SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 17
-ไฟฟ้ ากระแส
-การนาไฟฟ้ า
-กฎของโอห์ม
-ความต้านทานและสภาพต้านทาน
-อุปกรณ์ทางไฟฟ้ า
-ข้อสอบ
-อ้างอิง
ไฟฟ้ ากระแสคือ การไหลของอิเล็กตรอนภายใน ตัวนาไฟฟ้ า
จากที่หนึ่งไปอีกที่หนึ่งเช่น ไหลจาก แหล่งกาเนิดไฟฟ้ าไปสู่
แหล่ง ที่ต้องการใช้กระ แสไฟฟ้ า ซึ่งก่อให้เกิด แสงสว่าง เมื่อ
กระแส ไฟฟ้ าไหลผ่านลวด ความต้านทานสูงจะก่อให้ เกิด
ความร้อน เราใช้หลักการเกิดความร้อน เช่นนี้มาประดิษฐ์
อุปกรณ์ไฟฟ้ า เช่น เตาหุงต้ม เตารีดไฟฟ้ า เป็ นต้น
ไฟฟ้ ากระแสแบ่งออกเป็ น 2 ชนิด คือ
- ไฟฟ้ ากระแสตรง ( Direct Current หรือ D .C )
- ไฟฟ้ ากระแสสลับ ( Alternating Current หรือ A.C. )
 เป็นไฟฟ้ าที่มีทิศทางการไหลไปทางเดียวตลอดระยะเวลาที่
วงจรไฟฟ้ าปิดกล่าวคือกระแสไฟฟ้ าจะไหลจากขั้วบวก
ภายในแหล่งกาเนิด ผ่านจากขั้วบวกจะไหลผ่านตัวต้านหรือโหลด
ผ่านตัวนาไฟฟ้ าแล้ว ย้อนกลับเข้าแหล่งกาเนิดที่ขั้วลบ วนเวียนเป็น
ทางเดียวเช่นนี้ตลอดเวลา การไหลของไฟฟ้ ากระแสตรงเช่นนี้
แหล่งกาเนิดที่เรารู้จักกันดีคือ ถ่าน-ไฟฉาย ไดนาโม ดีซี เป็นต้น
ไฟฟ้ ากระแสตรงประเภทสม่าเสมอ (Steady D.C) เป็นไฟฟ้ า
กระแสตรง อันแท้จริง คือ เป็นไฟฟ้ ากระแสตรง
ที่ไหลอย่างสม่าเสมอตลอดไปไฟฟ้ ากระแสตรงประเภทนี้ได้มาจาก
แบตเตอรี่หรือ ถ่านไฟฉาย
ไฟฟ้ ากระแสตรงประเภทไม่สม่าเสมอ ( Pulsating D.C) เป็นไฟฟ้ า
กระแสตรงที่เป็นช่วงคลื่นไม่สม่าเสมอ
ไฟฟ้ ากระแสตรงชนิดนี้ได้มาจากเครื่องไดนาโมหรือ วงจรเรียง
กระแส ( เรคติไฟ )
(1) กระแสไฟฟ้ าไหลไปทิศทางเดียวกันตลอด
(2) มีค่าแรงดันหรือแรงเคลื่อนเป็นบวกอยู่เสมอ
(3) สามารถเก็บประจุไว้ในเซลล์ หรือแบตเตอรี่ได้
(1) ใช้ในการชุบโลหะต่างๆ
(2) ใช้ในการทดลองทางเคมี
