SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 41
สอนโดย: ครูวันวิสา แพนพันธุ์อ้วน
และครูสมฤทัย แปลงศรี
เอกภพ (Universe)
ระบบรวมของดาราจักรที่มีอาณาเขตกว้างใหญ่
ไพศาลมาก เชื่อกันว่าในเอกภพมีดาราจักรรวมอยู่
ประมาณ 10,000,000,000 ดาราจักร (หมื่นล้านดารา
จักร) ในแต่ละดาราจักรจะประกอบด้วยระบบของดาว
ฤกษ์ (Stars) กระจุกดาว (Star clusters) เนบิวลา
(Nebulae) หรือหมอกเพลิง ฝุ่นธุลีคอสมิก (Cosmic
dust) ก๊าซ และที่ว่างรวมกันอยู่
หมายถึง
กาเนิดเอกภพ
ความเป็นมาของเอกภพ
นักปราชญ์ในสมัยก่อนมีความเชื่อเกี่ยวกับเอกภพโดยเชื่อว่ามี
ความสัมพันธ์กับศาสนา จึงมีการสร้างแบบจาลองของเอกภพเป็น 2 ส่วน
โดยจินตนาการด้วยการใช้โดมแบ่งเอกภพด้านนอกเป็นโลกของเทพและ
ด้านในเป็นโลกของมนุษย์ และหลังจากคริสต์ศตวรรษที่ 17 เป็นต้นมา
ความรู้ทางดาราศาสตร์ได้พัฒนาขึ้นจากการสังเกต การเก็บรวบรวมข้อมูล
ของนักดาราศาสตร์ อุปกรณ์ที่ใช้ในการสังเกตดาราศาสตร์ ซึ่งแต่เดิม
แนวคิดส่วนใหญ่มาจากการจินตนาการ และการคาดเดาก็ปรากฏชัดขึ้นบน
พื้นฐานของดาราศาสตร์และวิทยาศาสตร์
กาเนิดเอกภพ
การกาเนิดเอกภพไม่มีใครรู้ว่ากาเนิดมาตั้งแต่เมื่อใดและเริ่มจากอะไร
จนกระทั่งศตวรรษที่ 20 หรือ ค.ศ.1927 ได้มีทฤษฎีใช้อธิบายการกาเนิดและ
ความเป็นมาของเอกภพที่มีความชัดเจนและน่าเชื่อถือมากยิ่งขึ้น คือ ทฤษฎี
การระเบิดครั้งยิ่งใหญ่ (Big Bang) ทฤษฎีนี้ทาให้เอกภพมีการขยายตัวออก
ซึ่งทฤษฎีนี้กล่าวว่า ก่อนการเกิด Big Bang เอกภพเป็นพลังงานล้วน ๆ ซึ่ง
แสดงออกโดยอุณหภูมิที่สูงยิ่ง จุด Big Bang เป็นจุดที่พลังงานเริ่มเปลี่ยนเป็น
สสารครั้งแรก เป็นจุดเริ่มต้นของเวลาและเอกภพ
กาเนิดเอกภพ
ปัจจุบันเอกภพประกอบด้วยกาแล็กซีจานวนแสนล้านกาแล็กซี
ระหว่างกาแล็กซีเป็นอวกาศที่กว้างไกล เอกภพจึงมีขนาดใหญ่มาก โดยมี
รัศมีไม่น้อยกว่า 13,700 – 15,000 ล้านปีแสง และมีอายุประมาณ 13,700 –
