SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 40
ทาง
ธรณีวิทยาสอนโดย: ครูวันวิสา แพนพันธุ์อ้วน และครูสมฤทัย แปลงศรี
แผ่นดินไหว
Earthquake
แผ่นดินไหว
แผ่นดินไหว หมายถึง ปรากฏการณ์ที่ทาให้พื้นผิวโลกเกิด
การสั่นไหวสะเทือน อันเนื่องมาจากการปลดปล่อยพลังงาน
เพื่อระบายความเครียดที่สะสมไว้ภายในโลกออกมาอย่าง
ฉับพลัน เพื่อปรับสมดุลของเปลือกโลกให้คงที่ ในรูปของคลื่น
ไหวสะเทือน
สาเหตุการเกิดแผ่นดินไหว
ธรรมชาติ
1. การปลดปล่อยพลังงานเพื่อลด
ความเครียดบริเวณรอยเลื่อนของ
บริเวณรอยต่อแผ่นเปลือกโลกและ
รอยเลื่อนของเปลือกโลก
2. การระเบิดของภูเขาไฟ
3. อุกกาบาตตกลงพื้นโลก
4. แผ่นดินถล่ม
5. การยุบตัวของโพรงใต้ดิน
1. การสร้างเขื่อนและอ่างเก็บน้า
ขนาดใหญ่
2. การทาเหมืองในระดับลึก
3. การสูบน้าใต้ดิน
4. การทดลองระเบิดนิวเคลียร์ใต้
ดิน
มนุษย์
การเกิดแผ่นดินไหว
ความร้อนจากแก่นโลกส่งผ่าน
ขึ้นมาบนเปลือกโลก
ผลักดันให้เปลือกโลกเกิดการ
เคลื่อนที่
เกิดการสะสมพลังงานบริเวณ
รอยต่อและรอยเลื่อน
พลังงานเกินจุดวิกฤต
ความเครียดของรอยเลื่อนเพิ่ม
ปลดปล่อยพลังงาน
ออกมา อย่างรวดเร็ว
Earthquake
การเกิดแผ่นดินไหว
แผ่นดินไหวส่วนใหญ่ เป็นปรากฏการณ์
ธรรมชาติที่เกิดขึ้นเนื่องจากการเคลื่อนตัวของ
แผ่นเปลือกโลก เมื่อชั้นหินกระทบกันทาเกิด
คลื่นไหวสะเทือน (Seismic waves)
• เรียกจุดกาเนิดคลื่นแผ่นดินไหวใต้ผิว
โลก และเป็นศูนย์กลางการปลดปล่อย
พลังงานที่ถูกกักเก็บไว้ในชั้นหิน ว่า ศูนย์
เกิดแผ่นดินไหว (Focus)
• เรียกตาแหน่งบนผิวโลกที่อยู่เหนือจุดกาเนิด
ของคลื่นแผ่นดินไหวว่า จุดเหนือศูนย์เกิด
แผ่นดินไหว" (Epicenter)
ทฤษฎีเกี่ยวกับการเกิดแผ่นดินไหว
เชื่อว่าแผ่นดินไหวเกิดจากการที่เปลือกโลกเกิดการคดโค้งโก่งงอ
อย่างฉับพลัน และเมื่อวัตถุขาดออกจากกันจึงปลดปล่อยพลังงาน
ออกมาในรูปคลื่นแผ่นดินไหว (ทาให้เกิดแผ่นดินไหวเป็นครั้งแรกของ
พื้นที่)
ทฤษฎีที่ว่าด้วยการขยายตัวของเปลือกโลก
(Dilation source theory)
ทฤษฎีเกี่ยวกับการเกิดแผ่นดินไหว
เมื่อเกิดแผ่นดินไหวอันเนื่องมาจากเคลื่อนตัวของรอยเลื่อน (Fault)
จนถึงจุดหนึ่งที่วัตถุจึงขาดออกจากกัน และเสียรูปอย่างมาก พร้อมกับ
การปลดปล่อยพลังงานออกมา หลังจากนั้นวัตถุก็คืนตัวกลับสู่รูปเดิม
พร้อมกับปล่อยพลังงานออกมาเป็นระยะ ๆ เรียกว่า การเกิด After
shock
ทฤษฎีที่ว่าด้วยการคืนตัวของวัตถุ
(Elastic rebound theory)
บริเวณที่มักเกิดแผ่นดินไหว
1. แนวแผ่นดินไหวของโลกตรงบริเวณขอบของแผ่นเปลือกโลก
ในกรณีของประเทศไทย แนวแผ่นดินไหวโลกที่ใกล้ ๆ ได้แก่ แนวใน
