SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 66
Copyright © 2015 by Miss Wanwisa Panphanoun 1
ระบบย่อยอาหาร
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหายใจ
ระบบขับถ่าย
การเจริญเติบโตของร่างกายCopyright © 2015 by Miss Wanwisa Panphanoun 2
ส่วนต่างๆ ของร่างกายสามารถจัดระบบของการทางาน จากย่อยไปใหญ่ ดังนี้
เนื้อเยื่อ (tissue)
อวัยวะ (organ)
ระบบอวัยวะ
(organ system)
ร่างกาย (body)เซลล์ (cell) เป็นองค์ประกอบพื้นฐานที่เล็กที่สุดของสิ่งมีชีวิต ซึ่งร่างกายของ
มนุษย์ประกอบด้วยเซลล์จานวนหลายล้านเซลล์ ในแต่ละเซลล์จะมี ความ
แตกต่างกัน ทั้งขนาดและรูปร่างขึ้นอยู่กับหน้าที่ของเซลล์นั้นๆ
เซลล์ (cell)
ชื่อเซลล์: เม็ดเลือดแดง
ลักษณะ: กลมแบน ตรงกลางเว้า
คล้ายโดนัท
หน้าที่: ลาเลียงออกซิเจน
Copyright © 2015 by Miss Wanwisa Panphanoun 3
ส่วนต่างๆ ของร่างกายสามารถจัดระบบของการทางาน จากย่อยไปใหญ่ ดังนี้
เนื้อเยื่อ (tissue)
อวัยวะ (organ)
ระบบอวัยวะ
(organ system)
ร่างกาย (body)เซลล์ (cell) เป็นองค์ประกอบพื้นฐานที่เล็กที่สุดของสิ่งมีชีวิต ซึ่งร่างกายของ
มนุษย์ประกอบด้วยเซลล์จานวนหลายล้านเซลล์ ในแต่ละเซลล์จะมี ความ
แตกต่างกัน ทั้งขนาดและรูปร่างขึ้นอยู่กับหน้าที่ของเซลล์นั้นๆ
เซลล์ (cell)
ชื่อเซลล์: กล้ามเนื้อ
ลักษณะ: แบน ยาว แต่เมื่อหด
ตัวจะพองออก
หน้าที่: ยืดหดเพื่อให้เกิดการ
เคลื่อนไหว
Copyright © 2015 by Miss Wanwisa Panphanoun 4
ส่วนต่างๆ ของร่างกายสามารถจัดระบบของการทางาน จากย่อยไปใหญ่ ดังนี้
อวัยวะ (organ)
ระบบอวัยวะ
(organ system)
ร่างกาย (body)
เซลล์ (cell)
เนื้อเยื่อ (tissue) คือกลุ่มของเซลล์ที่มีรูปร่างเหมือนกัน ทาหน้าที่เดียวกันมา
อยู่ร่วมกัน เช่น
เนื้อเยื่อประสาท(nerve) มีหน้าที่ประสานงานในการรับความรู้สึกการสั่งงาน
เนื้อเยื่อ (tissue)
Copyright © 2015 by Miss Wanwisa Panphanoun 5
ส่วนต่างๆ ของร่างกายสามารถจัดระบบของการทางาน จากย่อยไปใหญ่ ดังนี้
อวัยวะ (organ)
ระบบอวัยวะ
(organ system)
ร่างกาย (body)
เซลล์ (cell)
เนื้อเยื่อ (tissue) คือกลุ่มของเซลล์ที่มีรูปร่างเหมือนกัน ทาหน้าที่เดียวกันมา
อยู่ร่วมกัน เช่น
เนื้อเยื่อกล้ามเนื้อ(muscle) มีหน้าที่ช่วยให้ร่างกายเคลื่อนไหวได้ทางานได้
เนื้อเยื่อ (tissue)
1. กล้ามเนื้อลาย (skeleton muscle)
ทางานอยู่ภายใต้อานาจจิตใจ เช่น
กล้ามเนื้อยึดกระดูกขา
Copyright © 2015 by Miss Wanwisa Panphanoun 6
ส่วนต่างๆ ของร่างกายสามารถจัดระบบของการทางาน จากย่อยไปใหญ่ ดังนี้
อวัยวะ (organ)
ระบบอวัยวะ
(organ system)
ร่างกาย (body)
เซลล์ (cell)
เนื้อเยื่อ (tissue) คือกลุ่มของเซลล์ที่มีรูปร่างเหมือนกัน ทาหน้าที่เดียวกันมา
อยู่ร่วมกัน เช่น
เนื้อเยื่อกล้ามเนื้อ(muscle) มีหน้าที่ช่วยให้ร่างกายเคลื่อนไหวได้ทางานได้
เนื้อเยื่อ (tissue)
2. กล้ามเนื้อเรียบ (smooth muscle)
ทางานอยู่นอกอานาจจิตใจ เช่น
กล้ามเนื้อกระเพาะ
Copyright © 2015 by Miss Wanwisa Panphanoun 7
ส่วนต่างๆ ของร่างกายสามารถจัดระบบของการทางาน จากย่อยไปใหญ่ ดังนี้
อวัยวะ (organ)
ระบบอวัยวะ
(organ system)
ร่างกาย (body)
เซลล์ (cell)
เนื้อเยื่อ (tissue) คือกลุ่มของเซลล์ที่มีรูปร่างเหมือนกัน ทาหน้าที่เดียวกันมา
อยู่ร่วมกัน เช่น
เนื้อเยื่อกล้ามเนื้อ(muscle) มีหน้าที่ช่วยให้ร่างกายเคลื่อนไหวได้ทางานได้
เนื้อเยื่อ (tissue)
3. กล้ามเนื้อหัวใจ (cardiac muscle)
ทางานอยู่นอกอานาจจิตใจ
Copyright © 2015 by Miss Wanwisa Panphanoun 8
เซลล์ (cell)
ส่วนต่างๆ ของร่างกายสามารถจัดระบบของการทางาน จากย่อยไปใหญ่ ดังนี้
เนื้อเยื่อ (tissue)
ระบบอวัยวะ
(organ system)
ร่างกาย (body)อวัยวะ (organ) คือโครงสร้างที่
ประกอบด้วยเนื้อเยื่อ หลายชนิดอยู่รวมกัน
ทาหน้าที่อย่างใดอย่างหนึ่งโดยเฉพาะ เช่น
หัวใจเป็นอวัยวะที่ประกอบด้วยเนื้อเยื่อหุ้ม
หัวใจ อวัยวะ (organ)
Copyright © 2015 by Miss Wanwisa Panphanoun 9
อวัยวะ (organ)
เซลล์ (cell)
ส่วนต่างๆ ของร่างกายสามารถจัดระบบของการทางาน จากย่อยไปใหญ่ ดังนี้
เนื้อเยื่อ (tissue)
ระบบอวัยวะ
(organ system)
ร่างกาย (body)ระบบอวัยวะ (organ system)
คือ โครงสร้างที่ประกอบด้วยอวัยวะ
หลาย ๆ อวัยวะมาทาหน้าที่ร่วมกัน
อย่างใดอย่างหนึ่ง เช่น
ระบบหมุนเวียนเลือด ระบบหายใจ
ระบบย่อยอาหาร ระบบขับถ่าย
ระบบประสาท เป็นต้น
Copyright © 2015 by Miss Wanwisa Panphanoun 10
อวัยวะ (organ)
เซลล์ (cell)
ส่วนต่างๆ ของร่างกายสามารถจัดระบบของการทางาน จากย่อยไปใหญ่ ดังนี้
เนื้อเยื่อ (tissue)
ระบบอวัยวะ
(organ system)
ร่างกาย (body)
สรุปการจัดระบบ
ในร่างกายของมนุษย์
Copyright © 2015 by Miss Wanwisa Panphanoun 11
ทดสอบความเข้าใจ
การจัดระบบ
___ 1. เซลล์เป็นส่วนประกอบที่เล็กที่สุดของสิ่งมีชีวิต
___ 2. สิ่งมีชีวิตจะต้องประกอบไปด้วยเซลล์หลายเซลล์จึงจะมีชีวิตอยู่ได้
___ 3. ร่างกายของคนในสภาวะปกติมีอุณหภูมิที่ 37 องศาเซลเซียส
___ 4. อวัยวะคือโครงสร้างของเนื้อเยื่อหลายชนิดรวมกันทาหน้าที่อย่าง
เดียวกัน
___ 5. กล้ามเนื้อลายทางานอยู่ภายใต้อานาจจิตใจ เช่น หัวใจ ปอด เป็น
ต้น