15,000 ล้านปี ภายในกาแล็กซีประกอบด้วย ดาวฤกษ์ รวมทั้งแหล่งกาเนิด
ดาวฤกษ์ เรียกว่า เนบิวลา (Nebula) ซึ่งโลกของเราเป็นดาวเคราะห์ในระบบ
สุริยะ ซึ่งเป็นสมาชิกหนึ่งของกาแล็กซี
วิวัฒนาการของเอกภพ
วิวัฒนาการของเอกภพจึงควรเริ่มมาจากปริมาตรที่เล็กมากๆแต่มี
สสารอยู่อย่างอัดแน่น จู่ๆ ก็มีการระเบิดออกอย่างรุนแรง ทาให้ปริมาตร
เล็กๆ นั้นขยายตัวออกมาเป็นเอกภพดังเช่นในปัจจุบัน มีดังนี้
ขณะเกิด Bigbang
 มีสสารเกิดขึ้นในรูปของอนุภาคพื้นฐาน ชื่อ ควาร์ก (Quark)
อิเล็กตรอน (Electron) นิวทริโน และโฟตอน (Photon)
 เมื่อเกิดอนุภาคก็มีการเกิดปฏิอนุภาค ที่มีประจุไฟฟ้ าตรงข้าม
ยกเว้น นิวทริโน และแอนตินิวทริโนไม่มีประจุไฟฟ้ า
 เมื่อปฏิภาคกับอนุภาครวมกันเนื้อสารเกิดเป็นพลังงาน
 หากอนุภาคเท่ากับปฏิภาคพอดี รวมกันจะไม่เกิดกาแล็กซี ดาวฤกษ์
และระบบสุริยะ
วิวัฒนาการของเอกภพ
หลังเกิด Bigbang เพียง 10 -6 วินาที
 อุณหภูมิของเอกภพลดลงเป็นสิบล้านล้านเควิน
 ควาร์กเกิดการรวมตัวกลายเป็นโปรตอน (นิวเคลียสของไฮโดรเจน)
ซึ่งมีประจุไฟฟ้ าบวก 1 หน่วยและนิวตรอนซึ่งเป็นกลาง
 อุณหภูมิของเอกภพลดลงเป็นร้อยล้านเคลวิน
 ทาให้โปรตอนและนิวตรอนเกิดการรวมตัวเป็นนิวเคลียสของฮีเลียม
 ในช่วงแรก ๆ ทาให้เอกภพขยายตัวเร็วมาก
วิวัฒนาการของเอกภพ
หลังเกิด Bigbang 3 วินาที
 อุณหภูมิลดลงเหลือ 10,000 เคลวิน นิวเคลียสของไฮโดรเจนและ
ฮีเลียมดึงอิเล็กตรอนเข้ามาสู่วงโคจร เกิดเป็นอะตอมไฮโดรเจนและ
ฮีเลียม
วิวัฒนาการของเอกภพ
หลังเกิด Bigbang 300,000 ปี
วิวัฒนาการของเอกภพ
กาแล็กซีต่างๆเกิด Bigbang อย่างน้อย 1,000 ปี
 ภายในกาแล็กซีมีธาตุไฮโดรเจน และฮีเลียมเป็นสารเบื้องต้น
 ทาให้เกิดเป็นดาวฤกษ์รุ่นแรกๆ ส่วนธาตุที่มีนิวเคลียสใหญ่กว่า
คาร์บอนเกิดจากดาวฤกษ์ขนาดใหญ่
ข้อสังเกตที่สนับสนุน
Bigbang
ประการที่ 1: การขยายตัวของเอกภพ
 เอ็ดวิน พี. ฮับเบิล นักดาราศาสตร์ชาวอังกฤษพบว่า