มหาสมุทรอินเดีย สุมาตรา และประเทศพม่า
บริเวณที่มักเกิดแผ่นดินไหว
2. แนวรอยเลื่อนต่างๆ
ในกรณีประเทศไทย ได้แก่ แนวรอยเลื่อน
ในประเทศเพื่อนบ้าน พม่า จีนตอนใต้
สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว
บริเวณที่มักเกิดแผ่นดินไหว
3. บริเวณที่มนุษย์มีกิจกรรมกระตุ้นให้เกิดแผ่นดินไหว
เช่น เหมือง เขื่อน บ่อน้ามัน เป็นต้น
เครื่องมือบันทึกข้อมูลแผ่นดินไหว
ไซสโมกราฟ (Seismograph) เครื่องมือนี้ประกอบด้วยเครื่องรับ
คลื่นไหวสะเทือนและแปลงสัญญาณคลื่นไหวสะเทือนเป็น
สัญญาณไฟฟ้า จากนั้นสัญญาณไฟฟ้าจะถูกขยายแล้วแปลงกลับเป็น
คลื่นไหวสะเทือนอีกครั้งเพื่อบันทึกลงกระดาษเป็นกราฟขึ้นลง
คลื่นแผ่นดินไหว (Seimic Wave)
BODY WAVE
คลื่นแผ่นดินไหว (Seimic Wave)
1) P-WAVE (P) หมายถึง
คลื่นแผ่นดินไหวที่มีช่วง
คลื่นสั้น และเคลื่อนที่ใน
ลักษณะ Push-Pull เป็น
คลื่นแรกที่มาถึงสถานี
ตรวจวัด
BODY WAVE
คลื่นแผ่นดินไหว (Seimic Wave)
2) S-WAVE (S) หมายถึง
คลื่นแผ่นดินไหว ที่มีช่วง
คลื่นสั้น และเคลื่อนที่ใน
ลักษณะ Side to Side คือ
เคลื่อนที่ตั้งฉากกับ ทิศทาง
ที่เคลื่อนที่ไป จึงไม่
สามารถเคลื่อนที่ผ่านแกน
โลกได้ มีความเร็ว
ประมาณ 0.6 เท่าของ
คลื่น P Wave
BODY WAVE
คลื่นแผ่นดินไหว (Seimic Wave)
1) LOVE WAVE (LQ)
หมายถึง คลื่นแผ่นดินไหว ที่
มีช่วงคลื่นยาว และเคลื่อนที่
ในลักษณะเดียวกับคลื่น S
Wave คือ เคลื่อนที่แบบ Side
to Side ไปตามเปลือกโลก
ซึ่งในระยะทางสั้นๆ จะมี
ความเร็วเท่ากับคลื่น S
Wave แต่ถ้าระยะ
ทางไกลๆ ความเร็วจะขึ้นอยู่
กับความหนาของเปลือกโลก
SURFACE WAVE
คลื่นแผ่นดินไหว (Seimic Wave)
2) RAYLEIGH WAVE (LR)
หมายถึง คลื่นแผ่นดินไหวที่มี
ช่วงคลื่นยาว และเคลื่อนที่ใน
ลักษณะคล้ายกับขดลวด คือ
แบบ Elliptical-retrograde ซึ่ง
เคลื่อนที่ทั้งทางตั้งและทาง
นอนในระยะทางสั้นๆ
ความเร็วจะเท่ากับ 0.92 เท่า
ของ คลื่น S Wave แต่ถ้าระยะ
ทางไกลๆ ความเร็วจะขึ้นอยู่
กับความหนาของเปลือกโลก
SURFACE WAVE
ขนาดและความรุนแรง
เป็นปริมาณพลังงานที่พื้นโลก ปลดปล่อยออกมาในรูปของ
การสั่นสะเทือนจากศูนย์กลางการเกิดแผ่นดินไหว คานวณได้
จากการตรวจวัดค่าความสูงของคลื่นแผ่นดินไหว
(amplitude) ที่ตรวจวัด ได้ด้วยเครื่องมือตรวจแผ่นดินไหว
โดยเป็นค่าปริมาณที่บ่งชี้ขนาด ณ บริเวณศูนย์กลาง
แผ่นดินไหว มีหน่วยเป็น "ริคเตอร์" ซึ่งจะมีค่าตั้งแต่ 1.0 -
9.0
ขนาด (Magnitude)
ขนาดและความรุนแรง
ขนาด (Magnitude)
ขนาด ความสัมพันธ์ของขนาดโดยประมาณกับความสั่นสะเทือนใกล้ศูนย์กลาง
