SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 71
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ Page 1 of 26 Pages
บทที่ 2
การพยากรณ์
(Forecasting)
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ Page 2 of 26 Pages
ความหมายและความสาคัญของการพยากรณ์
การพยากรณ์ คือ การคาดการณ์ถึงสิ่งใดสิ่งหนึ่งที่จะเกิดขึ้นในช่วงเวลาใน
อนาคต และนาค่าพยากรณ์ที่ได้นั้นมาใช้ประโยชน์ เพื่อการตัดสินใจใด ๆ
โดยทั่ว ๆ ไปแล้วการพยากรณ์จะถูกจัดแบ่งตามหน้าที่หลัก ๆ ที่เกี่ยวข้องได้
ดังนี้
ในด้านการตลาด เพื่อการตัดสินใจเกี่ยวกับขนาดของตลาดและลักษณะ
ของตลาด
ในด้านการผลิต ค่าพยากรณ์แสดงถึงจานวนการขายของผลิตภัณฑ์ มี
ความจาเป็นในการวางแผนการผลิต
ในด้านการเงินและการบัญชี ทาให้แผนกการเงินสามารถวางแผนการ
ล่วงหน้าเกี่ยวกับการจัดสรรงบประมาณเงินลงทุน
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ Page 3 of 26 Pages
เทคนิคการพยากรณ์
 การพยากรณ์แบ่งออกเป็นประเภทใหญ่ ๆ ได้ 2 ประเภทคือ
◦ การพยากรณ์เชิงปริมาณ
◦ การพยากรณ์เชิงคุณภาพ
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ Page 4 of 26 Pages
การพยากรณ์เชิงปริมาณ
 อาศัยข้อมูลในอดีตเป็นหลัก
◦ เทคนิคที่ใช้
 วิธีการปรับเรียบ (Exponential smoothing)
 วิธีแยกส่วน (decomposition)
 วิธีวิเคราะห์แถวคอย (regression analysis)
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ Page 5 of 26 Pages
การพยากรณ์เชิงคุณภาพ
 ไม่อาศัยข้อมูลในอดีตเป็นหลัก แต่ใช้ความรู้สึกสามัญสานึกและ
ประสบการณ์ต่าง ๆ ที่ผ่านมา ประกอบกับข้อมูลซึ่งส่วนใหญ่จะ
ได้จากผู้บริหารหรือผู้ที่มีหน้าที่เกี่ยวข้อง เช่น ฝ่ายขาย
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ Page 6 of 26 Pages
ตัวกาหนดวิธีการพยากรณ์ จาแนกออกได้ 4 ประเภท
1. การพยากรณ์ 1 หน่วยเวลาล่วงหน้า (Intermediate-Term
Forecasting)
2. การพยากรณ์ช่วงสั้น (Short-Term forecasting)
3. การพยากรณ์ช่วงกลาง (Medium-Term Forecasting)
4. การพยากรณ์ระยะยาว (Long-Term Forecasting)
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ Page 7 of 26 Pages
การเลือกเทคนิคการพยากรณ์
 หลักเกณฑ์ในการพิจารณามีดังนี้
1. ช่วงเวลาการพยากรณ์ที่ครอบคลุมถึง (Time Horizon)
2. รูปแบบของข้อมูล
3. ชนิดของตัวแบบ
4. ค่าใช้จ่าย
5. ความแม่นยาของการพยากรณ์
6. ความยากง่ายในการประยุกต์ใช้งาน
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ Page 8 of 26 Pages
(ก) แบบแนวระดับ
(ข) แบบแนวโน้ม
(ค) แบบฤดูกาล
(ง) แบบวัฏจักร
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ Page 9 of 26 Pages
ความแม่นยาของการพยากรณ์
 ค่าความผิดพลาดสัมบูรณ์เฉลี่ย (Mean Absolute Deviation) :
MAD
 ค่าความผิดพลาดกาลังสองเฉลี่ย (Mean Sum of Square
Error) : MSE



