดื่มไม่สาเร็จอาจปรึกษาแพทย์ 8. หลีกเลี่ยงสิ่งใดก็ตามที่จะทาลายความตั้งใจ 9. ตั้งเป้าหมายให้แน่วแน่ และจะประสบความสาเร็จในที่สุด 3.2.5 ส. ยาสูบ เลิกสูบบุหรี่และหลีกเลี่ยงจากควันบุหรี่ หลักการปฏิบัติตนเพื่อการเลิกบุหรี่ 1. ขอคาปรึกษาเพื่อให้มีแนวทางในการเลิก จากแพทย์ ผู้ให้คาปรึกษา หรือผู้ที่สามารถเลิกบุหรี่ ได้สาเร็จ เช่น สมัครเข้าชมรมเพื่อการเลิกบุหรี่ 2. หากาลังใจ บอกคนใกล้ชิดว่าเลิกบุหรี่ครั้งนี้เพื่อคนที่คุณรัก 3. ตั้งเป้าหมายให้แน่วแน่ ในการวางแผนเลิกบุหรี่ โดยกาหนดวันที่เลิก เช่น วันสาคัญต่างๆ 4. ไม่รอช้าลงมือปฏิบัติ เตรียมตัวเพื่อการเลิกบุหรี่ ถ้าหวั่นไหวอาจใช้การบาบัดทางยาช่วย เช่น หมากฝรั่ง ยาอมบ้วนปากเพื่อลดการอยากบุหรี่ 5. ถือคามั่นไม่หวั่นไหว แม้มีอาการไม่สุขสบาย หมั่นเตือนตนว่าจะเลิกบุหรี่ให้ได้ 6. ห่างไกลสิ่งกระตุ้น ความอยากสูบ โดยหลีกเลี่ยงการอยู่ใกล้ชิดกับคนสูบบุหรี่ 7. รู้สึกเครียดควรหยุดพัก และหาแนวทางคลายเครียด เช่น เล่นกีฬา ดูภาพยนตร์ ฟังเพลง พูดคุย กับเพื่อน 8. ออกกาลังกาย วันละอย่างน้อย30 นาที จะช่วยคุมน้าหนักและทาให้สมองปลอดโปร่ง 9. ไม่ท้าทาย ไม่ควรคิดลองสูบบุหรี่อีกครั้ง เพราะจะทาให้หวนกลับสูบบุหรี่ได้ 10. หากล้มเหลว ควรเริ่มต้นอีกครั้งอย่าท้อถอย จะพบความสาเร็จในการเลิก 3.3 แนวทางการดูแลกลุ่มเสี่ยงสูงต่อเบาหวานและความดันโลหิตสูง การดูแลกลุ่มเสี่ยงสูงตั้งแต่ยังไม่มีอาการ โดยการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและวิถีชีวิตที่ไม่เหมาะสม เพื่อลด ปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง สามารถป้องกันและยืดระยะเวลาการเป็นโรคออกไปได้ ถึงร้อยละ 50 จึงเป็นวิธีการป้องกันการเกิดโรคที่ดีที่สุด
  • 20. 34 3.3.1 การจัดบริการเพื่อป้องกันเบาหวาน และความดันโลหิตสูงในกลุ่มเสี่ยงสูงฯ 1. ประเมินปัจจัยเสี่ยงรายบุคคลด้าน พฤติกรรมบริโภคอาหารผัก ผลไม้ การเคลื่อนไหวและการออกกาลัง กาย ภาวะน้าหนักเกินและอ้วนการสูบบุหรี่ การดื่มสุรา และการจัดการความเครียด รวมถึงการประเมิน สภาพแวดล้อมของผู้รับบริการ 2. กลุ่มเสี่ยงสูงต่อภาวะเบาหวาน (Pre-diabetes) ภาวะความดันโลหิตสูง (Pre-hypertension) และผู้ให้บริการร่วมวิเคราะห์ ออกแบบ กาหนดเป้าหมาย ข้อตกลงร่วมกัน และเลือกวิธีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม รวมถึงความเป็นไปได้ ตามบริบทของกลุ่มเสี่ยง 3. จัดให้มีสมุดหรือบันทึกประจาตัวการติดตาม ซึ่งสามารถใช้ ตัวอย่างแบบบันทึกของกรมสุขภาพจิต และ ปรับเพิ่มรายละเอียดกิจกรรมในกลุ่มเสี่ยงสูงต่อภาวะเบาหวานและความดันโลหิตสูง เพื่อติดตามและประเมิน การ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมรายบุคคล 4. จัดระบบการกระตุ้นเตือน และติดตามประเมิน ซึ่งจากการศึกษาของ Pan X และคณะ แนะนาให้มีการ ติดตาม ทุก 1 เดือนใน 3 เดือนแรก และเดือนที่ 6 โดยวิธีต่างๆ เช่น นัดที่จุดบริการ ส่งจดหมาย โทรศัพท์ เยี่ยมบ้าน ประกอบด้วยกิจกรรมดังต่อไปนี้ 4.1 ประเมินรายบุคคล โดยการวัดรอบเอว ชั่งน้าหนัก และประเมินด้าน พฤติกรรม การบริโภค อาหาร ผัก ผลไม้ การเคลื่อนไหว การออกกาลังกาย ภาวะน้าหนักเกินและอ้วน ความเครียด บุหรี่สุรา ร่วมวิเคราะห์ ปัญหา อุปสรรค ปัจจัยเสริม ปัจจัยเอื้อเพื่อหาวิธีการและแนวทางร่วมกันในการปรับเปลี่ยน พฤติกรรม และ ลง บันทึกในสมุดบันทึกประจาตัวทุกครั้ง เพื่อติดตามการเปลี่ยนแปลง 4.2 เฉพาะในเดือนที่ 6 ประเมินตามข้อ 4.1 และตรวจน้าตาลในเลือด (FPG) / ค่าความดันโลหิต (BP) เพื่อ ติดตาม การเปลี่ยนแปลงของผู้ที่เสี่ยงสูงต่อเบาหวานและความดันโลหิตสูง( Pre-diabetes / Pre-hypertension) 5. แจ้งผลการประเมินให้แก่กลุ่มเสี่ยง พร้อมสนับสนุนให้เกิดการเรียนรู้ หรือขอคาแนะนาจาก คลินิก DPAC ซึ่งเป็นหน่วยให้คาปรึกษา ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหาร และการจัดกิจกรรมการ เคลื่อนไหวออกแรง/ออกกาลัง ให้เหมาะสมในแต่ละกลุ่มวัย รวมทั้งสนับสนุนให้มีการปฏิบัติอย่างต่อเนื่อง และ ติดตาม ประเมินผล โดยครอบคลุม ประชาชนทั่วไป ผู้สนใจดูแลสุขภาพ กลุ่มเสี่ยงด้านพฤติกรรม และกลุ่มป่วย ด้วยโรคเรื้อรัง 6. เฝ้าระวัง ติดตาม อย่างต่อเนื่อง 3.3.2 การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อลดปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและวิถีชีวิตสามารถป้องกันโรคดังกล่าวได้ซึ่งจากการศึกษาพบว่า การดาเนินการ ในกลุ่มเสี่ยงสูงสามารถป้องกันการเกิดโรคได้โดยใช้หลัก3 อ 2 ส ดังที่จะกล่าวต่อไป 1. อาหาร ลดการรับประทานอาหารรสจัด (หวาน มัน เค็ม) และเพิ่มการรับประทานผัก ผลไม้ที่ ไม่หวาน อย่างน้อย 5-6 ทัพพีหรือครึ่งกิโลกรัมต่อวัน 2. ออกกาลังกาย ที่เหมาะสมกับวัยอย่างสม่าเสมออย่างน้อย 30 นาที/วัน 5-7 วันต่อสัปดาห์
