SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 83
Downloaden Sie, um offline zu lesen
พระพุทธศาสนา 3.0 กับ CEO ทางธรรม

นพพร เทพสิทธา
22 มกราคม 2014
• แชร์ มุมมองในการเรียนรู้ และ สอนตนเอง
• มุมมองในเรื่อง ธรรมะ ซึ่งเป็ นเรื่องของเราทุกคน
• มุมมองในเรือง ผู้นา
โลกในยุคปั จจุบัน
เจริญขึน คุณภาพชีวิตดีขึน
้
้
ด้ วยความร้ ู และ นวัตกรรม
ด้ านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี
การบริหารจัดการ
พัฒนาอย่ างต่ อเนื่องเกือบทุกด้ าน
โลกถกทาให้ เสมือนแบน
ู
เห็นสิ่งต่ างๆทั่วทุกมุมโลกโดยง่ าย
การเดินทางการสื่อสารสะดวกรวดเร็ว
การค้ าระหว่ างประเทศเป็ นไปอย่ างเสรี
เศรษฐกิจขยายตัวทั่วโลก
ความร้ ู เป็ นสิ่งจาเป็ นในปั จจุบัน-อนาคต
ความร้ ู สร้ างคน สร้ างธุรกิจ สร้ างสังคม
สร้ างประเทศ สร้ างโลก
ความร้ ู ให้ อานาจ ให้ ความมั่งคั่ง
ให้ ความสุข ที่ทุกคนใฝ่ ฝั นไขว่ คว้ า
ใครเข้ าถึงแหล่ งความร้ ู ได้ เร็วกว่ า
มีองค์ ความร้ ู มากกว่ า ย่ อมได้ เปรี ยบ
ความร้ ู คือ อานาจ

อานาจในการสร้ างสรรค์

หรือ
อานาจในการทาลาย
•
•
•
•

ความร้ ู หยุดยังสิ่งเหล่ านีได้ หรื อไม่ ?
้
้
ภาวะโลกร้ อน
นาแข็งขัวโลกละลาย
้
้
อากาศวิปริต
ภัยธรรมชาติรุนแรงขึน
้
ความร้ ู หยุดยังสิ่งเหล่ านีได้ หรื อไม่ ?
้
้
•
•
•
•
•

ทรั พยากร-พลังงาน-นา ขาดแคลน
้
สิ่งแวดล้ อมเสื่อมโทรม
โรคภัยไข้ เจ็บรั กษายากขึน
้
เด็กรุ่ นใหม่ เป็ นภมแพ้ มากขึน
้
ู ิ
คนป่ วยทางจิตเพิ่มขึน
้
•
•
•
•

ความร้ ู หยุดยังสิ่งเหล่ านีได้ หรื อไม่ ?
้
้
ทุจริตคอรั ปชั่นมากขึน
้
การฝ่ าฝื นกฎหมายมากขึน
้
ความขัดแย้ งและสงครามระหว่ างคน
ต่ างเชือชาติต่างความเชื่อรุ นแรงขึน
้
้
อาวุธทุกรูปแบบถูกพัฒนาขึน
้
เพื่อฆ่ ามนุษย์ ให้ ตายคราวละมากๆ
คนที่เจริญแล้ วเอาเปรี ยบคนที่ด้อยกว่ า
คนร้ ู มากกว่ าเอาเปรี ยบคนร้ ู น้อยกว่ า
คนฉลาดเอาเปรี ยบคนโง่
ปลาใหญ่ กินปลาเล็กอ้ วนพีขึน
้
ปลาเล็กผอมลงเหลือแต่ ก้าง
คนยอมตกเป็ นทาสของความเจริญ
• ยอมแลกด้ วยทรั พย์ สิน ที่ดน
ิ
• ยอมก้ ูหนียืมสิน ไม่ เก็บออม
้
• ยอมเป็ นทาส ในสวนไร่ นา ในโรงงาน
ในบริษัทห้ างร้ านองค์ กร
• ยอมถกจองจาไว้ ด้วยกระดาษเงินตรา
ู
•
•
•
•
•
•
•

โลกแห่ งความเจริญ

จีดพี – การใช้ จ่ายเพื่อบริโภค
ี
ความรวดเร็ว สะดวกสบาย
ความยิ่งใหญ่ เหนือชัน
้
ความหรู หรา โอ่ อ่าอลังการ
ความฟุ่ มเฟื อย
ความร่ ารวยมั่งคั่ง อานาจวาสนา
โลกแห่ งทุนนิยม วัตถุนิยม บริโภคนิยม
โลกแห่ งทุนนิยม วัตถุนิยม บริโภคนิยม
• คุณค่ าของคนถูกมองเป็ นเพียงปั จจัยการผลิต,
ทรัพยากร หรือ ทุนในการดาเนินธุรกิจ
• การศึกษาประวัตศาสตร์ สังคมศาสตร์ มนุษย์
ิ
ศาสตร์ จริยศาสตร์ เป็ นเรื่องไม่ สาคัญ
• คุณธรรม จริยธรรม ศาสนา เป็ นเรื่องน่ าหัวร่ อ
• คุณค่ าทางจิตวิญญาณถูกบดบังด้ วยคุณค่ าจาก
เงินทุน วัตถุ และ การบริโภค
การบริโภคคุณค่ าทางจิตวิญญาณ

• ศาสนาถูกใช้ ในเชิงการค้ า ใช้ หลักบริหารการตลาด
• มีสินค้ าทางศาสนาให้ เลือกบริโภคมากมาย เช่ น
- พระพุทธรูป เทวรูป พระเครื่อง วัตถุมงคลต่ างๆ
- พิธีกรรม ไสยศาสตร์ การทานายโชคชะตา
- หนังสือธรรมะ ถ้ อยธรรมะที่ถูกใจ
- “สมาธิ” “บุญ” และ “นิพพาน”
• เสพความพึงพอใจ สบายใจ สะใจ ภูมใจ สุขใจ
ิ
ผ่ านตา หู จมูก ลิน กาย และ ใจ เสพแล้ วเสพอีก
้
อยากได้ อะไรแปลกๆใหม่ ๆไม่ สนสุด
ิ้
บริษัท

บุคคลแต่ ละคน

ความคิด

จิตใจ

จิตวิญญาณ

พันธกิจ - ทาไม

ส่ งมอบ
ความพึงพอใจ
วิสัยทัศน์ - อะไร
ความสามารถ
คุณค่ า - อย่ างไร

ตระหนักและเข้ าถึงปฏิบัติและแสดงออก
แรงบันดาลใจ ความเข้ าใจและห่ วงใย
ความสามารถ

ความสามารถ

ทาให้ กาไร

ทาให้ กลับมาซ้าอีก ทาให้ ยงยืนถาวร
ั่

ดีกว่ าเดิม

สร้ างความแตกต่ าง ทาให้ รู้สึกแตกต่ าง

Marketing 3.0 by Philip Kotler การตลาด 3.0 โดย ฟิ ลิป คอตเลอร์
• มุ่งตอบสนองความต้ องการลึกๆในใจลูกค้ า
ลูกค้ าอาจยังไม่ ร้ ูชัดถึงความปรารถนาของตนเอง
• ความพึงพอใจเกิดไม่ นานก็หมดไป แล้ วก็เกิดใหม่
ความต้ องการทางจิตวิญญาณซ่ อนอยู่ข้างในเสมอ
• ถ้ าเข้ าถึงจิตวิญญาณที่ชักใยอยู่ข้างในของลูกค้ าได้
ลูกค้ าจะซือสินค้ าโดยง่ ายและไม่ เปลี่ยนแปลง
้
อาจถึงขันครอบงาจิตวิญญาณ ตกเป็ นทาสโดยไม่ ร้ ูตว
้
ั
การตลาดปลิดวิญญาณ
ความอยากและศรั ทธา บดบัง ปั ญญา
ความฉลาดทางจิตวิญญาณไม่ ได้ รับพัฒนา
• โลกปั จจุบันและอนาคต จะปลอดภัย
สวยงามน่ าอย่ ู เจริญรุ่ งเรื อง จริงหรื อ
• คนตกเป็ นทาส ติดกับระบบทุนนิยม
จิตวิญญาณถูกครอบงา ด้ วย
วัตถุนิยม บริโภคนิยม การตลาด 3.0
• คุณภาพชีวิต สุขภาพกาย สุขภาพใจ
มีแนวโน้ มต่าลงๆ
• ความเจริญที่เห็น เป็ น ความเจริญ
จอมปลอม เป็ นมายาภาพ หรื อไม่
• ความรู้ ทางวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และ
การจัดการ ยังไม่ ตอบโจทย์
• คนขาดที่พ่ ง หันไปพึ่งสิ่งศักดิ์สิทธิ์ และ
ึ
อานาจเหนือธรรมชาติ
ไม่ พยายามพึ่งตนเอง
• คนเห็นแก่ ตัวและพวกพ้ องมากขึน
้
แย่ งกันกอบโกยและบริโภค
• คนไม่ ยอมรั บความคิดเห็นที่แตกต่ าง
แบ่ งแยกตีกัน ขาดความเข้ าใจกัน
• คุณธรรม จริยธรรม ตกต่า
โลกเช่ นนี ้ เป็ นโลกที่คนยุคเรา จะสร้ าง
และทิงไว้ ให้ ลูกหลานรุ่ นต่ อๆไปหรื อ?
้
ถึ ง เวลาหรื อ ยั ง ? ที่ ทุ ก ศาสนา ทุ ก ระบบ
การศึ ก ษา จะปฏิ รู ป แนวทางปลู ก ฝั งคุ ณ ธรรม
และสร้ างความฉลาดทางจิตวิญญาณให้ กับผู้คน
ให้ มี ทักษะในการดาเนิ นชี วิต ควบคู่ ไ ปกั บ
ทักษะในการทางานเลียงชีพโดยชอบ และตอบ
้
โจทย์ ต่างๆให้ กับโลกยุคปั จจุบันและอนาคต
2,200 M
500
1,000

1,600

1,100
Buddhist Population (By % )

Buddhist Population (By population)

1
China
391,894,143
2 Japan
90,466,243
3 Thailand
61,517,708
4 Vietnam
41,767,788
5 Myanmar
38,618,517
6 Sri Lanka
14,045,343
7 Cambodia
12,654,574
8 Korea, South 11,297,002
9 India
7,561,850
10 Taiwan
5,723,596
11 Malaysia
4,599,002
12 Laos
3,730,284
13 Nepal
3,044,420
14 United States
2,957,341
15 Mongolia
2,595,882
16 Indonesia
2,032,580
17 Singapore
1,880,931
18 Bhutan
1,651,895
19 Bangladesh
721,598
20 Russia
717,101
แก้ ไขเมื่อ 18 มิ.ย. 54 13:06:54

30%
71%
94%
50%
90%
70%
93%
23.33%
0.7%
90%
19.2%
60%
11%
1%
93%
0.84%
42.5%
74%
0.5%
0.5%

1 Thailand
94%
61,517,708
2 Cambodia
93%
12,654,574
3 Mongolia
93%
2,595,882
4 Myanmar
90%
38,618,517
5 Bhutan
74%
1,651,895
6 Japan
71%
90,466,243
7 Sri Lanka
70%
14,045,343
8 Laos
60%
3,730,284
9 Vietnam
50%
41,767,788
10 Singapore
42.5%
1,880,931
11 China
30%
391,894,143
12 Taiwan
25%
5,723,596
13 Korea, South 23.33%
11,297,002
14 Malaysia
19.2%
4,599,002
15 Brunei
13%
48,406
16 Nepal
11%
3,044,420
17 United Arab Emirates 2%
51,264
18 Australia
1.9%
381,718
19 Korea, North 23.33%
5,345,411
20 New Zealand
1.08%
43,582
แก้ไขเมื ่อ 18 มิ .ย. 54 13:13:05
ธรรม หรือ ธรรมะ
1. ธรรมชาติ
2. กฎของธรรมชาติ
3. หน้ าที่ตามกฎของธรรมชาติ
4. การได้ รับผลตามกฎของธรรมชาติ
เต้ าเต๋ อจิง
คัมภีร์
แห่ ง
มรรคา
และ
คุณธรรม
เต้ าเต๋ อจิง บทที่ 25
“มีส่ ิงหนึ่งก่ อเกิดขึนโดยธรรมชาติ
้
ก่ อนฟาก่ อนดิน ไร้ รูปไร้ เสียง เป็ นอิสระ
้
ไม่ แปรเปลี่ยน ดารงอยู่ท่ วไป คงอยู่มร้ ูสิน
ั
ิ ้
เป็ นมารดาแห่ งฟาดิน
้
ข้ าฯ มิร้ ูช่ ือสิ่งนัน จึงขอเรียกว่ า “เต๋ า”
้
และเมื่อจาเป็ นต้ องอธิบาย ก็ขอเรียกว่ ายิ่งใหญ่
ยิ่งใหญ่ คือดาเนินไปไม่ มีสนสุด
ิ้
ดาเนินไปไม่ มีสินสุด คือความยาวไกล
้
ความยาวไกลถึงที่สุด ย่ อมกลับคืนสู่จุดเดิม”
เต้ าเต๋ อจิง บทที่16

“สรรพสิ่งในสากลโลกล้ วนโคจรตามวิถีทางของตน
เราจึงเห็นการกลับคืนสู่จุดเริ่มต้ นของสรรพสิ่ง
สรรพสิ่งทังหลายล้ วนต้ องกลับคืนสู่ภาวะดังเดิม
้
้
ซึ่งเป็ นภาวะแห่ งความสงบ
ภาวะแห่ งความสงบ คือตัวตนที่จริงแท้
ตัวตนที่จริงแท้ เป็ นภาวะยั่งยืน
เมื่อรู้ว่าอะไรคือภาวะยั่งยืน ก็จะเกิดความกระจ่ าง
ผู้ไม่ ร้ ูว่าอะไรคือความยั่งยืน มักทาอะไรหุนหัน
พลันแล่ น นามาซึ่งความหายนะในที่สุด”
แก่นคาสอนในภควัทคีตา
ร่ างกายนีไม่ ใช่ ของเธอ เธอก็ไม่ ใช่ สมบัติของร่ างนี้
้
ร่ างกายประกอบด้ วย ธาตุไฟ นา อากาศ ลม ดิน
้
ร่ างกายจะสลายไปเป็ นธาตุ แต่ อาตมันเท่ านั้นคงอยู่

แล้วเธอ คือ อะไร ?
การเปลียนแปลงอยู่ตลอดเวลา เป็ นกฎธรรมชาติของจักรวาล
่
สิ่ งทีเ่ ข้ าใจว่ าเป็ นความตาย ทีจริงคือ การมีชีวตอยู่
่
ิ
ขออย่ าให้ ความคิดต่ อไปนีอยู่ในใจของเธอ
้
“เธอ-ฉัน, ใหญ่ -เล็ก, ของฉัน-ของเขา”
ถ้ าทาได้ อย่ างนี้ ทุกสิ่ งก็จะเป็ นของเธอและเธอก็เป็ นของทุกคน
การเข้ าใจตัวเอง คือ
การจบสิ้นของความทุกข์
กฤษณมูรติ