(3) ใช้เชื่อมโลหะและตัดแผ่นเหล็ก
(4) ทาให้เหล็กมีอานาจแม่เหล็ก
(5) ใช้ในการประจุกระแสไฟฟ้ าเข้าแบตเตอรี่
(6) ใช้ในวงจรอิเล็กทรอนิกส์
(7) ใช้เป็นไฟฟ้ าเดินทาง เช่น ไฟฉาย
 เป็นไฟฟ้ าที่มีการไหลกลับไป กลับมา ทั้งขนาดของกระแสและแรงดันไม่คงที่
เปลี่ยนแปลงอยู่เสมอ คือ กระแสจะไหลไปทางหนึ่งก่อน ต่อมาก็จะไหลสวนกลับ
แล้ว ก็เริ่มไหลเหมือนครั้งแรก
ครั้งแรกกระแสไฟฟ้ าจะไหลจากแหล่งกาเนิดไปตามลูกศรเส้นหนัก เริ่มต้นจาก
ศูนย์ แล้วค่อยๆเพิ่มขึ้นเรื่อยๆจนถึงขีดสุด แล้วมันจะค่อยๆลดลงมาเป็นศูนย์อีก
ต่อจากนั้นกระแสไฟฟ้ าจะไหลจากแหล่งกาเนิดไปตามลูกศรเส้นปะลดลงเรื่อยๆ
จนถึงขีด ต่าสุด แล้วค่อยๆ เพิ่มขึ้นเรื่อยๆ จนถึงศูนย์ตามเดิมอีก เมื่อเป็นศูนย์
แล้วกระแสไฟฟ้ าจะไหลไปทางลูกศรเส้นหนักอีกเป็นดังนี้ เรื่อยๆไปการที่
กระแสไฟฟ้ าไหลไปตามลูกศร เส้นหนักด้านบนครั้งหนึ่งและไหลไปตามเส้นประ
ด้านล่างอีกครั้งหนึ่ง เวียน กว่า 1 รอบ ( Cycle )
ความถี่ หมายถึง จานวนลูกคลื่นไฟฟ้ ากระแสสลับที่เปลี่ยนแปลงใน 1 วินาที
กระแสไฟฟ้ าสลับในเมืองไทยใช้ไฟฟ้ าที่มี ความถี่ 50 เฮิรตซ์ ซึ่งหมายถึง จานวน
ลูกคลื่นไฟฟ้ าสลับที่เปลี่ยนแปลง 50 รอบ ในเวลา 1 วินาที
(1) สามารถส่งไปในที่ไกลๆได้ดี กาลังไม่ตก
(2) สามารถแปลงแรงดันให้สูงขึ้นหรือต่าลงได้ตามต้องการโดยการ
ใช้หม้อแปลง(Transformer)
(1) ใช้กับระบบแสงสว่างได้ดี
(2) ประหยัดค่าใช้จ่าย และผลิตได้ง่าย
(3) ใช้กับเครื่องใช้ไฟฟ้ าที่ต้องการกาลังมากๆ
(4) ใช้กับเครื่องเชื่อม
(5) ใช้กับเครื่องอานวยความสะดวกและอุปกรณ์ไฟฟ้ าได้เกือบทุก
ชนิด
ตัวนาไฟฟ้ า เป็นตัวกลางให้กระแสไฟฟ้ าไหลผ่าน การนาไฟฟ้ า เกิด
จากการเคลื่อนที่ของอิเลกตรอนอิสระ ไอออนบวก ไอออนลบ
กระแสไฟฟ้ าในตัวนา