  • 21. 35 3. อารมณ์ โดยการทาจิตใจให้สบาย ฝึกหายใจช้าๆ เพื่อคลายเครียด 4. งดสูบบุหรี่ และหลีกเลี่ยงควันบุหรี่ 5. งดเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ 3.4 แนวทางการดูแลกลุ่มป่วยด้วยโรคเบาหวานและ/หรือความดันโลหิตสูง 3.4.1 การตรวจวินิจฉัยโรค ประชากรกลุ่มเสี่ยงที่พบภาวะผิดปกติ ได้รับการส่งต่อเพื่อรับการตรวจวินิจฉัยจากแพทย์เพื่อรับการรักษาที่ ถูกต้องเหมาะสม ตั้งแต่ระยะเริ่มแรก โดยมีเกณฑ์ในการวินิจฉัยโรค ดังนี้ เกณฑ์ในการวินิจฉัยโรค การวินิจฉัยโรคเบาหวาน สามารถตรวจได้โดยวิธี 1.1 การตรวจระดับน้าตาลในเลือดขณะอดอาหารอย่างน้อย 8 ชั่วโมง ( Fasting plasma glucose, FPG) ถ้าระดับน้าตาลที่ได้ มากกว่าหรือเท่ากับ 126 มก./ดล. ผู้ป่วยควรได้รับการตรวจซ้าอีก เพื่อยืนยันผล 1.2 การตรวจระดับน้าตาลในเลือดที่ 2 ชั่วโมงหลังดื่มน้าตาลกลูโคส 75 กรัม (OralGlucose Tolerance Test, OGTT) ถ้าระดับน้าตาลที่ได้ มากกว่าหรือเท่ากับ 200 มก. / ดล. ถือว่าเป็นเบาหวาน ซึ่งผู้ป่วยควรได้รับการตรวจซ้า เพื่อยืนยันผล 1.3 ในกรณีที่ผู้ป่วยมีอาการของโรคเบาหวานชัดเจน ได้แก่ หิวน้ามาก ปัสสาวะมากหรือน้าหนักตัวลดโดย ไม่ทราบสาเหตุ ตรวจระดับพลาสมากลูโคสขณะที่ไม่อดอาหารได้มากกว่าหรือเท่ากับ 200 มก./ดล. ให้วินิจฉัยว่า เป็นเบาหวานเช่นกัน การวินิจฉัยความดันโลหิตสูง วินิจฉัยว่าผู้ป่วยมีภาวะความดันโลหิตสูง เมื่อมีระดับความดันโลหิตมากกว่าหรือเท่ากับ 140/90 มม.ปรอท ซึ่งจะเป็นค่าตัวบน หรือล่างก็ได้ 3.4.2 การดูแลรักษาผู้ป่วยเบาหวานและ/หรือความดันโลหิตสูง ภายหลังได้รับการวินิจฉัยจากแพทย์ ผู้ป่วย จะต้องได้รับการดูแลรักษาที่เหมาะสม เพื่อรักษาอาการที่ เกิดขึ้นจากภาวะน้าตาลในเลือดสูงหรือภาวะความดันโลหิตสูง ป้องกันและรักษาการเกิดโรคแทรกซ้อนระยะ เฉียบพลัน ป้องกันหรือชะลอการเกิดโรคแทรกซ้อนเรื้อรัง รวมทั้งมีเป้าหมายเพื่อให้ผู้ป่วยมีคุณภาพชีวิตที่ดี ใกล้เคียงคนปกติ แต่โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงเป็นโรคเรื้อรังที่ผู้ป่วยต้องเผชิญเป็นเวลายาวนาน การดูแล รักษาที่จะเกิดผลดี จาเป็นต้องใช้ความร่วมมือระหว่างแพทย์ ตัวผู้ป่วยและญาติ ทีมบุคลากรสาขาอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง โดยการดูแลรักษาประกอบด้วย
  • 22. 36 1. ตั้งเป้าหมายการควบคุมระดับน้าตาลและระดับความดันโลหิตให้เหมาะสมกับอายุและ สภาวะของ ผู้ป่วย 2. เน้นให้ผู้ป่วยและญาติมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมชีวิต ทั้งด้านอาหารและการออก กาลังกายให้เหมาะสม 3. ส่งเสริมสนับสนุนการดูแลตนเองและประเมินผลการรักษาด้วยตนเองแก่ผู้ป่วยและ ญาติโดยมีการกาหนดเป้าหมายในการควบคุมโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง เป้าหมายการควบคุมเบาหวาน เพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อนจากโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง การควบคุม/การปฏิบัติตัว เป้าหมาย การควบคุมเบาหวาน • ระดับน้าตาลในเลือด* - ก่อนอาหาร - หลังอาหาร 1- 2 ชั่วโมง - น้าตาลสะสมเฉลี่ย(HbA1C) „ 70- 130 มก./ดล. • น้อยกว่า 180 มก./ดล. • น้อยกว่า 7 % ระดับไขมันในเลือด • ระดับโคเลสเตอรอลรวม • ระดับ แอล ดี แอล โคเลสเตอรอล • ระดับไตรกลีเซอร์ไรด์ • ระดับ เอช ดี แอลโคเลสเตอรอล : ชาย : หญิง „ 130-170มก./ดล. • น้อยกว่า 100 มก./ดล. • น้อยกว่า 150 มก./ดล. • มากกว่าหรือเท่ากับ 40 มก./ดล. • มากกว่าหรือเท่ากับ 50 มก./ดล. ความดันโลหิต** • ความดันโลหิตตัวบน( Systolic BP ) • ความดันโลหิตตัวล่าง( Diastolic BP) • น้อยกว่า 130 มม.ปรอท • น้อยกว่า 80 มม.ปรอท
  • 23. 37 น้้าหนักตัว • ดัชนีมวลกาย • รอบเอว : ผู้ชาย : ผู้หญิง „ 18.5 ‟ 22.9 กก. / ม.2 • น้อยกว่า 90 ซม. • น้อยกว่า 80 ซม. การสูบบุหรี่ ไม่สูบบุหรี่และหลีกเลี่ยงการรับควันบุหรี่ การออกก้าลังกาย ตามคาแนะนาของแพทย์ ที่มา : สมาคมโรคเบาหวานแห่งประเทศไทยฯ,สมาคมโรคต่อมไร้ท่อแห่งประเทศไทย, สานักงานหลักประกัน สุขภาพแห่งชาติ . แนวทางเวชปฏิบัติสาหรับเบาหวาน พ.ศ. 2551 * American Diabetes Association, Standard of Medical care in Diabetes-2010 ** ในผู้ป่วยสูงอายุและผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง เป้าหมายความดันโลหิตคือ น้อยกว่า 140/90 มม.ปรอท หรือใกล้เคียง 3.4.3 เป้าหมายในการควบคุมความดันโลหิตสูง ในการดูแลรักษาได้มีการกาหนดเป้าหมายของการลดความดันโลหิตในผู้ป่วย ดังนี้ - - ในผู้ป่วยความดันโลหิตสูงที่ไม่มีภาวะแทรกซ้อน ควบคุมระดับความดันโลหิตให้ต่ากว่า140/90 มม.ปรอท - ในผู้ป่วยอายุน้อย ผู้ป่วยเบาหวาน ผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง ผู้ป่วยหลังกล้ามเนื้อหัวใจตายและผู้ป่วยหลังเป็นอัม พฤกษ์/อัมพาต ควรควบคุมระดับความดันโลหิตให้ต่ากว่า130/80 มม.ปรอท 3.4.4 การตรวจคัดกรองภาวะแทรกซ้อน นอกจากการควบคุมให้ระดับน้าตาลและความดันโลหิตเป็นไปตามเป้าหมายในการดูแลรักษาแล้ว การตรวจคัดกรองเพื่อค้นหาภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยเป็นสิ่งสาคัญที่ต้องดาเนินการอย่างต่อเนื่อง รวมทั้งหากตรวจ พบภาวะผิดปกติ ต้องส่งต่อเพื่อให้ผู้ป่วยพบผู้เชี่ยวชาญเฉพาะทาง เพื่อรับการรักษาที่ถูกต้องเหมาะสม ดังนี้ ผู้ป่วยเบาหวาน 1. การตรวจคัดกรองภาวะแทรกซ้อนทางตา(ตรวจจอประสาทตา) โดยจักษุแพทย์ หรือโดยวิธีใช้กล้อง ถ่ายภาพจอประสาทตา โดยมีคาแนะนาในการตรวจคัดกรองและติดตาม ดังตาราง