n
t
ii
n
FX
MAD
1
)(



n
t
ii
n
FX
MSE
1
2
)(
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ Page 10 of 26 Pages
ชนิดของการพยากรณ์
 การพยากรณ์ที่อาศัยความคิดเป็นหลัก
 การพยากรณ์โดยอาศัยดัชนี
 การพยากรณ์ที่อาศัยข้อมูลในอดีต
 การพยากรณ์ที่อาศัยการวิจัยตลาด
 การพยากรณ์โดยวิธีปรับเรียบ
1. วิธีการของค่าเฉลี่ยเคลื่อนที่
2. วิธีการปรับเรียบเอกซ์โปเนนเชียล
3. วิธีการปรับเรียบที่มีลาดับสูงขึ้น
1. ค่าเฉลี่ยเคลื่อนที่ซ้าสองครั้ง
2. การปรับเรียบเอกซ์โปเนนเชียลซ้าสองครั้ง
3. การพยากรณ์แบบฤดูของวินเตอร์
 การพยากรณ์โดยวิธีการวิเคราะห์การถดถอย
◦ การวิเคราะห์การถดถอยแบบง่าย
◦ การวิเคราะห์การถดถอยเชิงซ้อน
 การพยากรณ์แบบแยกส่วน
◦ คานวณหาแฟกเตอร์ฤดูกาล
◦ การคานวณหาแนวทิศทางแบบเส้นตรง
◦ การคานวณหาแฟกเตอร์ของไซเคิล
◦ การพยากรณ์ในอนาคต
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ Page 11 of 26 Pages
การพยากรณ์ที่อาศัยความคิดเป็นหลัก
 การพยากรณ์ชนิดนี้มักจะเกี่ยวข้องกับด้านการตลาด ผู้จัดการ
ฝ่ายขายหรือพนักงานขายจะเป็นผู้ให้ความคิดเห็นในเรื่องของ
ปริมาณการขายสินค้าในอนาคต
◦ ข้อดี
 ผู้แทนที่ทาหน้าที่ขายจะรับผิดชอบโดยตรงต่อการพยากรณ์การขาย เพราะเขา
จะรู้แนวโน้มของตลาดในอนาคตได้เป็นอย่างดี
◦ ข้อเสีย
 มีความลาเอียงเกิดขึ้นกับการพยากรณ์
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ Page 12 of 26 Pages
การพยากรณ์โดยอาศัยดัชนี
 การพยากรณ์ชนิดนี้จะดีหรือไม่ดีจะขึ้นอยู่กับค่าดัชนี หรือองศา
แห่งความสัมพันธ์ระหว่างความต้องการสินค้าจริงกับค่า
พยากรณ์ที่อาศัยดัชนี
 ตัวอย่างเช่น ผู้ผลิตสินค้าประเภทก่อสร้าง อาจจะพยากรณ์การ
ขายโดยอาศัยจานวนอาคารที่ได้รับอนุญาตให้ปลูกสร้างในเขต
นั้น ๆ หรือจากดัชนีประชาชาติของปริมาณการก่อสร้าง
 การพยากรณ์จะให้ค่าความแม่นยา เมื่อค่าความสัมพันธ์ของ
ยอดขายและดัชนีสูงเช่นกัน
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ Page 13 of 26 Pages
การพยากรณ์ที่อาศัยข้อมูลในอดีต
 อาศัยข้อมูลในอดีตเป็นหลัก และทาการพยากรณ์สาหรับ
ช่วงเวลาในอนาคต
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ Page 14 of 26 Pages
การพยากรณ์ที่อาศัยการวิจัยตลาด
 มักจะเนื่องมาจากผู้แทนไม่มีข้อมูลที่น่าเชื่อถือได้เพียงพอ หรือ
เป็นสินค้าหรือผลิตภัณฑ์ตัวใหม่ที่จะนาออกสู่ตลาด ดังนั้น การ
สารวจตลาดจะเป็นวิธีหนึ่งที่จะรู้ข้อมูล และใช้หลักการวิเคราะห์
ทางสถิติเข้าช่วย
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ Page 15 of 26 Pages
การพยากรณ์โดยวิธีปรับเรียบ
 การพยากรณ์ความต้องการในช่วงสั้น ๆ
 แยกออกได้เป็น 2 วิธี คือ
◦ วิธีของค่าเฉลี่ยเคลื่อนที่
◦ วิธีการปรับเรียบเอกซ์โปเนนเชียล
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ Page 16 of 26 Pages
วิธีของค่าเฉลี่ยเคลื่อนที่
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ Page 17 of 26 Pages
 ยอดขายไม่มีการเปลี่ยนแปลงขึ้นหรือลงอย่างรวดเร็ว
 ไม่มีผลของฤดูกาลมาเกี่ยวข้อง
 นาข้อมูลในอดีต n ค่ามาเฉลี่ยเพื่อเป็นค่าพยากรณ์ในคาบต่อไป
Ft = (At-1 + A2-1 + A3-1 + … + An-1 ) / n
◦ เมื่อ Ft = ค่าพยากรณ์ยอดขายที่คาบ t
n = จานวนคาบที่จะทาการเฉลี่ย
At-1 = ยอดขายจริงในคาบที่ t-1
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ Page 18 of 26 Pages
3 เดือน
ช่วงเวลา ค่าสังเกต ค่าพยากรณ์ ค่าผิดพลาด ค่าผิดพลาดสมบูรณ์ ค่าผิดพลาดกาลังสอง
1 2,000.00
2 1,350.00
3 1,950.00
4 1,975.00 1,766.67 208.33 208.33 43,402.78
5 3,100.00 1,758.33 1,341.67 1,341.67 1,800,069.44
6 1,750.00 2,341.67 (591.67) 591.67 350,069.44
7 1,550.00 2,275.00 (725.00) 725.00 525,625.00
8 1,300.00 2,133.33 (833.33) 833.33 694,444.44
9 2,200.00 1,533.33 666.67 666.67 444,444.44
10 2,770.00 1,683.33 1,086.67 1,086.67 1,180,844.44
11 2,350.00 2,090.00 260.00 260.00 67,600.00
12 2,440.00
1,413.33 5,713.33 5,106,500.00
176.67 714.17 638,312.50
ผลรวม
ค่าเฉลี่ย
ค่าเฉลี่ยเคลื่อนที่
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ Page 19 of 26 Pages
-
500.00
1,000.00
1,500.00
2,000.00
2,500.00
3,000.00
3,500.00
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12
Series1
Series2
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ Page 20 of 26 Pages
5 เดือน
ช่วงเวลา ค่าสังเกต ค่าพยากรณ์ ค่าผิดพลาด ค่าผิดพลาดสมบูรณ์ ค่าผิดพลาดกาลังสอง
1 2,000.00
2 1,350.00
3 1,950.00
4 1,975.00
5 3,100.00
6 1,750.00 2,075.00 (325.00) 325.00 105,625.00
7 1,550.00 2,025.00 (475.00) 475.00 225,625.00
8 1,300.00 2,065.00 (765.00) 765.00 585,225.00
9 2,200.00 1,935.00 265.00 265.00 70,225.00
10 2,770.00 1,980.00 790.00 790.00 624,100.00
11 2,350.00 1,914.00 436.00 436.00 190,096.00
12 2,034.00
(74.00) 3,056.00 1,800,896.00
(12.33) 509.33 300,149.33
ค่าเฉลี่ยเคลื่อนที่
ผลรวม
ค่าเฉลี่ย
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ Page 21 of 26 Pages
-
500.00
1,000.00
1,500.00
2,000.00
2,500.00
3,000.00
3,500.00
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12
Series1
Series2
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ Page 22 of 26 Pages
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ Page 23 of 26 Pages
ปี ยอดขาย(ล้านบาท)
2540 9
2541 8
2542 9
2543 12
2544 9
2545 12
2546 11
2547 7
2548 13
2549 9
2550 11
การหาค่าเฉลี่ยเคลื่อนที่ (Moving
Average)
โจทย์ตัวอย่าง
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ Page 24 of 26 Pages
วิธีการปรับเรียบเอกซ์โปเนนเชียล
Ft = Ft-1 + (Yt-1 - Ft-1)
โดยที่ Ft = ค่าพยากรณ์ในช่วงเวลา t
Ft-1 = ค่าพยากรณ์ในช่วงเวลา t - 1
Yt-1 = ค่าจริงในช่วงเวลา t - 1
เป็นวิธีการหาค่าเฉลี่ยแบบถ่วงน้าหนัก ด้วยสัมประสิทธิ์การปรับ
เรียบ(ที่ให้ความสาคัญของข้อมูลเวลาล่าสุดมากที่สุด และข้อมูล
เวลาห่างออกไป ลดหลั่นในลักษณะแบบเอ็กซ์โพเนนเชียล
 = มีค่าเท่ากับ 0 ≤  ≤ 1
Ft =  Yt-1 + (1- ) Ft-1
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ Page 25 of 26 Pages
F2 = D1 + (1 - )F1
= (0.30)(37) + (0.70)(37)
= 37
F3 = D2 + (1 - )F2
= (0.30)(40) + (0.70)(37)
= 37.9
F13 = D12 + (1 - )F12
= (0.30)(54) + (0.70)(50.84)
= 51.79
Exponential Smoothing (α=0.30)
PERIOD MONTH DEMAND
1 Jan 37
2 Feb 40
3 Mar 41
4 Apr 37
5 May 45
6 Jun 50
7 Jul 43
8 Aug 47
9 Sep 56
10 Oct 52
11 Nov 55
12 Dec 54
เท่ากับ D1
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ Page 26 of 26 Pages
FORECAST, Ft
PERIOD MONTH DEMAND ( = 0.3) ( = 0.5)
1 Jan 37 – –
2 Feb 40 37.00 37.00
3 Mar 41 37.90 38.50
4 Apr 37 38.83 39.75
5 May 45 38.28 38.37
6 Jun 50 40.29 41.68
7 Jul 43 43.20 45.84
8 Aug 47 43.14 44.42
9 Sep 56 44.30 45.71
10 Oct 52 47.81 50.85
11 Nov 55 49.06 51.42
12 Dec 54 50.84 53.21
13 Jan – 51.79 53.61
Exponential Smoothing
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ Page 27 of 26 Pages
ปริมาณความต ้องการ
ค่าสังเกต  = .1  = .5  = .9
ปี 2514 มกราคม 1 2,000.00 0 0 0
กุมภาพันธ์ 2 1,350.00 2,000 2,000 2,000
มีนาคม 3 1,950.00 1,935 1,675 1,415
เมษายน 4 1,975.00 1,937 1,813 1,897
พฤษภาคม 5 3,100.00 1,940 1,894 1,967
มิถุนายน 6 1,750.00 2,056 2,497 2,987
กรกฎาคม 7 1,550.00 2,026 2,123 1,874
สิงหาคม 8 1,300.00 1,978 1,837 1,582
กันยายน 9 2,200.00 1,910 1,568 1,328
ตุลาคม 10 2,770.00 1,939 1,884 2,113
พฤศจิกายน 11 2,350.00 2,022 2,327 2,704
ธันวาคม 12 2,055 2,339 2,385
เดือน
ช่วงเวลา
ค่าปรับเรียบเอกซ์โปเนนเชียล
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ Page 28 of 26 Pages
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ Page 29 of 26 Pages
การปรับเรียบแบบเอกซ์โพเนนเชียล(Exponential
smoothing)
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ Page 30 of 26 Pages
วิธีการปรับเรียบที่มีลาดับสูงขี้น
 วิธีการปรับเรียบแบบเก่าจะใช้กับแนวโน้มที่เป็นแนวนอน ถ้าเป็น
แนวโน้มที่มีรูปแบบที่ซับซ้อนจาเป็นต้องใช้วิธีการปรับเรียบที่มี
ลาดับสูงขึ้น โดยยังมีข้อดีเหมือนกับการปรับเรียบแบบธรรมดา
แต่ว่าสามารถจะประยุกต์ใช้กับรูปแบบที่มีลักษณะของแนวโน้ม
หรือรูปแบบที่มีลักษณะของฤดูกาล
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ Page 31 of 26 Pages
ค่าเฉลี่ยเคลื่อนที่ซ้าสองครั้ง
4 เดือน
ช่วงเวลา ปริมาณวัสดุคงคลัง ค่าพยากรณ์ (1) ค่าพยากรณ์ (2) ค่าของ a ค่าของ b ค่าพยากรณ์ (a+bm เมื่อ m=1)
1 140.00
2 159.00
3 136.00
4 157.00 148.00
5 173.00 156.25
6 131.00 149.25
7 177.00 159.50 153.25 165.75 4.17
8 188.00 167.25 158.06 176.44 6.13 169.92
9 154.00 162.50 159.63 165.38 1.92 182.56
10 179.00 174.50 165.94 183.06 5.71 167.29
11 180.00 175.25 169.88 180.63 3.58 188.77
12 160.00 168.25 170.13 166.38 (1.25) 184.21
13 182.00 175.25 173.31 177.19 1.29 165.13
14 192.00 178.50 174.31 182.69 2.79 178.48
15 224.00 189.50 177.88 201.13 7.75 185.48
16 188.00 196.50 184.94 208.06 7.71 208.88
17 198.00 200.50 191.25 209.75 6.17 215.77
18 206.00 204.00 197.63 210.38 4.25 215.92
19 203.00 198.75 199.94 197.56 (0.79) 214.63
20 238.00 211.25 203.63 218.88 5.08 196.77
21 228.00 218.75 208.19 229.31 7.04 223.96
22 231.00 225.00 213.44 236.56 7.71 236.35
23 221.00 229.50 221.13 237.88 5.58 244.27
24 259.00 234.75 227.00 242.50 5.17 243.46
25 273.00 246.00 233.81 258.19 8.13 247.67
26 266.31
ค่าเฉลี่ยเคลื่อนที่
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ Page 32 of 26 Pages
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ Page 33 of 26 Pages
การปรับเรียบแบบเอกซ์โปเนนเชียลซ้าสองครั้ง
4 เดือน
ช่วงเวลา ปริมาณวัสดุคงคลัง ค่าพยากรณ์ (1) ค่าพยากรณ์ (2) ค่าของ a ค่าของ b ค่าพยากรณ์ (a+bm เมื่อ m=1)
1 143.000 143.000 143.000
2 152.000 144.800 143.360 146.240 0.360 -
3 161.000 148.040 144.296 151.784 0.936 146.600
4 139.000 146.232 144.683 147.781 0.387 152.720
5 137.000 144.386 144.624 144.148 (0.060) 148.168
6 174.000 150.308 145.761 154.856 1.137 144.088
7 142.000 148.647 146.338 150.956 0.577 155.993
8 141.000 147.117 146.494 147.741 0.156 151.533
9 162.000 150.094 147.214 152.974 0.720 147.897
10 180.000 156.075 148.986 163.164 1.772 153.694
11 164.000 157.660 150.721 164.599 1.735 164.936
12 171.000 160.328 152.642 168.014 1.921 166.334
13 206.000 169.462 156.006 182.919 3.364 169.935
14 193.000 174.170 159.639 188.701 3.633 186.283
15 207.000 180.736 163.858 197.614 4.219 192.334
16 218.000 188.189 168.725 207.653 4.866 201.833
17 229.000 196.351 174.250 218.452 5.525 212.519
18 225.000 202.081 179.816 224.346 5.566 223.978
19 204.000 202.465 184.346 220.584 4.530 229.912
20 227.000 207.372 188.951 225.793 4.605 225.113
21 223.000 210.497 193.260 227.735 4.309 230.398
22 242.000 216.798 197.968 235.628 4.708 232.044
23 239.000 221.238 202.622 239.855 4.654 240.336
24 266.000 230.191 208.136 252.246 5.514 244.509
25 184.153 203.339 164.966 (4.797) 257.759
เอกซ์โปเนนเชียลซ้าสองครั้ง
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ Page 34 of 26 Pages
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ Page 35 of 26 Pages
การพยากรณ์แบบฤดูกาลของวินเตอร์
ปี ควอเตอร์ Xt It St bt Ft ค่าความผิดพลาด ความผิดพลาดกาลังสอง
2530 1 362 1.00
2 385 1.06
3 432 1.19
4 341 0.94 341
2531 1 382 1.004696 349.2 0.82
2 409 1.067653 356.9292 1.510925 372.2588 36.74116022 1349.912854
3 498 1.20096 370.2132 2.688232 427.7518 70.24819321 4934.80865
4 387 0.945745 380.4878 3.44686 351.2691 35.73092572 1276.699053
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ Page 36 of 26 Pages
Regression and Correlation analysis
การวิเคราะห์การถดถอยและสหสัมพันธ์
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ Page 37 of 26 Pages
Regression Analysis
 เป็นการวิเคราะห์หาความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรอิสระ
หรือตัวแปรต้นกับตัวแปรตาม
 ตัวแปรที่จะใช้ในการวิเคราะห์จะเป็นตัวแปรเชิงปริมาณ
 จะนาเสนอผลการวิเคราะห์ในรูปแบบของสมการ
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ Page 38 of 26 Pages
Regression Analysis
ความสัมพันธ์
ระหว่างตัวแปร
ความสัมพันธ์เชิงเส้น(Linear)
ความสัมพันธ์ไม่เป็นเชิงเส้น (Non-Linear)
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ Page 39 of 26 Pages
• ความสัมพันธ์ในทางตรงกันข้าม
ความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร
• ความสัมพันธ์ในทางเดียวกัน
Regression Analysis
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ Page 40 of 26 Pages
Regression Analysis
Simple Linear Regression
Multiple Linear Regression
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ Page 41 of 26 Pages
Regression Analysis
Simple Linear Regression Analysis
 ศึกษาความสัมพันธ์ของตัวแปร 2 ตัว คือ ตัวแปรต้นหรือตัว
แปรอิสระ ซึ่งสามารถแสดงโดยใช้ตัวแปร X และตัวแปร
ตามแสดงโดยใช้ตัวแปร Y
Y = a + bX + e
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ Page 42 of 26 Pages
Regression Analysis
Simple Linear Regression Analysis
Y = a + bX + e
Y = ตัวแปรตาม
X = ตัวแปรต้นหรือตัวแปรอิสระ
a,b = ค่าคงที่
e = ค่าความคลาดเคลื่อน
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ Page 43 of 26 Pages
a
X
Y= a + bX+ e
Y
Regression Analysis
Simple Linear Regression Analysis
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ Page 44 of 26 Pages
Regression Analysis
Simple Linear Regression Analysis
ขั้นตอนการวิเคราะห์
 ตรวจสอบและกาหนดความสัมพันธ์ของตัวแปร X และ Y
 สร้างสมการการพยากรณ์ เพื่อใช้สาหรับการประมาณค่า Y
(หาค่า a และ b)
 ตรวจสอบความสอดคล้องของการวิเคราะห์ความถดถอยเชิงเส้น
อย่างง่ายของตัวแปรทั้งสอง
 แทนค่าตัวแปร X เพื่อประมาณค่าตัวแปร Y ที่เราต้องการทราบ
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ Page 45 of 26 Pages
Regression Analysis
Simple Linear Regression Analysis
ค่าสถิติที่ควรรู้
1) ค่าสัมประสิทธิ์การตัดสินใจ (Coefficient of Determination) : R2
2) ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ (Correlation Coefficient) : R หรือ Rxy
3) ค่าสัมประสิทธิ์การถดถอย (Regression Coefficient) : b
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ Page 46 of 26 Pages
Regression Analysis
Simple Linear Regression Analysis
ค่าสัมประสิทธิ์การตัดสินใจ (Coefficient of Determination) : R2
• เกิดจากการนาค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ยกกาลังสอง
• ใช้แสดงความแปรผันที่เกิดขึ้นกับตัวแปร Y มีผลเนื่องมาจากตัวแปร X คิดเป็น
กี่เปอเซนต์
• ใช้ศึกษาว่า สมการการประมาณค่ามีความเหมาะสมที่จะนาไปใช้ได้มากหรือน้อย
ค่าที่คานวณได้จะอยู่ในช่วงระหว่าง 0 ถึง 1
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ Page 47 of 26 Pages
Regression Analysis
Simple Linear Regression Analysis
ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ (Correlation Coefficient) : R หรือ Rxy
• เกิดจากการนาค่าสัมประสิทธิ์การตัดสินใจมาหารากที่ 2
• ใช้แสดงความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร Y และตัวแปร X คิดเป็นกี่เปอเซนต์
• ค่าที่คานวณได้จะอยู่ในช่วงระหว่าง -1 ถึง 1 โดยมีเครื่องหมายบวกหรือลบเป็น
ตัวบ่งชี้รูปแบบความสัมพันธ์
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ Page 48 of 26 Pages
Regression Analysis
Simple Linear Regression Analysis
ค่าสัมประสิทธิ์การถดถอย (Regression Coefficient) : b
• เกิดจากการนาอัตราการเปลี่ยนแปลงของตัวแปร Y เทียบกับอัตราการเปลี่ยนแปลง
ของตัวแปร X
• เป็นค่าที่แสดงถึงความชันของเส้นโค้ง
• ค่าที่คานวณได้สามารถมีเครื่องหมายบวกและลบ ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับรูปแบบความสัมพันธ์
ของตัวแปร X และ Y
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ Page 49 of 26 Pages
Regression Analysis
Simple Linear Regression Analysis
y = a + bx
โดยที่ Y เป็นค่าของตัวแปรตามที่ประมาณได้จาก
สมการถดถอยอย่างง่าย
a เป็นค่าคงที่ซึ่งเป็นระยะห่างระหว่างจุด
กาเนิดกับจุดตัดบนแกน X
b เป็นความชันของเส้นตรงที่ประมาณขึ้น
x เป็นตัวแปรอิสระ
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ Page 50 of 26 Pages
เมื่อ xbya 