1-2.9 เกิดการสั่นไหวเล็กน้อย ผู้คนเริ่มมีความรู้สึกถึงการสั่นไหว บางครั้ง รู้สึก
เวียน ศีรษะ
3-3.9 เกิดการสั่นไหวเล็กน้อย ผู้คนที่อยู่ในอาคารรู้สึกเหมือนรถไฟวิ่งผ่าน
4-4.9 เกิดการสั่นไหวปานกลาง ผู้ที่อาศัยอยู่ทั้งภายในอาคาร และนอกอาคาร
รู้สึกถึงการ สั่นสะเทือน วัตถุห้อยแขวนแกว่งไกว
5-5.9 เกิดการสั่นไหวรุนแรงเป็นบริเวณกว้าง เครื่องเรือน และวัตถุมีการเคลื่อนที่
6-6.9 เกิดการสั่นไหวรุนแรงมาก อาคารเริ่มเสียหาย พังทลาย
7.0 ขึ้นไป เกิดการสั่นไหวร้ายแรง อาคาร สิ่งก่อสร้างมีความเสียหายอย่างมาก
แผ่นดินแยก วัตถุที่อยู่บนพื้นถูกเหวี่ยงกระเด็น
ขนาดและความรุนแรง
แสดงถึงความรุนแรงของเหตุการณ์แผ่นดินไหวที่เกิดขึ้น
วัด ได้จากปรากฎการณ์ที่เกิดขึ้น ขณะเกิดและหลังเกิด
แผ่นดินไหว เช่น ความรู้สึกของผู้คน ลักษณะที่วัตถุหรือ
อาคารเสียหายหรือสภาพภูมิประเทศที่เปลี่ยนแปลง เป็นต้น
ในกรณีของประเทศไทย ใช้มาตราเมอร์แคลลี่ สาหรับ
เปรียบเทียบอันดับ ซึ่งมีทั้งหมด 12 อันดับ เรียงลาดับความ
รุนแรงแผ่นดินไหวจากน้อยไปมาก
ความรุนแรงแผ่นดินไหว (Intensity)
ขนาดและความรุนแรง
อันดับที่ ลักษณะความรุนแรงโดยเปรียบเทียบ
I เป็นอันดับที่อ่อนมาก ตรวจวัดโดยเครื่องมือ
II พอรู้สึกได้สาหรับผู้ที่อยู่นิ่ง ๆ ในอาคารสูง ๆ
III พอรู้สึกได้สาหรับผู้อยู่ในบ้าน แต่คนส่วนใหญ่ยังไม่รู้สึก
IV ผู้อยู่ในบ้านรู้สึกว่าของในบ้านสั่นไหว
V รู้สึกเกือบทุกคน ของในบ้านเริ่มแกว่งไกว
VI รู้สึกได้กับทุกคนของหนักในบ้านเริ่มเคลื่อนไหว
VII ทุกคนต่างตกใจ สิ่งก่อสร้างเริ่มปรากฎความเสียหาย
VIII เสียหายค่อนข้างมากในอาคารธรรมดา
IX สิ่งก่อสร้างที่ออกแบบไว้อย่างดี เสียหายมาก
X อาคารพัง รางรถไฟบิดงอ
XI อาคารสิ่งก่อสร้างพังทลายเกือบทั้งหมด ผิวโลกปูดนูนและเลื่อนเป็นคลื่นบนพื้นดินอ่อน
XII ทาลายหมดทุกอย่าง มองเห็นเป็นคลื่นบนแผ่นดิน
ความรุนแรงแผ่นดินไหว (Intensity)
ขนาดและความรุนแรง
ความรุนแรงแผ่นดินไหว (Intensity)
การพยากรณ์แผ่นดินไหว
ภัยแผ่นดินไหวยังคงเป็นภัยธรรมชาติที่ยังไม่สามารถ
พยากรณ์ได้อย่างแม่นยา แต่สามารถสังเกตพฤติกรรมของ
สัตว์หลายชนิดที่มีการรับรู้ถึงภัยก่อนเกิดแผ่นดินไหว เช่น
- แมลงสาบจานวนมากวิ่งเพ่นพ่าน
- สุนัข เป็ด ไก่ หมู หมี ตื่นตกใจ
- หนู งู วิ่งออกมาจากรู
- ปลา กระโดดขึ้นจากผิวน้า
แผนที่เสี่ยงแผ่นดินไหวในไทย
ข้อปฏิบัติในการป้ องกันและบรรเทาภัยขณะเกิดแผ่นดินไหว
- ตั้งสติ อยู่ในที่ที่แข็งแรงปลอดภัย ห่างจากประตู หน้าต่าง สายไฟฟ้า เป็นต้น
