SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 16
การทาความสะอาดแผล
(Wound Dressing)
บาดแผล (Wound)
“รอยฉีกขาดของผิวหนังหรือเนื้อเยื่อ และส่วนที่
ลึกกว่าชั้นผิวหนังถูกทาลาย ทาให้แยกออกจากัน
โดยสาเหตุใดๆ ก็ตามและทาให้เนื้อเยื่อได้รับ
อันตรายด้วย”
บาดแผลมี 2 ลักษณะ คือ
1.บาดแผลปิด หรือแผลฟกช้า (Closed wounds)
2.บาดแผลเปิด (open wounds)
เป
็ นบาดแผลที่ไม่มีรอยแยกของผิวหนัง เนื่องจากถูก
ของแข็งไม่มีคมกระแทก แต่อาจจะมีการฉีกขาดของเนื้อเยื่อ
และเส้นเลือดฝอยใต้ผิวหนังซึ่งจะทาให้มีเลือดออกและคั่ง
อยู่ใต้ผิวหนังทาให้บริเวณนั้นบวมเลือดที่ออกอยู่ภายใน
ต่อมาจะแข็งตัวเป
็ นลิ่มเลือด เรียกว่า Hematoma
แผลปิดหรือแผลฟกช้า
(Contused wounds ,Closed wounds)
แผลแยก (Open wounds)
เป
็ นบาดแผลที่มีรอยแยกของผิวหนัง แบ่งได้เป
็ น 5 พวก คือ
1. Abrasion (แผลถลอก) เป็น
บาดแผลตื้น มีผิวหนังถลอกหรือรอย
ขูด ข่วน มีเลือดออกเล็กน้อย
2. Incited wound หรือ cut
wound (แผลตัด) เป็ นบาดแผล
ซึ่งเกิดจากวัตถุที่มีคม เช่น มีด
กระจก ทาให ้มีการฉีกขาดของ
ผิวหนัง ลักษณะขอบแผลเรียบ ถ ้า
บาดแผลลึกจะมีเลือดออกได ้มาก
แผลแยก
(Open wounds)
3. Lacerated wound (แผลฉีกขาด)
คือ บาดแผลที่มีผิวหนังขาด ลักษณะขอบ
แผลกะรุ่งกะริ่งหรือขอบแผลไม่เรียบ สาเหตุ
เกิดจากถูกของแข็งไม่มีคมกระแทกทาให ้
ผิวหนังขาด หรือผิวหนังถูกบดหรืออัดด ้วยแรง
หนัก ๆ
4. Punctured wound (แผลถูกแทงทะลุ)
คือ เป็นบาดแผลที่มีการฉีกขาดของผิวหนัง
เป็นรูลึกลงไป ทาให ้อวัยวะภายในได ้รับ
อันตราย มักเป็นแผลที่มีความลึกมากกว่า
ความยาวของแผล เกิดจากวัตถุปลายแหลม
เช่น มีดปลายแหลม เศษไม ้ฯลฯ
แผลแยก (Open wounds)
5. บาดแผลถูกยิง (Gunshot wounds)
บาดแผลชนิดนี้มีลักษณะเป็นรูลึกเข ้าไปในร่างกาย
เช่นเดียวกับแผลถูกแทง แต่บาดแผลถูกยิงมีลักษณะพิเศษหลาย
อย่าง เช่น มักจะเห็นเป็นรอยทางกระสุนปืนเข ้าและออกหรือกระสุน
อาจฝังในบาดแผลที่ถูกกระสุนปืน รูกระสุนปืนเข ้าจะเล็กกว่ารูกระสุน
ปืนออก
 Dry Dressing
แผลสะอาดที่ไม่มีการติดเชื้อหรืออักเสบ เช่น แผล
ผ่าตัด แผลเย็บ
 Wet Dressing
แผลชนิดเปิดหรือแผลที่มีสิ่งคัดหลั่ง แผลที่มีการติด