 22
.
xnx
yxnxy
b
  
 



2
xx
yyxx
หรือ b =
Regression Analysis
Simple Linear Regression Analysis
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ Page 51 of 26 Pages
หรือ
  
 



 2
2
yy
yyxxb
R
 




 22
2
yny
yxnxyb
R
Regression Analysis
Simple Linear Regression Analysis
ค่าสัมประสิทธิ์การตัดสินใจ (Coefficient of Determination) : R2
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ Page 52 of 26 Pages
r
  
22
)()( 




yyxx
yyxx
หรือ





2222
)()(
.
ynyxnx
yxnxy
r
Regression Analysis
Simple Linear Regression Analysis
ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ (Correlation Coefficient) : R หรือ Rxy
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ Page 53 of 26 Pages
จากข้อมูลเกี่ยวกับระดับราคาและปริมาณความต้องการซื้อ
ผลิตภัณฑ์ของบริษัท SPU จากัด
1) จงคานวณหาค่าสัมประสิทธิ์การถดถอย a และ b
2) สร้างสมการถดถอยอย่างง่าย
3) อธิบายผลที่ได้หมายความว่าอะไร
Regression Analysis
Simple Linear Regression Analysis
ตัวอย่าง
4) พยากรณ์ปริมาณความต้องการซื้อ เมื่อกิจการคิดจะ
ตั้งราคาผลิตภัณฑ์ดังกล่าวเป็น 10.50 บาท , 8.25 บาท
5) หาค่าสัมประสิทธิ์แห่งการตัดสินใจ (R2)
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ Page 54 of 26 Pages
ระดับราคา
(บาท/ชิ้น)
10 9.5 9 8.5 8 7.5 7 6.5 6 5.5
ปริมาณ
ความ
ต้องการซื้อ
(พันชิ้น)
90 100 120 110 140 150 200 270 290 300
บริษัท SPU จากัด
Regression Analysis
Simple Linear Regression Analysis
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ Page 55 of 26 Pages
จากสูตร
bxay 
xbya 
 




 22
xnx
yxnxy
b
Regression Analysis
Simple Linear Regression Analysis
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ Page 56 of 26 Pages
ระดับราคา
(บาท/ชิ้น)(x)
ปริมาณความต้องการ
X2 y2 xy
10.
9.50
9.00
8.50
8.00
7.50
7.00
6.50
6.00
5.50
90
100
120
110
140
150
200
270
290
300
100
90.25
81
72.25
64
56.25
49
42.25
36
30.25
8100
10000
14400
12100
19600
22500
40000
72900
84100
90000
900
950
1080
935
1120
1125
1400
1755
1740
1650
= 77.50 = 621.25 = 373,700 = 12,655
x
  770,1y  2
x  2
y xy
ซื้อ (พันชิ้น)(y)
Regression Analysis
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ Page 57 of 26 Pages
a = 177 - (-51.52)(7.75)
 




 22
2
yny
yxnxyb
R
10
5.77
x = 7.75
10
770,1
y = 177
   
  2
75.71025.621
17775.710655,12



625.60025.621
50.717,13655,12



625.20
50.062,1
 52.51b
b
= 177 - (-399.28) = 576.28
Regression Analysis
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ Page 58 of 26 Pages
ดังนั้น สมการการถดถอยอย่างง่าย คือ
หมายความว่า ถ้าระดับราคาเปลี่ยนแปลงไป 1 หน่วย หรือ 1 บาท
ปริมาณความต้องการซื้อจะลดลง 51.52 หน่วย หรือ 51,520 ชิ้น โดยมี
ปริมาณความต้องการซื้อสินค้าจานวน 576,280 ชิ้น ที่ไม่ได้อยู่ภายใต้
อิทธิพลของการเปลี่ยนแปลงของระดับราคา
xy 52.5128.576 
Regression Analysis
Simple Linear Regression Analysis
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ Page 59 of 26 Pages
จากสมการ y = 576.28 - 51.52 x
x = 10.50
ดังนั้น y = 576.28 - 51.52 (10.50)
= 576.28 - 540.96
= 35.32
แสดงว่าถ้าบริษัทตั้งราคาผลิตภัณฑ์ดังกล่าวชิ้นละ 10.50 บาท ปริมาณ
ความต้องการซื้อผลิตภัณฑ์ จะมีปริมาณ 35,320 ชิ้น
Regression Analysis
Simple Linear Regression Analysis
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ Page 60 of 26 Pages
เมื่อ x = 8.25
ดังนั้น y = 576.28 - 51.52 (8.25)
= 576.28 - 425.04
= 151.24
แสดงว่าถ้าบริษัทตั้งราคาผลิตภัณฑ์ดังกล่าวชิ้นละ 8.25 บาท ปริมาณ
ความต้องการซื้อผลิตภัณฑ์ จะมีปริมาณ 151,240 ชิ้น
Regression Analysis
Simple Linear Regression Analysis
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ Page 61 of 26 Pages
ค่า R2 = 0.9061 หมายความว่า ปริมาณความต้องการซื้อผลิตภัณฑ์ (y)
จะสูงหรือต่าจะขึ้นอยู่กับระดับราคาผลิตภัณฑ์ (x) 90.61% ส่วนอีก 9.39 % จะ
ขึ้นอยู่กับปัจจัยอื่น ๆ
จาก
 