กาแล็กซีที่เคลื่อนที่ห่างออกไปด้วยความเร็วที่เพิ่มขึ้นตาม
ระยะทาง
 กาแล็กซีที่อยู่ไกลยิ่งเคลื่อนที่ห่างออกไปเร็วกว่ากาแล็กซีที่
อยู่ใกล้ นั่นคือ เอกภพกาลังขยายตัว
 ทาให้นักดาราศาสตร์คานวณอายุของเอกภพได้
ประการที่ 2 :อุณหภูมิพื้นหลังของเอกภพปัจจุบัน
ลดลงเหลือ 2.73 เคลวิน
 เป็นการค้นพบโดยบังเอิญของนักวิทยาศาสตร์ 2 คน คือ อาร์
โน เพนเซียส และโรเบิร์ต วิลสัน ทดลองระบบเครื่อง
สัญญาณของกล้องโทรทรรศน์วิทยุ ปรากฏว่ามีสัญญาณ
รบกวน ตลอดเวลา ทั้งกลางวัน กลางคืน หรือฤดูต่างๆ
ต่อมาจึงทราบว่าเป็นสัญญาณที่เหลืออยู่ในอวกาศ เทียบกับ
การแผ่รังสีของวัตถุดาที่มีอุณหภูมิ 3 เคลวิน
 โรเบิร์ต ดิกกี พี.เจ.อี.พีเบิลส์ เดวิด โรลล์ และเดวิด วิลคิน
สัน ได้ทานายว่าการแผ่รังสีจากบิกแบงที่เหลืออยู่น่าจะ
ตรวจสอบได้โดยกล้องโทรทรรศน์วิทยุ
กาแล็กซี
กาแล็กซี คือ อาณาจักรหรือระบบของดาวฤกษ์
จานวนนับแสนล้านดวง อยู่รวมกันด้วยแรงโน้มถ่วงระหว่าง
ดวงดาวกับหลุมดาที่มีมวลมหาศาล ซึ่งอยู่ ณ ศูนย์กลาง
ของกาแล็กซี โดยมีเนบิวลาซึ่งเป็นกลุ่มแก๊สและฝุ่นละออง
ที่เกาะอยู่ในที่ว่างบางแห่งระหว่างดาวฤกษ์
กาแล็กซีกาเนิดขึ้นหลังจากบิกแบง 1,000 ล้านปีเกิด
จากกลุ่มแก๊สซึ่งยึดเหนี่ยวด้วยแรงโน้มถ่วงแยกเป็นกลุ่มๆ
แต่ละกลุ่มก่อกาเนิดเป็นดาวฤกษ์จานวนมากซึ่งเป็นสมาชิก
ของกาแล็กซี กาแล็กซีที่ระบบสุริยะสังกัดอยู่ คือ กาแล็กซี
ทางช้างเผือก นอกจากนี้ยังมีกาแล็กซีอื่น ๆ ได้แก่ กาแล็กซี
เอนโดรเมดา กาแล็กซีแมกเจลแลนใหญ่ และกาแล็กซีแมก
เจลแลนเล็ก
กาแล็กซีทางช้างเผือก (Milky Way Galaxy) คือ ดาวฤกษ์
จานวนมากที่อยู่ไปทางเดียวกันโดยห่างจากโลกต่างกันนักดารา
ศาสตร์ทราบรูปร่างของทางช้างเผือก โดยศึกษาจากดาวฤกษ์ที่อยู่
ในกาแล็กซี
วันที่ท้องฟ้ าที่แจ่มใส
คืนเดือนมืด เราจะเห็น
ดวงดาวสว่างเป็นจุดๆเต็ม
ท้องฟ้ าแล้วเรายังอาจ เห็น
ทางสีขาวเป็นแถบยาว
พาดผ่านท้องฟ้ าคือทาง
ช้างเผือก เป็นส่วนหนึ่ง