ความทุกข์ จะจบสิ้นลงได้
เมื่อมีแสงสว่ างแห่ งความเข้ าใจเท่ านั้น
และแสงสว่ างนี้
มิได้ เกิดจากประสบการณ์ หนึ่งครั้ง
หรือความเข้ าใจที่สว่ างวาบขึนหนึ่งครั้ง
้
แต่ มันเป็ นความเข้ าใจ
ทีมีแสงสว่ างในตัวอยู่แล้วตลอดเวลา
่
ไม่ มีผู้ใดสามารถหยิบยืนสิ่ งนีให้ คุณได้
่
้
ไม่ ว่าจะเป็ นคัมภีร์ ครูบาอาจารย์
หรือ พระผู้ไถ่
กฤษณมูรติ ดับสินหนึ่งพันวันวาน - ความเข้ าใจ
้
 มีบางสิ่งซึ่งอยู่เหนือพ้ นจากจิต ที่จะวัดได้
สิ่งซึ่งวัดไม่ ได้ หาใช่ สภาวะที่จะคาดเอาได้
จะต้ องประสบตรงเท่ านัน หาใช่ ส่ งที่พบได้ ใน
้
ิ
คัมภีร์อุปนิษัท ภควคีตา ไบเบิล หรื อ หนังสือพุทธศาสนา
้
 สิ่งซึ่งวัดไม่ ได้ จะเกิดขึนได้ จากความเข้ าใจในตัวคุณเอง
้
ต่ อความสัมพันธ์ กับ ผู้คน ธรรมชาติ แนวความคิดต่ างๆ
 เมื่อเข้ าใจตนเองอย่ างสมบูรณ์ แล้ วจะค้ นพบ โดยไม่ ต้อง
มีการช่ วยเหลือจากใคร ไม่ มีสถาบันศาสนา ไม่ มีนักบวช
คนเป็ นส่ วนหนึ่งของทั้งหมด ที่เราเรียกว่ า จักรวาล
และเป็ นส่ วนทีถูกจากัดโดยเวลาและสถานที่
่
คน สร้ างประสบการณ์ มีความคิด และ ความรู้ สึก
ราวกับว่ าเป็ นบางสิ่ งบางอย่ าง ทีแยกออกมาจากส่ วนที่เหลือ
่
กลายเป็ นภาพลวงตาแบบหนึ่ง ที่จองจาจิตสานึกของเขา
ภาพลวงตานีแหละ คือ กรงขังของพวกเรา
้
จากัดเราให้ สนใจเฉพาะความปรารถนาส่ วนตัวของเรา
รักเฉพาะคนบางคนทีอยู่ใกล้ ชิดกับเรามากทีสุด
่
่
ภาระหน้ าที่ของเรา คือ เราจะต้ องปลดปล่ อยตนเองจากกรงขังนี้
โดยการขยายวงจรแห่ งความรัก ความมีเมตตาของเรา
ให้ ครอบคลุมถึงสิ่ งมีชีวตทุกสิ่ งและธรรมชาติท้งหมดทีสวยงาม
ิ
ั
่
คนเป็ นส่ วนหนึ่งของทั้งหมด ที่เราเรียกว่ า จักรวาล
และเป็ นส่ วนทีถูกจากัดโดยเวลาและสถานที่
่
คน สร้ างประสบการณ์ มีความคิ คนเรารู้ ึ ก
สิ่งที่เราเรียกว่ า ธรรมะ ถูดกและ ความรู้สจักและยึดถือ
ราวกับว่ ากษณะรูบางอย่งทีทีแิดแปลกแตกต่ างกัน
ในลัเป็ นบางสิ่ง ปร่ าาง ่ ผ่ ยกออกมาจากส่ วนที่เหลือ
กลายเป็ นภาพลวงตาแบบหนึ่ง ที่จวยความยึของเขา
หลายประการ ด้ องจาจิตสานึก ดมั่น
ภาพลวงตานีแหละ คือ กรงขังของพวกเรา ะคน
้ พระธรรมของแต่ ล
จากัดเราให้ สนใจเฉพาะความปรารถนาส่ วนตัวของเรา
กลับเป็ นภูเขาขวางวิถีแห่ งพุทธธรรมของเขาเอง
รักเฉพาะคนบางคนทีอยู่ใกล้ ชิดกับเรามากทีสุด
่
่
เพราะความยึดถือ เมื่อยึดถือไว้ ต่างกัน
ภาระหน้ าที่ของเรา คือ เราจะต้ องปลดปล่ อยตนเองจากกรงขังนี้
โดยการขยายวงจรแห่ งความรัก ความมีเมตตาของเรา
ให้ ครอบคลุมถึงสิ่ งมีชีวตทุกสิ่ งและธรรมชาติท้งหมดทีสวยงาม
ิ
ั
่
เคล็ดลับของความสาเร็จในการเผยแพร่ คาสอนของข้ าพเจ้ า
คือ ไม่ มีศาสนา
มีแต่ เรื่ องของจิตใจ ซึ่ง เป็ นเรื่ องที่มีอยู่ในมนุษยชาติทุกคน
ธรรมะ เป็ นของสากล จะเรียกอะไรก็ได้
ใครก็ตามแม้ นไม่ ร้ ู จักพระพุทธศาสนา
ก็เข้ าถึงพระธรรมได้
ธรรมะที่แท้ จริง ไม่ มีศาสนา มันอยู่กับเราทุกคน
ทุกหนแห่ งทุกเวลา ในการศึกษา ในการทางาน
ในการดารงชีวิตประจาวัน ในธรรมชาติ
ไม่ จากัด เชือชาติ วัฒนธรรม ศาสนา
้
พระพุทธศาสนา ที่แท้ จริง
ไม่ จาเป็ นต้ องเรียกว่ า พระพุทธศาสนา
คุณธรรม หมายถึง สภาพคุณงามความดี,
คุณสมบัตท่ เสริมสร้ างจิตใจให้ ดีงาม
ิ ี
ให้ เป็ น
จิตใจที่สูง ประณีตและประเสริฐ, อุปนิสัยอันดี
งามซึ่งสั่งสมอยู่ในดวงจิต
จริยธรรม คือ หลักแห่ งความประพฤติ หรือ
แนวทางการปฏิบัติท่ ดีงาม เพื่อประโยชน์ สุขของ
ี
ตนเองและส่ วนรวม
ตังอยู่บนพืนฐานของ
้
้
ข้ อตกลงร่ วมกัน ขนบธรรมเนียมประเพณี และ
หลักศาสนา (เรียกว่ า ศีลธรรม)
คุณธรรม จริยธรรม ต้ องค่ ูกัน
เหมือน ใจ กับ กาย
ต้ องมีปัญญา กากับ
อาจแบ่ งได้ เป็ น 3 ระดับ
ระดับพืนฐาน (Heart – EQ)
้
ระดับบริหารจัดการ (Mind – IQ)
ระดับจิตวิญญาณ (Spirit – SQ)
คุณธรรม จริยธรรม สร้ าง “คุณค่ า”
“คุณค่ า” ที่สัมผัสไม่ ได้ และ สัมผัสได้
(Intangible Value – Tangible Value)
คุณธรรม สร้ าง “คุณ” – คุณค่ าที่สัมผัสไม่ ได้
จริยธรรม สร้ าง “ค่ า” - คุณค่ าที่สัมผัสได้
คุณธรรม พืนฐาน
้
 ความรัก ความห่ วงใย
 ความรับผิดชอบต่ อหน้ าที่
 ความกตัญํูกตเวที
 ความซื่อสัตย์ สุจริต
 ความเที่ยงธรรม
 ความเสียสละ
 การให้ อภัย
เบญจศีล - เบญจธรรม

1. ไม่ ฆ่าสัตว์ – เมตตากรุ ณา
2. ไม่ ลักทรั พย์ – สัมมาอาชีพ
3. ไม่ ประพฤติผิดในกาม – อินทรี ย์สังวร
4. ไม่ พดเท็จ – สัจจะ
ู
5. ไม่ ด่ มสุรา - สติสัมปชัญญะ
ื
ศีล สร้ างหลักประกันชีวิตและสังคม
ประกันชีวิตด้ วย

ศีลข้ อ ๑

ประกันทรั พย์ สินด้ วย

ศีลข้ อ ๒

ประกันครอบครั วด้ วย

ศีลข้ อ ๓

ประกันสังคมด้ วย

ศีลข้ อ ๔

ประกันสติปัญญาด้ วย

ศีลข้ อ ๕
ศีล
 ใช้ กาหนดคุณสมบัตพุทธบริษัท เป็ นหลักจัดการองค์ กร
ิ
 ใช้ เป็ นเครื่ องฝึ กสติ ปั ญญา สร้ างบารมี
 ใช้ เป็ นเครื่ องฝึ กตบะ ฝื นกิเลส ฝื นสัญชาติญาณ
 ใช้ เป็ นเครื่ องฝึ กมารยาทสังคม
 ใช้ เป็ น KPI วัดผลการปฏิบัตของคนและองค์ กร
ิ
 สร้ างวินัยและความเป็ นระเบียบเรี ยบร้ อย
 สร้ างหลักประกันให้ ชีวิตและสังคม
 ทาให้ เกิดความประหยัด และ ประสิทธิภาพ
จริยธรรมในการบริหารจัดการ
 จริยธรรมในการทาธุรกิจ
 จริยธรรมในการประกอบอาชีพ
 ธรรมาภิบาล
 การพัฒนาอย่ างยั่งยืน
การพัฒนาแบบยังยืน
่
(Sustainable Development)
การเติบโตทางเศรษฐกิจ
Economic Growth

การพัฒนาแบบยังยืน
่
การรักษาสิ่ งแวดล้ อม
Environmental
Performance

Sustainable
Development

ความรับผิดชอบต่ อสั งคม
Corporate Social
Responsibility
ความฉลาดทางจิตวิญญาณ
ทุกคนมีต้นทุนความฉลาดทางจิตวิญญาณเท่ ากัน
•
•
•
•

ความฉลาดทางจิตวิญญาณ
เข้ าใจตนเอง เข้ าใจชีวิต เข้ าใจธรรมชาติ
มีวิสัยทัศน์ ชัดเจน และ เฉียบคม
สร้ างความสาเร็จในชีวิตทุกด้ าน
มีจตใจเป็ นอิสระ มีสันติสุข
ิ
พุทธะ พุทธภาวะ
ผู้ใดเห็นธรรม ผู้น้ันเห็นตถาคต
พระธรรม มีอยู่แล้วก่อนตถาคต
พุทธะ พุทธจิต พุทธภาวะ
พุทธะ คือ ผู้รู้ ผู้ตน ผู้เบิกบาน
ื่
จิต คือ พุทธะ พระพุทธเจ้ าทั้งปวง และสั ตว์ โลกทั้งสิ้น
ไม่ ได้ เป็ นอะไรเลย นอกจากเป็ นเพียง จิตหนึ่ง
พุทธะ มีอยู่แล้ วในเราทุกคน ไม่ ใช่ อยู่ภายนอกหรือภายใน
ขอเพียงลืมตาขึน เข้ าใจความเป็ นจริงตามธรรมชาติ
้
หยุดคิดดีคดชั่ว นั่นแหละ คือ หน้ าตาดั้งเดิมของท่ าน
ิ

ใจทีเ่ ป็ นกลาง นั่นแหละ คือ พุทธะ
Awakening the Buddha-Mind
The Buddha-Mind is nothing
Other than the mind that urges service
On behalf of the world and its people
before our own affairs.
Because we focus on ourselves,
this takes a struggle,
but when the Buddha-mind is awaked
Even hard effort changes into
something worth living for.
ความท้ าทายของพระพุทธศาสนา 3.0

• ทุกอย่ างมีพร้ อมอยู่แล้ วในพระธรรม
• รู ปแบบและวิธีการสามารถปรั บเปลี่ยนได้
แต่ แก่ นธรรมแท้ ยังคงดารงอยู่ในทุกกาลและสถานที่
• ธรรมะ คือ ธรรมชาติ คือ เรื่ องของคน ธรรมชาติ
ของคน การพัฒนาคน
• สิ่งสาคัญที่สุด ก็คือ ใช้ ปัญญานา
ปรั บให้ เหมาะสม และ เรี ยนรู้ ทุกลมหายใจ
• สร้ างความฉลาดทางจิตวิญญาณ (SQ) พร้ อมๆกับ
ความฉลาดทางเชาว์ ปัญญา (IQ) และความฉลาด
ทางอารมณ์ (EQ)
พระพุทธศาสนา 3.0
•
•
•
•
•

ประยุกต์ วธีการเรียนรู้ ให้ เข้ ากับคนในยุคปัจจุบัน
ิ
คงแก่นธรรม และ เนือแท้ ของพระธรรมวินัยไว้
้
เน้ นความเข้ าใจ คุณค่ า และ การนามาใช้ ในชีวตจริง
ิ
Learn How to Learn เริ่มจากความถูกต้ อง
บ่ มเพาะปัญญา จากการวิเคราะห์ สั งเคราะห์ และ การนามาปฏิบัติจริง
ให้ เกิดเป็ นปัญญาของตนเอง
• เรียนรู้พระพุทธเจ้ าในมุมมองของวิทยาศาสตร์ และ การบริหารจัดการ
ในฐานะผู้นา และ Role Model
• เรียนรู้การแสดงธรรมของพระพุทธเจ้ าให้ ครบทุกด้ าน ทั้งเนือหา ทีมาที่
้
่
ไป หลักการเหตุผล วิธีการ และ ผลรับ
• เปาคือ พึงตนเองได้ เรียนเองเป็ น คิดเองเป็ น ช่ วยตนได้ ช่ วยคนอืนได้
้
่
่
• เข้ าใจ
• เข้ าถึง
• พัฒนา
ปริยติ ปฏิบัติ ปฏิเวธ
ั
พุทธศาสนา 3.0
เริ่มจาก ความเข้ าใจ
 เข้าใจ พระพุทธเจ้า CEO ทางธรรม พุทธภาวะ
 เข้าใจ พระธรรม วิทยาศาสตร์ กฎธรรมชาติ
 เข้าใจ พระพุทธศาสนา พุทธบริ ษท
ั
 เข้าใจ โลก สังคม เพื่อน ครอบครัว
 เข้าใจ อาชีพ งาน สิ่ งแวดล้อม ผูเ้ กี่ยวข้องในงาน
 เข้าใจ ชีวต ปั ญหา เป้ าหมาย ตัวเองทั้งกายและจิต
ิ
 เข้าใจ คุณค่า จิตวิญญาณ ตัวตนที่แท้จริ ง
เข้ าใจและระลึกถึงพระคุณของพระพุทธเจ้ า





พระเมตตาคุณ พระปัญญาคุณ พระบริสุทธิคุณ
พระพุทธคุณ ต่ อ ชาวโลก
พระพุทธคุณ ต่ อ ชาวไทย
พระพุทธคุณ ต่ อ ตัวเรา