 22
2
yny
yxnxyb
R
2
R
      
  2
17710700,373
17775.710655,1252.51



  
290,313700,373
5.717,13655,1252.51



410,60
740,54
 = 0.9061
Regression Analysis
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ Page 62 of 26 Pages
ค่า R = 0.98 หมายความว่า ปริมาณความต้องการซื้อผลิตภัณฑ์ (y) มี
ความสัมพันธ์กับราคาผลิตภัณฑ์ (x) 98% ในทิศทางตรงกันข้าม(ค่า b มีค่าเป็นลบ)
Regression Analysis
จากค่า R2 = 0.9061
Simple Linear Regression Analysis
ดังนั้นค่า R =
961.0
2
R
=
= +0.98, -0.98
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ Page 63 of 26 Pages
Regression Analysis
Multiple Linear Regression Analysis
เป็นการศึกษาความสัมพันธ์ของตัวแปรมากกว่า 2 ตัวขึ้นไป
ตัวแปรอิสระที่มีจานวนมีมากกว่า 1 ตัว (ใช้สัญลักษณ์ X1,X2,…)
ตัวแปรตาม 1 ตัว (ใช้สัญลักษณ์ Y)
Y = a + b1X1+b2X2 +....+ bnXn + e
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ Page 64 of 26 Pages
Y เป็นตัวแปรตามแทนผลสัมฤทธิ์ในการปฏิบัติงาน
เป็นตัวแปรอิสระแทนผลสัมฤทธิ์ด้านการตรงต่อเวลา
เป็นตัวแปรอิสระแทนผลสัมฤทธิ์ด้านการมาปฏิบัติงาน
ดังนั้น สมการถดถอยพหุคูณเชิงเส้นแสดงความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรทั้ง
สามคือ
= + +
เมื่อ คือ ค่าที่พยากรณ์ได้จากสมการ
คือ ค่าคงที่
คือ ค่าสัมประสิทธิ์การถดถอยพหุคูณของ
คือ ค่าสัมประสิทธิ์การถดถอยพหุคูณของ
1X
2X
Y a 1b 1X 2b 2X
Y
a
1b 1X
2b 2X
สมมุติให้
Regression Analysis
Multiple Linear Regression Analysis
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ Page 65 of 26 Pages
Regression Analysis
Multiple Linear Regression Analysis
ค่า a หมายถึง ในกรณีที่ ค่าของ X1 และ X2 มีค่าเป็นศูนย์ค่าของ Y
จะมีค่าเท่ากับ a
ค่า b2 หมายถึง ในกรณีที่ ค่าของ X1 มีค่าเป็นศูนย์และ ค่าของ X2 เปลี่ยนแปลง
ไป 1 หน่วย ค่าของ Y จะเปลี่ยนแปลงไปเท่ากับ b2 หน่วย
ค่า b1 หมายถึง ในกรณีที่ ค่าของ X2 มีค่าเป็นศูนย์และ ค่าของ X1 เปลี่ยนแปลง
ไป 1 หน่วย ค่าของ Y จะเปลี่ยนแปลงไปเท่ากับ b1 หน่วย
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ Page 66 of 26 Pages
Regression Analysis
Multiple Linear Regression Analysis
ค่า a = -1.841 หมายถึง ในกรณีที่ ค่าของผลสัมฤทธิ์ด้านการตรงต่อเวลาและ
ค่าผลสัมฤทธิ์ด้านการมาปฏิบัติงานมีค่าเป็นศูนย์ค่าของผลสัมฤทธิ์ในการ
ปฏิบัติงานจะมีค่าเท่ากับ -1.841 หน่วย
Y = -1.841 + (0.568)X1 + (0.821)X2
สมมติให้
Y = เป็นตัวแปรตามแทนผลสัมฤทธิ์ในการปฏิบัติงาน
X1 = เป็นตัวแปรอิสระแทนผลสัมฤทธิ์ด้านการตรงต่อเวลา
X2 = เป็นตัวแปรอิสระแทนผลสัมฤทธิ์ด้านการมาปฏิบัติงาน
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ Page 67 of 26 Pages
Regression Analysis
Multiple Linear Regression Analysis
ค่า b1 = 0.568 หมายถึง ในกรณีที่ ค่าผลสัมฤทธิ์ด้านการมาปฏิบัติงานมีค่าเป็น
ศูนย์และค่าผลสัมฤทธิ์ด้านการตรงต่อเวลาเพิ่มขึ้น 1 หน่วย ค่าของผลสัมฤทธิ์
ในการปฏิบัติงานจะมีค่าเพิ่มขึ้นเท่ากับ 0.568 หน่วย
Y = -1.841 + (0.568)X1 + (0.821)X2
สมมติให้
Y = เป็นตัวแปรตามแทนผลสัมฤทธิ์ในการปฏิบัติงาน
X1 = เป็นตัวแปรอิสระแทนผลสัมฤทธิ์ด้านการตรงต่อเวลา
X2 = เป็นตัวแปรอิสระแทนผลสัมฤทธิ์ด้านการมาปฏิบัติงาน
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ Page 68 of 26 Pages
Regression Analysis
Multiple Linear Regression Analysis
ค่า b2 = 0.821 หมายถึง ในกรณีที่ ค่าผลสัมฤทธิ์ด้านการตรงต่อเวลามีค่าเป็นศูนย์
และค่าผลสัมฤทธิ์ด้านการมาปฏิบัติงานเพิ่มขึ้น 1 หน่วย ค่าของผลสัมฤทธิ์ใน
การปฏิบัติงานจะมีค่าเพิ่มขึ้นเท่ากับ 0.821 หน่วย
Y = -1.841 + (0.568)X1 + (0.821)X2
สมมติให้
Y = เป็นตัวแปรตามแทนผลสัมฤทธิ์ในการปฏิบัติงาน
X1 = เป็นตัวแปรอิสระแทนผลสัมฤทธิ์ด้านการตรงต่อเวลา
X2 = เป็นตัวแปรอิสระแทนผลสัมฤทธิ์ด้านการมาปฏิบัติงาน
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ Page 69 of 26 Pages
Regression Analysis
Multiple Linear Regression Analysis
Y = -1.841 + (0.568)X1 + (0.821)X2จากสมการ
นาย ก มีค่า X1 = 3, X2 = 4สมมติให้
Y = -1.841 + (0.568)(3) + (0.821)(4)
Y = 3.147
ดังนั้น จากการพยากรณ์ผลการปฏิบัติงาน คาดว่านาย ก จะปฏิบัติงานได้ในระดับดี
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ Page 70 of 26 Pages
Regression Analysis
Multiple Linear Regression Analysis
Y = -1.841 + (0.568)X1 + (0.821)X2จากสมการ
นาย ข มีค่า X1 = 4, X2 = 3สมมติให้
Y = -1.841 + (0.568)(4) + (0.821)(3)
Y = 2.89
ดังนั้น จากการพยากรณ์ผลการปฏิบัติงาน คาดว่านาย ข จะปฏิบัติงานได้ใน
ระดับปานกลาง
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ Page 71 of 26 Pages
ขอให้นักศึกษาทุกท่านประสบ
ความสาเร็จ
Regression Analysis

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

2กฎของพาสคัล และหลักของอาร์คีมิดีส
2กฎของพาสคัล  และหลักของอาร์คีมิดีส2กฎของพาสคัล  และหลักของอาร์คีมิดีส
2กฎของพาสคัล และหลักของอาร์คีมิดีส
Wijitta DevilTeacher
 
แบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆแบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆ
Naphachol Aon
 
อนุพันธ์
อนุพันธ์อนุพันธ์
อนุพันธ์
krurutsamee
 
บทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภค
บทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภคบทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภค
บทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภค
Ornkapat Bualom
 
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืชการลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
Thanyamon Chat.
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissueตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
Nattakorn Sunkdon
 
ตัวอย่างสารบัญ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างสารบัญ เล่มโปรเจ็คตัวอย่างสารบัญ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างสารบัญ เล่มโปรเจ็ค
tumetr1
 
เรียงความ Is1
เรียงความ Is1เรียงความ Is1
เรียงความ Is1
panisra
 

Was ist angesagt? (20)

ตารางการแจกแจง t
ตารางการแจกแจง tตารางการแจกแจง t
ตารางการแจกแจง t
 
2กฎของพาสคัล และหลักของอาร์คีมิดีส
2กฎของพาสคัล  และหลักของอาร์คีมิดีส2กฎของพาสคัล  และหลักของอาร์คีมิดีส
2กฎของพาสคัล และหลักของอาร์คีมิดีส
 
หน้าปกคำนำสารบัญ
หน้าปกคำนำสารบัญหน้าปกคำนำสารบัญ
หน้าปกคำนำสารบัญ
 
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงเฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
 
กิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศกิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศ
 
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
 
เกณฑ์การประเมินรูบริคส์
เกณฑ์การประเมินรูบริคส์เกณฑ์การประเมินรูบริคส์
เกณฑ์การประเมินรูบริคส์
 
แบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆแบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆ
 
อนุพันธ์
อนุพันธ์อนุพันธ์
อนุพันธ์
 
บทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภค
บทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภคบทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภค
บทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภค
 
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืชการลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissueตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
 
ปก
ปกปก
ปก
 
บทที่ 5 การวางแผนความต้องการวัสดุและกำลังการผลิต
บทที่ 5 การวางแผนความต้องการวัสดุและกำลังการผลิตบทที่ 5 การวางแผนความต้องการวัสดุและกำลังการผลิต
บทที่ 5 การวางแผนความต้องการวัสดุและกำลังการผลิต
 
การวางแผนและการควบคุมการผลิต
การวางแผนและการควบคุมการผลิตการวางแผนและการควบคุมการผลิต
การวางแผนและการควบคุมการผลิต
 
ตัวอย่างสารบัญ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างสารบัญ เล่มโปรเจ็คตัวอย่างสารบัญ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างสารบัญ เล่มโปรเจ็ค
 
ใบงาน อเมริกาเหนือ
ใบงาน อเมริกาเหนือใบงาน อเมริกาเหนือ
ใบงาน อเมริกาเหนือ
 
บทที่ 7 การวางแผนกระบวนการผลิต
บทที่ 7 การวางแผนกระบวนการผลิตบทที่ 7 การวางแผนกระบวนการผลิต
บทที่ 7 การวางแผนกระบวนการผลิต
 