ของกาแล็กซี่ทางช้างเผือก
จะมีดาวฤกษ์บริเวณ
ทางช้างเผือกและใกล้เคียง
 ด้านซ้ายมือจะสังเกตเห็น
กลุ่มดาวนายพราน
 ขวามือบนของกลุ่มดาว
นายพราน คือ กลุ่มดาววัว
ซึ่งมีดาวลูกไก่อยู่ในกลุ่มนี้
ด้วย
 ด้านซ้ายมือจะเห็นกาแล็กซี
แอนโรเมดา เหนือกาแล็กซี
แอนโดรเมดา คือ กลุ่มดาว
ค้างคาว
ระบบสุริยะ อยู่ในกาแล็กซีทาง
ช้างเผือก โดยระบบสุริยะอยู่ที่แขน
ของกาแล็กซีด้านกลุ่มดาวนายพราน
อยู่ห่างจากศูนย์กลางกาแล็กซี
ประมาณ 30,000 ปีแสง กาแล็กซีทาง
ช้างเผือกมีขนาดใหญ่ มีรูปร่างคล้าย
กังหัน มีบริเวณกลางสว่าง มีแขนโค้ง
รอบนอกหลายแขน ระยะขอบหนึ่ง
ผ่านจุดศูนย์กลางไปยังขอบหนึ่งยาว
100,000 ปีแสง ถ้ามองจากด้านบน จะ
เห็นเมือกังหัน แต่ดูจากด้านข้างจะ
คล้ายเลนส์นูนหรือจานข้าวประกบ
กัน
กาแล็กซีแมกเจลแลนใหญ่กาแล็กซีทางช้างเผือก
กาแล็กซีแมกเจลแลนเล็ก
1. กาแล็กซีแมกเจลแลนใหญ่ อยู่ห่างจากกาแล็กซีทาง
ช้างเผือกออกไปประมาณ 163,000 ปีแสง
2. กาแล็กซีแมกเจลแลนเล็ก
อยู่ห่างจากกาแล็กซีทางช้างเผือก
ประมาณ 196,000 ปีแสง
ทั้งกาแล็กซีแมกเจลแลนใหญ่ กาแล็กซีแมกเจลแลนเล็ก เป็นชื่อ
ที่ตั้งเป็นเกียรติแก่ เฟอร์ดินานด์ แมกเจลแลน นักสารวจชาวโปรตุเกส
กาแล็กซีทั้งสองมีลักษณะคล้ายเมฆ จัดเป็นกาแล็กซีที่ไร้รูปร่าง อยู่
ทางขอบฟ้ าทางทิศใต้
3. กาแล็กซีแอนโดรเมดา
มีรูปร่างคล้ายก้นหอย
หรือกังหัน เส้นผ่าศูนย์กลาง 10
5 ปีแสง มีดาวฤกษ์รวมกันอยู่
400,000 ล้านดวง
กาแล็กซีแอนโรเมดามี
ลักษณะกลมขาวมัวๆใจกลาง
เป็นดาวสีแดง และดาว ที่มีอายุ
มาก บริเวณมีนบิวลา สว่าง
กลุ่มแก๊สและฝุ่น กระจุกดาว
ทรงกลมประกอบด้วยดาวสีน้า
เงิน
นักดาราศาสตร์แบ่งกาแล็กซีเป็น 2 ประเภท คือ
1. กาแล็กซีปกติ (Regular galaxy) ที่มีสัณฐานรูปทรงชัดเจน
สามารถแบ่ง 4 รูปแบบ ได้แก่
2. กาแล็กซีไม่มีรูปแบบ (Irregular Galaxy) ที่ไม่มีรูปทรง
สัณฐานชัดเลย ไม่มีแกนกลาง ไม่มีแขนที่โค้งเป็นก้นหอย ไม่มี