- ปฏิบัติตามคาแนะนา ข้อควรปฏิบัติของทางราชการอย่างเคร่งครัด ไม่ตื่น
ตระหนกจนเกินไป
- ไม่ควรทาให้เกิดประกายไฟ เพราะหากมีการรั่วซึมของแก๊สหรือวัตถุไวไฟ อาจ
เกิดภัยพิบัติจากไฟไหม้ ไฟลวก ซ้าซ้อนกับแผ่นดินไหวเพิ่มขึ้นอีก
- เปิดวิทยุรับฟังสถานการณ์ คาแนะนาคาเตือนต่าง ๆ จากทางราชการอย่าง
ต่อเนื่อง
- ไม่ควรใช้ลิฟต์ เพราะหากไฟฟ้าดังอาจมีอันตรายจากการติดอยู่ภายใต้ลิฟต์
- อยู่ใต้โต๊ะที่แข็งแรง เพื่อป้องกันอันตรายจากสิ่งปรักหักพังร่วงหล่นลงมา
- อยู่ห่างจากสิ่งที่ไม่มั่นคงแข็งแรง
- ให้รีบออกจากอาคารเมื่อมีการสั่งการจากผู้ที่ควบคุมแผนป้องกันภัย หรือผู้ที่
รับผิดชอบในเรื่องนี้
- หากอยู่ในรถ ให้หยุดรถจนกว่าแผ่นดินจะหยุดไหวหรือสั่นสะเทือนหลังเกิด
แผ่นดินไหว
ข้อปฏิบัติในการป้ องกันและบรรเทาภัยขณะเกิดแผ่นดินไหว
- ตรวจเช็คการบาดเจ็บ และการทาการปฐมพยาบาลผู้ที่ได้รับบาดเจ็บ แล้วรีบ
นาส่งโรงพยาบาลโดยด่วน เพื่อให้แพทย์ได้ทาการรักษาต่อไป
- ตรวจเช็คระบบน้า ไฟฟ้า หากมีการรั่วซึมหรือชารุดเสียหาย ให้ปิดวาล์ว เพื่อ
ป้องกันน้าท่วมเอ่อ ยกสะพานไฟฟ้า เพื่อป้องกันไฟฟ้ารั่ว ไฟฟ้าดูด หรือไฟฟ้าช็อต
- ตรวจเช็คระบบแก๊ส โดยวิธีการดมกลิ่น หากพบว่ามีการรั่วซึมของแก๊ส ให้เปิด
ประตูหน้าต่าง แล้วออกจากอาคาร และแจ้งเจ้าหน้าที่ป้องกันภัย
- เปิดฟังข่าวสารและปฏิบัติตามคาแนะนา จากทางราชการโดยตลอด
- ไม่ใช้โทรศัพท์โดยไม่จาเป็น
- อย่ากดน้าล้างส้วม จนกว่าจะมีการตรวจเช็คระบบท่อ เพราะอาจเกิดการ
แตกหักของท่อในส้วม ทาให้น้าท่วมเอ่อหรือส่งกลิ่นที่ไม่พึงประสงค์
- สวมรองเท้ายางเพื่อป้องกันสิ่งปรักหักพัง เศษแก้ว เศษกระเบื้อง
- รวมพล ณ ที่หมาย และตรวจนับจานวนสมาชิกว่าอยู่ครบหรือไม่
- อย่าออกจากชายฝั่ง เพราะอาจเกิดคลื่นใต้น้าซัดฝั่งได้ แม้ว่าการสั่นสะเทือน
ของแผ่นดินจะสิ้นสุดลงแล้วก็ตาม
ผลกระทบ
มีทั้งทางตรงและทางอ้อม เช่น เกิดพื้นดินแตกแยก ภูเขาไฟระเบิด อาคาร
สิ่งก่อสร้างพังทลาย ไฟไหม้ แก๊สรั่ว ท่อระบายน้าและท่อประปาแตก คลื่นสึนามิ
แผ่นดินถล่ม เส้นทางคมนาคมเสียหายและถูกตัดขาด ถนนและทางรถไฟบิด
เบี้ยวโค้งงอ เกิดโรคระบาด ปัญหาด้านสุขภาพจิตของผู้ประสบภัย ความสูญเสีย
ในชีวิตและทรัพย์สิน รวมถึงทางเศรษฐกิจ เช่น การสื่อสารโทรคมนาคมขาดช่วง
ระบบคอมพิวเตอร์ขัดข้อง การคมนาคมทั้งทางบก น้า อากาศหยุดชะงัก
ประชาชนตื่นตระหนกซึ่งมีผลต่อการลงทุน การประกันภัย
กรณีที่แผ่นดินไหวมีความรุนแรงมาก เมืองทั้งเมืองอาจถูกทาลายหมด และ
มีผู้เสียชีวิตเป็นจานวนมาก
ภูเขาไฟVolcano
สาเหตุการเกิดภูเขาไฟ