เรียงความ Is1
เรียงความ Is1เรียงความ Is1
เรียงความ Is1
 
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
 

Mehr von Teetut Tresirichod

Mehr von Teetut Tresirichod (20)

ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ (Strategic Leadership and Communication)
ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ (Strategic Leadership and Communication)ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ (Strategic Leadership and Communication)
ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ (Strategic Leadership and Communication)
 
บทที่ 1 ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์โดยภาพรวม.pdf
บทที่ 1 ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์โดยภาพรวม.pdfบทที่ 1 ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์โดยภาพรวม.pdf
บทที่ 1 ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์โดยภาพรวม.pdf
 
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLSPartial Least Square Path Modeling with SmartPLS
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS
 
Chapter 3 SHRM in a changing and shrinking world
Chapter 3 SHRM in a changing and shrinking worldChapter 3 SHRM in a changing and shrinking world
Chapter 3 SHRM in a changing and shrinking world
 
Chapter 2 Strategic human resource management
Chapter 2 Strategic human resource managementChapter 2 Strategic human resource management
Chapter 2 Strategic human resource management
 
Chapter 1 Strategy and human resource management
Chapter 1 Strategy and human resource managementChapter 1 Strategy and human resource management
Chapter 1 Strategy and human resource management
 
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS.pdf
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS.pdfPartial Least Square Path Modeling with SmartPLS.pdf
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS.pdf
 
การใช้ VoSViewer
การใช้ VoSViewerการใช้ VoSViewer
การใช้ VoSViewer
 
การใช้โปรแกรม QDA Miner.pdf
การใช้โปรแกรม QDA Miner.pdfการใช้โปรแกรม QDA Miner.pdf
การใช้โปรแกรม QDA Miner.pdf
 
SPSS software application.pdf
SPSS software application.pdfSPSS software application.pdf
SPSS software application.pdf
 
PSPP software application
PSPP software applicationPSPP software application
PSPP software application
 
LINE OA
LINE OALINE OA
LINE OA
 
Partial least square path modeling with adanco
Partial least square path modeling with adancoPartial least square path modeling with adanco
Partial least square path modeling with adanco
 
Chapter 10 creating an organizational image in innovation and technology
Chapter 10 creating an organizational image in innovation and technologyChapter 10 creating an organizational image in innovation and technology
Chapter 10 creating an organizational image in innovation and technology
 
Chapter 9 business organization leadership and change management
Chapter 9 business organization leadership and change managementChapter 9 business organization leadership and change management
Chapter 9 business organization leadership and change management
 
Chapter 8 concepts of change management
Chapter 8 concepts of change managementChapter 8 concepts of change management
Chapter 8 concepts of change management
 
Chapter 7 technology development trends in the 21st century
Chapter 7 technology development trends in the 21st centuryChapter 7 technology development trends in the 21st century
Chapter 7 technology development trends in the 21st century
 
Chapter 6 business technology management activities
Chapter 6 business technology management activitiesChapter 6 business technology management activities
Chapter 6 business technology management activities
 
Chapter 5 importing technology and creating innovations in the context of inn...
Chapter 5 importing technology and creating innovations in the context of inn...Chapter 5 importing technology and creating innovations in the context of inn...
Chapter 5 importing technology and creating innovations in the context of inn...
 
Chapter 4 strategic innovation management
Chapter 4 strategic innovation managementChapter 4 strategic innovation management
Chapter 4 strategic innovation management
 