ระนาบของความสมมาตร เช่น กาแล็กซีแมกเจลแลนใหญ่
กาแล็กซีแมกเจลแลนเล็ก ที่มองเห็นด้วยตาเปล่าทางซีกโลกใต้
นักดาราศาสตร์แบ่งกาแล็กซีเป็น 2 ประเภท คือ
1.1 กาแล็กซีรี แบบรูปไข่ (Elliptical Galaxy)
- มีรูปร่างหลายแบบตั้งแต่เป็นจานจนถึงกลมรี
- รูปร่างของกาแล็กซีแบนมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับการ
หมุนรอบตัวเอง
- ถ้าหมุนช้ารูปร่างกลม ถ้าหมุนเร็วรูปร่างแบน
1.2 กาแล็กซีก้นหอยหรือกาแล็กซีกังหัน (Spiral Galaxy)
รูปทรงเป็นจานแบน ตรงกลางมีส่วนโป่ง มีดาวเป็นจานวน
มาก มีลักษณะตรงกลางสว่างและมีแขนกังหัน แยกเป็น 3 ระดับ
1.2.1 จุดกลางสว่าง มีความหนาแน่นมาก มีแขนหลายแขน
ใกล้ชิดกับศูนย์กลาง รูปร่างชัดเจน เรียกว่า Sa
1.2.2 จุดศูนย์กลางไม่สว่างมาก มีแขนหลวม ๆขยายออก
เล็กน้อย เรียกว่า Sb เช่น กาแล็กซีทางช้างเผือก และกาแล็กซีทาง
ช้างเผือก
1.2.3 จุดกลางไม่เด่นชัด ความสว่างและความหนาแน่น
กระจายไปทั่วศูนย์กลาง มีแขนกระจายชัดเจน เรียกว่า Sc
1.3.กาแล็กซีก้นหอยคานหรือกังหันมีคายหรือกังหันบาร์
(Barred Spiral Galaxy)
เป็นกาแล็กซีที่แกนหรือคาน เป็นศูนย์กลางและแกนสว่าง มี
แขนที่อยู่ปลายทั้ง 2 ข้าง แขนที่ต่อออกไปเป็นกังหัน แบ่งเป็น 3
ระดับ
1.3.1 แกนกลางสว่างชัดเจน มีคามหนาแน่นมาก แขนใกล้ชิด
ศูนย์กลาง การกระจายของแขนน้อย เรียกว่า SBa
1.3.2 แกนกลางไม่สว่างมาก มีแขนหลวมๆขยายออก
เล็กน้อย เรียกว่า SBb
1.3.3 แกนกลางไม่ชัด มีแขนหลวมๆที่แยกจากกันชัดเจน
เรียกว่า SBc
1.4 กาแล็กซีลูกสะบ้า หรือ กาแล็กซีเลนส์ (Lenticular
Galaxy)
เป็นกาแล็กซีที่ไม่มีลักษณะก้ากึ่งระหว่างกาแล็กซีรีและ
กาแล็กซีกังหัน กล่าวคือ ส่วนโป่งขนาดใหญ่และไม่มีแขนกังหัน
2.กาแล็กซีไร้รูปร่าง ไม่มีแกนกลาง ไม่มีแขนที่โค้งเป็นก้น
หอย ไม่มีระนาบของความสมมาตร เช่น กาแล็กซีแมกเจลแลน
ใหญ่ กาแล็กซีแมกเจลแลนเล็ก ที่มองเห็นด้วยตาเปล่าทางซีกโลก
ใต้
บทที่ 5 เอกภพ