Copyright © 2015 by Miss Wanwisa Panphanoun 12
ระบบย่อยอาหาร
Copyright © 2015 by Miss Wanwisa Panphanoun 13
ระบบย่อยอาหาร
อาหารที่เข้าสู่ร่างกายจะต้องผ่านกระบวนการย่อย
อาหาร เพื่อให้ได้สารอาหารที่มีโมเลกุลขนาดเล็กจน
สามารถนาไปเลี้ยงส่วนต่าง ๆ ของร่างกายได้
Copyright © 2015 by Miss Wanwisa Panphanoun 14
ระบบย่อยอาหาร
Copyright © 2015 by Miss Wanwisa Panphanoun 15
ระบบย่อยอาหาร
ปาก
ทวารหนัก
คอหอย
ลาไส้ใหญ่
หลอดอาหาร กระเพาะอาหาร
ลาไส้เล็กไส้ตรง
Copyright © 2015 by Miss Wanwisa Panphanoun 16
ระบบย่อยอาหาร
เป็นอวัยวะแรกที่ทาหน้าที่ในการย่อยอาหารแบบเชิงกลโดยการ
บดเคี้ยวอาหารของฟันและมีการย่อยทางเคมีโดยเอนไซม์อะไมเลส
ซึ่งทางานได้ดีในสภาพที่เป็นเบสเล็กน้อย
ภายในปากมีโครงสร้างที่เกี่ยวข้องกับการย่อยอาหารดังนี้
1.1 ฟัน (teeth)
1.2 เพดานอ่อน (soft palate)
1.3 ต่อมน้าลาย (salivary gland)
1.4 ลิ้น (tongue)
1. ปาก (month)
ปาก
ทวารหนัก
คอหอย
ลาไส้ใหญ่
หลอดอาหาร กระเพาะอาหาร
ลาไส้เล็กไส้ตรง
Copyright © 2015 by Miss Wanwisa Panphanoun 17
ระบบย่อยอาหาร
1.1 ฟัน (teeth) ที่ทาหน้าที่คอยบดเคี้ยวอาหารให้เล็กลงโดย
ฟันมี 2 ชุดคือ ฟันน้านมและฟันแท้
- ฟันน้า นม มี 20 ซี่ เริ่มขึ้นเมื่ออายุ 6 เดือนถึง 13 ปี
- ฟันแท้มี 32 ซี่
- ฟันหน้า สาหรับตัดอาหาร 8 ซี่
- ฟันเขี้ยว สาหรับฉีกอาหาร 4 ซี่
- ฟันกรามหน้าและกรามหลัง สาหรับบดเคยวอาหารอีก 8 และ
12 ซี่
1. ปาก (month)
ปาก
ทวารหนัก
คอหอย
ลาไส้ใหญ่
หลอดอาหาร กระเพาะอาหาร
ลาไส้เล็กไส้ตรง
Copyright © 2015 by Miss Wanwisa Panphanoun 18
ระบบย่อยอาหาร
1.2 เพดานอ่อน (soft palate) เพดานอ่อนจะเลื่อน
ปิดปลายโพรงจมูกขณะที่มีการกลืนอาหาร
1.3 ต่อมน้าลาย (salivary gland) ทาหน้าที่สร้าง
น้าลาย(saliva) ประกอบด้วย น้า น้าเมือก เอนไซม์อะ
ไมเลส (amylase), NaHCO3, แร่ธาตุ เช่น ฟอสฟอรัส (P)
คลอรีน (Cl)
ต่อมน้าลายมีด้วยกัน 3 คู่ คือ ต่อมน้าลายบริเวณกกหู
ต่อมน้าลายใต้ขากรรไกรล่างและต่อมน้าลายใต้ลิ้น ผลิต
น้า ลายไดว้นัละ 1-1.5 ลิตร
1. ปาก (month)
ปาก
ทวารหนัก
คอหอย
ลาไส้ใหญ่
หลอดอาหาร กระเพาะอาหาร
ลาไส้เล็กไส้ตรง
Copyright © 2015 by Miss Wanwisa Panphanoun 19
ระบบย่อยอาหาร
1.4 ลิ้น (tongue) คอยคลุกเคล้าอาหารให้ผสมกับน้าลาย
และมีต่อมรับรส (test bud) กระจายอยู่ทั่ว
• โดยปลายลิ้นรับรสหวาน
• โคนลิ้นรับรสขม
• ข้างลิ้นรับรสเปรี้ยว
• ปลายลิ้นรับรสขม
การย่อยในปากมีเฉพาะการย่อยแป้งเท่าน้ัน โดยอาหารที่
ผ่านการย่อยจะเป็นก้อนเรียกว่า โบลัส (bolus) แล้วเลื่อนผ่าน
คอหอยโดยการกลืน
1. ปาก (month)
ปาก
ทวารหนัก
คอหอย
ลาไส้ใหญ่
หลอดอาหาร กระเพาะอาหาร
ลาไส้เล็กไส้ตรง
Copyright © 2015 by Miss Wanwisa Panphanoun 20
ระบบย่อยอาหาร
เป็นทางผ่านระหว่างปากกับหลอด
อาหาร ช่องที่เปิดติดต่อกับอวัยวะ
หลายแห่ง เช่น จมูก ปาก หลอดลม
หลอดอาหารและช่องหูตอนกลาง
ขณะที่เรากลืนอาหารเราจะไม่หายใจ
2. คอหอย (pharynx)
ปาก
ทวารหนัก
คอหอย
ลาไส้ใหญ่
หลอดอาหาร กระเพาะอาหาร
ลาไส้เล็กไส้ตรง
Copyright © 2015 by Miss Wanwisa Panphanoun 21
ระบบย่อยอาหาร
เป็นกล้ามเนื้อเรียบ มีการย่อย
เชิงกลโดยการบีบรัดตัวเป็นจังหวะเพื่อ
ลาเลียงอาหารลงสู่กระเพาะอาหารไม่มี
น้าย่อยไม่มีการดูดซึมอาหารแต่มีการ
หลั่งสารเมือกเพื่อช่วยหล่อลื่น
ปาก
ทวารหนัก
คอหอย
ลาไส้ใหญ่
หลอดอาหาร กระเพาะอาหาร
ลาไส้เล็กไส้ตรง3. หลอดอาหาร
(esophagus)
Copyright © 2015 by Miss Wanwisa Panphanoun 22
ระบบย่อยอาหาร
เป็นบริเวณที่มีการย่อยทั้งแบบเชิงกลและทางเคมี มีรูปร่างคล้ายตัว
เจ (J) มีกล้ามเนื้อหูรูดทั้งบนและล่าง
กระเพาะสามารถดูดซึมอาหารได้เป็นแห่งแรก เช่น สามารถดูดซึม
แอลกอฮอล์ วิตามินบี 12 และแร่ธาตุบางชนิด กระเพาะอาหารมีการ
หลั่งกรดเกลือหรือไฮโดรคลอริก (HCI) เพื่อปรับสภาพให้เหมาะสมกับ
การทางานของเอนไซม์
4. กระเพาะอาหาร
(stomach)
ปาก
ทวารหนัก
คอหอย
ลาไส้ใหญ่
หลอดอาหาร กระเพาะอาหาร
ลาไส้เล็กไส้ตรง
กระเพาะจึงสร้างเมือกขึ้นมาเพื่อป้องกันกรดเกลือทาลาย
ผนังกระเพาะอาหาร
Copyright © 2015 by Miss Wanwisa Panphanoun 23
ระบบย่อยอาหาร
อาหารจะถูกคลุกเคล้าอยู่ในกระเพาะด้วยการหดตัว
และคลายตัวของกล้ามเนื้อที่แข็งแรงของกระเพาะ ใน
กระเพาะอาหารจะมีการจะสร้างเอนไซม์เพปซิน (pepsin)
ย่อยเฉพาะโปรตีนให้เป็นโปรตีนโมเลกุลย่อยลงเรียกว่า
เพปไทด์ (Peptide) แต่ยังไม่สามารถดูดซึมไปใช้ประโยชน์
ได้ นอกจากน้ันยังมีการสร้างเอนไซม์ เรนนิน (rennin)
สาหรับย่อยโปรตีนในน้านม
4. กระเพาะอาหาร
(stomach)
ปาก
ทวารหนัก
คอหอย
ลาไส้ใหญ่
หลอดอาหาร กระเพาะอาหาร
ลาไส้เล็กไส้ตรง
Copyright © 2015 by Miss Wanwisa Panphanoun 24
ระบบย่อยอาหาร
ลาไส้เล็กเป็นส่วนที่มีการดูดซึมสารอาหารมากที่สุดเนื่องจากที่