บทที่ 2 การพยากรณ์

  • 1. อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ Page 1 of 26 Pages บทที่ 2 การพยากรณ์ (Forecasting)
  • 2. อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ Page 2 of 26 Pages ความหมายและความสาคัญของการพยากรณ์ การพยากรณ์ คือ การคาดการณ์ถึงสิ่งใดสิ่งหนึ่งที่จะเกิดขึ้นในช่วงเวลาใน อนาคต และนาค่าพยากรณ์ที่ได้นั้นมาใช้ประโยชน์ เพื่อการตัดสินใจใด ๆ โดยทั่ว ๆ ไปแล้วการพยากรณ์จะถูกจัดแบ่งตามหน้าที่หลัก ๆ ที่เกี่ยวข้องได้ ดังนี้ ในด้านการตลาด เพื่อการตัดสินใจเกี่ยวกับขนาดของตลาดและลักษณะ ของตลาด ในด้านการผลิต ค่าพยากรณ์แสดงถึงจานวนการขายของผลิตภัณฑ์ มี ความจาเป็นในการวางแผนการผลิต ในด้านการเงินและการบัญชี ทาให้แผนกการเงินสามารถวางแผนการ ล่วงหน้าเกี่ยวกับการจัดสรรงบประมาณเงินลงทุน
  • 3. อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ Page 3 of 26 Pages เทคนิคการพยากรณ์  การพยากรณ์แบ่งออกเป็นประเภทใหญ่ ๆ ได้ 2 ประเภทคือ ◦ การพยากรณ์เชิงปริมาณ ◦ การพยากรณ์เชิงคุณภาพ
  • 4. อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ Page 4 of 26 Pages การพยากรณ์เชิงปริมาณ  อาศัยข้อมูลในอดีตเป็นหลัก ◦ เทคนิคที่ใช้  วิธีการปรับเรียบ (Exponential smoothing)  วิธีแยกส่วน (decomposition)  วิธีวิเคราะห์แถวคอย (regression analysis)
  • 5. อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ Page 5 of 26 Pages การพยากรณ์เชิงคุณภาพ  ไม่อาศัยข้อมูลในอดีตเป็นหลัก แต่ใช้ความรู้สึกสามัญสานึกและ ประสบการณ์ต่าง ๆ ที่ผ่านมา ประกอบกับข้อมูลซึ่งส่วนใหญ่จะ ได้จากผู้บริหารหรือผู้ที่มีหน้าที่เกี่ยวข้อง เช่น ฝ่ายขาย
  • 6. อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ Page 6 of 26 Pages ตัวกาหนดวิธีการพยากรณ์ จาแนกออกได้ 4 ประเภท 1. การพยากรณ์ 1 หน่วยเวลาล่วงหน้า (Intermediate-Term Forecasting) 2. การพยากรณ์ช่วงสั้น (Short-Term forecasting) 3. การพยากรณ์ช่วงกลาง (Medium-Term Forecasting) 4. การพยากรณ์ระยะยาว (Long-Term Forecasting)
  • 7. อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ Page 7 of 26 Pages การเลือกเทคนิคการพยากรณ์  หลักเกณฑ์ในการพิจารณามีดังนี้ 1. ช่วงเวลาการพยากรณ์ที่ครอบคลุมถึง (Time Horizon) 2. รูปแบบของข้อมูล 3. ชนิดของตัวแบบ 4. ค่าใช้จ่าย 5. ความแม่นยาของการพยากรณ์ 6. ความยากง่ายในการประยุกต์ใช้งาน
  • 8. อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ Page 8 of 26 Pages (ก) แบบแนวระดับ (ข) แบบแนวโน้ม (ค) แบบฤดูกาล (ง) แบบวัฏจักร
  • 9. อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ Page 9 of 26 Pages ความแม่นยาของการพยากรณ์  ค่าความผิดพลาดสัมบูรณ์เฉลี่ย (Mean Absolute Deviation) : MAD  ค่าความผิดพลาดกาลังสองเฉลี่ย (Mean Sum of Square Error) : MSE    n t ii n FX MAD 1 )(    n t ii n FX MSE 1 2 )(
  • 10. อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ Page 10 of 26 Pages ชนิดของการพยากรณ์  การพยากรณ์ที่อาศัยความคิดเป็นหลัก  การพยากรณ์โดยอาศัยดัชนี  การพยากรณ์ที่อาศัยข้อมูลในอดีต  การพยากรณ์ที่อาศัยการวิจัยตลาด  การพยากรณ์โดยวิธีปรับเรียบ 1. วิธีการของค่าเฉลี่ยเคลื่อนที่ 2. วิธีการปรับเรียบเอกซ์โปเนนเชียล 3. วิธีการปรับเรียบที่มีลาดับสูงขึ้น 1. ค่าเฉลี่ยเคลื่อนที่ซ้าสองครั้ง 2. การปรับเรียบเอกซ์โปเนนเชียลซ้าสองครั้ง 3. การพยากรณ์แบบฤดูของวินเตอร์  การพยากรณ์โดยวิธีการวิเคราะห์การถดถอย ◦ การวิเคราะห์การถดถอยแบบง่าย ◦ การวิเคราะห์การถดถอยเชิงซ้อน  การพยากรณ์แบบแยกส่วน ◦ คานวณหาแฟกเตอร์ฤดูกาล ◦ การคานวณหาแนวทิศทางแบบเส้นตรง ◦ การคานวณหาแฟกเตอร์ของไซเคิล ◦ การพยากรณ์ในอนาคต
  • 11. อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ Page 11 of 26 Pages การพยากรณ์ที่อาศัยความคิดเป็นหลัก  การพยากรณ์ชนิดนี้มักจะเกี่ยวข้องกับด้านการตลาด ผู้จัดการ ฝ่ายขายหรือพนักงานขายจะเป็นผู้ให้ความคิดเห็นในเรื่องของ ปริมาณการขายสินค้าในอนาคต ◦ ข้อดี  ผู้แทนที่ทาหน้าที่ขายจะรับผิดชอบโดยตรงต่อการพยากรณ์การขาย เพราะเขา จะรู้แนวโน้มของตลาดในอนาคตได้เป็นอย่างดี ◦ ข้อเสีย  มีความลาเอียงเกิดขึ้นกับการพยากรณ์
  • 12. อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ Page 12 of 26 Pages การพยากรณ์โดยอาศัยดัชนี  การพยากรณ์ชนิดนี้จะดีหรือไม่ดีจะขึ้นอยู่กับค่าดัชนี หรือองศา แห่งความสัมพันธ์ระหว่างความต้องการสินค้าจริงกับค่า พยากรณ์ที่อาศัยดัชนี  ตัวอย่างเช่น ผู้ผลิตสินค้าประเภทก่อสร้าง อาจจะพยากรณ์การ ขายโดยอาศัยจานวนอาคารที่ได้รับอนุญาตให้ปลูกสร้างในเขต นั้น ๆ หรือจากดัชนีประชาชาติของปริมาณการก่อสร้าง  การพยากรณ์จะให้ค่าความแม่นยา เมื่อค่าความสัมพันธ์ของ ยอดขายและดัชนีสูงเช่นกัน
  • 13. อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ Page 13 of 26 Pages การพยากรณ์ที่อาศัยข้อมูลในอดีต  อาศัยข้อมูลในอดีตเป็นหลัก และทาการพยากรณ์สาหรับ ช่วงเวลาในอนาคต
  • 14. อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ Page 14 of 26 Pages การพยากรณ์ที่อาศัยการวิจัยตลาด  มักจะเนื่องมาจากผู้แทนไม่มีข้อมูลที่น่าเชื่อถือได้เพียงพอ หรือ เป็นสินค้าหรือผลิตภัณฑ์ตัวใหม่ที่จะนาออกสู่ตลาด ดังนั้น การ สารวจตลาดจะเป็นวิธีหนึ่งที่จะรู้ข้อมูล และใช้หลักการวิเคราะห์ ทางสถิติเข้าช่วย
  • 15. อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ Page 15 of 26 Pages การพยากรณ์โดยวิธีปรับเรียบ  การพยากรณ์ความต้องการในช่วงสั้น ๆ  แยกออกได้เป็น 2 วิธี คือ ◦ วิธีของค่าเฉลี่ยเคลื่อนที่ ◦ วิธีการปรับเรียบเอกซ์โปเนนเชียล
  • 16. อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ Page 16 of 26 Pages วิธีของค่าเฉลี่ยเคลื่อนที่
  • 17. อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ Page 17 of 26 Pages  ยอดขายไม่มีการเปลี่ยนแปลงขึ้นหรือลงอย่างรวดเร็ว  ไม่มีผลของฤดูกาลมาเกี่ยวข้อง  นาข้อมูลในอดีต n ค่ามาเฉลี่ยเพื่อเป็นค่าพยากรณ์ในคาบต่อไป Ft = (At-1 + A2-1 + A3-1 + … + An-1 ) / n ◦ เมื่อ Ft = ค่าพยากรณ์ยอดขายที่คาบ t n = จานวนคาบที่จะทาการเฉลี่ย At-1 = ยอดขายจริงในคาบที่ t-1
  • 18. อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ Page 18 of 26 Pages 3 เดือน ช่วงเวลา ค่าสังเกต ค่าพยากรณ์ ค่าผิดพลาด ค่าผิดพลาดสมบูรณ์ ค่าผิดพลาดกาลังสอง 1 2,000.00 2 1,350.00 3 1,950.00 4 1,975.00 1,766.67 208.33 208.33 43,402.78 5 3,100.00 1,758.33 1,341.67 1,341.67 1,800,069.44 6 1,750.00 2,341.67 (591.67) 591.67 350,069.44 7 1,550.00 2,275.00 (725.00) 725.00 525,625.00 8 1,300.00 2,133.33 (833.33) 833.33 694,444.44 9 2,200.00 1,533.33 666.67 666.67 444,444.44 10 2,770.00 1,683.33 1,086.67 1,086.67 1,180,844.44 11 2,350.00 2,090.00 260.00 260.00 67,600.00 12 2,440.00 1,413.33 5,713.33 5,106,500.00 176.67 714.17 638,312.50 ผลรวม ค่าเฉลี่ย ค่าเฉลี่ยเคลื่อนที่
  • 19. อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ Page 19 of 26 Pages - 500.00 1,000.00 1,500.00 2,000.00 2,500.00 3,000.00 3,500.00 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 Series1 Series2
  • 20. อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ Page 20 of 26 Pages 5 เดือน ช่วงเวลา ค่าสังเกต ค่าพยากรณ์ ค่าผิดพลาด ค่าผิดพลาดสมบูรณ์ ค่าผิดพลาดกาลังสอง 1 2,000.00 2 1,350.00 3 1,950.00 4 1,975.00 5 3,100.00 6 1,750.00 2,075.00 (325.00) 325.00 105,625.00 7 1,550.00 2,025.00 (475.00) 475.00 225,625.00 8 1,300.00 2,065.00 (765.00) 765.00 585,225.00 9 2,200.00 1,935.00 265.00 265.00 70,225.00 10 2,770.00 1,980.00 790.00 790.00 624,100.00 11 2,350.00 1,914.00 436.00 436.00 190,096.00 12 2,034.00 (74.00) 3,056.00 1,800,896.00 (12.33) 509.33 300,149.33 ค่าเฉลี่ยเคลื่อนที่ ผลรวม ค่าเฉลี่ย
  • 21. อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ Page 21 of 26 Pages - 500.00 1,000.00 1,500.00 2,000.00 2,500.00 3,000.00 3,500.00 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 Series1 Series2
  • 23. อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ Page 23 of 26 Pages ปี ยอดขาย(ล้านบาท) 2540 9 2541 8 2542 9 2543 12 2544 9 2545 12 2546 11 2547 7 2548 13 2549 9 2550 11 การหาค่าเฉลี่ยเคลื่อนที่ (Moving Average) โจทย์ตัวอย่าง
  • 24. อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ Page 24 of 26 Pages วิธีการปรับเรียบเอกซ์โปเนนเชียล Ft = Ft-1 + (Yt-1 - Ft-1) โดยที่ Ft = ค่าพยากรณ์ในช่วงเวลา t Ft-1 = ค่าพยากรณ์ในช่วงเวลา t - 1 Yt-1 = ค่าจริงในช่วงเวลา t - 1 เป็นวิธีการหาค่าเฉลี่ยแบบถ่วงน้าหนัก ด้วยสัมประสิทธิ์การปรับ เรียบ(ที่ให้ความสาคัญของข้อมูลเวลาล่าสุดมากที่สุด และข้อมูล เวลาห่างออกไป ลดหลั่นในลักษณะแบบเอ็กซ์โพเนนเชียล  = มีค่าเท่ากับ 0 ≤  ≤ 1 Ft =  Yt-1 + (1- ) Ft-1
  • 25. อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ Page 25 of 26 Pages F2 = D1 + (1 - )F1 = (0.30)(37) + (0.70)(37) = 37 F3 = D2 + (1 - )F2 = (0.30)(40) + (0.70)(37) = 37.9 F13 = D12 + (1 - )F12 = (0.30)(54) + (0.70)(50.84) = 51.79 Exponential Smoothing (α=0.30) PERIOD MONTH DEMAND 1 Jan 37 2 Feb 40 3 Mar 41 4 Apr 37 5 May 45 6 Jun 50 7 Jul 43 8 Aug 47 9 Sep 56 10 Oct 52 11 Nov 55 12 Dec 54 เท่ากับ D1