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

บทที่ 1 โครงสร้างของโลก
บทที่ 1 โครงสร้างของโลกบทที่ 1 โครงสร้างของโลก
บทที่ 1 โครงสร้างของโลกTa Lattapol
 
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศบทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศTa Lattapol
 
โครงสร้างโลก
โครงสร้างโลกโครงสร้างโลก
โครงสร้างโลกochestero
 
ใบความรู้เรื่องแสง
ใบความรู้เรื่องแสงใบความรู้เรื่องแสง
ใบความรู้เรื่องแสงพัน พัน
 
หน่วยย่อยที่ 2 กลุ่มดาว
หน่วยย่อยที่ 2 กลุ่มดาวหน่วยย่อยที่ 2 กลุ่มดาว
หน่วยย่อยที่ 2 กลุ่มดาวkrupornpana55
 
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศบทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศPinutchaya Nakchumroon
 
Astronomy VI
Astronomy VIAstronomy VI
Astronomy VIChay Kung
 
โลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงโลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงsmEduSlide
 
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 2 การแปรสัณฐานของแผ่นธรณี
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 2 การแปรสัณฐานของแผ่นธรณีโลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 2 การแปรสัณฐานของแผ่นธรณี
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 2 การแปรสัณฐานของแผ่นธรณีsoysuwanyuennan
 
แบบทดสอบ สาระที่ 7 ดาราศาสตร์และอวกาศ
แบบทดสอบ สาระที่ 7    ดาราศาสตร์และอวกาศแบบทดสอบ สาระที่ 7    ดาราศาสตร์และอวกาศ
แบบทดสอบ สาระที่ 7 ดาราศาสตร์และอวกาศdnavaroj
 
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าThaweekoon Intharachai
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)สำเร็จ นางสีคุณ
 
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศSupaluk Juntap
 
ดาราศาสตร์และอวกาศ
ดาราศาสตร์และอวกาศดาราศาสตร์และอวกาศ
ดาราศาสตร์และอวกาศjihankanathip
 
วิทยาศาสตร์ ม.3 วัฏจักรสาร
วิทยาศาสตร์ ม.3 วัฏจักรสารวิทยาศาสตร์ ม.3 วัฏจักรสาร
วิทยาศาสตร์ ม.3 วัฏจักรสารWuttipong Tubkrathok
 
บรรยากาศ
บรรยากาศบรรยากาศ
บรรยากาศSupaluk Juntap
 

Was ist angesagt? (20)

บทที่ 1 โครงสร้างของโลก
บทที่ 1 โครงสร้างของโลกบทที่ 1 โครงสร้างของโลก
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก
 
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศบทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
 
โครงสร้างโลก
โครงสร้างโลกโครงสร้างโลก
โครงสร้างโลก
 
Astronomy V
Astronomy VAstronomy V
Astronomy V
 
ใบความรู้เรื่องแสง
ใบความรู้เรื่องแสงใบความรู้เรื่องแสง
ใบความรู้เรื่องแสง
 
หน่วยย่อยที่ 2 กลุ่มดาว
หน่วยย่อยที่ 2 กลุ่มดาวหน่วยย่อยที่ 2 กลุ่มดาว
หน่วยย่อยที่ 2 กลุ่มดาว
 
เอกภพ กาแล็กซี่ และระบบสุริยะ
เอกภพ กาแล็กซี่ และระบบสุริยะเอกภพ กาแล็กซี่ และระบบสุริยะ
เอกภพ กาแล็กซี่ และระบบสุริยะ
 
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศบทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
 
Astronomy VI
Astronomy VIAstronomy VI
Astronomy VI
 
โลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงโลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลง
 
แบบทดสอบก่อน – หลัง เรียน
แบบทดสอบก่อน – หลัง  เรียนแบบทดสอบก่อน – หลัง  เรียน
แบบทดสอบก่อน – หลัง เรียน
 
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 2 การแปรสัณฐานของแผ่นธรณี
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 2 การแปรสัณฐานของแผ่นธรณีโลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 2 การแปรสัณฐานของแผ่นธรณี
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 2 การแปรสัณฐานของแผ่นธรณี
 
แบบทดสอบ สาระที่ 7 ดาราศาสตร์และอวกาศ
แบบทดสอบ สาระที่ 7    ดาราศาสตร์และอวกาศแบบทดสอบ สาระที่ 7    ดาราศาสตร์และอวกาศ
แบบทดสอบ สาระที่ 7 ดาราศาสตร์และอวกาศ
 
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
 
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
 
ดาราศาสตร์และอวกาศ
ดาราศาสตร์และอวกาศดาราศาสตร์และอวกาศ
ดาราศาสตร์และอวกาศ
 
วิทยาศาสตร์ ม.3 วัฏจักรสาร
วิทยาศาสตร์ ม.3 วัฏจักรสารวิทยาศาสตร์ ม.3 วัฏจักรสาร
วิทยาศาสตร์ ม.3 วัฏจักรสาร
 