ผนังลาไส้เล็กสามารถสร้างน้าย่อยหรือเอนไซม์ขึ้นมาได้หลายชนิด
ทางานได้ดีในสภาวะที่เป็นเบส ลาไส้เล็กเป็นอวัยวะที่ยาวที่สุดถึง
7- 8 เมตร ลาไส้เล็กแบ่งออกเป็น 3 ส่วนคือ
5. ลาไส้เล็ก
(Small Intestine)
ปาก
ทวารหนัก
คอหอย
ลาไส้ใหญ่
หลอดอาหาร กระเพาะอาหาร
ลาไส้เล็กไส้ตรง
Copyright © 2015 by Miss Wanwisa Panphanoun 25
ระบบย่อยอาหาร
1. ลาไส้ตอนต้น หรือ ดูโอดีนัม (duodenum) รับน้าย่อยจากตับ
อ่อนและรับน้าดีจากตับ (น้าดีมีสีเขียว รสขม และมีสมบัติเป็นเบส)
ลาไส้ส่วนนั้นเป็นส่วนที่มีการทาการย่อยมากที่สุด สามารถย่อย
คาร์โบไฮเดรต โปรตีน และไขมันได้
2.ลาไส้ส่วนกลาง หรือ เจจูนัม (jejunum) เป็นส่วนที่ดูดซึม
อาหารที่ย่อยแล้วมากที่สุด
3.ลาไส้ส่วนท้าย หรือ ไอเลียม (ileum) ย่อยและดูดซึมอาหารที่
เหลือ
5. ลาไส้เล็ก
(Small Intestine)
ปาก
ทวารหนัก
คอหอย
ลาไส้ใหญ่
หลอดอาหาร กระเพาะอาหาร
ลาไส้เล็กไส้ตรง
Copyright © 2015 by Miss Wanwisa Panphanoun 26
ระบบย่อยอาหาร
การย่อยอาหารในลาไส้เล็ก
1.ย่อยน้าตาลโมเลกุลคู่ให้เป็นน้าตาลโมเลกุลเดี่ยวโดยเอนไซม์ต่อไปนี้
• เอนไซม์มอลเทสย่อย น้าตาลมอลโทส >> กลูโคส + กลูโคส
• เอนไซม์ซูเครสย่อย น้าตาลซูโครส >> กลูโคส + ฟรักโทส
• เอนไซม์แลกเทสย่อย น้าตาลแลกโทส >> กลูโคส + กาแลกโทส
• เอนไซม์อะไมเลสย่อยแป้ง >> มอลโทส
5. ลาไส้เล็ก
(Small Intestine)
ปาก
ทวารหนัก
คอหอย
ลาไส้ใหญ่
หลอดอาหาร กระเพาะอาหาร
ลาไส้เล็กไส้ตรง
Copyright © 2015 by Miss Wanwisa Panphanoun 27
ระบบย่อยอาหาร
การย่อยอาหารในลาไส้เล็ก
2. ย่อยสารอาหารโปรตีนต่อจากกระเพาะอาหาร โดย
• เอนไซม์ทริปซินย่อยพอลีเพปไทด์ให้ส้ันลง
• คาร์บอกซิเพปทิเดส และอะมิโนเพปทิเดสย่อยที่ปลายพอลีเพปไทด์ได้กรดอะมิโนหลุด
ออกมาที่ละโมเลกุล
3.ย่อยไขมันโดยเอนไซม์ไลเพสจะย่อยไขมันโมเลกุลเล็ก (emulsified fat) >>
กรดไขมัน + กลีเซอรอล
5. ลาไส้เล็ก
(Small Intestine)
ปาก
ทวารหนัก
คอหอย
ลาไส้ใหญ่
หลอดอาหาร กระเพาะอาหาร
ลาไส้เล็กไส้ตรง
Copyright © 2015 by Miss Wanwisa Panphanoun 28
ระบบย่อยอาหาร
การดูดซึมอาหารในลาไส้เล็ก
ที่ผนังลาไส้เล็กจะยาวพับไปมา และมีส่วนยื่นของกลุ่มของเซลล์
ที่เรียงตัวเป็นแถวเดียวมีลักษณะคล้ายนิ้วมือ เรียกว่า วิลลัส
(Villus) เป็นจานวนมาก ในแต่ละเซลล์ของวิลลัสยังมีส่วนยื่นของ
เยื่อหุ้มเซลล์ออกไปอีกมากมาย เรียกว่า ไมโครวิลลัส (Microvillus)
ในคนมีวิลลัสประมาณ 20-40 อัน ต่อพื้นที่ 1 ตารางมิลลิเมตรหรือ
ประมาณ 5 ล้านอัน ตลอดผนังลาไส้ทั้งหมด
5. ลาไส้เล็ก
(Small Intestine)
ปาก
ทวารหนัก
คอหอย
ลาไส้ใหญ่
หลอดอาหาร กระเพาะอาหาร
ลาไส้เล็กไส้ตรง
Copyright © 2015 by Miss Wanwisa Panphanoun 29
ระบบย่อยอาหาร
ตับ (liver)
ทาหน้าที่ผลิตน้าดี (bile) มีฤทธิ์เป็นเบสอ่อนๆ แล้ว
นาไปเก็บไว้ที่ถุงน้าดี (gall bladder) โดยน้าดีทาให้ไขมัน
แตกตัวเป็นหยดไขมันเล็ก ๆ น้าดีไม่ใช่เอนไซม์เพราะ
ไม่ใช่สารประกอบประเภทโปรตีน เมื่อทาปฏิกิริยาแล้วจะ
เปลี่ยนสภาพไป
5. ลาไส้เล็ก
(Small Intestine)
ปาก
ทวารหนัก
คอหอย
ลาไส้ใหญ่
หลอดอาหาร กระเพาะอาหาร
ลาไส้เล็กไส้ตรง
Copyright © 2015 by Miss Wanwisa Panphanoun 30
ระบบย่อยอาหาร
ตับอ่อน (pancreas)
ตับอ่อนมีรูปร่างคล้ายใบไม้สามารถผลิตของเหลวได้วันละ
2,000 ลูกบาศก์เซนติเมตร ประกอบด้วย
- อินซูลิน (Insulin) ควบคุมระดับน้าตาลในเลือดให้คงที่
- เอนไซม์ไลเพส (lipase) ย่อยไขมันได้กรดไขมันและกลี
เซอรอล
- โซเดียมไบคาร์บอเนต (NaHCO3) ช่วยปรับสภาพ
อาหารในลาไส้เล็กให้มีสภาพเป็นเบส เนื่องจากน้าย่อยใน
ลาไส้เล็กจะทางานได้ดีในภาวะที่เป็นเบส
5. ลาไส้เล็ก
(Small Intestine)
ปาก
ทวารหนัก
คอหอย
ลาไส้ใหญ่
หลอดอาหาร กระเพาะอาหาร
ลาไส้เล็กไส้ตรง
Copyright © 2015 by Miss Wanwisa Panphanoun 31
ระบบย่อยอาหาร
ลาไส้ใหญ่ เป็นทางเดินอาหารส่วนสุดท้ายต่อจากลาไส้เล็ก
ยาวประมาณ 1.5 เมตรไม่มีต่อมสร้างน้าย่อยไม่มีการย่อย
อาหาร มีแบคทีเรียที่ชื่อ E. coli ช่วยย่อยสลายกากอาหารให้
เล็กลงและช่วยสร้างวิตามิน B12 และ วิตามิน K
6. ลาไส้ใหญ่
(Large Intestine)
ปาก
ทวารหนัก
คอหอย
ลาไส้ใหญ่
หลอดอาหาร กระเพาะอาหาร
ลาไส้เล็กไส้ตรง
Copyright © 2015 by Miss Wanwisa Panphanoun 32
ระบบย่อยอาหาร
ลาไส้ใหญ่แบ่งเป็น 3 ส่วนคือ
1. ซีกัม (Caecum) เป็นลาไส้ตอนต้น มีไส้ติ่งติดอยู่
2. โคลอน (Colon) เป็นลาไส้ตอนกลาง รูปร่างตวัดขึ้น ตวัด
ขวางลาตัว ตวัดลง และตวัดเป็นรูปตัวเอส
3. ลาไส้ตรง (Rectum) เป็นลาไส้ตอนปลายเก็บกักอาหาร
ก่อนส่งทางรูทวารหนัก
ลาไส้ใหญ่จะมีการดูดน้าและเกลือแร่เป็นส่วนใหญ่ ดังนั้น เมื่อ
กากอาหารอยู่ส่วนนี้นานเกินไปหรือรับประทานอาหารที่มีกาก
อาหารน้อย จะทาให้เกิดท้องผูก และเกิดเป็นโรคริดสีดวงทวาร
6. ลาไส้ใหญ่
(Large Intestine)
ปาก
ทวารหนัก
คอหอย
ลาไส้ใหญ่
หลอดอาหาร กระเพาะอาหาร
ลาไส้เล็กไส้ตรง