  • 26. อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ Page 26 of 26 Pages FORECAST, Ft PERIOD MONTH DEMAND ( = 0.3) ( = 0.5) 1 Jan 37 – – 2 Feb 40 37.00 37.00 3 Mar 41 37.90 38.50 4 Apr 37 38.83 39.75 5 May 45 38.28 38.37 6 Jun 50 40.29 41.68 7 Jul 43 43.20 45.84 8 Aug 47 43.14 44.42 9 Sep 56 44.30 45.71 10 Oct 52 47.81 50.85 11 Nov 55 49.06 51.42 12 Dec 54 50.84 53.21 13 Jan – 51.79 53.61 Exponential Smoothing
  • 27. อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ Page 27 of 26 Pages ปริมาณความต ้องการ ค่าสังเกต  = .1  = .5  = .9 ปี 2514 มกราคม 1 2,000.00 0 0 0 กุมภาพันธ์ 2 1,350.00 2,000 2,000 2,000 มีนาคม 3 1,950.00 1,935 1,675 1,415 เมษายน 4 1,975.00 1,937 1,813 1,897 พฤษภาคม 5 3,100.00 1,940 1,894 1,967 มิถุนายน 6 1,750.00 2,056 2,497 2,987 กรกฎาคม 7 1,550.00 2,026 2,123 1,874 สิงหาคม 8 1,300.00 1,978 1,837 1,582 กันยายน 9 2,200.00 1,910 1,568 1,328 ตุลาคม 10 2,770.00 1,939 1,884 2,113 พฤศจิกายน 11 2,350.00 2,022 2,327 2,704 ธันวาคม 12 2,055 2,339 2,385 เดือน ช่วงเวลา ค่าปรับเรียบเอกซ์โปเนนเชียล
  • 29. อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ Page 29 of 26 Pages การปรับเรียบแบบเอกซ์โพเนนเชียล(Exponential smoothing)
  • 30. อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ Page 30 of 26 Pages วิธีการปรับเรียบที่มีลาดับสูงขี้น  วิธีการปรับเรียบแบบเก่าจะใช้กับแนวโน้มที่เป็นแนวนอน ถ้าเป็น แนวโน้มที่มีรูปแบบที่ซับซ้อนจาเป็นต้องใช้วิธีการปรับเรียบที่มี ลาดับสูงขึ้น โดยยังมีข้อดีเหมือนกับการปรับเรียบแบบธรรมดา แต่ว่าสามารถจะประยุกต์ใช้กับรูปแบบที่มีลักษณะของแนวโน้ม หรือรูปแบบที่มีลักษณะของฤดูกาล
  • 31. อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ Page 31 of 26 Pages ค่าเฉลี่ยเคลื่อนที่ซ้าสองครั้ง 4 เดือน ช่วงเวลา ปริมาณวัสดุคงคลัง ค่าพยากรณ์ (1) ค่าพยากรณ์ (2) ค่าของ a ค่าของ b ค่าพยากรณ์ (a+bm เมื่อ m=1) 1 140.00 2 159.00 3 136.00 4 157.00 148.00 5 173.00 156.25 6 131.00 149.25 7 177.00 159.50 153.25 165.75 4.17 8 188.00 167.25 158.06 176.44 6.13 169.92 9 154.00 162.50 159.63 165.38 1.92 182.56 10 179.00 174.50 165.94 183.06 5.71 167.29 11 180.00 175.25 169.88 180.63 3.58 188.77 12 160.00 168.25 170.13 166.38 (1.25) 184.21 13 182.00 175.25 173.31 177.19 1.29 165.13 14 192.00 178.50 174.31 182.69 2.79 178.48 15 224.00 189.50 177.88 201.13 7.75 185.48 16 188.00 196.50 184.94 208.06 7.71 208.88 17 198.00 200.50 191.25 209.75 6.17 215.77 18 206.00 204.00 197.63 210.38 4.25 215.92 19 203.00 198.75 199.94 197.56 (0.79) 214.63 20 238.00 211.25 203.63 218.88 5.08 196.77 21 228.00 218.75 208.19 229.31 7.04 223.96 22 231.00 225.00 213.44 236.56 7.71 236.35 23 221.00 229.50 221.13 237.88 5.58 244.27 24 259.00 234.75 227.00 242.50 5.17 243.46 25 273.00 246.00 233.81 258.19 8.13 247.67 26 266.31 ค่าเฉลี่ยเคลื่อนที่
  • 33. อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ Page 33 of 26 Pages การปรับเรียบแบบเอกซ์โปเนนเชียลซ้าสองครั้ง 4 เดือน ช่วงเวลา ปริมาณวัสดุคงคลัง ค่าพยากรณ์ (1) ค่าพยากรณ์ (2) ค่าของ a ค่าของ b ค่าพยากรณ์ (a+bm เมื่อ m=1) 1 143.000 143.000 143.000 2 152.000 144.800 143.360 146.240 0.360 - 3 161.000 148.040 144.296 151.784 0.936 146.600 4 139.000 146.232 144.683 147.781 0.387 152.720 5 137.000 144.386 144.624 144.148 (0.060) 148.168 6 174.000 150.308 145.761 154.856 1.137 144.088 7 142.000 148.647 146.338 150.956 0.577 155.993 8 141.000 147.117 146.494 147.741 0.156 151.533 9 162.000 150.094 147.214 152.974 0.720 147.897 10 180.000 156.075 148.986 163.164 1.772 153.694 11 164.000 157.660 150.721 164.599 1.735 164.936 12 171.000 160.328 152.642 168.014 1.921 166.334 13 206.000 169.462 156.006 182.919 3.364 169.935 14 193.000 174.170 159.639 188.701 3.633 186.283 15 207.000 180.736 163.858 197.614 4.219 192.334 16 218.000 188.189 168.725 207.653 4.866 201.833 17 229.000 196.351 174.250 218.452 5.525 212.519 18 225.000 202.081 179.816 224.346 5.566 223.978 19 204.000 202.465 184.346 220.584 4.530 229.912 20 227.000 207.372 188.951 225.793 4.605 225.113 21 223.000 210.497 193.260 227.735 4.309 230.398 22 242.000 216.798 197.968 235.628 4.708 232.044 23 239.000 221.238 202.622 239.855 4.654 240.336 24 266.000 230.191 208.136 252.246 5.514 244.509 25 184.153 203.339 164.966 (4.797) 257.759 เอกซ์โปเนนเชียลซ้าสองครั้ง
  • 35. อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ Page 35 of 26 Pages การพยากรณ์แบบฤดูกาลของวินเตอร์ ปี ควอเตอร์ Xt It St bt Ft ค่าความผิดพลาด ความผิดพลาดกาลังสอง 2530 1 362 1.00 2 385 1.06 3 432 1.19 4 341 0.94 341 2531 1 382 1.004696 349.2 0.82 2 409 1.067653 356.9292 1.510925 372.2588 36.74116022 1349.912854 3 498 1.20096 370.2132 2.688232 427.7518 70.24819321 4934.80865 4 387 0.945745 380.4878 3.44686 351.2691 35.73092572 1276.699053
  • 36. อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ Page 36 of 26 Pages Regression and Correlation analysis การวิเคราะห์การถดถอยและสหสัมพันธ์
  • 37. อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ Page 37 of 26 Pages Regression Analysis  เป็นการวิเคราะห์หาความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรอิสระ หรือตัวแปรต้นกับตัวแปรตาม  ตัวแปรที่จะใช้ในการวิเคราะห์จะเป็นตัวแปรเชิงปริมาณ  จะนาเสนอผลการวิเคราะห์ในรูปแบบของสมการ
  • 38. อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ Page 38 of 26 Pages Regression Analysis ความสัมพันธ์ ระหว่างตัวแปร ความสัมพันธ์เชิงเส้น(Linear) ความสัมพันธ์ไม่เป็นเชิงเส้น (Non-Linear)
  • 39. อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ Page 39 of 26 Pages • ความสัมพันธ์ในทางตรงกันข้าม ความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร • ความสัมพันธ์ในทางเดียวกัน Regression Analysis
  • 40. อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ Page 40 of 26 Pages Regression Analysis Simple Linear Regression Multiple Linear Regression
  • 41. อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ Page 41 of 26 Pages Regression Analysis Simple Linear Regression Analysis  ศึกษาความสัมพันธ์ของตัวแปร 2 ตัว คือ ตัวแปรต้นหรือตัว แปรอิสระ ซึ่งสามารถแสดงโดยใช้ตัวแปร X และตัวแปร ตามแสดงโดยใช้ตัวแปร Y Y = a + bX + e
  • 42. อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ Page 42 of 26 Pages Regression Analysis Simple Linear Regression Analysis Y = a + bX + e Y = ตัวแปรตาม X = ตัวแปรต้นหรือตัวแปรอิสระ a,b = ค่าคงที่ e = ค่าความคลาดเคลื่อน
  • 43. อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ Page 43 of 26 Pages a X Y= a + bX+ e Y Regression Analysis Simple Linear Regression Analysis
  • 44. อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ Page 44 of 26 Pages Regression Analysis Simple Linear Regression Analysis ขั้นตอนการวิเคราะห์  ตรวจสอบและกาหนดความสัมพันธ์ของตัวแปร X และ Y  สร้างสมการการพยากรณ์ เพื่อใช้สาหรับการประมาณค่า Y (หาค่า a และ b)  ตรวจสอบความสอดคล้องของการวิเคราะห์ความถดถอยเชิงเส้น อย่างง่ายของตัวแปรทั้งสอง  แทนค่าตัวแปร X เพื่อประมาณค่าตัวแปร Y ที่เราต้องการทราบ
  • 45. อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ Page 45 of 26 Pages Regression Analysis Simple Linear Regression Analysis ค่าสถิติที่ควรรู้ 1) ค่าสัมประสิทธิ์การตัดสินใจ (Coefficient of Determination) : R2 2) ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ (Correlation Coefficient) : R หรือ Rxy 3) ค่าสัมประสิทธิ์การถดถอย (Regression Coefficient) : b
  • 46. อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ Page 46 of 26 Pages Regression Analysis Simple Linear Regression Analysis ค่าสัมประสิทธิ์การตัดสินใจ (Coefficient of Determination) : R2 • เกิดจากการนาค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ยกกาลังสอง • ใช้แสดงความแปรผันที่เกิดขึ้นกับตัวแปร Y มีผลเนื่องมาจากตัวแปร X คิดเป็น กี่เปอเซนต์ • ใช้ศึกษาว่า สมการการประมาณค่ามีความเหมาะสมที่จะนาไปใช้ได้มากหรือน้อย ค่าที่คานวณได้จะอยู่ในช่วงระหว่าง 0 ถึง 1
  • 47. อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ Page 47 of 26 Pages Regression Analysis Simple Linear Regression Analysis ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ (Correlation Coefficient) : R หรือ Rxy • เกิดจากการนาค่าสัมประสิทธิ์การตัดสินใจมาหารากที่ 2 • ใช้แสดงความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร Y และตัวแปร X คิดเป็นกี่เปอเซนต์ • ค่าที่คานวณได้จะอยู่ในช่วงระหว่าง -1 ถึง 1 โดยมีเครื่องหมายบวกหรือลบเป็น ตัวบ่งชี้รูปแบบความสัมพันธ์
  • 48. อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ Page 48 of 26 Pages Regression Analysis Simple Linear Regression Analysis ค่าสัมประสิทธิ์การถดถอย (Regression Coefficient) : b • เกิดจากการนาอัตราการเปลี่ยนแปลงของตัวแปร Y เทียบกับอัตราการเปลี่ยนแปลง ของตัวแปร X • เป็นค่าที่แสดงถึงความชันของเส้นโค้ง • ค่าที่คานวณได้สามารถมีเครื่องหมายบวกและลบ ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับรูปแบบความสัมพันธ์ ของตัวแปร X และ Y