เชื้อ แผลเน่าหรือมีการตายของเนื้อเยื่อ
การทาความสะอาดแผล
(Wound Dressing)
อุปกรณ์การทาแผล
1. ชุดทาแผลปลอดเชื้อ ประกอบด ้วย
-ปากคีบ (forceps)
-ถ ้วยใส่น้ายา 2 ใบ
-สาลี 6-8 ก ้อน หรือไม ้ก ้อนสาลี 2-4 ไม ้
-ผ ้าก็อซ 2 ชิ้น
2. น้ายาที่ใช ้ทาความสะอาด
แผล (normal saline)และ
ผิวหนังรอบแผล (alcohol
70%) น้ายาใส่แผล
3. ถุงมือสะอาด 1 คู่ หรือ
forceps สะอาด 1 คู่
อุปกรณ์การทาแผล
4. ชามรูปไตสะอาด 1 ใบ หรือถุงพลาสติกสะอาด 1 ใบ
สาหรับทิ้ง
อุปกรณ์การทาแผล
1. ล้างมือให้สะอาดด้วยน้าและสบู่ หรือสวมถุงมือก่อนทาแผลทุก
ครั้ง
2. บริเวณบาดแผลใช้น้าต้มสุก น้าเกลือหรือด่างทับทิมล้าง ถ้า
แผลไม่สะอาด เช่น มีเศษดิน ฝุ
่ น หญ้าแห้งๆ ติดอยู่ ใช้สาลีชุบ
หรือน้าต้มสุกเช็ดออกให้หมดก่อน
*ถ้าในกรณีผ้าก๊อซติดแผลแน่น อย่าดึงเพราะจะทาให้เลือดออกและเจ็บ
ควรใช้น้าเกลือชุบสาลีค่อย ๆ ซับจนชุ่ม ผ้าก๊อซจะหลุดออกมาเอง ซับ
แผลให้แห้งด้วยผ้าก๊อซสะอาด
3. ใช้สาลีชุบน้าแอลกอฮอล์ 70% เช็ดบริเวณรอบ ๆ แผล ไม่
เช็ดลงไปบนแผล วนออกจากบาดแผล หรือเช็ดจากข้างในแผล
ออกนอก 2-3 รอบ
หลักทั่วไปในการทาความสะอาดบาดแผล
4. ใส่น้ายาใส่แผล เช่น โพรวิดีน ยาแดง ลงในแผล เพื่อฆ่า
เชื้อ
5. ปิดแผลด้วยผ้าสะอาด หรือ ก๊อซ ไม่ควรใช้สาลีปิดแผล
6. ปิดพลาสเตอร์ หรือใช้ผ้าพัน แล้วแต่ความเหมาะสม
7. สาลีหรือผ้าปิดแผลใช้แล้ว ควรทาลายหรือทิ้งลงในถุง
แดง เพื่อไม่ให้เป
็ นการแพร่เชื้อ
หลักทั่วไปในการทาความสะอาดบาดแผล
วิธีตกแต่งบาดแผล
ชนิดต่าง ๆ
- ประคบด ้วยความเย็น เพื่อให ้เลือดออกน้อยลง
- พันผ ้าให ้แน่นด ้วยผ ้าพันยืด (Elastic bandage)
แล ้วให ้บริเวณนั้นพักนิ่ง
- หลังจาก 48 ชั่วโมง ควรประคบด ้วยน้าร ้อน
บาดแผลฟกช้า
บาดแผลเปิด
ในกรณีที่แผลเปิดและมีสิ่ง
สกปรกติดค ้างอยู่ควรชาระล ้างแผลและ
บริเวณรอบ ๆ แผลด ้วยน้าสะอาดและ
สบู่
แผลถลอก
- เช็ดรอบ ๆ แผลด ้วยแอลกอฮอล์ 70 %
- ใช ้ยาฆ่าเชื้อโรคอ่อน ๆ เช่น ยาแดงทาไว ้ ใช ้ผ ้าก๊อซที่สะอาด
ปิดบาดแผลไว ้แต่ไม่ควรปิดตลอด ควรปล่อยให ้ถูกอากาศและ
แสงแดดบ ้าง ปล่อยให ้หายเองได ้
เรามาเริ่มปฏิบัติการ
การทาแผล
กันดีกว่านะครับ