Copyright © 2015 by Miss Wanwisa Panphanoun 33
ระบบย่อยอาหาร
ตาแหน่ง สารที่ย่อย น้าย่อย สารที่ได้
ปาก แป้ง ไทยาลิน (อะไมเลส) เดกซ์ทริน
กระเพาะ โปรตีน เปปซิน กรดอะมิโน
ลาไส้เล็ก แป้ง
ไขมัน
โปรตีน
พอลิเปปไทด์
เปปไทด์
Amylase
lipase
Trypsin
Chymotrypasin
carboxypeptidase
สร้างจากตับอ่อน มอลโทส
กรดไขมัน+กลีเซอรอล
เปปไทด์,กรดอะมิโน
เปปไทด์,กรดอะมิโน
กรดอะมิโน
แป้ง
น้ําตาลโมเลกุลคู่
เปปไทด์
Amylase
Disaccharase
peptidase
สร้างจากผนัง
ลาไส้เล็ก
มอลโทส
น้ําตาลโมเลกุลเดี่ยว
กรดอะมิโน
Copyright © 2015 by Miss Wanwisa Panphanoun 34
ระบบย่อยอาหาร
 คาร์โบไฮเดรต จะถูกย่อยลาดับแรกในปาก
 โปรตีน ถูกย่อยเป็นอันดับที่สองในกระเพาะอาหาร
 ไขมัน ถูกย่อยเป็นอันดับ สุดท้ายที่ลาไส้เล็ก
Copyright © 2015 by Miss Wanwisa Panphanoun 35
ระบบหมุนเวียนเลือด
Copyright © 2015 by Miss Wanwisa Panphanoun 36
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบการหมุนเวียนเลือดของคน ว่ามีระบบปิด คือมีการไหลของเลือดภายใน
หลอดเลือดเป็นทิศทางเดียวกัน ซึ่งระบบจะทาหน้าที่ลาเลียงสารอาหารต่าง ๆ ไป
ยังเซลล์และกาจัดของเสียที่เซลล์ไม่ต้องการออกจากร่างกาย
อวัยวะในระบบหมุนเวียนเลือด
1. หัวใจ (Heart)
2. เส้นเลือด (Blood vessels)
3. เลือด (Blood)
Copyright © 2015 by Miss Wanwisa Panphanoun 37
ระบบหมุนเวียนเลือด
หัวใจ อยู่ระหว่างปอดท้ังสองข้าง ค่อนไปทางด้านซ้าย
เล็กน้อย หัวใจทาหน้าที่รับและสูบฉีดเลือด หัวใจของคนมีขนาด
เท่ากาป้ันของเจ้าของหัวใจ มี 4 ห้อง
1. หัวใจ (Heart)
Copyright © 2015 by Miss Wanwisa Panphanoun 38
ระบบหมุนเวียนเลือด
แต่ละห้องทาหน้าที่ดังนี้
ห้องบน (atrium) ทาหน้าที่รับเลือดเข้าสู่หัวใจจากหลอด
เลือดเวน
- ห้องบนซ้าย (left atrium) รับเลือดแดงที่มาจากปอด
- ห้องบนขวา (right atrium) รับเลือดดาจากส่วนต่างๆ ของร่างกาย
ห้องล่าง (ventricle) ทาหน้าที่สูบฉีดเลือดจากหัวใจไปยัง
หลอดเลือดอาร์เทอรี
- ห้องล่างซ้าย (left ventricle) สูบฉีดเลือดแดงไปยังส่วนต่างๆ ของ
ร่างกาย (เป็นห้องที่มีความหนาที่สุด)
- ห้องล่างขวา (right ventricle) สูบฉีดเลือดดาไปยังปอด
เลือดดา(ออกซิเจนต่า)
1. หัวใจ (Heart)
Copyright © 2015 by Miss Wanwisa Panphanoun 39
ระบบหมุนเวียนเลือด
ลิ้นหัวใจ ทาหน้าที่ป้องกนัการไหลย้อนกลับ
ของเลือด ประกอบด้วย
- ระหว่างห้องบนขวากับห้องล่างขวา
เรียกว่า ไตรคัสปิดวาล์ว
- ระหว่างห้องบนซ้ายกับห้องล่างซ้าย
เรียกว่า ไบคัสปิดวาล์ว
1. หัวใจ (Heart)
เลือดดา(ออกซิเจนต่า)
Copyright © 2015 by Miss Wanwisa Panphanoun 40
ระบบหมุนเวียนเลือด
1. เส้นเลือดดา หรือ เวน (vein) นาเลือดจาก
ส่วนต่าง ๆ ของร่างกายเข้าสู่หัวใจ แรงดันเลือดต่า
ผนังเส้นเลือดบาง ส่วนใหญ่เป็นเลือดที่มีออกซิเจน
ต่า ยกเว้นเส้นเลือดดาที่นาเลือดที่ฟอกแล้วจากปอด
มาสู่หัวใจจะมีออกซิเจนสูง
2. เส้นเลือด (Blood vessels)
Copyright © 2015 by Miss Wanwisa Panphanoun 41
ระบบหมุนเวียนเลือด
2. เส้นเลือดแดง หรือ อาร์เทอรี (artery) นา
เลือดออกจากหัวใจไปยังอวัยวะต่าง ๆ ของร่างกาย
ผนังเส้นเลือดหนาและมีความยดืหยนุ่ มากเพื่อ
ต้านทานต่อแรงดันเลือดที่ถูกบีบออกจากหัวใจ เลือด
ที่อยู่ในเส้นเลือดแดงโดยทั่วไปมีสีแดงหรือออกซิเจน
สูง ยกเว้นเส้นเลือดแดงที่นาเลือดไปยังปอดเพื่อนา
เลือดดาไปฟอก
2. เส้นเลือด (Blood vessels)
Copyright © 2015 by Miss Wanwisa Panphanoun 42
ระบบหมุนเวียนเลือด
3. เส้นเลือดฝอย (capillary) เป็นเส้นเลือดที่
เชื่อมต่อระหว่างอาร์เทอรีและเวน มีขนาดเล็กจานวน
มากผนังบางแทรกอยู่ตามส่วนต่างๆ ของร่างกาย
เป็นบริเวณที่มีการแลกเปลี่ยนอาหารแก๊ส สารต่างๆ
และของเสียระหว่างเลือดกับเซลล์
2. เส้นเลือด (Blood vessels)
Copyright © 2015 by Miss Wanwisa Panphanoun 43
ระบบหมุนเวียนเลือด
น้าเลือด (พลาสมา) ประกอบด้วยน้ําประมาณ 91 เปอร์เซ็นต์ ทาหน้าที่
ลาเลียงเอนไซม์ ฮอร์โมน แก๊ส แร่ธาตุ วิตามิน และสารอาหารประเภทต่างๆ ที่
ผ่านการย่อยอาหารมาแล้วไปให้เซลล์ทั่วร่างกาย และรับของเสียจากเซลล์ เช่น
ยูเรีย แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ น้า ส่งไปกาจัดออกนอกร่างกาย
3. เลือด (Blood)
55% เป็นของเหลว เรียกว่า น้าเลือด (พลาสมา)
45% เป็นของแข็ง ได้แก่ เซลล์เม็ดเลือด
และเกล็ดเลือด
Copyright © 2015 by Miss Wanwisa Panphanoun 44
ระบบหมุนเวียนเลือด
เซลล์เม็ดเลือด
3. เลือด (Blood)
55% เป็นของเหลว เรียกว่า น้าเลือด (พลาสมา)
45% เป็นของแข็ง ได้แก่ เซลล์เม็ดเลือด
และเกล็ดเลือด
เซลล์เม็ดเลือดแดง
เซลล์เม็ดเลือดดา
Copyright © 2015 by Miss Wanwisa Panphanoun 45
ระบบหมุนเวียนเลือด
เซลล์เม็ดเลือดแดง มีลักษณะค่อนข้างกลมตรง
กลางจะเว้าเข้าหากัน (คล้ายขนมโดนัท) เนื่องจาก
ไม่มีนิวเคลียสองค์ประกอบ ส่วนใหญ่จะเป็นสาร