ระลึกถึง พระพุทธคุณ ด้ วย ประสบการณ์ จริง และ ปัญญา
พระพุทธเจ้ าในฐานะ CEO ทางธรรม
 พุทธศาสดา แบบอย่ างของผู้นาทางธรรม
 พุทธกิจ บทบาทหน้ าทีของ ผู้นาทางธรรม
่
 อนุสาสนีปาฏิหาริย์ พุทธอุบายในการแสดงธรรม
 กลยุทธ์ ในการเผยแพร่ ธรรม
 พระธรรมวินัย
 พุทธบริษท
ั
พุทธศาสดา แบบอย่ าง ผู้นาทางธรรม
 เป็ นผู้นาทีฉลาด มีวสัยทัศน์ มีเมตตา และ โปร่ งใส
่
ิ
 ยอมสละความสุ ขสบายส่ วนตัว และ มีม่ ุงมัน
่
ทีจะค้ นหาวิธีแก้ ปัญหาให้ ตนเอง และ ผู้อน
่
ื่
 เป็ นคนธรรมดา ทีสามารถบรรลุธรรมและเป็ นศาสดา
่
 เคารพและเคร่ งครัดต่ อพระวินัย ทีพระองค์ บัญญัติ
่
 ปฏิบัตพทธกิจอย่ างสมาเสมอจนปรินิพพาน
ิ ุ
่
 ปฏิบัตพทธกิจด้ วยความอดทนและทุ่มเท
ิ ุ
 ทรงเป็ นแบบอย่ างของ บรมครู Super Coach
พุทธกิจ บทบาทหน้ าทีของผู้นาทางธรรม
่






บิณฑบาต
แสดงพระธรรมเทศนาแก่ ชนทั่วไป
ประทานโอวาทแก่ พระภิกษุ
พยากรณ์ ปัญหาแก่ พระราชาและเทวดา
พิจารณาตรวจดูผ้ ูทพระองค์ จะโปรดต่ อไป
ี่
อนุสาสนีปาฏิหาริย์ พุทธอุบายในการแสดงธรรม









ทรงใช้ อุบายแยบคาย หลากหลาย ปรับตามสถานการณ์
ทรงใช้ วธีสอนตามความรู้ ความเข้ าใจของแต่ ละคน
ิ
ทรงเทศนาด้ วยคาพูดทีไพเราะ ฟังง่ าย จาง่ าย ยาทบทวน
่
้
ทรงสอนให้ ใช้ ปัญญา อย่ าเชื่อโดยไม่ ไตร่ ตรอง ลองปฏิบัติ
ทรงใช้ กรณีตัวอย่ าง
ทรงสั่ งสอนแบบต่ อยอด ล้ างความยึดมัน ไม่ ยดเยียดให้ จา
่
ั
ทรงใช้ เทคนิคแบบโค้ ช ให้ คดเข้ าใจด้ วยตนเอง
ิ
ถามให้ คดเอง ตอบด้ วยคาถาม จีให้ สะดุ้งคิด
ิ
้
กลยุทธ์ ในการเผยแพร่ ธรรม
 ทรงประกาศวิสัยทัศน์ พันธกิจ และ นโยบาย ชัดเจน
 ทรงกาหนดกลุ่มเปาหมาย และ พืนทีเ่ ปาหมาย
้
้ ้
เช่ น การโปรดปัญจวัคคีย์ ชฎิล 3 พีน้อง พระเจ้ าพิมพิสาร
่
 ทรงใช้ พลังมวลชน โน้ มน้ าวให้ เกิดศรัทธา เปิ ดใจฟังธรรม
 ทรงสร้ างบุคลากร และ ให้ แยกย้ ายกันไปเผยแพร่ พระธรรม
 ทรงสร้ างแม่ ทพธรรม อัครสาวกซ้ ายขวา ยกย่ องเอกทัคคะ
ั
 ทรงสร้ างองค์ กรพุทธบริษท ใช้ พระธรรมวินัย เป็ นแกน
ั
 กาหนดให้ สร้ างสั งเวชนียสถาน เพือปลงสั งเวชและภาวนา
่
โอวาทปาติโมกข์ : อุดมการณ์ 4 หลักการ 3 วิธีการ 6
อุดมการณ์ 4 = วิสัยทัศน์
สร้ างบรมสุ ขภายในและภายนอก ด้ วยความอดทนอดกลั้น
ไม่ ทาร้ ายและเบียดเบียนตนเองและผู้อน
ื่

หลักการ 3 = กลยุทธ์
ละอกุศล สร้ างกุศล ทาใจให้ บริสุทธิ์

วิธีการ 6 = พันธกิจ
ไม่ กล่ าวร้ าย ไม่ ทาร้ าย สารวมในปาติโมกข์
รู้ จักประมาณในอาหาร นั่งนอนในทีสงัด เพียรยกระดับจิต
่
พระธรรมวินัย
 สมัยพระพุทธเจ้ า ทรงเรียกคาสั่ งสอนของพระองค์ ว่า
พระธรรมวินัย โดยใช้ ปัญญา นา ศรัทธา
 กาหนดให้ พระธรรมวินัย เป็ น ศาสดา แทนพระองค์
 บัญญัตพระวินัย ตามเหตุการณ์ และ ประชาวิจารณ์
ิ
 ใช้ หลักประชาธิปไตยในการบริหารคณะสงฆ์
 ใช้ หลักอาวุโส แทน การแบ่ งแยกชนชั้น และ วรรณะ
 ใช้ หลักความเรียบง่ าย อยู่ง่าย ไม่ สร้ างภาระ ไม่ สะสม
 ใช้ หลักความอ่ อนน้ อม ลดอัตตา
พุทธบริษท
ั
 พุทธบริษท คือ Social Enterprise ทีมอายุนาน 2,600 ปี
ั
่ ี
 พระพุทธเจ้ า เป็ น CEO พระองค์ แรก
 หน้ าทีของพุทธบริษท ตามพุทธปณิธานก่ อนปรินิพพาน
่
ั
ศึกษาธรรม ปฏิบัติธรรม เผยแผ่ ธรรม ตอบปัญหาธรรมได้
 แต่ ละคน มีบทบาทหน้ าทีของตนเอง แต่ ต้องสั มพันธ์ กน
่
ั
 ทุกฝ่ ายต้ องร่ วมกันดูแลรักษา ทาให้ บริษทมันคง ก้ าวหน้ า
ั ่
 สร้ างคุณค่ าให้ ตนเอง สั งคม ด้ วยสติ ปัญญา ความไม่ ประมาท
 มีความแตกต่ าง ทีเ่ หมือนกัน หนึ่งจุดหมาย หลายหนทาง
ปฐมเทศนา
ทาไมต้ องแสดงพระธัมมจักกัปปวัตตนสู ตร ?
 อยู่ในระดับกลาง เหมาะกับคนทัวไป ไม่ เจาะจง
่
 ครบถ้ วน ครอบคลุมทั้ง ปริยติ ปฏิบัติ ปฏิเวธ
ั
 ง่ ายต่ อคนเริ่มศึกษา จะเข้ าใจ และ เริ่มลงมือปฏิบัติ
 เป็ นเรื่องของมนุษย์ ทุกคน เข้ าได้ กบทุกชาติ ศาสนา
ั
 ประยุกต์ ใช้ กบชีวตประจาวัน และ การบริหารงานได้
ั ิ
 เป็ นกฎแห่ งธรรมชาติ ทีทรงค้ นพบ ไม่ จากัดกาล
่
ตราบใดทียงมีมนุษย์ พระธรรมจักรก็จะยังหมุนไปได้
่ั
จุดสาคัญในพระธัมมจักกัปปวัตตนสู ตร

 ความสุ ข - ความทุกข์ สิ่ ง 2 สิ่ งทีเ่ ป็ นคู่ และตรงกันข้ าม
 ทางปฏิบัติ 2 วิธีทตรงข้ าม และ ทางสายกลาง
ี่
 เหตุ และ ผล ความต่ อเนื่องกันของเหตุผล ตถตา
 อริยสั จ 4 ทุกข์ สมุทย นิโรธ มรรค
ั
 กระบวนการศึกษาต้ องหมุนรอบไปข้ างหน้ าเรื่อยจนจบ
 ปริยติ ปฏิบัติ ปฏิเวธ - เข้ าใจ เข้ าถึง พัฒนา
ั
 ขั้นตอนการพัฒนา : ความเข้ าใจ, ทักษะ, ความสงบ,
ปัญญา, วิชา(อภิญญา), ความรู้ แจ้ ง รู้ พร้ อม และ
นิพพาน
อริยสั จ 4 การบริหารกลยุทธ์ ฉบับอริยะ
1. ทุกข์ เป็ นผล คือ สภาพทีทนได้ ยาก ปัญหา
่
2. สมุทย เป็ นเหตุ ได้ แก่ ตัณหา อุปาทาน อวิชชา
ั
ความไม่ รู้ ยึดในสิ่ งผิด อยากสบาย ไม่ อยากเหนื่อย
3. นิโรธ เป็ นผล คือ ความดับทุกข์ เป้ าหมาย
4. มรรค เป็ นเหตุ คือ หนทางดับทุกข์ วิธีแก้ ปัญหา
ทางพ้นทุกข์ คือ มัชฌิมาปฏิปทา หรือ ทางสายกลาง
มรรค 8 มัชฌิมาปฏิปทา









เห็นชอบ จุดเริ่มต้ น และ จุดสิ้นสุ ด ของทางสายกลาง
คิดชอบ คิดดี มีระบบ มีลาดับความคิด
พูดชอบ พูดดี ถูกกาลเทศะ มีคุณค่ า
กระทาชอบ ทาดี ถูกกาลเทศะ มีคุณค่ า
อาชีพชอบ หน้ าทีการงาน และ การดารงชีวต
่
ิ
เพียรชอบ วางแผนและทบทวน เพือแก้ ไข-ปองกัน
่
้
สติชอบ อยู่กบปัจจุบัน และ ระลึกถึงสิ่ งตั้งใจไว้
ั
สมาธิชอบ ตั้งใจมุ่งมันอยู่ในเรื่องเดียว ไร้ นิวรณ์
่
หลวงปู่ เทสก์ เทสรังสี

 มรรค 8 เป็ นทางดาเนินด้ วยใจ ถึงแม้ นจะแสดงออกมาให้ เป็ นศีล
ก็แสดงศีลในองค์ มรรคนั่นเอง มรรคแท้ มีอนเดียว คือ สั มมาทิฏฐิ
ั
อีก 7 ข้ อเบืองปลายเป็ นบริวารบริขารของสั มมาทิฏฐิท้งนั้น
้
ั
หากขาดสั มมาทิฏฐิตัวเดียวแล้ว สั มมาสั งกัปปะเป็ นต้ นย่ อมเป็ นไปไม่ ได้
 สั มมาทิฏฐิ คือ ความเห็นชอบ พอปัญญาสั มมาทิฏฐิเกิดขึนเท่ านั้นแหละ
้
มันก็เป็ นองค์ มรรค 8 สมบูรณ์ บริบูรณ์ เลย
 เหตุน้ัน มรรค 8 รวมอยู่ในทีเ่ ดียวกัน รวมอยู่ในจุดเดียวกัน
เมื่อจิตเป็ นสมาธิแน่ วแน่ เต็มทีแล้ว สั มมาทิฏฐิความเห็นชอบก็เกิด
่
ณ ทีสัมมาสมาธิน้ันเอง คือเห็นทุกข์ เห็นสมุทย
่
ั
ส่ วนจะละได้ มากน้ อยขนาดไหนก็แล้วแต่ กาลังปัญญาสั มมาทิฏฐิของตนๆ
เมื่อละได้ แล้ว นิโรธความดับเย็นขนาดไหนก็จะปรากฎขึนเฉพาะตนในทีน้ัน
้
่
ความเข้ าใจ เกิดขึนภายในใจเราเอง
้
ไม่ ได้ จามา ไม่ ยดติดกับคาจากัดความ
ึ
เป็ นการมองในภาพรวม ทุกด้ าน
เป็ นแก่ นแท้ เนือแท้ ของเรื่องราว
้
บูรณาการ เชื่อมโยง ไม่ ตดขัด
ิ
สอดคล้ องกับความจริงตามธรรมชาติ
ไม่ ใช่ เป็ นความรู้ สึก ชอบไม่ ชอบ
ไม่ ใช่ นึกคิด ปรุงแต่ งเอาเอง
ไม่ มถูก ไม่ มผด ไม่ มดี ไม่ มชั่ว
ี
ี ิ
ี
ี
ไม่ ใช่ ความเข้ าใจของเรา ของเขา ของใคร
ไตรสิ กขา ศีล สมาธิ ปัญญา
•
•
•
•
•
•
•
•
•

เป็ นแนวทาง แผนที่ เครื่องนาทาง วิธีการ กระบวนการ
เป็ นหลัก ทีเ่ มือปฏิบัตจริง ต้ องปรับให้ เข้ ากับผู้ปฏิบัติ
่
ิ
มุ่งการพัฒนาจิตใจ และ ความฉลาดทางจิตวิญญาณ
ปรับให้ เข้ ากับหลักการทางาน การบริหารงานได้ อย่ างดี
ทาให้ บรรลุเปาหมาย สร้ างคุณค่ าครบทั้งสองด้ าน
้
ศีล คือ ระบบ ระเบียบ วินัย ที่ต้องฝึ ก ทา ให้ เป็ นปกติ
สมาธิ คือ ใจมุ่งมันผูกพันแน่ วแน่ เป็ นหนึ่งเดียวกัน
่
ปัญญา คือ ความรู้ ทักษะ Core Competency
ไตรสิ กขา ต้ องใช้ ควบกับ ไตรลักษณ์
บทสรุป พระพุทธศาสนา 3.0
พุทธศาสนา 3.0 พุทธศาสนาเชิงประยุกต์
ไม่ จาเป็ นต้ องเรียกว่ า พุทธ แต่ อยู่ได้ ในทุกแห่ ง
 เรียนรู้ ศาสตร์ ทุกศาสตร์ ทจาเป็ นต่ อชีวต จาเป็ นต่ อสถานการณ์
ี่
ิ
เรียนรู้ศาสตร์ ทเี่ หมาะกับตน ปรับให้ เข้ า เป็ นหนึ่งเดียวกับตน
 เมื่อเรียนรู้ ก็เรียนรู้ให้ เข้ าใจถึงหลักการ แก่นแท้ จิตวิญญาณ
 พุทธศาสตร์ ก็เหมาะกับ คนพุทธ คนทีสนใจพุทธ
่
คริสต์ ก็เหมาะกับคนคริสต์ อิสลามก็เหมาะกับคนอิสลาม
 แต่ ไม่ ว่าศาสตร์ เมื่อเข้ าใจถ่ องแท้ ถึงทีสุดแล้ว
่
สุ ดท้ าย ก็จะเข้ าประตูเดียวกัน ประตูทไม่ มีประตู
ี่
 พุทธะคือ ธรรมชาติของมนุษย์ อยู่ในคนทุกคน เหมือนกัน
ไม่ จาเป็ นต้ องเรียกว่ า พุทธะ และ ไม่ จาเป็ นต้ องไปเพิมเติมเข้ าไปอีก
่
 รู้ จกและเข้ าใจตนเอง
ั
 กาหนดเปาหมาย และ สิ่ งทีต้องการจริงๆในชีวตทุกๆด้ าน
้
่
ิ
 เปิ ดใจ เรียนรู้ เพือบ่ มเพาะปัญญาทีจะทาให้ บรรลุเปาหมาย
่
่
้
 เลือก และ ทดลองใช้ เครื่องมือทีเ่ ห็นว่ า เหมาะสม
 เดินบนเส้ นทางของตนเอง ไม่ ก้าวก่ ายเส้ นทางของคนอืน
่
 ใช้ ความสงบ นิ่ง ฟัง เรียนรู้ ไม่ ด่วนตัดสิ นใคร
 ใช้ ปัญญา วิเคราะห์ แยกแยะ เข้ าใจภาพรวมให้ หมดทุกด้ าน
 ตัดสิ นใจ บนความเป็ นกลาง
 ขยายขอบเขตความเข้ าใจ ความช่ วยเหลือ และ คุณค่ าให้ คนอืน
่
 แชร์ ความสุ ขใจทีได้ จากการพัฒนาตนเองและเป็ นผู้ให้
่
การศึกษา ต้ องเริ่มจากตนเองก่ อนเสมอ
จากภายนอกเข้ าภายใน
จากภายในออกภายนอก
เรียนปริญญาตรี ปริญญาโท ปริญญาเอก
ทิงปริญญาตรี โท เอก
้
ใช้ Common Sense ใช้ จิตวิญญาณ
รู้หนึ่งเท่ ากับรู้ท้งหมด
ั
รู้ท้งหมดเท่ ากับรู้หนึ่ง
ั
ถ้ าเส้ นทางที่เลือกเดิน เครื่องมือที่เลือกใช้
เริ่มจาก พุทธศาสนา
ตอบแทนคุณ ตามหน้ าทีของพุทธบริษท
่
ั
เผยแพร่ ธรรม และ ตอบปัญหาธรรม
เพือสร้ างความเข้ าใจทีถูก และ ปกป้ องพระธรรม
่
่
ผู้ทเี่ ดินอยู่บนเส้ นทางแห่ งคุณธรรม
ย่ อมพบกันเสมอ