-สาหรับปริมาณกระแสไฟฟ้ าที่ไหลผ่านตัวนานั้นสามารถคานวณหา
ขนาดได้จากสมการ
-สาหรับขนาดของประจุ ( Q ) ที่ไหลผ่านตัวนาเราสามารถหาได้จาก
สมการ
-การคานวณหาปริมาณกระแสไฟฟ้ าซึ่งเกิดในเส้นลวดตัวนานั้นยังอาจ
หาได้จากสมการ
I = กระแสไฟฟ้า มีหน่วยเป็นแอมแปร์ (A)
Q = จานวนประจุทั้งหมด มีหน่วยเป็นคูลอมบ์
t = เวลาที่อนุภาคเคลื่อนที่ผ่าน มีหน่วยเป็นวินาที
n = จานวนอิเลคตรอนอิสระในหนึ่งหน่วยปริมาตร ของตัวนา
e = ประจุไฟฟ้าของอิเลคตรอน = 1.6x10-19 คูลอมบ์
v = ความเร็วของอิเลคตรอนในตัวนา หน่วยเป็น เมตร/วินาที
A = พื้นที่ภาคตัดขวางของตัวนา หน่วยเป็น ตารางเมตร ทิศของ
กระแสไฟฟ้าจะมีทิศทางไปทางเดียวกับสนามไฟฟ้า หรือจากจุด ที่มี
ศักย์ไฟฟ้าสูงไปยังจุดที่มีศักย์ไฟฟ้าต่า แต่จะมีทิศทางตรงข้ามกับกระแส
อิเลคตรอน(ประจุลบ)
-เมื่ออุณหภูมิคงที่ ค่าของกระแสไฟฟ้ าที่ไหลผ่านในตัวนา จะแปรผัน
ตรงกับความต่างศักย์ไฟฟ้ าระหว่าง ปลายทั้งสองของตัวนานั้น
V = ความต่างศักย์มีหน่วยเป็นโวลต์(V)
I = กระแสไฟฟ้า มีหน่วยเป็นแอมแปร์ (A)
R = ความต่านทาน มีหน่วยเป็นโอห์ม
R = ความต้านทานไฟฟ้า
P = สภาพต้านทาน
L = ความยาว
A = พื้นที่หน้าตัด (ตร.ม.)
 แอมมิเตอร์ เป็นอุปกรณ์ที่ถูกดัดแปลงมาจากแกลแวนอมิเตอร์ จะมีความ
ต้านทานน้อยเพื่อวัดกระแสได้มากๆ ใช้วัดกระแสไฟฟ้ าโดยการต่อแบบ
อนุกรม
 โวลต์มิเตอร์ ใช้วัดค่าความต่างศักย์ไฟฟ้ าโดยนาไปต่อแบบขนานกับวงจร
โวลต์มิเตอร์ที่ดีจะต้องมีความต้านทานมากเพื่อกระแสไฟฟ้ าจะได้ผ่านน้อย
1. https://sites.google.com/site/physicsfunny001/fifakrasae
2. http://www.atom.rmutphysics.com/charud/scibook/electric%20curren
t1/index/index.htm
3. http://nitchara00.blogspot.com/p/14.html
เรียบเรียงโดย
น.ส. ธิดารัตน์ ขาวสังข์ ม.6/1 เลขที่ 29