ประเภทโปรตีนที่เรียกว่า ฮีโมโกลบิน ซึ่งมีสมบัติใน
การรวมตัวกับแก๊สต่างๆ ได้ดี เช่น แก๊สออกซิเจน
(ออกซิฮีโมโกลบิน คือ เลือดที่มีแก๊สออกซิเจนมาก)
แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ มีหน้าที่ในการแลกเปลี่ยน
แก๊ส โดยจะลาเลียงแก๊สออกซิเจน ไปยังส่วนต่างๆ
ของร่างกาย และลาเลียงแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์
จากส่วนต่างๆ ของร่างกาย กลับไปที่ปอด
Copyright © 2015 by Miss Wanwisa Panphanoun 46
ระบบหมุนเวียนเลือด
เซลล์เม็ดเลือดแดง
แหล่งสร้างเม็ดเลือดแดง คือ ไขกระดูก
ผู้ชายจะมีเซลล์เม็ดเลือดแดงมากกว่าผู้หญิง
เซลล์เม็ดเลือดแดงมีอายุประมาณ 110 –120 วัน
หลังจากนั้นจะถูกนาไปทาลายที่ตับและม้าม
Copyright © 2015 by Miss Wanwisa Panphanoun 47
ระบบหมุนเวียนเลือด
เซลล์เม็ดเลือดขาว มีลักษณะค่อนข้างกลมไม่
มีสี และมีนิวเคลียส เม็ดเลือดขาวในร่างกายมีอยู่
ด้วยกันหลายชนิด มีหน้าที่ทาลายเชื้อโรคหรือ
สารแปลกปลอมที่เข้ามาสู่ร่างกาย
แหล่งที่สร้างเม็ดเลือดขาว คือ ม้าม ไขกระดูก
และต่อมน้าเหลือง
มีอายุประมาณ 7 – 14 วัน
Copyright © 2015 by Miss Wanwisa Panphanoun 48
ระบบหมุนเวียนเลือด
เกล็ดเลือด (Platelets) เป็นชิ้นส่วนของเซลล์ ซึ่งมีรูปร่างกลมรี และแบน
เกล็ดเลือดมีอายุประมาณ 4 วัน ทาหน้าที่ช่วยให้เลือดแข็งตัวเมื่อมีการไหลของ
เลือดจากหลอดเลือดออกสู่ภายนอก
3. เลือด (Blood)
55% เป็นของเหลว เรียกว่า น้าเลือด (พลาสมา)
45% เป็นของแข็ง ได้แก่ เซลล์เม็ดเลือด
และเกล็ดเลือด
Copyright © 2015 by Miss Wanwisa Panphanoun 49
ระบบหมุนเวียนเลือด
ความดันเลือดมีหน่วยวัดเป็นมิลลิเมตรง
ปรอท (mmHg) เป็นค่าตัวเลข 2 ค่า คือ ค่า
ความดันเลือดขณะหัวใจบีบตัวและค่าความ
ดันเลือดขณะหัวใจคลายตัว เช่น
ความดันเลือด (Blood pressure)
110/70 mmHg
-ตัวเลขค่าแรก 110 คือค่าของความดันเลือดสูงสุดขณะหัวใจบีบตัว
-ตัวเลขค่าหลัง 70 คือค่าของความดันเลือดต่ําสูดที่หัวใจคลายตัว
Copyright © 2015 by Miss Wanwisa Panphanoun 50
ระบบหมุนเวียนเลือด
เครื่องมือวัดความดันเลือดเรียกว่า “มาตรความ
ดันเลือด” ใช้คู่กับสเตตโทสโคป (stetoscope)
โดยจะวัดความดันที่หลอดเลือดแดง
ความดันเลือด (Blood pressure)
- ความดันของหลอดเลือดแดงที่อยู่ใกล้หัวใจจะมี
ความดันสูงกว่าหลอดเลือดแดงที่อยู่ไกลหัวใจ
- ความดันของหลอดเลือดดาจะมีความดันต่ํากว่า
หลอดเลือดแดง
Copyright © 2015 by Miss Wanwisa Panphanoun 51
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระดับความดันเลือด
-ปกติความดันเลือดสูงสุดขณะหัวใจบีบตัว
ให้เลือดออกจากหัวใจมีค่า 100 + อายุ และ
ความดันเลือดขณะที่หัวใจรับเลือดไม่ควรเกิน
90 มิลลิเมตรของปรอท
ความดันเลือด (Blood pressure)
-ถ้าเกินจะเป็นโรคความดันเลือดสูง ซึ่งมีสาเหตุมาจากหลายประการเช่น หลอด
เลือดตีบตัน คอเลสเทอรอลในเลือดสูง โกรธง่ายหรือเครียดอยู่เป็นประจา พบมากใน
ผู้สูงอายุหรือผู้ที่อยู่ในสภาวะเครียด หรือโกรธ ทาให้ร่างกายผลิตสารชนิดหนึ่ง
ออกมา ที่มีผลต่อการบีบตัวของหัวใจ
Copyright © 2015 by Miss Wanwisa Panphanoun 52
ระบบหมุนเวียนเลือด
.ชีพจร เป็นแรงสะเทือนของกระแสเลือด ซึ่งเกิด
จากการบีบตัวของหัวใจห้องล่างด้านซ้าย ทาให้ผนัง
ของหลอดเลือดแดงขยายออกเป็นจังหวะ
ชีพจร (Pulse)
Copyright © 2015 by Miss Wanwisa Panphanoun 53
ระบบหมุนเวียนเลือด
- อายุ เมื่ออายุเพิ่มขึ้นอัตราการเต้นของชีพจรจะลดลง ในผู้ใหญ่อัตราการเต้น
ของชีพจร 60-100 (เฉลี่ย 80/ ครั้งต่อวินาที)
- เพศ หลังวัยรุ่น ค่าเฉลี่ยของอัตราการเต้นของชีพจรของผู้ชายจะต่ํากว่าหญิง
เล็กน้อย
- การออกกาลังกาย อัตราการเต้นของชีพจรจะเพิ่มขึ้น
- ยาบางชนิด ลดอัตราการเต้นของชีพจร เช่น ยาโรคหัวใจ เช่น digitalis
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อชีพจร
Copyright © 2015 by Miss Wanwisa Panphanoun 54
ระบบหมุนเวียนเลือด
- Hemorrhage การสูญเสียเลือดจะทาให้อัตราการเต้นของชีพจรสูงขึ้นในผู้ใหญ่
มีเลือดประมาณ 5 ลิตร การสูญเสียเลือดไป <10% จึงจะปราศจากผลข้างเคียง
- ความเครียด ความกลัว ความวิตกกังวล และอาการเจ็บปวดจะเพิ่ม การเต้น
ของชีพจร
- ท่าทาง เมื่ออยู่ในท่ายืนหรือนั่งชีพจรจะเต้นเพิ่มขึ้น (เร็วขึ้น) ท่านอนชีพจรจะ
ลดลง (ช้า)
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อชีพจร
Copyright © 2015 by Miss Wanwisa Panphanoun 55
ทดสอบความเข้าใจ
ระบบหมุนเวียนเลือด
___ 1. ระบบหมุนเวียนเลือดแบบเปิด เลือดจะไหลจากเส้นเลือดสัมผัส
กับเซลล์โดยตรง
___ 2. หัวใจตั้งอยู่ระหว่างปอดทั้งสองข้าง ค่อนไปทางขวาเล็กน้อย
___ 3. ผู้ใหญ่จะสร้างเม็ดเลือดแดงที่ไขกระดูก
___ 4. เม็ดเลือดขาวมีหน้าที่หลั่งสารแอนติบอดีทาลายเชื้อโรค
___ 5. หัวใจห้องบนซ้ายเลือดจะมีออกซิเจนต่า