สวัสดีครับ

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

เอกสารเผยแพร่โครงงานสุขภาพ
เอกสารเผยแพร่โครงงานสุขภาพ เอกสารเผยแพร่โครงงานสุขภาพ
เอกสารเผยแพร่โครงงานสุขภาพ tassanee chaicharoen
 
ต้องทำแบบคนจน
ต้องทำแบบคนจนต้องทำแบบคนจน
ต้องทำแบบคนจนDinhin Rakpong-Asoke
 
ใบความรู้ จิตตปัญญาศึกษา
ใบความรู้  จิตตปัญญาศึกษาใบความรู้  จิตตปัญญาศึกษา
ใบความรู้ จิตตปัญญาศึกษาsaengpet
 
กลุ่มตนเป็นที่พึ่งแห่งตน --นิเวศวิทยากับศาสนา
กลุ่มตนเป็นที่พึ่งแห่งตน --นิเวศวิทยากับศาสนากลุ่มตนเป็นที่พึ่งแห่งตน --นิเวศวิทยากับศาสนา
กลุ่มตนเป็นที่พึ่งแห่งตน --นิเวศวิทยากับศาสนาfreelance
 
หลักธรรม ของ นักบริหาร
หลักธรรม ของ นักบริหารหลักธรรม ของ นักบริหาร
หลักธรรม ของ นักบริหารPanuwat Beforetwo
 
9way2be richer
9way2be richer9way2be richer
9way2be richerisaramak
 
คุณธรรมและจริยธรรมของผู้บริหาร
คุณธรรมและจริยธรรมของผู้บริหารคุณธรรมและจริยธรรมของผู้บริหาร
คุณธรรมและจริยธรรมของผู้บริหารTaraya Srivilas
 
074หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
074หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา074หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
074หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาniralai
 
จิตปัญญาศึกษา จำเรียง
จิตปัญญาศึกษา  จำเรียงจิตปัญญาศึกษา  จำเรียง
จิตปัญญาศึกษา จำเรียงchamriang
 
เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖
เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖
เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖Anchalee BuddhaBucha
 
การ เรียนรู้เพื่อพัฒนากระบวนการคิด
การ เรียนรู้เพื่อพัฒนากระบวนการคิดการ เรียนรู้เพื่อพัฒนากระบวนการคิด
การ เรียนรู้เพื่อพัฒนากระบวนการคิดSununtha Putpun
 
Psychology1
Psychology1Psychology1
Psychology1New Born
 
Presentation 5
Presentation 5Presentation 5
Presentation 5moohmed
 
จิตวิทยาพัฒนาการ
จิตวิทยาพัฒนาการจิตวิทยาพัฒนาการ
จิตวิทยาพัฒนาการRukvicha Jitsumrawy
 
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาprimpatcha
 
การนำเสนอคุณธรรมและจริยธรรมสำหรับผู้นำ3
การนำเสนอคุณธรรมและจริยธรรมสำหรับผู้นำ3การนำเสนอคุณธรรมและจริยธรรมสำหรับผู้นำ3
การนำเสนอคุณธรรมและจริยธรรมสำหรับผู้นำ3ฟองเพียร ใจติ๊บ
 
ประวัติและวิวัฒนาการแนวความคิดทางปรัชญา
ประวัติและวิวัฒนาการแนวความคิดทางปรัชญาประวัติและวิวัฒนาการแนวความคิดทางปรัชญา
ประวัติและวิวัฒนาการแนวความคิดทางปรัชญาPadvee Academy
 

Was ist angesagt? (20)

บทความวิชาการ โยนิโสมนสิการ
บทความวิชาการ โยนิโสมนสิการบทความวิชาการ โยนิโสมนสิการ
บทความวิชาการ โยนิโสมนสิการ
 
เอกสารเผยแพร่โครงงานสุขภาพ
เอกสารเผยแพร่โครงงานสุขภาพ เอกสารเผยแพร่โครงงานสุขภาพ
เอกสารเผยแพร่โครงงานสุขภาพ
 
ต้องทำแบบคนจน
ต้องทำแบบคนจนต้องทำแบบคนจน
ต้องทำแบบคนจน
 
ใบความรู้ จิตตปัญญาศึกษา
ใบความรู้  จิตตปัญญาศึกษาใบความรู้  จิตตปัญญาศึกษา
ใบความรู้ จิตตปัญญาศึกษา
 
กลุ่มตนเป็นที่พึ่งแห่งตน --นิเวศวิทยากับศาสนา
กลุ่มตนเป็นที่พึ่งแห่งตน --นิเวศวิทยากับศาสนากลุ่มตนเป็นที่พึ่งแห่งตน --นิเวศวิทยากับศาสนา
กลุ่มตนเป็นที่พึ่งแห่งตน --นิเวศวิทยากับศาสนา
 
หลักธรรม ของ นักบริหาร
หลักธรรม ของ นักบริหารหลักธรรม ของ นักบริหาร
หลักธรรม ของ นักบริหาร
 
9way2be richer
9way2be richer9way2be richer
9way2be richer
 
คุณธรรมและจริยธรรมของผู้บริหาร
คุณธรรมและจริยธรรมของผู้บริหารคุณธรรมและจริยธรรมของผู้บริหาร
คุณธรรมและจริยธรรมของผู้บริหาร
 
074หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
074หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา074หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
074หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
 
จิตปัญญาศึกษา จำเรียง
จิตปัญญาศึกษา  จำเรียงจิตปัญญาศึกษา  จำเรียง
จิตปัญญาศึกษา จำเรียง
 
เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖
เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖
เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖
 
การ เรียนรู้เพื่อพัฒนากระบวนการคิด
การ เรียนรู้เพื่อพัฒนากระบวนการคิดการ เรียนรู้เพื่อพัฒนากระบวนการคิด
การ เรียนรู้เพื่อพัฒนากระบวนการคิด
 
Psychology1
Psychology1Psychology1
Psychology1
 
Presentation 5
Presentation 5Presentation 5
Presentation 5
 
จิตวิทยาพัฒนาการ
จิตวิทยาพัฒนาการจิตวิทยาพัฒนาการ
จิตวิทยาพัฒนาการ
 
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
 
04chap2
04chap204chap2
04chap2
 
การนำเสนอคุณธรรมและจริยธรรมสำหรับผู้นำ3
การนำเสนอคุณธรรมและจริยธรรมสำหรับผู้นำ3การนำเสนอคุณธรรมและจริยธรรมสำหรับผู้นำ3
การนำเสนอคุณธรรมและจริยธรรมสำหรับผู้นำ3
 
ประวัติและวิวัฒนาการแนวความคิดทางปรัชญา
ประวัติและวิวัฒนาการแนวความคิดทางปรัชญาประวัติและวิวัฒนาการแนวความคิดทางปรัชญา
ประวัติและวิวัฒนาการแนวความคิดทางปรัชญา
 
Km
KmKm
Km
 

Andere mochten auch

บทที่ 6 การสนทนา
บทที่ 6 การสนทนาบทที่ 6 การสนทนา
บทที่ 6 การสนทนาAj.Mallika Phongphaew
 
งานพรรณ
งานพรรณงานพรรณ
งานพรรณOrapan2529
 
Executive coaching-การโค้ชผู้บริหาร
Executive coaching-การโค้ชผู้บริหารExecutive coaching-การโค้ชผู้บริหาร
Executive coaching-การโค้ชผู้บริหารUtai Sukviwatsirikul
 
e-book สี่เส้นทางสู่โค้ชมืออาชีพ
e-book สี่เส้นทางสู่โค้ชมืออาชีพe-book สี่เส้นทางสู่โค้ชมืออาชีพ
e-book สี่เส้นทางสู่โค้ชมืออาชีพKriengsak Niratpattanasai
 
หลักการพูด
หลักการพูดหลักการพูด
หลักการพูดKruBowbaro
 
การออกแบบการนำเสนอ
การออกแบบการนำเสนอการออกแบบการนำเสนอ
การออกแบบการนำเสนอKriengsak Niratpattanasai
 
กระบวนการพัฒนาทักษะการพูด
กระบวนการพัฒนาทักษะการพูดกระบวนการพัฒนาทักษะการพูด
กระบวนการพัฒนาทักษะการพูดWilawun Wisanuvekin
 
ค้นหาเทวดาในตัวคุณ
ค้นหาเทวดาในตัวคุณค้นหาเทวดาในตัวคุณ
ค้นหาเทวดาในตัวคุณKriengsak Niratpattanasai
 
สรุป เจาะจุดแข็ง
สรุป เจาะจุดแข็ง สรุป เจาะจุดแข็ง
สรุป เจาะจุดแข็ง Kriengsak Niratpattanasai
 

Andere mochten auch (20)

บทที่ 6 การสนทนา
บทที่ 6 การสนทนาบทที่ 6 การสนทนา
บทที่ 6 การสนทนา
 
งานพรรณ
งานพรรณงานพรรณ
งานพรรณ
 
Ch amp handout text
Ch amp handout textCh amp handout text
Ch amp handout text
 
Listening workshop ho นปร
Listening workshop ho นปรListening workshop ho นปร
Listening workshop ho นปร
 
Executive coaching-การโค้ชผู้บริหาร
Executive coaching-การโค้ชผู้บริหารExecutive coaching-การโค้ชผู้บริหาร
Executive coaching-การโค้ชผู้บริหาร
 
Influencing other by listening
Influencing other by listeningInfluencing other by listening
Influencing other by listening
 
Prework coaching
Prework coachingPrework coaching
Prework coaching
 
10 learning points of executive coaching
10 learning points of executive coaching 10 learning points of executive coaching
10 learning points of executive coaching
 
e-book สี่เส้นทางสู่โค้ชมืออาชีพ
e-book สี่เส้นทางสู่โค้ชมืออาชีพe-book สี่เส้นทางสู่โค้ชมืออาชีพ
e-book สี่เส้นทางสู่โค้ชมืออาชีพ
 
หลักการพูด
หลักการพูดหลักการพูด
หลักการพูด
 
การออกแบบการนำเสนอ
การออกแบบการนำเสนอการออกแบบการนำเสนอ
การออกแบบการนำเสนอ
 
Coaching
Coaching Coaching
Coaching
 
The 15 invaluable laws of growth
The 15 invaluable laws of growthThe 15 invaluable laws of growth
The 15 invaluable laws of growth
 
Kongpan Slides With Photo
Kongpan Slides With PhotoKongpan Slides With Photo
Kongpan Slides With Photo
 
กระบวนการพัฒนาทักษะการพูด
กระบวนการพัฒนาทักษะการพูดกระบวนการพัฒนาทักษะการพูด
กระบวนการพัฒนาทักษะการพูด
 
ค้นหาเทวดาในตัวคุณ
ค้นหาเทวดาในตัวคุณค้นหาเทวดาในตัวคุณ
ค้นหาเทวดาในตัวคุณ
 
รวม 20 คำคมโค้ช
รวม 20 คำคมโค้ชรวม 20 คำคมโค้ช
รวม 20 คำคมโค้ช
 
เจาะจุดแข็ง
เจาะจุดแข็งเจาะจุดแข็ง
เจาะจุดแข็ง
 
coaching
coachingcoaching
coaching
 
สรุป เจาะจุดแข็ง
สรุป เจาะจุดแข็ง สรุป เจาะจุดแข็ง
สรุป เจาะจุดแข็ง
 

Ähnlich wie 2014-01-22 พุทธศาสนา 3.0 กับ CEO ทางธรรม v2

ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาทศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาทpentanino
 
หลวงพ่อทูล วัฏฏะสงสาร
หลวงพ่อทูล วัฏฏะสงสารหลวงพ่อทูล วัฏฏะสงสาร
หลวงพ่อทูล วัฏฏะสงสารguestf16531
 
คู่มือค่ายพุทธบุตรอุ่นใจธรรม
คู่มือค่ายพุทธบุตรอุ่นใจธรรมคู่มือค่ายพุทธบุตรอุ่นใจธรรม
คู่มือค่ายพุทธบุตรอุ่นใจธรรมniralai
 
คู่มืออบรมยุวพุทธ
คู่มืออบรมยุวพุทธคู่มืออบรมยุวพุทธ
คู่มืออบรมยุวพุทธniralai
 
ผู้นำขี้โอ่...โอหัง
ผู้นำขี้โอ่...โอหังผู้นำขี้โอ่...โอหัง
ผู้นำขี้โอ่...โอหังWat Thai Washington, D.C.
 