การสะสมของความร้อนอย่างมากบริเวณนั้น ทาให้หิน
หนืดใต้เปลือก (Magma) ไอน้าและแก๊ส สะสมตัวอยู่มากขึ้น
เรื่อยๆ ซึ่งก่อให้เกิดความดัน ความร้อนสูงเมื่อถึงจุดหนึ่งจะ
ระเบิดออกมาผ่านรอยแตกของเปลือกโลกขึ้นมาไหลเป็น
ลาวา (lava)
สาเหตุการเกิดภูเขาไฟ
ลาวา (lava)
1. ลาวาที่มีความเป็นกรด 2. ลาวาที่มีความเป็นเบส
มีองค์ประกอบส่วนใหญ่เป็นธาตุ
ซิลิกอน มีความหนืดมาก เคลื่อนที่
อย่างช้า ๆ และแข็งตัวเร็ว
มีองค์ประกอบส่วนใหญ่เป็นธาตุ
เหล็ก และแมกนีเซียม มีความหนืด
น้อย เคลื่อนที่ได้เร็ว และแข็งตัวช้า
หนืดมาก จึงทาให้รวมกันเป็นก้อน
อุดปล่อง ความดันจึงสะสมมาก
หนืดน้อย ไหลง่าย ไม่มีการอุด
ปล่อง ความดันจึงสะสมไม่มาก
ระเบิดรุนแรง ระเบิดเงียบ
ชนิดของภูเขาไฟแบ่งตามการสะสมและสัณฐาน
1. ภูเขาไฟรูปโล่ (Shield volcano)
รูปร่างคล้ายโล่ มีความลาดชัน
ด้านข้างน้อยประมาณ 4 – 10 องศา
แต่ไม่เกิน 15 องศา ภูเขาไฟชนิดนี้มี
ฐานกว้างจัดเป็นภูเขาไฟที่มีขนาด
ใหญ่ที่สุด
ภูเขาไฟบนเกาะฮาวาย
ชนิดของภูเขาไฟแบ่งตามการสะสมและสัณฐาน
2. ภูเขาไฟกรวยกรวด (Cinder cone)
ภูเขาไฟชนิดนี้จะสูงชันมาก มีความลาดชั้นประมาณ 33 - 37 องศา
ลาวาจะมีความหนืดสูง การไหลไม่ต่อเนื่อง ลาวาลูกกลมๆ ที่พุ่งออกมา
จากปล่องเดี่ยว และทับถมกันบริเวณรอบปล่อง ไม่ค่อยก่อให้เกิดความ
สูญเสียชีวิต
ชนิดของภูเขาไฟแบ่งตามการสะสมและสัณฐาน
3. ภูเขาไฟกรวยสลับชั้น (Composite volcano)
เป็นภูเขาไฟที่มีการสลับชั้นของหินลาวาของเศษหินและหิน
ตะกอนภูเขาไฟ เกิดจากการระเบิดของภูเขาไฟที่พ่นลาวาออก
มาแล้วไหลลามออกไปรอบๆ ปล่องเป็นวงกว้างสลับกัน
ชนิดของภูเขาไฟแบ่งตามการสะสมและสัณฐาน
4. ภูเขาไฟแบบกรวยสูง (Steep cone)
รูปกรวยคว่า เกิดจากลาวาที่มี
ความเป็นกรด ลาวามีความข้นและ
เหนียว จึงไหลและเคลื่อนตัวไป
อย่างช้าๆ แต่จะแข็งตัวเร็ว ทาให้
ไหล่เขาชันมาก ภูเขาไฟแบบนี้จะเกิด
การระเบิดอย่างรุนแรง
แนวเขตภูเขาไฟ
Pacific belt
Mediterranean belt
ประโยชน์ของการเกิดภูเขาไฟ
• แผ่นดินขยายกว้างขึ้นหรือสูงขึ้น
• เกิดเกาะใหม่ภายหลังที่เกิดการปะทุใต้ทะเล
• ดินที่เกิดจากภูเขาไฟระเบิดจะอุดมสมบูรณ์ด้วยแร่ธาตุ
ต่างๆ
• เป็นแหล่งเกิดน้าพุร้อน
• แหล่งท่องเที่ยวที่สาคัญ
• เป็นแหล่งเหมืองเพชร
โทษของการเกิดภูเขาไฟ
• เป็นอันตรายต่อสิ่งมีชีวิตได้
• การปะทุของภูเขาไฟอาจทาให้เกิดแผ่นดินไหวขึ้นได้
• ชีวิตและทรัพย์สินที่อยู่ใกล้เคียงเป็นอันตราย
• สภาพภูมิอากาศเกิดการเปลี่ยนอย่างเห็นได้ชัด
ปอมเปอีเมืองที่สูญหาย
กาลาปากอสผู้ที่ให้ทฤษฎีวิวัฒนาการ