Copyright © 2015 by Miss Wanwisa Panphanoun 56
ตะลุยโจทย์กันดีกว่า!!
1. ข้อใดกล่าวถึงการย่อยอาหารได้ถูกต้อง
ก. สารอาหารชนิดแรกที่ถูกย่อยในกระเพาะอาหารคือ แป้ง
ข. ลาไส้เล็กมีการย่อยอาหารจาพวกโปรตีนและไขมัน
ค. น้าดีมีความสาคัญต่อการทาให้ไขมันแตกตัว
ง. ลาไส้ใหญ่มีการดูดซึมสารอาหารมากที่สุด
Copyright © 2015 by Miss Wanwisa Panphanoun 57
ตะลุยโจทย์กันดีกว่า!!
2. ความสัมพันธ์ในข้อใดต่อไปนี้ไม่ถูกต้อง
ก. ตับ – น้าดี
ข. ลาไส้เล็ก – เรนนิน
ค. ต่อมน้าลาย – อะไมเลส
ง. กระเพาะอาหาร – เพปซิน
Copyright © 2015 by Miss Wanwisa Panphanoun 58
ตะลุยโจทย์กันดีกว่า!!
3. ข้อใดเรียงลาดับการจัดระดับในร่างกายได้ถูกต้อง
ก. เซลล์  เนื้อเยื่อ  อวัยวะ  ระบบ
ข. เซลล์  อวัยวะ  เนื้อเยื่อ  ระบบ
ค. เซลล์  เนื้อเยื่อ  ระบบ  อวัยวะ
ง. เซลล์  ระบบ  เนื้อเยื่อ  อวัยวะ
Copyright © 2015 by Miss Wanwisa Panphanoun 59
ตะลุยโจทย์กันดีกว่า!!
4. เลือดที่อยู่ในเส้นเลือดใดต่อไปนี้มีปริมาณออกซิเจน
สูงที่สุด
ก. เส้นเลือดทุกเส้นที่เข้าสู่หัวใจ
ข. เส้นเลือดทุกเส้นที่ออกจากหัวใจ
ค. เส้นเลือดที่เข้าสู่หัวใจห้องบนขวา
ง. เส้นเลือดที่ออกจากหัวใจห้องล่างซ้าย
Copyright © 2015 by Miss Wanwisa Panphanoun 60
ตะลุยโจทย์กันดีกว่า!!
5. สารใดที่มีผลทาให้เม็ดเลือดแดงมีสีแดง
ก. ไฟบริน
ข. เพลตเลต
ค. ฮีโมโกลบิน
ง. โพรทรอมบิน
Copyright © 2015 by Miss Wanwisa Panphanoun 61
ตะลุยโจทย์กันดีกว่า!!
6. ข้อใดไม่ใช่ลักษณะของหลอดเลือดแดง
ก. รับเลือดออกจากหัวใจ
ข. มีลิ้นควบคุมการไหลของเลือด
ค. มีผนังหลอดเลือดหนาและแข็งแรง
ง. มีแรงดันเลือดสูงกว่าหลอดเลือดดา
Copyright © 2015 by Miss Wanwisa Panphanoun 62
ตะลุยโจทย์กันดีกว่า!!
7. อัตราชีพจรมีความสาคัญอย่างไร
ก. สังเกตการทางานของไต
ข. สังเกตการทางานของปอด
ค. สังเกตการทางานของหัวใจ
ง. สังเกตการทางานของกระเพาะอาหาร
Copyright © 2015 by Miss Wanwisa Panphanoun 63
ตะลุยโจทย์กันดีกว่า!!
8. อวัยวะที่ควบคุมระบบหมุนเวียนเลือดคือข้อใด
ก. หัวใจ
ข. ปอด
ค. ม้าม
ง. ไต
Copyright © 2015 by Miss Wanwisa Panphanoun 64
ตะลุยโจทย์กันดีกว่า!!
9. การแลกเปลี่ยนสารระหว่างเซลล์กับเลือดจะเกิดขึ้น
บริเวณใด
ก. หลอดเลือดฝอย
ข. หลอดเลือดดาใหญ่
ค. หลอดเลือดแดงใหญ่
ง. หัวใจ
Copyright © 2015 by Miss Wanwisa Panphanoun 65
ตะลุยโจทย์กันดีกว่า!!
10. ส่วนประกอบใดที่พบมากที่สุดในน้าเลือด
ก. น้า
ข. ฮอร์โมน
ค. ออกซิเจน
ง. สารอาหาร
Copyright © 2015 by Miss Wanwisa Panphanoun 66