  • 49. อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ Page 49 of 26 Pages Regression Analysis Simple Linear Regression Analysis y = a + bx โดยที่ Y เป็นค่าของตัวแปรตามที่ประมาณได้จาก สมการถดถอยอย่างง่าย a เป็นค่าคงที่ซึ่งเป็นระยะห่างระหว่างจุด กาเนิดกับจุดตัดบนแกน X b เป็นความชันของเส้นตรงที่ประมาณขึ้น x เป็นตัวแปรอิสระ
  • 50. อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ Page 50 of 26 Pages เมื่อ xbya       22 . xnx yxnxy b         2 xx yyxx หรือ b = Regression Analysis Simple Linear Regression Analysis
  • 51. อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ Page 51 of 26 Pages หรือ          2 2 yy yyxxb R        22 2 yny yxnxyb R Regression Analysis Simple Linear Regression Analysis ค่าสัมประสิทธิ์การตัดสินใจ (Coefficient of Determination) : R2
  • 52. อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ Page 52 of 26 Pages r    22 )()(      yyxx yyxx หรือ      2222 )()( . ynyxnx yxnxy r Regression Analysis Simple Linear Regression Analysis ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ (Correlation Coefficient) : R หรือ Rxy
  • 53. อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ Page 53 of 26 Pages จากข้อมูลเกี่ยวกับระดับราคาและปริมาณความต้องการซื้อ ผลิตภัณฑ์ของบริษัท SPU จากัด 1) จงคานวณหาค่าสัมประสิทธิ์การถดถอย a และ b 2) สร้างสมการถดถอยอย่างง่าย 3) อธิบายผลที่ได้หมายความว่าอะไร Regression Analysis Simple Linear Regression Analysis ตัวอย่าง 4) พยากรณ์ปริมาณความต้องการซื้อ เมื่อกิจการคิดจะ ตั้งราคาผลิตภัณฑ์ดังกล่าวเป็น 10.50 บาท , 8.25 บาท 5) หาค่าสัมประสิทธิ์แห่งการตัดสินใจ (R2)
  • 54. อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ Page 54 of 26 Pages ระดับราคา (บาท/ชิ้น) 10 9.5 9 8.5 8 7.5 7 6.5 6 5.5 ปริมาณ ความ ต้องการซื้อ (พันชิ้น) 90 100 120 110 140 150 200 270 290 300 บริษัท SPU จากัด Regression Analysis Simple Linear Regression Analysis
  • 55. อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ Page 55 of 26 Pages จากสูตร bxay  xbya         22 xnx yxnxy b Regression Analysis Simple Linear Regression Analysis
  • 56. อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ Page 56 of 26 Pages ระดับราคา (บาท/ชิ้น)(x) ปริมาณความต้องการ X2 y2 xy 10. 9.50 9.00 8.50 8.00 7.50 7.00 6.50 6.00 5.50 90 100 120 110 140 150 200 270 290 300 100 90.25 81 72.25 64 56.25 49 42.25 36 30.25 8100 10000 14400 12100 19600 22500 40000 72900 84100 90000 900 950 1080 935 1120 1125 1400 1755 1740 1650 = 77.50 = 621.25 = 373,700 = 12,655 x   770,1y  2 x  2 y xy ซื้อ (พันชิ้น)(y) Regression Analysis
  • 57. อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ Page 57 of 26 Pages a = 177 - (-51.52)(7.75)        22 2 yny yxnxyb R 10 5.77 x = 7.75 10 770,1 y = 177       2 75.71025.621 17775.710655,12    625.60025.621 50.717,13655,12    625.20 50.062,1  52.51b b = 177 - (-399.28) = 576.28 Regression Analysis
  • 58. อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ Page 58 of 26 Pages ดังนั้น สมการการถดถอยอย่างง่าย คือ หมายความว่า ถ้าระดับราคาเปลี่ยนแปลงไป 1 หน่วย หรือ 1 บาท ปริมาณความต้องการซื้อจะลดลง 51.52 หน่วย หรือ 51,520 ชิ้น โดยมี ปริมาณความต้องการซื้อสินค้าจานวน 576,280 ชิ้น ที่ไม่ได้อยู่ภายใต้ อิทธิพลของการเปลี่ยนแปลงของระดับราคา xy 52.5128.576  Regression Analysis Simple Linear Regression Analysis
  • 59. อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ Page 59 of 26 Pages จากสมการ y = 576.28 - 51.52 x x = 10.50 ดังนั้น y = 576.28 - 51.52 (10.50) = 576.28 - 540.96 = 35.32 แสดงว่าถ้าบริษัทตั้งราคาผลิตภัณฑ์ดังกล่าวชิ้นละ 10.50 บาท ปริมาณ ความต้องการซื้อผลิตภัณฑ์ จะมีปริมาณ 35,320 ชิ้น Regression Analysis Simple Linear Regression Analysis
  • 60. อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ Page 60 of 26 Pages เมื่อ x = 8.25 ดังนั้น y = 576.28 - 51.52 (8.25) = 576.28 - 425.04 = 151.24 แสดงว่าถ้าบริษัทตั้งราคาผลิตภัณฑ์ดังกล่าวชิ้นละ 8.25 บาท ปริมาณ ความต้องการซื้อผลิตภัณฑ์ จะมีปริมาณ 151,240 ชิ้น Regression Analysis Simple Linear Regression Analysis
  • 61. อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ Page 61 of 26 Pages ค่า R2 = 0.9061 หมายความว่า ปริมาณความต้องการซื้อผลิตภัณฑ์ (y) จะสูงหรือต่าจะขึ้นอยู่กับระดับราคาผลิตภัณฑ์ (x) 90.61% ส่วนอีก 9.39 % จะ ขึ้นอยู่กับปัจจัยอื่น ๆ จาก        22 2 yny yxnxyb R 2 R          2 17710700,373 17775.710655,1252.51       290,313700,373 5.717,13655,1252.51    410,60 740,54  = 0.9061 Regression Analysis
  • 62. อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ Page 62 of 26 Pages ค่า R = 0.98 หมายความว่า ปริมาณความต้องการซื้อผลิตภัณฑ์ (y) มี ความสัมพันธ์กับราคาผลิตภัณฑ์ (x) 98% ในทิศทางตรงกันข้าม(ค่า b มีค่าเป็นลบ) Regression Analysis จากค่า R2 = 0.9061 Simple Linear Regression Analysis ดังนั้นค่า R = 961.0 2 R = = +0.98, -0.98
  • 63. อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ Page 63 of 26 Pages Regression Analysis Multiple Linear Regression Analysis เป็นการศึกษาความสัมพันธ์ของตัวแปรมากกว่า 2 ตัวขึ้นไป ตัวแปรอิสระที่มีจานวนมีมากกว่า 1 ตัว (ใช้สัญลักษณ์ X1,X2,…) ตัวแปรตาม 1 ตัว (ใช้สัญลักษณ์ Y) Y = a + b1X1+b2X2 +....+ bnXn + e
  • 64. อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ Page 64 of 26 Pages Y เป็นตัวแปรตามแทนผลสัมฤทธิ์ในการปฏิบัติงาน เป็นตัวแปรอิสระแทนผลสัมฤทธิ์ด้านการตรงต่อเวลา เป็นตัวแปรอิสระแทนผลสัมฤทธิ์ด้านการมาปฏิบัติงาน ดังนั้น สมการถดถอยพหุคูณเชิงเส้นแสดงความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรทั้ง สามคือ = + + เมื่อ คือ ค่าที่พยากรณ์ได้จากสมการ คือ ค่าคงที่ คือ ค่าสัมประสิทธิ์การถดถอยพหุคูณของ คือ ค่าสัมประสิทธิ์การถดถอยพหุคูณของ 1X 2X Y a 1b 1X 2b 2X Y a 1b 1X 2b 2X สมมุติให้ Regression Analysis Multiple Linear Regression Analysis
  • 65. อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ Page 65 of 26 Pages Regression Analysis Multiple Linear Regression Analysis ค่า a หมายถึง ในกรณีที่ ค่าของ X1 และ X2 มีค่าเป็นศูนย์ค่าของ Y จะมีค่าเท่ากับ a ค่า b2 หมายถึง ในกรณีที่ ค่าของ X1 มีค่าเป็นศูนย์และ ค่าของ X2 เปลี่ยนแปลง ไป 1 หน่วย ค่าของ Y จะเปลี่ยนแปลงไปเท่ากับ b2 หน่วย ค่า b1 หมายถึง ในกรณีที่ ค่าของ X2 มีค่าเป็นศูนย์และ ค่าของ X1 เปลี่ยนแปลง ไป 1 หน่วย ค่าของ Y จะเปลี่ยนแปลงไปเท่ากับ b1 หน่วย
  • 66. อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ Page 66 of 26 Pages Regression Analysis Multiple Linear Regression Analysis ค่า a = -1.841 หมายถึง ในกรณีที่ ค่าของผลสัมฤทธิ์ด้านการตรงต่อเวลาและ ค่าผลสัมฤทธิ์ด้านการมาปฏิบัติงานมีค่าเป็นศูนย์ค่าของผลสัมฤทธิ์ในการ ปฏิบัติงานจะมีค่าเท่ากับ -1.841 หน่วย Y = -1.841 + (0.568)X1 + (0.821)X2 สมมติให้ Y = เป็นตัวแปรตามแทนผลสัมฤทธิ์ในการปฏิบัติงาน X1 = เป็นตัวแปรอิสระแทนผลสัมฤทธิ์ด้านการตรงต่อเวลา X2 = เป็นตัวแปรอิสระแทนผลสัมฤทธิ์ด้านการมาปฏิบัติงาน
  • 67. อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ Page 67 of 26 Pages Regression Analysis Multiple Linear Regression Analysis ค่า b1 = 0.568 หมายถึง ในกรณีที่ ค่าผลสัมฤทธิ์ด้านการมาปฏิบัติงานมีค่าเป็น ศูนย์และค่าผลสัมฤทธิ์ด้านการตรงต่อเวลาเพิ่มขึ้น 1 หน่วย ค่าของผลสัมฤทธิ์ ในการปฏิบัติงานจะมีค่าเพิ่มขึ้นเท่ากับ 0.568 หน่วย Y = -1.841 + (0.568)X1 + (0.821)X2 สมมติให้ Y = เป็นตัวแปรตามแทนผลสัมฤทธิ์ในการปฏิบัติงาน X1 = เป็นตัวแปรอิสระแทนผลสัมฤทธิ์ด้านการตรงต่อเวลา X2 = เป็นตัวแปรอิสระแทนผลสัมฤทธิ์ด้านการมาปฏิบัติงาน
  • 68. อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ Page 68 of 26 Pages Regression Analysis Multiple Linear Regression Analysis ค่า b2 = 0.821 หมายถึง ในกรณีที่ ค่าผลสัมฤทธิ์ด้านการตรงต่อเวลามีค่าเป็นศูนย์ และค่าผลสัมฤทธิ์ด้านการมาปฏิบัติงานเพิ่มขึ้น 1 หน่วย ค่าของผลสัมฤทธิ์ใน การปฏิบัติงานจะมีค่าเพิ่มขึ้นเท่ากับ 0.821 หน่วย Y = -1.841 + (0.568)X1 + (0.821)X2 สมมติให้ Y = เป็นตัวแปรตามแทนผลสัมฤทธิ์ในการปฏิบัติงาน X1 = เป็นตัวแปรอิสระแทนผลสัมฤทธิ์ด้านการตรงต่อเวลา X2 = เป็นตัวแปรอิสระแทนผลสัมฤทธิ์ด้านการมาปฏิบัติงาน
  • 69. อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ Page 69 of 26 Pages Regression Analysis Multiple Linear Regression Analysis Y = -1.841 + (0.568)X1 + (0.821)X2จากสมการ นาย ก มีค่า X1 = 3, X2 = 4สมมติให้ Y = -1.841 + (0.568)(3) + (0.821)(4) Y = 3.147 ดังนั้น จากการพยากรณ์ผลการปฏิบัติงาน คาดว่านาย ก จะปฏิบัติงานได้ในระดับดี
  • 70. อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ Page 70 of 26 Pages Regression Analysis Multiple Linear Regression Analysis Y = -1.841 + (0.568)X1 + (0.821)X2จากสมการ นาย ข มีค่า X1 = 4, X2 = 3สมมติให้ Y = -1.841 + (0.568)(4) + (0.821)(3) Y = 2.89 ดังนั้น จากการพยากรณ์ผลการปฏิบัติงาน คาดว่านาย ข จะปฏิบัติงานได้ใน ระดับปานกลาง
  • 71. อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ Page 71 of 26 Pages ขอให้นักศึกษาทุกท่านประสบ ความสาเร็จ Regression Analysis