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

การปฐมพยาบาลเบื้องต้นและ ฟื้นคืนชีพ (CPR)
การปฐมพยาบาลเบื้องต้นและ ฟื้นคืนชีพ (CPR)การปฐมพยาบาลเบื้องต้นและ ฟื้นคืนชีพ (CPR)
การปฐมพยาบาลเบื้องต้นและ ฟื้นคืนชีพ (CPR)yahapop
 
ความเครียดและการจัดการความเครียด
ความเครียดและการจัดการความเครียดความเครียดและการจัดการความเครียด
ความเครียดและการจัดการความเครียดDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
หลักการ การเตรียมพร้อมและการตั้งรับภัยพิบัติ
หลักการ การเตรียมพร้อมและการตั้งรับภัยพิบัติหลักการ การเตรียมพร้อมและการตั้งรับภัยพิบัติ
หลักการ การเตรียมพร้อมและการตั้งรับภัยพิบัติKrongdai Unhasuta
 
1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำ1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำNickson Butsriwong
 
คู่มือการดูแลผู้ป่วยหัวใจล้มเหลวเรื้อรัง แบบบูรณาการ
คู่มือการดูแลผู้ป่วยหัวใจล้มเหลวเรื้อรัง แบบบูรณาการคู่มือการดูแลผู้ป่วยหัวใจล้มเหลวเรื้อรัง แบบบูรณาการ
คู่มือการดูแลผู้ป่วยหัวใจล้มเหลวเรื้อรัง แบบบูรณาการUtai Sukviwatsirikul
 
แผลกดทับ
แผลกดทับแผลกดทับ
แผลกดทับtechno UCH
 
ไข้เลือดออก
ไข้เลือดออกไข้เลือดออก
ไข้เลือดออกPrachaya Sriswang
 
Early detection mods 16 พค.58
Early detection mods  16 พค.58Early detection mods  16 พค.58
Early detection mods 16 พค.58Krongdai Unhasuta
 
11แผน
11แผน11แผน
11แผนFmz Npaz
 
Week 9 emergency medical
Week 9 emergency medicalWeek 9 emergency medical
Week 9 emergency medicalfreelance
 
การปฐมพยาบาลเบื้องต้น วิชา camping
การปฐมพยาบาลเบื้องต้น วิชา campingการปฐมพยาบาลเบื้องต้น วิชา camping
การปฐมพยาบาลเบื้องต้น วิชา campingVai2eene K
 
การพิสูจน์บาดแผล New.
การพิสูจน์บาดแผล New.การพิสูจน์บาดแผล New.
การพิสูจน์บาดแผล New.PaewWaew Chalinee
 
Psoriasis แนวทางการรักษา
Psoriasis แนวทางการรักษาPsoriasis แนวทางการรักษา
Psoriasis แนวทางการรักษาUtai Sukviwatsirikul
 
ปฐมพยาบาล
ปฐมพยาบาลปฐมพยาบาล
ปฐมพยาบาลSumon Kananit
 
Chula mental test
Chula mental testChula mental test
Chula mental testtaem
 

Was ist angesagt? (20)

การปฐมพยาบาลเบื้องต้นและ ฟื้นคืนชีพ (CPR)
การปฐมพยาบาลเบื้องต้นและ ฟื้นคืนชีพ (CPR)การปฐมพยาบาลเบื้องต้นและ ฟื้นคืนชีพ (CPR)
การปฐมพยาบาลเบื้องต้นและ ฟื้นคืนชีพ (CPR)
 
ความเครียดและการจัดการความเครียด
ความเครียดและการจัดการความเครียดความเครียดและการจัดการความเครียด
ความเครียดและการจัดการความเครียด
 
หลักการ การเตรียมพร้อมและการตั้งรับภัยพิบัติ
หลักการ การเตรียมพร้อมและการตั้งรับภัยพิบัติหลักการ การเตรียมพร้อมและการตั้งรับภัยพิบัติ
หลักการ การเตรียมพร้อมและการตั้งรับภัยพิบัติ
 
1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำ1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
 
คู่มือการดูแลผู้ป่วยหัวใจล้มเหลวเรื้อรัง แบบบูรณาการ
คู่มือการดูแลผู้ป่วยหัวใจล้มเหลวเรื้อรัง แบบบูรณาการคู่มือการดูแลผู้ป่วยหัวใจล้มเหลวเรื้อรัง แบบบูรณาการ
คู่มือการดูแลผู้ป่วยหัวใจล้มเหลวเรื้อรัง แบบบูรณาการ
 
แผลกดทับ
แผลกดทับแผลกดทับ
แผลกดทับ
 
ไข้เลือดออก
ไข้เลือดออกไข้เลือดออก
ไข้เลือดออก
 
Early detection mods 16 พค.58
Early detection mods  16 พค.58Early detection mods  16 พค.58
Early detection mods 16 พค.58
 
11แผน
11แผน11แผน
11แผน
 
Week 9 emergency medical
Week 9 emergency medicalWeek 9 emergency medical
Week 9 emergency medical
 
การปฐมพยาบาลเบื้องต้น วิชา camping
การปฐมพยาบาลเบื้องต้น วิชา campingการปฐมพยาบาลเบื้องต้น วิชา camping
การปฐมพยาบาลเบื้องต้น วิชา camping
 
Case study : dengue fever
Case study : dengue feverCase study : dengue fever
Case study : dengue fever
 
2016 Respiratory Assessment
2016 Respiratory Assessment2016 Respiratory Assessment
2016 Respiratory Assessment
 
การพิสูจน์บาดแผล New.
การพิสูจน์บาดแผล New.การพิสูจน์บาดแผล New.
การพิสูจน์บาดแผล New.
 