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

5.แหล่งน้ำgs ผิวดินบาดาลใช้ประโยชน์
5.แหล่งน้ำgs ผิวดินบาดาลใช้ประโยชน์5.แหล่งน้ำgs ผิวดินบาดาลใช้ประโยชน์
5.แหล่งน้ำgs ผิวดินบาดาลใช้ประโยชน์
Wichai Likitponrak
 
ระบบย่อยอาหาร
ระบบย่อยอาหารระบบย่อยอาหาร
ระบบย่อยอาหาร
พัน พัน
 
แบบทดสอบ เรื่องส่วนประกอบของพืช ป.4
แบบทดสอบ เรื่องส่วนประกอบของพืช ป.4แบบทดสอบ เรื่องส่วนประกอบของพืช ป.4
แบบทดสอบ เรื่องส่วนประกอบของพืช ป.4
Ngamsiri Prasertkul
 
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบโครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
Thanyamon Chat.
 
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)
Thanyamon Chat.
 
Ppt ระบบประสาท (nervous system) ชีววิทยา ม.5
Ppt ระบบประสาท (nervous system) ชีววิทยา ม.5Ppt ระบบประสาท (nervous system) ชีววิทยา ม.5
Ppt ระบบประสาท (nervous system) ชีววิทยา ม.5
สำเร็จ นางสีคุณ
 
การขับถ่ายของคน
การขับถ่ายของคนการขับถ่ายของคน
การขับถ่ายของคน
Wan Ngamwongwan
 
ธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบ
website22556
 

Was ist angesagt? (20)

แรงโน้มถ่วงของโลก
แรงโน้มถ่วงของโลกแรงโน้มถ่วงของโลก
แรงโน้มถ่วงของโลก
 
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช
บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืชบทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช
 
5.แหล่งน้ำgs ผิวดินบาดาลใช้ประโยชน์
5.แหล่งน้ำgs ผิวดินบาดาลใช้ประโยชน์5.แหล่งน้ำgs ผิวดินบาดาลใช้ประโยชน์
5.แหล่งน้ำgs ผิวดินบาดาลใช้ประโยชน์
 
ระบบย่อยอาหาร
ระบบย่อยอาหารระบบย่อยอาหาร
ระบบย่อยอาหาร
 
แบบทดสอบ เรื่องส่วนประกอบของพืช ป.4
แบบทดสอบ เรื่องส่วนประกอบของพืช ป.4แบบทดสอบ เรื่องส่วนประกอบของพืช ป.4
แบบทดสอบ เรื่องส่วนประกอบของพืช ป.4
 
สถานะของสาร ม.1
สถานะของสาร ม.1สถานะของสาร ม.1
สถานะของสาร ม.1
 
แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่
 
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบโครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
 
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)
 
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
 
โครงสร้างของราก
 โครงสร้างของราก โครงสร้างของราก
โครงสร้างของราก
 
หินและแร่ ประถม
หินและแร่ ประถมหินและแร่ ประถม
หินและแร่ ประถม
 
Ppt ระบบประสาท (nervous system) ชีววิทยา ม.5
Ppt ระบบประสาท (nervous system) ชีววิทยา ม.5Ppt ระบบประสาท (nervous system) ชีววิทยา ม.5
Ppt ระบบประสาท (nervous system) ชีววิทยา ม.5
 
การขับถ่ายของคน
การขับถ่ายของคนการขับถ่ายของคน
การขับถ่ายของคน
 
Nervous system
Nervous systemNervous system
Nervous system
 
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอกการปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
 
แรงลัพธ์
แรงลัพธ์แรงลัพธ์
แรงลัพธ์
 
ธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบ
 
มิวเทชัน (Mutation)
มิวเทชัน (Mutation)มิวเทชัน (Mutation)
มิวเทชัน (Mutation)
 
โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3
 

Andere mochten auch

ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือดระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด
Wan Ngamwongwan
 
Slปกวิเคราะห์หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 พลังงานไฟฟ้า
Slปกวิเคราะห์หน่วยการเรียนรู้ที่ 3  พลังงานไฟฟ้าSlปกวิเคราะห์หน่วยการเรียนรู้ที่ 3  พลังงานไฟฟ้า
Slปกวิเคราะห์หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 พลังงานไฟฟ้า
krupornpana55
 
ระบบย่อยอาหาร - Digestive system
ระบบย่อยอาหาร - Digestive systemระบบย่อยอาหาร - Digestive system
ระบบย่อยอาหาร - Digestive system
supreechafkk
 

Andere mochten auch (12)

ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
ประชากรและกลุ่มตัวอย่างประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
 
Science.m.3.1
Science.m.3.1Science.m.3.1
Science.m.3.1
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน หน่วย งานและพลังงาน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน    หน่วย งานและพลังงานแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน    หน่วย งานและพลังงาน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน หน่วย งานและพลังงาน
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือดระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด
 
Slปกวิเคราะห์หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 พลังงานไฟฟ้า
Slปกวิเคราะห์หน่วยการเรียนรู้ที่ 3  พลังงานไฟฟ้าSlปกวิเคราะห์หน่วยการเรียนรู้ที่ 3  พลังงานไฟฟ้า
Slปกวิเคราะห์หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 พลังงานไฟฟ้า
 
ระบบประสาท (Nervous System)
ระบบประสาท (Nervous System)ระบบประสาท (Nervous System)
ระบบประสาท (Nervous System)
 
ระบบย่อยอาหาร - Digestive system
ระบบย่อยอาหาร - Digestive systemระบบย่อยอาหาร - Digestive system
ระบบย่อยอาหาร - Digestive system
 
เฉลย08งานพลังงาน
เฉลย08งานพลังงานเฉลย08งานพลังงาน
เฉลย08งานพลังงาน
 
อาหารกับการดำรงชีวิต วิทยาศาสตร์ ม.2
อาหารกับการดำรงชีวิต วิทยาศาสตร์ ม.2อาหารกับการดำรงชีวิต วิทยาศาสตร์ ม.2
อาหารกับการดำรงชีวิต วิทยาศาสตร์ ม.2
 
ระบบกำจัดของเสีย (Excretory System)
ระบบกำจัดของเสีย (Excretory System)ระบบกำจัดของเสีย (Excretory System)
ระบบกำจัดของเสีย (Excretory System)
 