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าSiriporn Somkrue
 
รายงานเรื่อง
รายงานเรื่องรายงานเรื่อง
รายงานเรื่องkong08158
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า1
เครื่องใช้ไฟฟ้า1เครื่องใช้ไฟฟ้า1
เครื่องใช้ไฟฟ้า1Keatisak TAtanarua
 
ประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้า
ประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้าประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้า
ประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้า1560100453451
 
เอกสารประกอบการสอนอิเล็กทรอนิกส์ขั้นพื้นฐาน โดย อ.นาถวดี
เอกสารประกอบการสอนอิเล็กทรอนิกส์ขั้นพื้นฐาน โดย อ.นาถวดีเอกสารประกอบการสอนอิเล็กทรอนิกส์ขั้นพื้นฐาน โดย อ.นาถวดี
เอกสารประกอบการสอนอิเล็กทรอนิกส์ขั้นพื้นฐาน โดย อ.นาถวดีtearchersittikon
 
Sideshare เรื่องการใช้ไฟฟ้า
Sideshare  เรื่องการใช้ไฟฟ้าSideshare  เรื่องการใช้ไฟฟ้า
Sideshare เรื่องการใช้ไฟฟ้าหัว' เห็ด.
 
เรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้า
เรื่อง  เครื่องใช้ไฟฟ้าเรื่อง  เครื่องใช้ไฟฟ้า
เรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้าRattanapron Tacomdee
 
การต่อวงจรไฟฟ้า.Pptx -1
การต่อวงจรไฟฟ้า.Pptx -1การต่อวงจรไฟฟ้า.Pptx -1
การต่อวงจรไฟฟ้า.Pptx -1njoyok
 
เครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน.Pdf
เครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน.Pdfเครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน.Pdf
เครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน.Pdf0841766393
 
งานนำเสนอ1 ไฟฟ้า
งานนำเสนอ1 ไฟฟ้างานนำเสนอ1 ไฟฟ้า
งานนำเสนอ1 ไฟฟ้าPhachakorn Khrueapuk
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าUp To You's Toey
 
หลักการเครื่องใช่ไฟฟ้า
หลักการเครื่องใช่ไฟฟ้าหลักการเครื่องใช่ไฟฟ้า
หลักการเครื่องใช่ไฟฟ้าChanukid Chaisri
 
เครื่องใช้ไฟฟ้าในปัจจุบัน
เครื่องใช้ไฟฟ้าในปัจจุบันเครื่องใช้ไฟฟ้าในปัจจุบัน
เครื่องใช้ไฟฟ้าในปัจจุบันPapungkorn
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าaing_siripatra
 
กลุ่ม5 305
กลุ่ม5 305กลุ่ม5 305
กลุ่ม5 305parm305
 
กลุ่ม5 305
กลุ่ม5 305กลุ่ม5 305
กลุ่ม5 305parm305
 
กลุ่ม5 305
กลุ่ม5 305กลุ่ม5 305
กลุ่ม5 305parm305
 

Was ist angesagt? (20)

แหล่งกำเนิดไฟฟ้า (Electric source)
แหล่งกำเนิดไฟฟ้า (Electric source)แหล่งกำเนิดไฟฟ้า (Electric source)
แหล่งกำเนิดไฟฟ้า (Electric source)
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้า
 
รายงานเรื่อง
รายงานเรื่องรายงานเรื่อง
รายงานเรื่อง
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า1
เครื่องใช้ไฟฟ้า1เครื่องใช้ไฟฟ้า1
เครื่องใช้ไฟฟ้า1
 
ประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้า
ประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้าประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้า
ประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้า
 
เอกสารประกอบการสอนอิเล็กทรอนิกส์ขั้นพื้นฐาน โดย อ.นาถวดี
เอกสารประกอบการสอนอิเล็กทรอนิกส์ขั้นพื้นฐาน โดย อ.นาถวดีเอกสารประกอบการสอนอิเล็กทรอนิกส์ขั้นพื้นฐาน โดย อ.นาถวดี
เอกสารประกอบการสอนอิเล็กทรอนิกส์ขั้นพื้นฐาน โดย อ.นาถวดี
 
Sideshare เรื่องการใช้ไฟฟ้า
Sideshare  เรื่องการใช้ไฟฟ้าSideshare  เรื่องการใช้ไฟฟ้า
Sideshare เรื่องการใช้ไฟฟ้า
 
เรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้า
เรื่อง  เครื่องใช้ไฟฟ้าเรื่อง  เครื่องใช้ไฟฟ้า
เรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้า
 
การต่อวงจรไฟฟ้า.Pptx -1
การต่อวงจรไฟฟ้า.Pptx -1การต่อวงจรไฟฟ้า.Pptx -1
การต่อวงจรไฟฟ้า.Pptx -1
 
เครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน.Pdf
เครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน.Pdfเครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน.Pdf
เครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน.Pdf
 
งานนำเสนอ4
งานนำเสนอ4งานนำเสนอ4
งานนำเสนอ4
 
งานนำเสนอ1 ไฟฟ้า
งานนำเสนอ1 ไฟฟ้างานนำเสนอ1 ไฟฟ้า
งานนำเสนอ1 ไฟฟ้า
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้า
 
หลักการเครื่องใช่ไฟฟ้า
หลักการเครื่องใช่ไฟฟ้าหลักการเครื่องใช่ไฟฟ้า
หลักการเครื่องใช่ไฟฟ้า
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้า
 