Pharmacotherapy stroke
Pharmacotherapy strokePharmacotherapy stroke
Pharmacotherapy stroke
 
Psoriasis แนวทางการรักษา
Psoriasis แนวทางการรักษาPsoriasis แนวทางการรักษา
Psoriasis แนวทางการรักษา
 
Ppt.aids
Ppt.aidsPpt.aids
Ppt.aids
 
ปฐมพยาบาล
ปฐมพยาบาลปฐมพยาบาล
ปฐมพยาบาล
 
Chula mental test
Chula mental testChula mental test
Chula mental test
 
การปฐมนิเทศ
การปฐมนิเทศการปฐมนิเทศ
การปฐมนิเทศ
 

การทำแผล.ppt

  • 2. บาดแผล (Wound) “รอยฉีกขาดของผิวหนังหรือเนื้อเยื่อ และส่วนที่ ลึกกว่าชั้นผิวหนังถูกทาลาย ทาให้แยกออกจากัน โดยสาเหตุใดๆ ก็ตามและทาให้เนื้อเยื่อได้รับ อันตรายด้วย” บาดแผลมี 2 ลักษณะ คือ 1.บาดแผลปิด หรือแผลฟกช้า (Closed wounds) 2.บาดแผลเปิด (open wounds)
  • 3. เป ็ นบาดแผลที่ไม่มีรอยแยกของผิวหนัง เนื่องจากถูก ของแข็งไม่มีคมกระแทก แต่อาจจะมีการฉีกขาดของเนื้อเยื่อ และเส้นเลือดฝอยใต้ผิวหนังซึ่งจะทาให้มีเลือดออกและคั่ง อยู่ใต้ผิวหนังทาให้บริเวณนั้นบวมเลือดที่ออกอยู่ภายใน ต่อมาจะแข็งตัวเป ็ นลิ่มเลือด เรียกว่า Hematoma แผลปิดหรือแผลฟกช้า (Contused wounds ,Closed wounds)
  • 4. แผลแยก (Open wounds) เป ็ นบาดแผลที่มีรอยแยกของผิวหนัง แบ่งได้เป ็ น 5 พวก คือ 1. Abrasion (แผลถลอก) เป็น บาดแผลตื้น มีผิวหนังถลอกหรือรอย ขูด ข่วน มีเลือดออกเล็กน้อย 2. Incited wound หรือ cut wound (แผลตัด) เป็ นบาดแผล ซึ่งเกิดจากวัตถุที่มีคม เช่น มีด กระจก ทาให ้มีการฉีกขาดของ ผิวหนัง ลักษณะขอบแผลเรียบ ถ ้า บาดแผลลึกจะมีเลือดออกได ้มาก
  • 5. แผลแยก (Open wounds) 3. Lacerated wound (แผลฉีกขาด) คือ บาดแผลที่มีผิวหนังขาด ลักษณะขอบ แผลกะรุ่งกะริ่งหรือขอบแผลไม่เรียบ สาเหตุ เกิดจากถูกของแข็งไม่มีคมกระแทกทาให ้ ผิวหนังขาด หรือผิวหนังถูกบดหรืออัดด ้วยแรง หนัก ๆ 4. Punctured wound (แผลถูกแทงทะลุ) คือ เป็นบาดแผลที่มีการฉีกขาดของผิวหนัง เป็นรูลึกลงไป ทาให ้อวัยวะภายในได ้รับ อันตราย มักเป็นแผลที่มีความลึกมากกว่า ความยาวของแผล เกิดจากวัตถุปลายแหลม เช่น มีดปลายแหลม เศษไม ้ฯลฯ
  • 6. แผลแยก (Open wounds) 5. บาดแผลถูกยิง (Gunshot wounds) บาดแผลชนิดนี้มีลักษณะเป็นรูลึกเข ้าไปในร่างกาย เช่นเดียวกับแผลถูกแทง แต่บาดแผลถูกยิงมีลักษณะพิเศษหลาย อย่าง เช่น มักจะเห็นเป็นรอยทางกระสุนปืนเข ้าและออกหรือกระสุน อาจฝังในบาดแผลที่ถูกกระสุนปืน รูกระสุนปืนเข ้าจะเล็กกว่ารูกระสุน ปืนออก