บรรยากาศ
บรรยากาศบรรยากาศ
บรรยากาศ
 
น้ำ
น้ำน้ำ
น้ำ
 

Ähnlich wie บทที่ 5 เอกภพ

โลกและดาราศาสตร์ เรื่อง เอกภพ
โลกและดาราศาสตร์ เรื่อง  เอกภพโลกและดาราศาสตร์ เรื่อง  เอกภพ
โลกและดาราศาสตร์ เรื่อง เอกภพMoukung'z Cazino
 
Universe
UniverseUniverse
Universeyokyoi
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะkalita123
 
ระบบสุริยะ2
ระบบสุริยะ2ระบบสุริยะ2
ระบบสุริยะ2kominoni09092518
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะratchaneeseangkla
 
กำเนิดสุริยะ ม.3
กำเนิดสุริยะ ม.3กำเนิดสุริยะ ม.3
กำเนิดสุริยะ ม.3Sukumal Ekayodhin
 
ดาวเคราะห์
ดาวเคราะห์ดาวเคราะห์
ดาวเคราะห์Un Sn
 
ดาวเคราะห์
ดาวเคราะห์ดาวเคราะห์
ดาวเคราะห์Un Sn
 
8.ดาวในท้องฟ้าgs บอกตำแหน่งวัตถุท้องฟ้า
8.ดาวในท้องฟ้าgs บอกตำแหน่งวัตถุท้องฟ้า8.ดาวในท้องฟ้าgs บอกตำแหน่งวัตถุท้องฟ้า
8.ดาวในท้องฟ้าgs บอกตำแหน่งวัตถุท้องฟ้าWichai Likitponrak
 
9.ดาวในท้องฟ้าgs กลุ่มดาว
9.ดาวในท้องฟ้าgs กลุ่มดาว9.ดาวในท้องฟ้าgs กลุ่มดาว
9.ดาวในท้องฟ้าgs กลุ่มดาวWichai Likitponrak
 
บทที่ 3 เอกภพ
บทที่ 3 เอกภพบทที่ 3 เอกภพ
บทที่ 3 เอกภพSakchai Sodsejan
 

Ähnlich wie บทที่ 5 เอกภพ (20)

โลกและดาราศาสตร์ เรื่อง เอกภพ
โลกและดาราศาสตร์ เรื่อง  เอกภพโลกและดาราศาสตร์ เรื่อง  เอกภพ
โลกและดาราศาสตร์ เรื่อง เอกภพ
 
Contentastrounit3
Contentastrounit3Contentastrounit3
Contentastrounit3
 
Universe
UniverseUniverse
Universe
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะ
 
42101 3
42101 342101 3
42101 3
 
Contentastrounit4
Contentastrounit4Contentastrounit4
Contentastrounit4
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะ
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะ
 
ระบบสุริยะ2
ระบบสุริยะ2ระบบสุริยะ2
ระบบสุริยะ2
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะ
 
กำเนิดสุริยะ ม.3
กำเนิดสุริยะ ม.3กำเนิดสุริยะ ม.3
กำเนิดสุริยะ ม.3
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะ
 
ดาวเคราะห์
ดาวเคราะห์ดาวเคราะห์
ดาวเคราะห์
 
ดาวเคราะห์
ดาวเคราะห์ดาวเคราะห์
ดาวเคราะห์
 
8.ดาวในท้องฟ้าgs บอกตำแหน่งวัตถุท้องฟ้า
8.ดาวในท้องฟ้าgs บอกตำแหน่งวัตถุท้องฟ้า8.ดาวในท้องฟ้าgs บอกตำแหน่งวัตถุท้องฟ้า
8.ดาวในท้องฟ้าgs บอกตำแหน่งวัตถุท้องฟ้า
 
9.ดาวในท้องฟ้าgs กลุ่มดาว
9.ดาวในท้องฟ้าgs กลุ่มดาว9.ดาวในท้องฟ้าgs กลุ่มดาว
9.ดาวในท้องฟ้าgs กลุ่มดาว
 