เครื่องใช้ไฟฟ้าในปัจจุบัน
เครื่องใช้ไฟฟ้าในปัจจุบันเครื่องใช้ไฟฟ้าในปัจจุบัน
เครื่องใช้ไฟฟ้าในปัจจุบัน
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้า
 
กลุ่ม5 305
กลุ่ม5 305กลุ่ม5 305
กลุ่ม5 305
 
กลุ่ม5 305
กลุ่ม5 305กลุ่ม5 305
กลุ่ม5 305
 
กลุ่ม5 305
กลุ่ม5 305กลุ่ม5 305
กลุ่ม5 305
 

Ähnlich wie Phys369

พลังงานไฟฟ้า (1)
พลังงานไฟฟ้า (1)พลังงานไฟฟ้า (1)
พลังงานไฟฟ้า (1)Nontawat Rupsung
 
พลังงานไฟฟ้า (1)
พลังงานไฟฟ้า (1)พลังงานไฟฟ้า (1)
พลังงานไฟฟ้า (1)Nontawat Rupsung
 
งานคูแหวว.Pdf
งานคูแหวว.Pdfงานคูแหวว.Pdf
งานคูแหวว.PdfPanatsaya
 
พลังงานไฟฟ้า
พลังงานไฟฟ้าพลังงานไฟฟ้า
พลังงานไฟฟ้าThitikan
 
งานนำเสนอ กลุ่มที่6
งานนำเสนอ กลุ่มที่6งานนำเสนอ กลุ่มที่6
งานนำเสนอ กลุ่มที่6Thitikan
 
อจท.วิทยาศาสตร์ ม.3 เล่ม 2 หน่วยที่ 6.pptx
อจท.วิทยาศาสตร์ ม.3 เล่ม 2 หน่วยที่ 6.pptxอจท.วิทยาศาสตร์ ม.3 เล่ม 2 หน่วยที่ 6.pptx
อจท.วิทยาศาสตร์ ม.3 เล่ม 2 หน่วยที่ 6.pptxssuser0c62991
 
งานวิทย์ 1
งานวิทย์ 1งานวิทย์ 1
งานวิทย์ 1thanawan302
 
งาน Sideshare
งาน Sideshareงาน Sideshare
งาน SideshareThananop
 
Fundamental of electrical ไฟฟ้าเบื้องต้น-r2
Fundamental of electrical ไฟฟ้าเบื้องต้น-r2Fundamental of electrical ไฟฟ้าเบื้องต้น-r2
Fundamental of electrical ไฟฟ้าเบื้องต้น-r2MaloNe Wanger
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าSarun Boonwong
 
เครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน.Pdf
เครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน.Pdfเครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน.Pdf
เครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน.PdfKanoknat Kaosim
 
ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 6
ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ หน่วยการเรียนรู้ที่  6ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ หน่วยการเรียนรู้ที่  6
ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 6Supaluk Juntap
 
พัชรินทร์
พัชรินทร์พัชรินทร์
พัชรินทร์Muk52
 
พัชรินทร์
พัชรินทร์พัชรินทร์
พัชรินทร์Muk52
 

Ähnlich wie Phys369 (20)

พลังงานไฟฟ้า (1)
พลังงานไฟฟ้า (1)พลังงานไฟฟ้า (1)
พลังงานไฟฟ้า (1)
 
พลังงานไฟฟ้า (1)
พลังงานไฟฟ้า (1)พลังงานไฟฟ้า (1)
พลังงานไฟฟ้า (1)
 