บทความ2
บทความ2บทความ2
บทความ2duenka
 
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญาปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญาpentanino
 
พุทธวิธีในการสอน พระพรหมคุณาภรณ์(ป.อ.ปยุตฺโต)
พุทธวิธีในการสอน พระพรหมคุณาภรณ์(ป.อ.ปยุตฺโต) พุทธวิธีในการสอน พระพรหมคุณาภรณ์(ป.อ.ปยุตฺโต)
พุทธวิธีในการสอน พระพรหมคุณาภรณ์(ป.อ.ปยุตฺโต) niralai
 
โครงงานสุขภาพส่งเสริมคุณธรรม
โครงงานสุขภาพส่งเสริมคุณธรรมโครงงานสุขภาพส่งเสริมคุณธรรม
โครงงานสุขภาพส่งเสริมคุณธรรมtassanee chaicharoen
 
เชิญร่วมงานสาธยายพระไตรปิฎก วัดมเหยงคณ์ วันที่ 5 เดือน 5 2555
เชิญร่วมงานสาธยายพระไตรปิฎก วัดมเหยงคณ์ วันที่ 5 เดือน 5 2555เชิญร่วมงานสาธยายพระไตรปิฎก วัดมเหยงคณ์ วันที่ 5 เดือน 5 2555
เชิญร่วมงานสาธยายพระไตรปิฎก วัดมเหยงคณ์ วันที่ 5 เดือน 5 2555Carzanova
 
พระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนาพระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนาPadvee Academy
 
ผังมโนทัศน์สังคมศึกษา ป.1-3+409+dltvsocp1+T2 p1 6-soc_mindmap
ผังมโนทัศน์สังคมศึกษา ป.1-3+409+dltvsocp1+T2 p1 6-soc_mindmapผังมโนทัศน์สังคมศึกษา ป.1-3+409+dltvsocp1+T2 p1 6-soc_mindmap
ผังมโนทัศน์สังคมศึกษา ป.1-3+409+dltvsocp1+T2 p1 6-soc_mindmapPrachoom Rangkasikorn
 
ผังมโนทัศน์ สังคม ป.1-3+443+dltvsocp3+T2 p1 6-soc_mindmap
ผังมโนทัศน์ สังคม ป.1-3+443+dltvsocp3+T2 p1 6-soc_mindmapผังมโนทัศน์ สังคม ป.1-3+443+dltvsocp3+T2 p1 6-soc_mindmap
ผังมโนทัศน์ สังคม ป.1-3+443+dltvsocp3+T2 p1 6-soc_mindmapPrachoom Rangkasikorn
 
แผนผังมโนทัศน์สังศึกษา ป.1-3+426+dltvsocp2+T2 p1 6-soc_mindmap
แผนผังมโนทัศน์สังศึกษา ป.1-3+426+dltvsocp2+T2 p1 6-soc_mindmapแผนผังมโนทัศน์สังศึกษา ป.1-3+426+dltvsocp2+T2 p1 6-soc_mindmap
แผนผังมโนทัศน์สังศึกษา ป.1-3+426+dltvsocp2+T2 p1 6-soc_mindmapPrachoom Rangkasikorn
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๑
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๑บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๑
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๑วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
ธรรมะสั้นๆเพื่อวันที่ดีงาม
ธรรมะสั้นๆเพื่อวันที่ดีงามธรรมะสั้นๆเพื่อวันที่ดีงาม
ธรรมะสั้นๆเพื่อวันที่ดีงามAmnuay Nantananont
 
TSMT Manual (คู่มือการปฏิบัติตนของครู สควค. ครูผู้สร้างสังคมแห่งการเรียนรู้)
TSMT Manual (คู่มือการปฏิบัติตนของครู สควค. ครูผู้สร้างสังคมแห่งการเรียนรู้)TSMT Manual (คู่มือการปฏิบัติตนของครู สควค. ครูผู้สร้างสังคมแห่งการเรียนรู้)
TSMT Manual (คู่มือการปฏิบัติตนของครู สควค. ครูผู้สร้างสังคมแห่งการเรียนรู้)SAKANAN ANANTASOOK
 

Ähnlich wie 2014-01-22 พุทธศาสนา 3.0 กับ CEO ทางธรรม v2 (20)

ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาทศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
 
หลวงพ่อทูล วัฏฏะสงสาร
หลวงพ่อทูล วัฏฏะสงสารหลวงพ่อทูล วัฏฏะสงสาร
หลวงพ่อทูล วัฏฏะสงสาร
 
คู่มือค่ายพุทธบุตรอุ่นใจธรรม
คู่มือค่ายพุทธบุตรอุ่นใจธรรมคู่มือค่ายพุทธบุตรอุ่นใจธรรม
คู่มือค่ายพุทธบุตรอุ่นใจธรรม
 
Saengdhamma in august 2010
Saengdhamma in august 2010Saengdhamma in august 2010
Saengdhamma in august 2010
 
คู่มืออบรมยุวพุทธ
คู่มืออบรมยุวพุทธคู่มืออบรมยุวพุทธ
คู่มืออบรมยุวพุทธ
 
ผู้นำขี้โอ่...โอหัง
ผู้นำขี้โอ่...โอหังผู้นำขี้โอ่...โอหัง
ผู้นำขี้โอ่...โอหัง
 
บทความ2
บทความ2บทความ2
บทความ2
 
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญาปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
 
พุทธวิธีในการสอน พระพรหมคุณาภรณ์(ป.อ.ปยุตฺโต)
พุทธวิธีในการสอน พระพรหมคุณาภรณ์(ป.อ.ปยุตฺโต) พุทธวิธีในการสอน พระพรหมคุณาภรณ์(ป.อ.ปยุตฺโต)
พุทธวิธีในการสอน พระพรหมคุณาภรณ์(ป.อ.ปยุตฺโต)
 
โครงงานสุขภาพส่งเสริมคุณธรรม
โครงงานสุขภาพส่งเสริมคุณธรรมโครงงานสุขภาพส่งเสริมคุณธรรม
โครงงานสุขภาพส่งเสริมคุณธรรม
 
เชิญร่วมงานสาธยายพระไตรปิฎก วัดมเหยงคณ์ วันที่ 5 เดือน 5 2555
เชิญร่วมงานสาธยายพระไตรปิฎก วัดมเหยงคณ์ วันที่ 5 เดือน 5 2555เชิญร่วมงานสาธยายพระไตรปิฎก วัดมเหยงคณ์ วันที่ 5 เดือน 5 2555
เชิญร่วมงานสาธยายพระไตรปิฎก วัดมเหยงคณ์ วันที่ 5 เดือน 5 2555
 
ทุกศาสนา
ทุกศาสนาทุกศาสนา
ทุกศาสนา
 
พระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนาพระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนา
 
Saeng Dhamma Vol. 37 No. 441 January 2012
Saeng Dhamma Vol. 37 No. 441 January 2012Saeng Dhamma Vol. 37 No. 441 January 2012
Saeng Dhamma Vol. 37 No. 441 January 2012
 
ผังมโนทัศน์สังคมศึกษา ป.1-3+409+dltvsocp1+T2 p1 6-soc_mindmap
ผังมโนทัศน์สังคมศึกษา ป.1-3+409+dltvsocp1+T2 p1 6-soc_mindmapผังมโนทัศน์สังคมศึกษา ป.1-3+409+dltvsocp1+T2 p1 6-soc_mindmap
ผังมโนทัศน์สังคมศึกษา ป.1-3+409+dltvsocp1+T2 p1 6-soc_mindmap
 
ผังมโนทัศน์ สังคม ป.1-3+443+dltvsocp3+T2 p1 6-soc_mindmap
ผังมโนทัศน์ สังคม ป.1-3+443+dltvsocp3+T2 p1 6-soc_mindmapผังมโนทัศน์ สังคม ป.1-3+443+dltvsocp3+T2 p1 6-soc_mindmap
ผังมโนทัศน์ สังคม ป.1-3+443+dltvsocp3+T2 p1 6-soc_mindmap
 
แผนผังมโนทัศน์สังศึกษา ป.1-3+426+dltvsocp2+T2 p1 6-soc_mindmap
แผนผังมโนทัศน์สังศึกษา ป.1-3+426+dltvsocp2+T2 p1 6-soc_mindmapแผนผังมโนทัศน์สังศึกษา ป.1-3+426+dltvsocp2+T2 p1 6-soc_mindmap
แผนผังมโนทัศน์สังศึกษา ป.1-3+426+dltvsocp2+T2 p1 6-soc_mindmap
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๑
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๑บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๑
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๑
 
ธรรมะสั้นๆเพื่อวันที่ดีงาม
ธรรมะสั้นๆเพื่อวันที่ดีงามธรรมะสั้นๆเพื่อวันที่ดีงาม
ธรรมะสั้นๆเพื่อวันที่ดีงาม
 
TSMT Manual (คู่มือการปฏิบัติตนของครู สควค. ครูผู้สร้างสังคมแห่งการเรียนรู้)
TSMT Manual (คู่มือการปฏิบัติตนของครู สควค. ครูผู้สร้างสังคมแห่งการเรียนรู้)TSMT Manual (คู่มือการปฏิบัติตนของครู สควค. ครูผู้สร้างสังคมแห่งการเรียนรู้)
TSMT Manual (คู่มือการปฏิบัติตนของครู สควค. ครูผู้สร้างสังคมแห่งการเรียนรู้)
 

Mehr von Taweedham Dhamtawee

2015-01-09 คู่มือชีวิต ตอน 65 เนกขัมมะ การออกบวช ตอน 5
2015-01-09 คู่มือชีวิต ตอน 65 เนกขัมมะ การออกบวช ตอน 52015-01-09 คู่มือชีวิต ตอน 65 เนกขัมมะ การออกบวช ตอน 5
2015-01-09 คู่มือชีวิต ตอน 65 เนกขัมมะ การออกบวช ตอน 5Taweedham Dhamtawee
 
2014-04-11 คู่มือชีวิต ตอน 28 อาวุโสด้วยปัญญา
2014-04-11 คู่มือชีวิต ตอน 28 อาวุโสด้วยปัญญา2014-04-11 คู่มือชีวิต ตอน 28 อาวุโสด้วยปัญญา
2014-04-11 คู่มือชีวิต ตอน 28 อาวุโสด้วยปัญญาTaweedham Dhamtawee
 
ประวัติและปฏิปทา หลวงปู่บุญฤทธิ์ ปัณฑิโต
ประวัติและปฏิปทา หลวงปู่บุญฤทธิ์ ปัณฑิโตประวัติและปฏิปทา หลวงปู่บุญฤทธิ์ ปัณฑิโต
ประวัติและปฏิปทา หลวงปู่บุญฤทธิ์ ปัณฑิโตTaweedham Dhamtawee
 
ธรรมะเสวนา หลวงปู่เทสก์ เทสรังสี
ธรรมะเสวนา หลวงปู่เทสก์ เทสรังสีธรรมะเสวนา หลวงปู่เทสก์ เทสรังสี
ธรรมะเสวนา หลวงปู่เทสก์ เทสรังสีTaweedham Dhamtawee
 
ธรรมะเสวนา หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต
ธรรมะเสวนา หลวงปู่มั่น ภูริทัตโตธรรมะเสวนา หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต
ธรรมะเสวนา หลวงปู่มั่น ภูริทัตโตTaweedham Dhamtawee
 
ธรรมะเสวนา พระพุทธและพระธรรม
ธรรมะเสวนา พระพุทธและพระธรรมธรรมะเสวนา พระพุทธและพระธรรม
ธรรมะเสวนา พระพุทธและพระธรรมTaweedham Dhamtawee
 

Mehr von Taweedham Dhamtawee (7)

2015-01-09 คู่มือชีวิต ตอน 65 เนกขัมมะ การออกบวช ตอน 5
2015-01-09 คู่มือชีวิต ตอน 65 เนกขัมมะ การออกบวช ตอน 52015-01-09 คู่มือชีวิต ตอน 65 เนกขัมมะ การออกบวช ตอน 5
2015-01-09 คู่มือชีวิต ตอน 65 เนกขัมมะ การออกบวช ตอน 5
 
Exim CG Corner 2557-12
Exim CG Corner 2557-12Exim CG Corner 2557-12
Exim CG Corner 2557-12
 
2014-04-11 คู่มือชีวิต ตอน 28 อาวุโสด้วยปัญญา
2014-04-11 คู่มือชีวิต ตอน 28 อาวุโสด้วยปัญญา2014-04-11 คู่มือชีวิต ตอน 28 อาวุโสด้วยปัญญา
2014-04-11 คู่มือชีวิต ตอน 28 อาวุโสด้วยปัญญา
 
ประวัติและปฏิปทา หลวงปู่บุญฤทธิ์ ปัณฑิโต
ประวัติและปฏิปทา หลวงปู่บุญฤทธิ์ ปัณฑิโตประวัติและปฏิปทา หลวงปู่บุญฤทธิ์ ปัณฑิโต
ประวัติและปฏิปทา หลวงปู่บุญฤทธิ์ ปัณฑิโต
 
ธรรมะเสวนา หลวงปู่เทสก์ เทสรังสี
ธรรมะเสวนา หลวงปู่เทสก์ เทสรังสีธรรมะเสวนา หลวงปู่เทสก์ เทสรังสี
ธรรมะเสวนา หลวงปู่เทสก์ เทสรังสี
 
ธรรมะเสวนา หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต
ธรรมะเสวนา หลวงปู่มั่น ภูริทัตโตธรรมะเสวนา หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต
ธรรมะเสวนา หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต
 
ธรรมะเสวนา พระพุทธและพระธรรม
ธรรมะเสวนา พระพุทธและพระธรรมธรรมะเสวนา พระพุทธและพระธรรม
ธรรมะเสวนา พระพุทธและพระธรรม
 