บทที่ 3 เอกภพ
บทที่ 3 เอกภพบทที่ 3 เอกภพ
บทที่ 3 เอกภพ
 
กาแลกซี (Galaxy)
กาแลกซี (Galaxy)กาแลกซี (Galaxy)
กาแลกซี (Galaxy)
 
กาแลกซี (Galaxy)
กาแลกซี (Galaxy)กาแลกซี (Galaxy)
กาแลกซี (Galaxy)
 
กาแลกซี (Galaxy)
กาแลกซี (Galaxy)กาแลกซี (Galaxy)
กาแลกซี (Galaxy)
 

Mehr von Ta Lattapol

พันธุกรรม ประถม
พันธุกรรม ประถมพันธุกรรม ประถม
พันธุกรรม ประถมTa Lattapol
 
หินและแร่ ประถม
หินและแร่ ประถมหินและแร่ ประถม
หินและแร่ ประถมTa Lattapol
 
สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดำรงชีวิต ประถม
สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดำรงชีวิต ประถมสิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดำรงชีวิต ประถม
สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดำรงชีวิต ประถมTa Lattapol
 
สิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม ประถม
สิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม ประถมสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม ประถม
สิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม ประถมTa Lattapol
 
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึกบทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึกTa Lattapol
 
บทที่ 1 การรักษาดุลยภาพในร่างกาย
บทที่ 1 การรักษาดุลยภาพในร่างกายบทที่ 1 การรักษาดุลยภาพในร่างกาย
บทที่ 1 การรักษาดุลยภาพในร่างกายTa Lattapol
 
บทที่ 4 ธรณีประวัติ
บทที่ 4 ธรณีประวัติบทที่ 4 ธรณีประวัติ
บทที่ 4 ธรณีประวัติTa Lattapol
 
บทที่ 3 ปรากฏการณ์ทางธรณีวิทยา
บทที่ 3 ปรากฏการณ์ทางธรณีวิทยาบทที่ 3 ปรากฏการณ์ทางธรณีวิทยา
บทที่ 3 ปรากฏการณ์ทางธรณีวิทยาTa Lattapol
 
บทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลง
บทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลงบทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลง
บทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลงTa Lattapol
 
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตบทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตTa Lattapol
 

Mehr von Ta Lattapol (10)

พันธุกรรม ประถม
พันธุกรรม ประถมพันธุกรรม ประถม
พันธุกรรม ประถม
 
หินและแร่ ประถม
หินและแร่ ประถมหินและแร่ ประถม
หินและแร่ ประถม
 
สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดำรงชีวิต ประถม
สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดำรงชีวิต ประถมสิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดำรงชีวิต ประถม
สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดำรงชีวิต ประถม
 
สิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม ประถม
สิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม ประถมสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม ประถม
สิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม ประถม
 
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึกบทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
 
บทที่ 1 การรักษาดุลยภาพในร่างกาย
บทที่ 1 การรักษาดุลยภาพในร่างกายบทที่ 1 การรักษาดุลยภาพในร่างกาย
บทที่ 1 การรักษาดุลยภาพในร่างกาย
 
บทที่ 4 ธรณีประวัติ
บทที่ 4 ธรณีประวัติบทที่ 4 ธรณีประวัติ
บทที่ 4 ธรณีประวัติ
 
บทที่ 3 ปรากฏการณ์ทางธรณีวิทยา
บทที่ 3 ปรากฏการณ์ทางธรณีวิทยาบทที่ 3 ปรากฏการณ์ทางธรณีวิทยา
บทที่ 3 ปรากฏการณ์ทางธรณีวิทยา
 
บทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลง
บทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลงบทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลง
บทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลง
 
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตบทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
 

บทที่ 5 เอกภพ