54101 unit10
54101 unit1054101 unit10
54101 unit10
 
ไฟฟ้า
ไฟฟ้าไฟฟ้า
ไฟฟ้า
 
Presentation1
Presentation1Presentation1
Presentation1
 
งานคูแหวว.Pdf
งานคูแหวว.Pdfงานคูแหวว.Pdf
งานคูแหวว.Pdf
 
พลังงานไฟฟ้า
พลังงานไฟฟ้าพลังงานไฟฟ้า
พลังงานไฟฟ้า
 
งานนำเสนอ กลุ่มที่6
งานนำเสนอ กลุ่มที่6งานนำเสนอ กลุ่มที่6
งานนำเสนอ กลุ่มที่6
 
อจท.วิทยาศาสตร์ ม.3 เล่ม 2 หน่วยที่ 6.pptx
อจท.วิทยาศาสตร์ ม.3 เล่ม 2 หน่วยที่ 6.pptxอจท.วิทยาศาสตร์ ม.3 เล่ม 2 หน่วยที่ 6.pptx
อจท.วิทยาศาสตร์ ม.3 เล่ม 2 หน่วยที่ 6.pptx
 
งานวิทย์ 1
งานวิทย์ 1งานวิทย์ 1
งานวิทย์ 1
 
งาน Sideshare
งาน Sideshareงาน Sideshare
งาน Sideshare
 
งาน Sideshare
งาน Sideshareงาน Sideshare
งาน Sideshare
 
Fundamental of electrical ไฟฟ้าเบื้องต้น-r2
Fundamental of electrical ไฟฟ้าเบื้องต้น-r2Fundamental of electrical ไฟฟ้าเบื้องต้น-r2
Fundamental of electrical ไฟฟ้าเบื้องต้น-r2
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้า
 
เครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน.Pdf
เครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน.Pdfเครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน.Pdf
เครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน.Pdf
 
ใบความรู้.05
ใบความรู้.05ใบความรู้.05
ใบความรู้.05
 
ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 6
ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ หน่วยการเรียนรู้ที่  6ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ หน่วยการเรียนรู้ที่  6
ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 6
 