2014-01-22 พุทธศาสนา 3.0 กับ CEO ทางธรรม v2

  • 1.
  • 2. พระพุทธศาสนา 3.0 กับ CEO ทางธรรม นพพร เทพสิทธา 22 มกราคม 2014
  • 3. • แชร์ มุมมองในการเรียนรู้ และ สอนตนเอง • มุมมองในเรื่อง ธรรมะ ซึ่งเป็ นเรื่องของเราทุกคน • มุมมองในเรือง ผู้นา
  • 4.
  • 5. โลกในยุคปั จจุบัน เจริญขึน คุณภาพชีวิตดีขึน ้ ้ ด้ วยความร้ ู และ นวัตกรรม ด้ านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี การบริหารจัดการ พัฒนาอย่ างต่ อเนื่องเกือบทุกด้ าน
  • 6. โลกถกทาให้ เสมือนแบน ู เห็นสิ่งต่ างๆทั่วทุกมุมโลกโดยง่ าย การเดินทางการสื่อสารสะดวกรวดเร็ว การค้ าระหว่ างประเทศเป็ นไปอย่ างเสรี เศรษฐกิจขยายตัวทั่วโลก
  • 7. ความร้ ู เป็ นสิ่งจาเป็ นในปั จจุบัน-อนาคต ความร้ ู สร้ างคน สร้ างธุรกิจ สร้ างสังคม สร้ างประเทศ สร้ างโลก ความร้ ู ให้ อานาจ ให้ ความมั่งคั่ง ให้ ความสุข ที่ทุกคนใฝ่ ฝั นไขว่ คว้ า ใครเข้ าถึงแหล่ งความร้ ู ได้ เร็วกว่ า มีองค์ ความร้ ู มากกว่ า ย่ อมได้ เปรี ยบ
  • 8. ความร้ ู คือ อานาจ อานาจในการสร้ างสรรค์ หรือ อานาจในการทาลาย
  • 9. • • • • ความร้ ู หยุดยังสิ่งเหล่ านีได้ หรื อไม่ ? ้ ้ ภาวะโลกร้ อน นาแข็งขัวโลกละลาย ้ ้ อากาศวิปริต ภัยธรรมชาติรุนแรงขึน ้
  • 10. ความร้ ู หยุดยังสิ่งเหล่ านีได้ หรื อไม่ ? ้ ้ • • • • • ทรั พยากร-พลังงาน-นา ขาดแคลน ้ สิ่งแวดล้ อมเสื่อมโทรม โรคภัยไข้ เจ็บรั กษายากขึน ้ เด็กรุ่ นใหม่ เป็ นภมแพ้ มากขึน ้ ู ิ คนป่ วยทางจิตเพิ่มขึน ้
  • 11. • • • • ความร้ ู หยุดยังสิ่งเหล่ านีได้ หรื อไม่ ? ้ ้ ทุจริตคอรั ปชั่นมากขึน ้ การฝ่ าฝื นกฎหมายมากขึน ้ ความขัดแย้ งและสงครามระหว่ างคน ต่ างเชือชาติต่างความเชื่อรุ นแรงขึน ้ ้ อาวุธทุกรูปแบบถูกพัฒนาขึน ้ เพื่อฆ่ ามนุษย์ ให้ ตายคราวละมากๆ
  • 12. คนที่เจริญแล้ วเอาเปรี ยบคนที่ด้อยกว่ า คนร้ ู มากกว่ าเอาเปรี ยบคนร้ ู น้อยกว่ า คนฉลาดเอาเปรี ยบคนโง่ ปลาใหญ่ กินปลาเล็กอ้ วนพีขึน ้ ปลาเล็กผอมลงเหลือแต่ ก้าง
  • 13. คนยอมตกเป็ นทาสของความเจริญ • ยอมแลกด้ วยทรั พย์ สิน ที่ดน ิ • ยอมก้ ูหนียืมสิน ไม่ เก็บออม ้ • ยอมเป็ นทาส ในสวนไร่ นา ในโรงงาน ในบริษัทห้ างร้ านองค์ กร • ยอมถกจองจาไว้ ด้วยกระดาษเงินตรา ู
  • 14. • • • • • • • โลกแห่ งความเจริญ จีดพี – การใช้ จ่ายเพื่อบริโภค ี ความรวดเร็ว สะดวกสบาย ความยิ่งใหญ่ เหนือชัน ้ ความหรู หรา โอ่ อ่าอลังการ ความฟุ่ มเฟื อย ความร่ ารวยมั่งคั่ง อานาจวาสนา โลกแห่ งทุนนิยม วัตถุนิยม บริโภคนิยม
  • 15. โลกแห่ งทุนนิยม วัตถุนิยม บริโภคนิยม • คุณค่ าของคนถูกมองเป็ นเพียงปั จจัยการผลิต, ทรัพยากร หรือ ทุนในการดาเนินธุรกิจ • การศึกษาประวัตศาสตร์ สังคมศาสตร์ มนุษย์ ิ ศาสตร์ จริยศาสตร์ เป็ นเรื่องไม่ สาคัญ • คุณธรรม จริยธรรม ศาสนา เป็ นเรื่องน่ าหัวร่ อ • คุณค่ าทางจิตวิญญาณถูกบดบังด้ วยคุณค่ าจาก เงินทุน วัตถุ และ การบริโภค
  • 16. การบริโภคคุณค่ าทางจิตวิญญาณ • ศาสนาถูกใช้ ในเชิงการค้ า ใช้ หลักบริหารการตลาด • มีสินค้ าทางศาสนาให้ เลือกบริโภคมากมาย เช่ น - พระพุทธรูป เทวรูป พระเครื่อง วัตถุมงคลต่ างๆ - พิธีกรรม ไสยศาสตร์ การทานายโชคชะตา - หนังสือธรรมะ ถ้ อยธรรมะที่ถูกใจ - “สมาธิ” “บุญ” และ “นิพพาน” • เสพความพึงพอใจ สบายใจ สะใจ ภูมใจ สุขใจ ิ ผ่ านตา หู จมูก ลิน กาย และ ใจ เสพแล้ วเสพอีก ้ อยากได้ อะไรแปลกๆใหม่ ๆไม่ สนสุด ิ้
  • 17.
  • 18. บริษัท บุคคลแต่ ละคน ความคิด จิตใจ จิตวิญญาณ พันธกิจ - ทาไม ส่ งมอบ ความพึงพอใจ วิสัยทัศน์ - อะไร ความสามารถ คุณค่ า - อย่ างไร ตระหนักและเข้ าถึงปฏิบัติและแสดงออก แรงบันดาลใจ ความเข้ าใจและห่ วงใย ความสามารถ ความสามารถ ทาให้ กาไร ทาให้ กลับมาซ้าอีก ทาให้ ยงยืนถาวร ั่ ดีกว่ าเดิม สร้ างความแตกต่ าง ทาให้ รู้สึกแตกต่ าง Marketing 3.0 by Philip Kotler การตลาด 3.0 โดย ฟิ ลิป คอตเลอร์
  • 19. • มุ่งตอบสนองความต้ องการลึกๆในใจลูกค้ า ลูกค้ าอาจยังไม่ ร้ ูชัดถึงความปรารถนาของตนเอง • ความพึงพอใจเกิดไม่ นานก็หมดไป แล้ วก็เกิดใหม่ ความต้ องการทางจิตวิญญาณซ่ อนอยู่ข้างในเสมอ • ถ้ าเข้ าถึงจิตวิญญาณที่ชักใยอยู่ข้างในของลูกค้ าได้ ลูกค้ าจะซือสินค้ าโดยง่ ายและไม่ เปลี่ยนแปลง ้ อาจถึงขันครอบงาจิตวิญญาณ ตกเป็ นทาสโดยไม่ ร้ ูตว ้ ั
  • 20. การตลาดปลิดวิญญาณ ความอยากและศรั ทธา บดบัง ปั ญญา ความฉลาดทางจิตวิญญาณไม่ ได้ รับพัฒนา
  • 21. • โลกปั จจุบันและอนาคต จะปลอดภัย สวยงามน่ าอย่ ู เจริญรุ่ งเรื อง จริงหรื อ • คนตกเป็ นทาส ติดกับระบบทุนนิยม จิตวิญญาณถูกครอบงา ด้ วย วัตถุนิยม บริโภคนิยม การตลาด 3.0 • คุณภาพชีวิต สุขภาพกาย สุขภาพใจ มีแนวโน้ มต่าลงๆ
  • 22. • ความเจริญที่เห็น เป็ น ความเจริญ จอมปลอม เป็ นมายาภาพ หรื อไม่ • ความรู้ ทางวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และ การจัดการ ยังไม่ ตอบโจทย์ • คนขาดที่พ่ ง หันไปพึ่งสิ่งศักดิ์สิทธิ์ และ ึ อานาจเหนือธรรมชาติ ไม่ พยายามพึ่งตนเอง
  • 23. • คนเห็นแก่ ตัวและพวกพ้ องมากขึน ้ แย่ งกันกอบโกยและบริโภค • คนไม่ ยอมรั บความคิดเห็นที่แตกต่ าง แบ่ งแยกตีกัน ขาดความเข้ าใจกัน • คุณธรรม จริยธรรม ตกต่า โลกเช่ นนี ้ เป็ นโลกที่คนยุคเรา จะสร้ าง และทิงไว้ ให้ ลูกหลานรุ่ นต่ อๆไปหรื อ? ้
  • 24. ถึ ง เวลาหรื อ ยั ง ? ที่ ทุ ก ศาสนา ทุ ก ระบบ การศึ ก ษา จะปฏิ รู ป แนวทางปลู ก ฝั งคุ ณ ธรรม และสร้ างความฉลาดทางจิตวิญญาณให้ กับผู้คน ให้ มี ทักษะในการดาเนิ นชี วิต ควบคู่ ไ ปกั บ ทักษะในการทางานเลียงชีพโดยชอบ และตอบ ้ โจทย์ ต่างๆให้ กับโลกยุคปั จจุบันและอนาคต
  • 26. Buddhist Population (By % ) Buddhist Population (By population) 1 China 391,894,143 2 Japan 90,466,243 3 Thailand 61,517,708 4 Vietnam 41,767,788 5 Myanmar 38,618,517 6 Sri Lanka 14,045,343 7 Cambodia 12,654,574 8 Korea, South 11,297,002 9 India 7,561,850 10 Taiwan 5,723,596 11 Malaysia 4,599,002 12 Laos 3,730,284 13 Nepal 3,044,420 14 United States 2,957,341 15 Mongolia 2,595,882 16 Indonesia 2,032,580 17 Singapore 1,880,931 18 Bhutan 1,651,895 19 Bangladesh 721,598 20 Russia 717,101 แก้ ไขเมื่อ 18 มิ.ย. 54 13:06:54 30% 71% 94% 50% 90% 70% 93% 23.33% 0.7% 90% 19.2% 60% 11% 1% 93% 0.84% 42.5% 74% 0.5% 0.5% 1 Thailand 94% 61,517,708 2 Cambodia 93% 12,654,574 3 Mongolia 93% 2,595,882 4 Myanmar 90% 38,618,517 5 Bhutan 74% 1,651,895 6 Japan 71% 90,466,243 7 Sri Lanka 70% 14,045,343 8 Laos 60% 3,730,284 9 Vietnam 50% 41,767,788 10 Singapore 42.5% 1,880,931 11 China 30% 391,894,143 12 Taiwan 25% 5,723,596 13 Korea, South 23.33% 11,297,002 14 Malaysia 19.2% 4,599,002 15 Brunei 13% 48,406 16 Nepal 11% 3,044,420 17 United Arab Emirates 2% 51,264 18 Australia 1.9% 381,718 19 Korea, North 23.33% 5,345,411 20 New Zealand 1.08% 43,582 แก้ไขเมื ่อ 18 มิ .ย. 54 13:13:05
  • 27. ธรรม หรือ ธรรมะ 1. ธรรมชาติ 2. กฎของธรรมชาติ 3. หน้ าที่ตามกฎของธรรมชาติ 4. การได้ รับผลตามกฎของธรรมชาติ
  • 28. เต้ าเต๋ อจิง คัมภีร์ แห่ ง มรรคา และ คุณธรรม
  • 29. เต้ าเต๋ อจิง บทที่ 25 “มีส่ ิงหนึ่งก่ อเกิดขึนโดยธรรมชาติ ้ ก่ อนฟาก่ อนดิน ไร้ รูปไร้ เสียง เป็ นอิสระ ้ ไม่ แปรเปลี่ยน ดารงอยู่ท่ วไป คงอยู่มร้ ูสิน ั ิ ้ เป็ นมารดาแห่ งฟาดิน ้ ข้ าฯ มิร้ ูช่ ือสิ่งนัน จึงขอเรียกว่ า “เต๋ า” ้ และเมื่อจาเป็ นต้ องอธิบาย ก็ขอเรียกว่ ายิ่งใหญ่ ยิ่งใหญ่ คือดาเนินไปไม่ มีสนสุด ิ้ ดาเนินไปไม่ มีสินสุด คือความยาวไกล ้ ความยาวไกลถึงที่สุด ย่ อมกลับคืนสู่จุดเดิม”
  • 30. เต้ าเต๋ อจิง บทที่16 “สรรพสิ่งในสากลโลกล้ วนโคจรตามวิถีทางของตน เราจึงเห็นการกลับคืนสู่จุดเริ่มต้ นของสรรพสิ่ง สรรพสิ่งทังหลายล้ วนต้ องกลับคืนสู่ภาวะดังเดิม ้ ้ ซึ่งเป็ นภาวะแห่ งความสงบ ภาวะแห่ งความสงบ คือตัวตนที่จริงแท้ ตัวตนที่จริงแท้ เป็ นภาวะยั่งยืน เมื่อรู้ว่าอะไรคือภาวะยั่งยืน ก็จะเกิดความกระจ่ าง ผู้ไม่ ร้ ูว่าอะไรคือความยั่งยืน มักทาอะไรหุนหัน พลันแล่ น นามาซึ่งความหายนะในที่สุด”
  • 31. แก่นคาสอนในภควัทคีตา ร่ างกายนีไม่ ใช่ ของเธอ เธอก็ไม่ ใช่ สมบัติของร่ างนี้ ้ ร่ างกายประกอบด้ วย ธาตุไฟ นา อากาศ ลม ดิน ้ ร่ างกายจะสลายไปเป็ นธาตุ แต่ อาตมันเท่ านั้นคงอยู่ แล้วเธอ คือ อะไร ? การเปลียนแปลงอยู่ตลอดเวลา เป็ นกฎธรรมชาติของจักรวาล ่ สิ่ งทีเ่ ข้ าใจว่ าเป็ นความตาย ทีจริงคือ การมีชีวตอยู่ ่ ิ ขออย่ าให้ ความคิดต่ อไปนีอยู่ในใจของเธอ ้ “เธอ-ฉัน, ใหญ่ -เล็ก, ของฉัน-ของเขา” ถ้ าทาได้ อย่ างนี้ ทุกสิ่ งก็จะเป็ นของเธอและเธอก็เป็ นของทุกคน