02แบบฝึกพลังงาน
02แบบฝึกพลังงาน02แบบฝึกพลังงาน
02แบบฝึกพลังงาน
 
ตะลุยโจทย์ข้อสอบ งานและพลังงาน
ตะลุยโจทย์ข้อสอบ งานและพลังงานตะลุยโจทย์ข้อสอบ งานและพลังงาน
ตะลุยโจทย์ข้อสอบ งานและพลังงาน
 

Ähnlich wie สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดำรงชีวิต ประถม

ร่างกายมนุษย์
ร่างกายมนุษย์ร่างกายมนุษย์
ร่างกายมนุษย์
kanitnun
 
ระบบต่าง ๆ-ในร่างกายมนุษย์
ระบบต่าง ๆ-ในร่างกายมนุษย์ระบบต่าง ๆ-ในร่างกายมนุษย์
ระบบต่าง ๆ-ในร่างกายมนุษย์
thitichaya24
 
ระบบของอวัยวะในร่างกาย (ชัยณรงค์)
ระบบของอวัยวะในร่างกาย (ชัยณรงค์)ระบบของอวัยวะในร่างกาย (ชัยณรงค์)
ระบบของอวัยวะในร่างกาย (ชัยณรงค์)
kookoon11
 
ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่ายระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย
krubua
 
บทที่ 2 ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์ ย่อยอาหาร
บทที่  2  ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์   ย่อยอาหารบทที่  2  ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์   ย่อยอาหาร
บทที่ 2 ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์ ย่อยอาหาร
Pinutchaya Nakchumroon
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 อวัยวะภายในร่างกายที่สำคัญ ปอด ตับ ไต
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 อวัยวะภายในร่างกายที่สำคัญ  ปอด ตับ ไตแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 อวัยวะภายในร่างกายที่สำคัญ  ปอด ตับ ไต
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 อวัยวะภายในร่างกายที่สำคัญ ปอด ตับ ไต
tawitch58
 
สื่อการสอนร่างกาย
สื่อการสอนร่างกายสื่อการสอนร่างกาย
สื่อการสอนร่างกาย
saengthawan
 
เล่ม ระบบร่างกาย New
เล่ม ระบบร่างกาย Newเล่ม ระบบร่างกาย New
เล่ม ระบบร่างกาย New
savong0
 

Ähnlich wie สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดำรงชีวิต ประถม (20)

ระบบต่างๆในร่างกายป.6
ระบบต่างๆในร่างกายป.6ระบบต่างๆในร่างกายป.6
ระบบต่างๆในร่างกายป.6
 
ระบบต่างๆในร่างกายป.6
ระบบต่างๆในร่างกายป.6ระบบต่างๆในร่างกายป.6
ระบบต่างๆในร่างกายป.6
 
ระบบต่างๆในร่างกายป.6
ระบบต่างๆในร่างกายป.6ระบบต่างๆในร่างกายป.6
ระบบต่างๆในร่างกายป.6
 
ร่างกายมนุษย์
ร่างกายมนุษย์ร่างกายมนุษย์
ร่างกายมนุษย์
 
ระบบต่าง ๆ ในร่างกายมนุษย์
ระบบต่าง ๆ ในร่างกายมนุษย์ระบบต่าง ๆ ในร่างกายมนุษย์
ระบบต่าง ๆ ในร่างกายมนุษย์
 
ระบบต่าง ๆ-ในร่างกายมนุษย์
ระบบต่าง ๆ-ในร่างกายมนุษย์ระบบต่าง ๆ-ในร่างกายมนุษย์
ระบบต่าง ๆ-ในร่างกายมนุษย์
 
อจท. แผน 1 1 สุขศึกษาฯ ป.5
อจท. แผน 1 1 สุขศึกษาฯ ป.5อจท. แผน 1 1 สุขศึกษาฯ ป.5
อจท. แผน 1 1 สุขศึกษาฯ ป.5
 
ระบบของอวัยวะในร่างกาย (ชัยณรงค์)
ระบบของอวัยวะในร่างกาย (ชัยณรงค์)ระบบของอวัยวะในร่างกาย (ชัยณรงค์)
ระบบของอวัยวะในร่างกาย (ชัยณรงค์)
 
การดำรงชีพ
การดำรงชีพการดำรงชีพ
การดำรงชีพ
 
Body system
Body systemBody system
Body system
 
ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่ายระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย
 
sci access 14th : presentation digestive system & cellular respiration
sci access 14th : presentation digestive system & cellular respiration sci access 14th : presentation digestive system & cellular respiration
sci access 14th : presentation digestive system & cellular respiration
 
บทที่ 2 ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์ ย่อยอาหาร
บทที่  2  ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์   ย่อยอาหารบทที่  2  ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์   ย่อยอาหาร
บทที่ 2 ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์ ย่อยอาหาร
 
บทที่ 4 ระบบย่อยอาหาร
บทที่ 4  ระบบย่อยอาหาร   บทที่ 4  ระบบย่อยอาหาร
บทที่ 4 ระบบย่อยอาหาร
 
ชุดที่ 1 ระบบภายในร่างกาย
ชุดที่ 1  ระบบภายในร่างกายชุดที่ 1  ระบบภายในร่างกาย
ชุดที่ 1 ระบบภายในร่างกาย
 
404766008
404766008404766008
404766008
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 อวัยวะภายในร่างกายที่สำคัญ ปอด ตับ ไต
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 อวัยวะภายในร่างกายที่สำคัญ  ปอด ตับ ไตแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 อวัยวะภายในร่างกายที่สำคัญ  ปอด ตับ ไต
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 อวัยวะภายในร่างกายที่สำคัญ ปอด ตับ ไต
 
สื่อการสอนร่างกาย
สื่อการสอนร่างกายสื่อการสอนร่างกาย
สื่อการสอนร่างกาย
 
Animal System
Animal SystemAnimal System
Animal System
 
เล่ม ระบบร่างกาย New
เล่ม ระบบร่างกาย Newเล่ม ระบบร่างกาย New
เล่ม ระบบร่างกาย New
 

Mehr von Ta Lattapol

Mehr von Ta Lattapol (13)

พันธุกรรม ประถม
พันธุกรรม ประถมพันธุกรรม ประถม
พันธุกรรม ประถม
 
สิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม ประถม
สิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม ประถมสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม ประถม
สิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม ประถม
 
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึกบทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
 
บทที่ 1 การรักษาดุลยภาพในร่างกาย
บทที่ 1 การรักษาดุลยภาพในร่างกายบทที่ 1 การรักษาดุลยภาพในร่างกาย
บทที่ 1 การรักษาดุลยภาพในร่างกาย
 
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศบทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
 
บทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะบทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะ
 
บทที่ 6 ดาวฤกษ์
บทที่ 6 ดาวฤกษ์บทที่ 6 ดาวฤกษ์
บทที่ 6 ดาวฤกษ์
 
บทที่ 5 เอกภพ
บทที่ 5 เอกภพบทที่ 5 เอกภพ
บทที่ 5 เอกภพ
 
บทที่ 4 ธรณีประวัติ
บทที่ 4 ธรณีประวัติบทที่ 4 ธรณีประวัติ
บทที่ 4 ธรณีประวัติ
 
บทที่ 3 ปรากฏการณ์ทางธรณีวิทยา
บทที่ 3 ปรากฏการณ์ทางธรณีวิทยาบทที่ 3 ปรากฏการณ์ทางธรณีวิทยา
บทที่ 3 ปรากฏการณ์ทางธรณีวิทยา
 
บทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลง
บทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลงบทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลง
บทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลง
 
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตบทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
 
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก
บทที่ 1 โครงสร้างของโลกบทที่ 1 โครงสร้างของโลก
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก
 

สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดำรงชีวิต ประถม