4
44
4
 
พัชรินทร์
พัชรินทร์พัชรินทร์
พัชรินทร์
 
พัชรินทร์
พัชรินทร์พัชรินทร์
พัชรินทร์
 

Phys369

  • 2. ไฟฟ้ ากระแสคือ การไหลของอิเล็กตรอนภายใน ตัวนาไฟฟ้ า จากที่หนึ่งไปอีกที่หนึ่งเช่น ไหลจาก แหล่งกาเนิดไฟฟ้ าไปสู่ แหล่ง ที่ต้องการใช้กระ แสไฟฟ้ า ซึ่งก่อให้เกิด แสงสว่าง เมื่อ กระแส ไฟฟ้ าไหลผ่านลวด ความต้านทานสูงจะก่อให้ เกิด ความร้อน เราใช้หลักการเกิดความร้อน เช่นนี้มาประดิษฐ์ อุปกรณ์ไฟฟ้ า เช่น เตาหุงต้ม เตารีดไฟฟ้ า เป็ นต้น ไฟฟ้ ากระแสแบ่งออกเป็ น 2 ชนิด คือ - ไฟฟ้ ากระแสตรง ( Direct Current หรือ D .C ) - ไฟฟ้ ากระแสสลับ ( Alternating Current หรือ A.C. )
  • 3.  เป็นไฟฟ้ าที่มีทิศทางการไหลไปทางเดียวตลอดระยะเวลาที่ วงจรไฟฟ้ าปิดกล่าวคือกระแสไฟฟ้ าจะไหลจากขั้วบวก ภายในแหล่งกาเนิด ผ่านจากขั้วบวกจะไหลผ่านตัวต้านหรือโหลด ผ่านตัวนาไฟฟ้ าแล้ว ย้อนกลับเข้าแหล่งกาเนิดที่ขั้วลบ วนเวียนเป็น ทางเดียวเช่นนี้ตลอดเวลา การไหลของไฟฟ้ ากระแสตรงเช่นนี้ แหล่งกาเนิดที่เรารู้จักกันดีคือ ถ่าน-ไฟฉาย ไดนาโม ดีซี เป็นต้น
  • 4. ไฟฟ้ ากระแสตรงประเภทสม่าเสมอ (Steady D.C) เป็นไฟฟ้ า กระแสตรง อันแท้จริง คือ เป็นไฟฟ้ ากระแสตรง ที่ไหลอย่างสม่าเสมอตลอดไปไฟฟ้ ากระแสตรงประเภทนี้ได้มาจาก แบตเตอรี่หรือ ถ่านไฟฉาย ไฟฟ้ ากระแสตรงประเภทไม่สม่าเสมอ ( Pulsating D.C) เป็นไฟฟ้ า กระแสตรงที่เป็นช่วงคลื่นไม่สม่าเสมอ ไฟฟ้ ากระแสตรงชนิดนี้ได้มาจากเครื่องไดนาโมหรือ วงจรเรียง กระแส ( เรคติไฟ )
  • 5. (1) กระแสไฟฟ้ าไหลไปทิศทางเดียวกันตลอด (2) มีค่าแรงดันหรือแรงเคลื่อนเป็นบวกอยู่เสมอ (3) สามารถเก็บประจุไว้ในเซลล์ หรือแบตเตอรี่ได้
  • 6. (1) ใช้ในการชุบโลหะต่างๆ (2) ใช้ในการทดลองทางเคมี (3) ใช้เชื่อมโลหะและตัดแผ่นเหล็ก (4) ทาให้เหล็กมีอานาจแม่เหล็ก (5) ใช้ในการประจุกระแสไฟฟ้ าเข้าแบตเตอรี่ (6) ใช้ในวงจรอิเล็กทรอนิกส์ (7) ใช้เป็นไฟฟ้ าเดินทาง เช่น ไฟฉาย
  • 7.  เป็นไฟฟ้ าที่มีการไหลกลับไป กลับมา ทั้งขนาดของกระแสและแรงดันไม่คงที่ เปลี่ยนแปลงอยู่เสมอ คือ กระแสจะไหลไปทางหนึ่งก่อน ต่อมาก็จะไหลสวนกลับ แล้ว ก็เริ่มไหลเหมือนครั้งแรก ครั้งแรกกระแสไฟฟ้ าจะไหลจากแหล่งกาเนิดไปตามลูกศรเส้นหนัก เริ่มต้นจาก ศูนย์ แล้วค่อยๆเพิ่มขึ้นเรื่อยๆจนถึงขีดสุด แล้วมันจะค่อยๆลดลงมาเป็นศูนย์อีก ต่อจากนั้นกระแสไฟฟ้ าจะไหลจากแหล่งกาเนิดไปตามลูกศรเส้นปะลดลงเรื่อยๆ จนถึงขีด ต่าสุด แล้วค่อยๆ เพิ่มขึ้นเรื่อยๆ จนถึงศูนย์ตามเดิมอีก เมื่อเป็นศูนย์ แล้วกระแสไฟฟ้ าจะไหลไปทางลูกศรเส้นหนักอีกเป็นดังนี้ เรื่อยๆไปการที่ กระแสไฟฟ้ าไหลไปตามลูกศร เส้นหนักด้านบนครั้งหนึ่งและไหลไปตามเส้นประ ด้านล่างอีกครั้งหนึ่ง เวียน กว่า 1 รอบ ( Cycle ) ความถี่ หมายถึง จานวนลูกคลื่นไฟฟ้ ากระแสสลับที่เปลี่ยนแปลงใน 1 วินาที กระแสไฟฟ้ าสลับในเมืองไทยใช้ไฟฟ้ าที่มี ความถี่ 50 เฮิรตซ์ ซึ่งหมายถึง จานวน ลูกคลื่นไฟฟ้ าสลับที่เปลี่ยนแปลง 50 รอบ ในเวลา 1 วินาที