  • 32. การเข้ าใจตัวเอง คือ การจบสิ้นของความทุกข์ กฤษณมูรติ ความทุกข์ จะจบสิ้นลงได้ เมื่อมีแสงสว่ างแห่ งความเข้ าใจเท่ านั้น และแสงสว่ างนี้ มิได้ เกิดจากประสบการณ์ หนึ่งครั้ง หรือความเข้ าใจที่สว่ างวาบขึนหนึ่งครั้ง ้ แต่ มันเป็ นความเข้ าใจ ทีมีแสงสว่ างในตัวอยู่แล้วตลอดเวลา ่ ไม่ มีผู้ใดสามารถหยิบยืนสิ่ งนีให้ คุณได้ ่ ้ ไม่ ว่าจะเป็ นคัมภีร์ ครูบาอาจารย์ หรือ พระผู้ไถ่
  • 33. กฤษณมูรติ ดับสินหนึ่งพันวันวาน - ความเข้ าใจ ้  มีบางสิ่งซึ่งอยู่เหนือพ้ นจากจิต ที่จะวัดได้ สิ่งซึ่งวัดไม่ ได้ หาใช่ สภาวะที่จะคาดเอาได้ จะต้ องประสบตรงเท่ านัน หาใช่ ส่ งที่พบได้ ใน ้ ิ คัมภีร์อุปนิษัท ภควคีตา ไบเบิล หรื อ หนังสือพุทธศาสนา ้  สิ่งซึ่งวัดไม่ ได้ จะเกิดขึนได้ จากความเข้ าใจในตัวคุณเอง ้ ต่ อความสัมพันธ์ กับ ผู้คน ธรรมชาติ แนวความคิดต่ างๆ  เมื่อเข้ าใจตนเองอย่ างสมบูรณ์ แล้ วจะค้ นพบ โดยไม่ ต้อง มีการช่ วยเหลือจากใคร ไม่ มีสถาบันศาสนา ไม่ มีนักบวช
  • 34.
  • 35. คนเป็ นส่ วนหนึ่งของทั้งหมด ที่เราเรียกว่ า จักรวาล และเป็ นส่ วนทีถูกจากัดโดยเวลาและสถานที่ ่ คน สร้ างประสบการณ์ มีความคิด และ ความรู้ สึก ราวกับว่ าเป็ นบางสิ่ งบางอย่ าง ทีแยกออกมาจากส่ วนที่เหลือ ่ กลายเป็ นภาพลวงตาแบบหนึ่ง ที่จองจาจิตสานึกของเขา ภาพลวงตานีแหละ คือ กรงขังของพวกเรา ้ จากัดเราให้ สนใจเฉพาะความปรารถนาส่ วนตัวของเรา รักเฉพาะคนบางคนทีอยู่ใกล้ ชิดกับเรามากทีสุด ่ ่ ภาระหน้ าที่ของเรา คือ เราจะต้ องปลดปล่ อยตนเองจากกรงขังนี้ โดยการขยายวงจรแห่ งความรัก ความมีเมตตาของเรา ให้ ครอบคลุมถึงสิ่ งมีชีวตทุกสิ่ งและธรรมชาติท้งหมดทีสวยงาม ิ ั ่
  • 36. คนเป็ นส่ วนหนึ่งของทั้งหมด ที่เราเรียกว่ า จักรวาล และเป็ นส่ วนทีถูกจากัดโดยเวลาและสถานที่ ่ คน สร้ างประสบการณ์ มีความคิ คนเรารู้ ึ ก สิ่งที่เราเรียกว่ า ธรรมะ ถูดกและ ความรู้สจักและยึดถือ ราวกับว่ ากษณะรูบางอย่งทีทีแิดแปลกแตกต่ างกัน ในลัเป็ นบางสิ่ง ปร่ าาง ่ ผ่ ยกออกมาจากส่ วนที่เหลือ กลายเป็ นภาพลวงตาแบบหนึ่ง ที่จวยความยึของเขา หลายประการ ด้ องจาจิตสานึก ดมั่น ภาพลวงตานีแหละ คือ กรงขังของพวกเรา ะคน ้ พระธรรมของแต่ ล จากัดเราให้ สนใจเฉพาะความปรารถนาส่ วนตัวของเรา กลับเป็ นภูเขาขวางวิถีแห่ งพุทธธรรมของเขาเอง รักเฉพาะคนบางคนทีอยู่ใกล้ ชิดกับเรามากทีสุด ่ ่ เพราะความยึดถือ เมื่อยึดถือไว้ ต่างกัน ภาระหน้ าที่ของเรา คือ เราจะต้ องปลดปล่ อยตนเองจากกรงขังนี้ โดยการขยายวงจรแห่ งความรัก ความมีเมตตาของเรา ให้ ครอบคลุมถึงสิ่ งมีชีวตทุกสิ่ งและธรรมชาติท้งหมดทีสวยงาม ิ ั ่
  • 37. เคล็ดลับของความสาเร็จในการเผยแพร่ คาสอนของข้ าพเจ้ า คือ ไม่ มีศาสนา มีแต่ เรื่ องของจิตใจ ซึ่ง เป็ นเรื่ องที่มีอยู่ในมนุษยชาติทุกคน
  • 38. ธรรมะ เป็ นของสากล จะเรียกอะไรก็ได้ ใครก็ตามแม้ นไม่ ร้ ู จักพระพุทธศาสนา ก็เข้ าถึงพระธรรมได้ ธรรมะที่แท้ จริง ไม่ มีศาสนา มันอยู่กับเราทุกคน ทุกหนแห่ งทุกเวลา ในการศึกษา ในการทางาน ในการดารงชีวิตประจาวัน ในธรรมชาติ ไม่ จากัด เชือชาติ วัฒนธรรม ศาสนา ้ พระพุทธศาสนา ที่แท้ จริง ไม่ จาเป็ นต้ องเรียกว่ า พระพุทธศาสนา
  • 39. คุณธรรม หมายถึง สภาพคุณงามความดี, คุณสมบัตท่ เสริมสร้ างจิตใจให้ ดีงาม ิ ี ให้ เป็ น จิตใจที่สูง ประณีตและประเสริฐ, อุปนิสัยอันดี งามซึ่งสั่งสมอยู่ในดวงจิต จริยธรรม คือ หลักแห่ งความประพฤติ หรือ แนวทางการปฏิบัติท่ ดีงาม เพื่อประโยชน์ สุขของ ี ตนเองและส่ วนรวม ตังอยู่บนพืนฐานของ ้ ้ ข้ อตกลงร่ วมกัน ขนบธรรมเนียมประเพณี และ หลักศาสนา (เรียกว่ า ศีลธรรม)
  • 40. คุณธรรม จริยธรรม ต้ องค่ ูกัน เหมือน ใจ กับ กาย ต้ องมีปัญญา กากับ อาจแบ่ งได้ เป็ น 3 ระดับ ระดับพืนฐาน (Heart – EQ) ้ ระดับบริหารจัดการ (Mind – IQ) ระดับจิตวิญญาณ (Spirit – SQ)
  • 41.
  • 42. คุณธรรม จริยธรรม สร้ าง “คุณค่ า” “คุณค่ า” ที่สัมผัสไม่ ได้ และ สัมผัสได้ (Intangible Value – Tangible Value) คุณธรรม สร้ าง “คุณ” – คุณค่ าที่สัมผัสไม่ ได้ จริยธรรม สร้ าง “ค่ า” - คุณค่ าที่สัมผัสได้
  • 43. คุณธรรม พืนฐาน ้  ความรัก ความห่ วงใย  ความรับผิดชอบต่ อหน้ าที่  ความกตัญํูกตเวที  ความซื่อสัตย์ สุจริต  ความเที่ยงธรรม  ความเสียสละ  การให้ อภัย
  • 44. เบญจศีล - เบญจธรรม 1. ไม่ ฆ่าสัตว์ – เมตตากรุ ณา 2. ไม่ ลักทรั พย์ – สัมมาอาชีพ 3. ไม่ ประพฤติผิดในกาม – อินทรี ย์สังวร 4. ไม่ พดเท็จ – สัจจะ ู 5. ไม่ ด่ มสุรา - สติสัมปชัญญะ ื
  • 45. ศีล สร้ างหลักประกันชีวิตและสังคม ประกันชีวิตด้ วย ศีลข้ อ ๑ ประกันทรั พย์ สินด้ วย ศีลข้ อ ๒ ประกันครอบครั วด้ วย ศีลข้ อ ๓ ประกันสังคมด้ วย ศีลข้ อ ๔ ประกันสติปัญญาด้ วย ศีลข้ อ ๕
  • 46. ศีล  ใช้ กาหนดคุณสมบัตพุทธบริษัท เป็ นหลักจัดการองค์ กร ิ  ใช้ เป็ นเครื่ องฝึ กสติ ปั ญญา สร้ างบารมี  ใช้ เป็ นเครื่ องฝึ กตบะ ฝื นกิเลส ฝื นสัญชาติญาณ  ใช้ เป็ นเครื่ องฝึ กมารยาทสังคม  ใช้ เป็ น KPI วัดผลการปฏิบัตของคนและองค์ กร ิ  สร้ างวินัยและความเป็ นระเบียบเรี ยบร้ อย  สร้ างหลักประกันให้ ชีวิตและสังคม  ทาให้ เกิดความประหยัด และ ประสิทธิภาพ
  • 47.
  • 49. การพัฒนาแบบยังยืน ่ (Sustainable Development) การเติบโตทางเศรษฐกิจ Economic Growth การพัฒนาแบบยังยืน ่ การรักษาสิ่ งแวดล้ อม Environmental Performance Sustainable Development ความรับผิดชอบต่ อสั งคม Corporate Social Responsibility
  • 52. • • • • ความฉลาดทางจิตวิญญาณ เข้ าใจตนเอง เข้ าใจชีวิต เข้ าใจธรรมชาติ มีวิสัยทัศน์ ชัดเจน และ เฉียบคม สร้ างความสาเร็จในชีวิตทุกด้ าน มีจตใจเป็ นอิสระ มีสันติสุข ิ
  • 54. พุทธะ พุทธจิต พุทธภาวะ พุทธะ คือ ผู้รู้ ผู้ตน ผู้เบิกบาน ื่ จิต คือ พุทธะ พระพุทธเจ้ าทั้งปวง และสั ตว์ โลกทั้งสิ้น ไม่ ได้ เป็ นอะไรเลย นอกจากเป็ นเพียง จิตหนึ่ง พุทธะ มีอยู่แล้ วในเราทุกคน ไม่ ใช่ อยู่ภายนอกหรือภายใน ขอเพียงลืมตาขึน เข้ าใจความเป็ นจริงตามธรรมชาติ ้ หยุดคิดดีคดชั่ว นั่นแหละ คือ หน้ าตาดั้งเดิมของท่ าน ิ ใจทีเ่ ป็ นกลาง นั่นแหละ คือ พุทธะ
  • 55. Awakening the Buddha-Mind The Buddha-Mind is nothing Other than the mind that urges service On behalf of the world and its people before our own affairs. Because we focus on ourselves, this takes a struggle, but when the Buddha-mind is awaked Even hard effort changes into something worth living for.
  • 56. ความท้ าทายของพระพุทธศาสนา 3.0 • ทุกอย่ างมีพร้ อมอยู่แล้ วในพระธรรม • รู ปแบบและวิธีการสามารถปรั บเปลี่ยนได้ แต่ แก่ นธรรมแท้ ยังคงดารงอยู่ในทุกกาลและสถานที่ • ธรรมะ คือ ธรรมชาติ คือ เรื่ องของคน ธรรมชาติ ของคน การพัฒนาคน • สิ่งสาคัญที่สุด ก็คือ ใช้ ปัญญานา ปรั บให้ เหมาะสม และ เรี ยนรู้ ทุกลมหายใจ • สร้ างความฉลาดทางจิตวิญญาณ (SQ) พร้ อมๆกับ ความฉลาดทางเชาว์ ปัญญา (IQ) และความฉลาด ทางอารมณ์ (EQ)
  • 57.
  • 58. พระพุทธศาสนา 3.0 • • • • • ประยุกต์ วธีการเรียนรู้ ให้ เข้ ากับคนในยุคปัจจุบัน ิ คงแก่นธรรม และ เนือแท้ ของพระธรรมวินัยไว้ ้ เน้ นความเข้ าใจ คุณค่ า และ การนามาใช้ ในชีวตจริง ิ Learn How to Learn เริ่มจากความถูกต้ อง บ่ มเพาะปัญญา จากการวิเคราะห์ สั งเคราะห์ และ การนามาปฏิบัติจริง ให้ เกิดเป็ นปัญญาของตนเอง • เรียนรู้พระพุทธเจ้ าในมุมมองของวิทยาศาสตร์ และ การบริหารจัดการ ในฐานะผู้นา และ Role Model • เรียนรู้การแสดงธรรมของพระพุทธเจ้ าให้ ครบทุกด้ าน ทั้งเนือหา ทีมาที่ ้ ่ ไป หลักการเหตุผล วิธีการ และ ผลรับ • เปาคือ พึงตนเองได้ เรียนเองเป็ น คิดเองเป็ น ช่ วยตนได้ ช่ วยคนอืนได้ ้ ่ ่
  • 59. • เข้ าใจ • เข้ าถึง • พัฒนา ปริยติ ปฏิบัติ ปฏิเวธ ั
  • 60. พุทธศาสนา 3.0 เริ่มจาก ความเข้ าใจ  เข้าใจ พระพุทธเจ้า CEO ทางธรรม พุทธภาวะ  เข้าใจ พระธรรม วิทยาศาสตร์ กฎธรรมชาติ  เข้าใจ พระพุทธศาสนา พุทธบริ ษท ั  เข้าใจ โลก สังคม เพื่อน ครอบครัว  เข้าใจ อาชีพ งาน สิ่ งแวดล้อม ผูเ้ กี่ยวข้องในงาน  เข้าใจ ชีวต ปั ญหา เป้ าหมาย ตัวเองทั้งกายและจิต ิ  เข้าใจ คุณค่า จิตวิญญาณ ตัวตนที่แท้จริ ง
  • 61. เข้ าใจและระลึกถึงพระคุณของพระพุทธเจ้ า     พระเมตตาคุณ พระปัญญาคุณ พระบริสุทธิคุณ พระพุทธคุณ ต่ อ ชาวโลก พระพุทธคุณ ต่ อ ชาวไทย พระพุทธคุณ ต่ อ ตัวเรา ระลึกถึง พระพุทธคุณ ด้ วย ประสบการณ์ จริง และ ปัญญา
  • 62. พระพุทธเจ้ าในฐานะ CEO ทางธรรม  พุทธศาสดา แบบอย่ างของผู้นาทางธรรม  พุทธกิจ บทบาทหน้ าทีของ ผู้นาทางธรรม ่  อนุสาสนีปาฏิหาริย์ พุทธอุบายในการแสดงธรรม  กลยุทธ์ ในการเผยแพร่ ธรรม  พระธรรมวินัย  พุทธบริษท ั