  • 7.  Dry Dressing แผลสะอาดที่ไม่มีการติดเชื้อหรืออักเสบ เช่น แผล ผ่าตัด แผลเย็บ  Wet Dressing แผลชนิดเปิดหรือแผลที่มีสิ่งคัดหลั่ง แผลที่มีการติด เชื้อ แผลเน่าหรือมีการตายของเนื้อเยื่อ การทาความสะอาดแผล (Wound Dressing)
  • 8. อุปกรณ์การทาแผล 1. ชุดทาแผลปลอดเชื้อ ประกอบด ้วย -ปากคีบ (forceps) -ถ ้วยใส่น้ายา 2 ใบ -สาลี 6-8 ก ้อน หรือไม ้ก ้อนสาลี 2-4 ไม ้ -ผ ้าก็อซ 2 ชิ้น
  • 9. 2. น้ายาที่ใช ้ทาความสะอาด แผล (normal saline)และ ผิวหนังรอบแผล (alcohol 70%) น้ายาใส่แผล 3. ถุงมือสะอาด 1 คู่ หรือ forceps สะอาด 1 คู่ อุปกรณ์การทาแผล
  • 10. 4. ชามรูปไตสะอาด 1 ใบ หรือถุงพลาสติกสะอาด 1 ใบ สาหรับทิ้ง อุปกรณ์การทาแผล
  • 11. 1. ล้างมือให้สะอาดด้วยน้าและสบู่ หรือสวมถุงมือก่อนทาแผลทุก ครั้ง 2. บริเวณบาดแผลใช้น้าต้มสุก น้าเกลือหรือด่างทับทิมล้าง ถ้า แผลไม่สะอาด เช่น มีเศษดิน ฝุ ่ น หญ้าแห้งๆ ติดอยู่ ใช้สาลีชุบ หรือน้าต้มสุกเช็ดออกให้หมดก่อน *ถ้าในกรณีผ้าก๊อซติดแผลแน่น อย่าดึงเพราะจะทาให้เลือดออกและเจ็บ ควรใช้น้าเกลือชุบสาลีค่อย ๆ ซับจนชุ่ม ผ้าก๊อซจะหลุดออกมาเอง ซับ แผลให้แห้งด้วยผ้าก๊อซสะอาด 3. ใช้สาลีชุบน้าแอลกอฮอล์ 70% เช็ดบริเวณรอบ ๆ แผล ไม่ เช็ดลงไปบนแผล วนออกจากบาดแผล หรือเช็ดจากข้างในแผล ออกนอก 2-3 รอบ หลักทั่วไปในการทาความสะอาดบาดแผล
  • 12. 4. ใส่น้ายาใส่แผล เช่น โพรวิดีน ยาแดง ลงในแผล เพื่อฆ่า เชื้อ 5. ปิดแผลด้วยผ้าสะอาด หรือ ก๊อซ ไม่ควรใช้สาลีปิดแผล 6. ปิดพลาสเตอร์ หรือใช้ผ้าพัน แล้วแต่ความเหมาะสม 7. สาลีหรือผ้าปิดแผลใช้แล้ว ควรทาลายหรือทิ้งลงในถุง แดง เพื่อไม่ให้เป ็ นการแพร่เชื้อ หลักทั่วไปในการทาความสะอาดบาดแผล
  • 14. - ประคบด ้วยความเย็น เพื่อให ้เลือดออกน้อยลง - พันผ ้าให ้แน่นด ้วยผ ้าพันยืด (Elastic bandage) แล ้วให ้บริเวณนั้นพักนิ่ง - หลังจาก 48 ชั่วโมง ควรประคบด ้วยน้าร ้อน บาดแผลฟกช้า
  • 15. บาดแผลเปิด ในกรณีที่แผลเปิดและมีสิ่ง สกปรกติดค ้างอยู่ควรชาระล ้างแผลและ บริเวณรอบ ๆ แผลด ้วยน้าสะอาดและ สบู่ แผลถลอก - เช็ดรอบ ๆ แผลด ้วยแอลกอฮอล์ 70 % - ใช ้ยาฆ่าเชื้อโรคอ่อน ๆ เช่น ยาแดงทาไว ้ ใช ้ผ ้าก๊อซที่สะอาด ปิดบาดแผลไว ้แต่ไม่ควรปิดตลอด ควรปล่อยให ้ถูกอากาศและ แสงแดดบ ้าง ปล่อยให ้หายเองได ้