  • 8. (1) สามารถส่งไปในที่ไกลๆได้ดี กาลังไม่ตก (2) สามารถแปลงแรงดันให้สูงขึ้นหรือต่าลงได้ตามต้องการโดยการ ใช้หม้อแปลง(Transformer)
  • 9. (1) ใช้กับระบบแสงสว่างได้ดี (2) ประหยัดค่าใช้จ่าย และผลิตได้ง่าย (3) ใช้กับเครื่องใช้ไฟฟ้ าที่ต้องการกาลังมากๆ (4) ใช้กับเครื่องเชื่อม (5) ใช้กับเครื่องอานวยความสะดวกและอุปกรณ์ไฟฟ้ าได้เกือบทุก ชนิด
  • 10. ตัวนาไฟฟ้ า เป็นตัวกลางให้กระแสไฟฟ้ าไหลผ่าน การนาไฟฟ้ า เกิด จากการเคลื่อนที่ของอิเลกตรอนอิสระ ไอออนบวก ไอออนลบ กระแสไฟฟ้ าในตัวนา -สาหรับปริมาณกระแสไฟฟ้ าที่ไหลผ่านตัวนานั้นสามารถคานวณหา ขนาดได้จากสมการ
  • 11. -สาหรับขนาดของประจุ ( Q ) ที่ไหลผ่านตัวนาเราสามารถหาได้จาก สมการ -การคานวณหาปริมาณกระแสไฟฟ้ าซึ่งเกิดในเส้นลวดตัวนานั้นยังอาจ หาได้จากสมการ
  • 12. I = กระแสไฟฟ้า มีหน่วยเป็นแอมแปร์ (A) Q = จานวนประจุทั้งหมด มีหน่วยเป็นคูลอมบ์ t = เวลาที่อนุภาคเคลื่อนที่ผ่าน มีหน่วยเป็นวินาที n = จานวนอิเลคตรอนอิสระในหนึ่งหน่วยปริมาตร ของตัวนา e = ประจุไฟฟ้าของอิเลคตรอน = 1.6x10-19 คูลอมบ์ v = ความเร็วของอิเลคตรอนในตัวนา หน่วยเป็น เมตร/วินาที A = พื้นที่ภาคตัดขวางของตัวนา หน่วยเป็น ตารางเมตร ทิศของ กระแสไฟฟ้าจะมีทิศทางไปทางเดียวกับสนามไฟฟ้า หรือจากจุด ที่มี ศักย์ไฟฟ้าสูงไปยังจุดที่มีศักย์ไฟฟ้าต่า แต่จะมีทิศทางตรงข้ามกับกระแส อิเลคตรอน(ประจุลบ)
  • 13. -เมื่ออุณหภูมิคงที่ ค่าของกระแสไฟฟ้ าที่ไหลผ่านในตัวนา จะแปรผัน ตรงกับความต่างศักย์ไฟฟ้ าระหว่าง ปลายทั้งสองของตัวนานั้น V = ความต่างศักย์มีหน่วยเป็นโวลต์(V) I = กระแสไฟฟ้า มีหน่วยเป็นแอมแปร์ (A) R = ความต่านทาน มีหน่วยเป็นโอห์ม
  • 14. R = ความต้านทานไฟฟ้า P = สภาพต้านทาน L = ความยาว A = พื้นที่หน้าตัด (ตร.ม.)
  • 15.  แอมมิเตอร์ เป็นอุปกรณ์ที่ถูกดัดแปลงมาจากแกลแวนอมิเตอร์ จะมีความ ต้านทานน้อยเพื่อวัดกระแสได้มากๆ ใช้วัดกระแสไฟฟ้ าโดยการต่อแบบ อนุกรม  โวลต์มิเตอร์ ใช้วัดค่าความต่างศักย์ไฟฟ้ าโดยนาไปต่อแบบขนานกับวงจร โวลต์มิเตอร์ที่ดีจะต้องมีความต้านทานมากเพื่อกระแสไฟฟ้ าจะได้ผ่านน้อย
  • 16.
  • 17. 1. https://sites.google.com/site/physicsfunny001/fifakrasae 2. http://www.atom.rmutphysics.com/charud/scibook/electric%20curren t1/index/index.htm 3. http://nitchara00.blogspot.com/p/14.html เรียบเรียงโดย น.ส. ธิดารัตน์ ขาวสังข์ ม.6/1 เลขที่ 29