  • 63. พุทธศาสดา แบบอย่ าง ผู้นาทางธรรม  เป็ นผู้นาทีฉลาด มีวสัยทัศน์ มีเมตตา และ โปร่ งใส ่ ิ  ยอมสละความสุ ขสบายส่ วนตัว และ มีม่ ุงมัน ่ ทีจะค้ นหาวิธีแก้ ปัญหาให้ ตนเอง และ ผู้อน ่ ื่  เป็ นคนธรรมดา ทีสามารถบรรลุธรรมและเป็ นศาสดา ่  เคารพและเคร่ งครัดต่ อพระวินัย ทีพระองค์ บัญญัติ ่  ปฏิบัตพทธกิจอย่ างสมาเสมอจนปรินิพพาน ิ ุ ่  ปฏิบัตพทธกิจด้ วยความอดทนและทุ่มเท ิ ุ  ทรงเป็ นแบบอย่ างของ บรมครู Super Coach
  • 64. พุทธกิจ บทบาทหน้ าทีของผู้นาทางธรรม ่      บิณฑบาต แสดงพระธรรมเทศนาแก่ ชนทั่วไป ประทานโอวาทแก่ พระภิกษุ พยากรณ์ ปัญหาแก่ พระราชาและเทวดา พิจารณาตรวจดูผ้ ูทพระองค์ จะโปรดต่ อไป ี่
  • 65. อนุสาสนีปาฏิหาริย์ พุทธอุบายในการแสดงธรรม         ทรงใช้ อุบายแยบคาย หลากหลาย ปรับตามสถานการณ์ ทรงใช้ วธีสอนตามความรู้ ความเข้ าใจของแต่ ละคน ิ ทรงเทศนาด้ วยคาพูดทีไพเราะ ฟังง่ าย จาง่ าย ยาทบทวน ่ ้ ทรงสอนให้ ใช้ ปัญญา อย่ าเชื่อโดยไม่ ไตร่ ตรอง ลองปฏิบัติ ทรงใช้ กรณีตัวอย่ าง ทรงสั่ งสอนแบบต่ อยอด ล้ างความยึดมัน ไม่ ยดเยียดให้ จา ่ ั ทรงใช้ เทคนิคแบบโค้ ช ให้ คดเข้ าใจด้ วยตนเอง ิ ถามให้ คดเอง ตอบด้ วยคาถาม จีให้ สะดุ้งคิด ิ ้
  • 66. กลยุทธ์ ในการเผยแพร่ ธรรม  ทรงประกาศวิสัยทัศน์ พันธกิจ และ นโยบาย ชัดเจน  ทรงกาหนดกลุ่มเปาหมาย และ พืนทีเ่ ปาหมาย ้ ้ ้ เช่ น การโปรดปัญจวัคคีย์ ชฎิล 3 พีน้อง พระเจ้ าพิมพิสาร ่  ทรงใช้ พลังมวลชน โน้ มน้ าวให้ เกิดศรัทธา เปิ ดใจฟังธรรม  ทรงสร้ างบุคลากร และ ให้ แยกย้ ายกันไปเผยแพร่ พระธรรม  ทรงสร้ างแม่ ทพธรรม อัครสาวกซ้ ายขวา ยกย่ องเอกทัคคะ ั  ทรงสร้ างองค์ กรพุทธบริษท ใช้ พระธรรมวินัย เป็ นแกน ั  กาหนดให้ สร้ างสั งเวชนียสถาน เพือปลงสั งเวชและภาวนา ่
  • 67. โอวาทปาติโมกข์ : อุดมการณ์ 4 หลักการ 3 วิธีการ 6 อุดมการณ์ 4 = วิสัยทัศน์ สร้ างบรมสุ ขภายในและภายนอก ด้ วยความอดทนอดกลั้น ไม่ ทาร้ ายและเบียดเบียนตนเองและผู้อน ื่ หลักการ 3 = กลยุทธ์ ละอกุศล สร้ างกุศล ทาใจให้ บริสุทธิ์ วิธีการ 6 = พันธกิจ ไม่ กล่ าวร้ าย ไม่ ทาร้ าย สารวมในปาติโมกข์ รู้ จักประมาณในอาหาร นั่งนอนในทีสงัด เพียรยกระดับจิต ่
  • 68. พระธรรมวินัย  สมัยพระพุทธเจ้ า ทรงเรียกคาสั่ งสอนของพระองค์ ว่า พระธรรมวินัย โดยใช้ ปัญญา นา ศรัทธา  กาหนดให้ พระธรรมวินัย เป็ น ศาสดา แทนพระองค์  บัญญัตพระวินัย ตามเหตุการณ์ และ ประชาวิจารณ์ ิ  ใช้ หลักประชาธิปไตยในการบริหารคณะสงฆ์  ใช้ หลักอาวุโส แทน การแบ่ งแยกชนชั้น และ วรรณะ  ใช้ หลักความเรียบง่ าย อยู่ง่าย ไม่ สร้ างภาระ ไม่ สะสม  ใช้ หลักความอ่ อนน้ อม ลดอัตตา
  • 69. พุทธบริษท ั  พุทธบริษท คือ Social Enterprise ทีมอายุนาน 2,600 ปี ั ่ ี  พระพุทธเจ้ า เป็ น CEO พระองค์ แรก  หน้ าทีของพุทธบริษท ตามพุทธปณิธานก่ อนปรินิพพาน ่ ั ศึกษาธรรม ปฏิบัติธรรม เผยแผ่ ธรรม ตอบปัญหาธรรมได้  แต่ ละคน มีบทบาทหน้ าทีของตนเอง แต่ ต้องสั มพันธ์ กน ่ ั  ทุกฝ่ ายต้ องร่ วมกันดูแลรักษา ทาให้ บริษทมันคง ก้ าวหน้ า ั ่  สร้ างคุณค่ าให้ ตนเอง สั งคม ด้ วยสติ ปัญญา ความไม่ ประมาท  มีความแตกต่ าง ทีเ่ หมือนกัน หนึ่งจุดหมาย หลายหนทาง
  • 70. ปฐมเทศนา ทาไมต้ องแสดงพระธัมมจักกัปปวัตตนสู ตร ?  อยู่ในระดับกลาง เหมาะกับคนทัวไป ไม่ เจาะจง ่  ครบถ้ วน ครอบคลุมทั้ง ปริยติ ปฏิบัติ ปฏิเวธ ั  ง่ ายต่ อคนเริ่มศึกษา จะเข้ าใจ และ เริ่มลงมือปฏิบัติ  เป็ นเรื่องของมนุษย์ ทุกคน เข้ าได้ กบทุกชาติ ศาสนา ั  ประยุกต์ ใช้ กบชีวตประจาวัน และ การบริหารงานได้ ั ิ  เป็ นกฎแห่ งธรรมชาติ ทีทรงค้ นพบ ไม่ จากัดกาล ่ ตราบใดทียงมีมนุษย์ พระธรรมจักรก็จะยังหมุนไปได้ ่ั
  • 71. จุดสาคัญในพระธัมมจักกัปปวัตตนสู ตร  ความสุ ข - ความทุกข์ สิ่ ง 2 สิ่ งทีเ่ ป็ นคู่ และตรงกันข้ าม  ทางปฏิบัติ 2 วิธีทตรงข้ าม และ ทางสายกลาง ี่  เหตุ และ ผล ความต่ อเนื่องกันของเหตุผล ตถตา  อริยสั จ 4 ทุกข์ สมุทย นิโรธ มรรค ั  กระบวนการศึกษาต้ องหมุนรอบไปข้ างหน้ าเรื่อยจนจบ  ปริยติ ปฏิบัติ ปฏิเวธ - เข้ าใจ เข้ าถึง พัฒนา ั  ขั้นตอนการพัฒนา : ความเข้ าใจ, ทักษะ, ความสงบ, ปัญญา, วิชา(อภิญญา), ความรู้ แจ้ ง รู้ พร้ อม และ นิพพาน
  • 72. อริยสั จ 4 การบริหารกลยุทธ์ ฉบับอริยะ 1. ทุกข์ เป็ นผล คือ สภาพทีทนได้ ยาก ปัญหา ่ 2. สมุทย เป็ นเหตุ ได้ แก่ ตัณหา อุปาทาน อวิชชา ั ความไม่ รู้ ยึดในสิ่ งผิด อยากสบาย ไม่ อยากเหนื่อย 3. นิโรธ เป็ นผล คือ ความดับทุกข์ เป้ าหมาย 4. มรรค เป็ นเหตุ คือ หนทางดับทุกข์ วิธีแก้ ปัญหา ทางพ้นทุกข์ คือ มัชฌิมาปฏิปทา หรือ ทางสายกลาง
  • 73.
  • 74. มรรค 8 มัชฌิมาปฏิปทา         เห็นชอบ จุดเริ่มต้ น และ จุดสิ้นสุ ด ของทางสายกลาง คิดชอบ คิดดี มีระบบ มีลาดับความคิด พูดชอบ พูดดี ถูกกาลเทศะ มีคุณค่ า กระทาชอบ ทาดี ถูกกาลเทศะ มีคุณค่ า อาชีพชอบ หน้ าทีการงาน และ การดารงชีวต ่ ิ เพียรชอบ วางแผนและทบทวน เพือแก้ ไข-ปองกัน ่ ้ สติชอบ อยู่กบปัจจุบัน และ ระลึกถึงสิ่ งตั้งใจไว้ ั สมาธิชอบ ตั้งใจมุ่งมันอยู่ในเรื่องเดียว ไร้ นิวรณ์ ่
  • 75. หลวงปู่ เทสก์ เทสรังสี  มรรค 8 เป็ นทางดาเนินด้ วยใจ ถึงแม้ นจะแสดงออกมาให้ เป็ นศีล ก็แสดงศีลในองค์ มรรคนั่นเอง มรรคแท้ มีอนเดียว คือ สั มมาทิฏฐิ ั อีก 7 ข้ อเบืองปลายเป็ นบริวารบริขารของสั มมาทิฏฐิท้งนั้น ้ ั หากขาดสั มมาทิฏฐิตัวเดียวแล้ว สั มมาสั งกัปปะเป็ นต้ นย่ อมเป็ นไปไม่ ได้  สั มมาทิฏฐิ คือ ความเห็นชอบ พอปัญญาสั มมาทิฏฐิเกิดขึนเท่ านั้นแหละ ้ มันก็เป็ นองค์ มรรค 8 สมบูรณ์ บริบูรณ์ เลย  เหตุน้ัน มรรค 8 รวมอยู่ในทีเ่ ดียวกัน รวมอยู่ในจุดเดียวกัน เมื่อจิตเป็ นสมาธิแน่ วแน่ เต็มทีแล้ว สั มมาทิฏฐิความเห็นชอบก็เกิด ่ ณ ทีสัมมาสมาธิน้ันเอง คือเห็นทุกข์ เห็นสมุทย ่ ั ส่ วนจะละได้ มากน้ อยขนาดไหนก็แล้วแต่ กาลังปัญญาสั มมาทิฏฐิของตนๆ เมื่อละได้ แล้ว นิโรธความดับเย็นขนาดไหนก็จะปรากฎขึนเฉพาะตนในทีน้ัน ้ ่
  • 76. ความเข้ าใจ เกิดขึนภายในใจเราเอง ้ ไม่ ได้ จามา ไม่ ยดติดกับคาจากัดความ ึ เป็ นการมองในภาพรวม ทุกด้ าน เป็ นแก่ นแท้ เนือแท้ ของเรื่องราว ้ บูรณาการ เชื่อมโยง ไม่ ตดขัด ิ สอดคล้ องกับความจริงตามธรรมชาติ ไม่ ใช่ เป็ นความรู้ สึก ชอบไม่ ชอบ ไม่ ใช่ นึกคิด ปรุงแต่ งเอาเอง ไม่ มถูก ไม่ มผด ไม่ มดี ไม่ มชั่ว ี ี ิ ี ี ไม่ ใช่ ความเข้ าใจของเรา ของเขา ของใคร
  • 77. ไตรสิ กขา ศีล สมาธิ ปัญญา • • • • • • • • • เป็ นแนวทาง แผนที่ เครื่องนาทาง วิธีการ กระบวนการ เป็ นหลัก ทีเ่ มือปฏิบัตจริง ต้ องปรับให้ เข้ ากับผู้ปฏิบัติ ่ ิ มุ่งการพัฒนาจิตใจ และ ความฉลาดทางจิตวิญญาณ ปรับให้ เข้ ากับหลักการทางาน การบริหารงานได้ อย่ างดี ทาให้ บรรลุเปาหมาย สร้ างคุณค่ าครบทั้งสองด้ าน ้ ศีล คือ ระบบ ระเบียบ วินัย ที่ต้องฝึ ก ทา ให้ เป็ นปกติ สมาธิ คือ ใจมุ่งมันผูกพันแน่ วแน่ เป็ นหนึ่งเดียวกัน ่ ปัญญา คือ ความรู้ ทักษะ Core Competency ไตรสิ กขา ต้ องใช้ ควบกับ ไตรลักษณ์
  • 79. พุทธศาสนา 3.0 พุทธศาสนาเชิงประยุกต์ ไม่ จาเป็ นต้ องเรียกว่ า พุทธ แต่ อยู่ได้ ในทุกแห่ ง  เรียนรู้ ศาสตร์ ทุกศาสตร์ ทจาเป็ นต่ อชีวต จาเป็ นต่ อสถานการณ์ ี่ ิ เรียนรู้ศาสตร์ ทเี่ หมาะกับตน ปรับให้ เข้ า เป็ นหนึ่งเดียวกับตน  เมื่อเรียนรู้ ก็เรียนรู้ให้ เข้ าใจถึงหลักการ แก่นแท้ จิตวิญญาณ  พุทธศาสตร์ ก็เหมาะกับ คนพุทธ คนทีสนใจพุทธ ่ คริสต์ ก็เหมาะกับคนคริสต์ อิสลามก็เหมาะกับคนอิสลาม  แต่ ไม่ ว่าศาสตร์ เมื่อเข้ าใจถ่ องแท้ ถึงทีสุดแล้ว ่ สุ ดท้ าย ก็จะเข้ าประตูเดียวกัน ประตูทไม่ มีประตู ี่  พุทธะคือ ธรรมชาติของมนุษย์ อยู่ในคนทุกคน เหมือนกัน ไม่ จาเป็ นต้ องเรียกว่ า พุทธะ และ ไม่ จาเป็ นต้ องไปเพิมเติมเข้ าไปอีก ่
  • 80.  รู้ จกและเข้ าใจตนเอง ั  กาหนดเปาหมาย และ สิ่ งทีต้องการจริงๆในชีวตทุกๆด้ าน ้ ่ ิ  เปิ ดใจ เรียนรู้ เพือบ่ มเพาะปัญญาทีจะทาให้ บรรลุเปาหมาย ่ ่ ้  เลือก และ ทดลองใช้ เครื่องมือทีเ่ ห็นว่ า เหมาะสม  เดินบนเส้ นทางของตนเอง ไม่ ก้าวก่ ายเส้ นทางของคนอืน ่  ใช้ ความสงบ นิ่ง ฟัง เรียนรู้ ไม่ ด่วนตัดสิ นใคร  ใช้ ปัญญา วิเคราะห์ แยกแยะ เข้ าใจภาพรวมให้ หมดทุกด้ าน  ตัดสิ นใจ บนความเป็ นกลาง  ขยายขอบเขตความเข้ าใจ ความช่ วยเหลือ และ คุณค่ าให้ คนอืน ่  แชร์ ความสุ ขใจทีได้ จากการพัฒนาตนเองและเป็ นผู้ให้ ่
  • 81. การศึกษา ต้ องเริ่มจากตนเองก่ อนเสมอ จากภายนอกเข้ าภายใน จากภายในออกภายนอก เรียนปริญญาตรี ปริญญาโท ปริญญาเอก ทิงปริญญาตรี โท เอก ้ ใช้ Common Sense ใช้ จิตวิญญาณ รู้หนึ่งเท่ ากับรู้ท้งหมด ั รู้ท้งหมดเท่ ากับรู้หนึ่ง ั
  • 82. ถ้ าเส้ นทางที่เลือกเดิน เครื่องมือที่เลือกใช้ เริ่มจาก พุทธศาสนา ตอบแทนคุณ ตามหน้ าทีของพุทธบริษท ่ ั เผยแพร่ ธรรม และ ตอบปัญหาธรรม เพือสร้ างความเข้ าใจทีถูก และ ปกป้ องพระธรรม ่ ่
  • 83. ผู้ทเี่ ดินอยู่บนเส้ นทางแห่ งคุณธรรม ย่ อมพบกันเสมอ สวัสดีครับ