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

โลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงโลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงsmEduSlide
 
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกลPhanuwat Somvongs
 
บทที่ 4 งาน กำลัง พลังงาน และเครื่องกลอย่างง่าย
บทที่ 4 งาน กำลัง พลังงาน  และเครื่องกลอย่างง่ายบทที่ 4 งาน กำลัง พลังงาน  และเครื่องกลอย่างง่าย
บทที่ 4 งาน กำลัง พลังงาน และเครื่องกลอย่างง่ายThepsatri Rajabhat University
 
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อน
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อนเอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อน
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อนKobwit Piriyawat
 
บรรยากาศ (Atmosphere)
บรรยากาศ (Atmosphere)บรรยากาศ (Atmosphere)
บรรยากาศ (Atmosphere)พัน พัน
 
1ความหนาแน่น และความดันในของไหล
1ความหนาแน่น และความดันในของไหล1ความหนาแน่น และความดันในของไหล
1ความหนาแน่น และความดันในของไหลWijitta DevilTeacher
 
เรื่องที่ 8 สภาพสมดุลยืดหยุ่น
เรื่องที่ 8   สภาพสมดุลยืดหยุ่นเรื่องที่ 8   สภาพสมดุลยืดหยุ่น
เรื่องที่ 8 สภาพสมดุลยืดหยุ่นthanakit553
 
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก
บทที่ 1 โครงสร้างของโลกบทที่ 1 โครงสร้างของโลก
บทที่ 1 โครงสร้างของโลกTa Lattapol
 
เอกสารประกอบการสอนเรื่องเสียง
เอกสารประกอบการสอนเรื่องเสียงเอกสารประกอบการสอนเรื่องเสียง
เอกสารประกอบการสอนเรื่องเสียงWijitta DevilTeacher
 
เรื่องที่2การเคลื่อนที่
เรื่องที่2การเคลื่อนที่เรื่องที่2การเคลื่อนที่
เรื่องที่2การเคลื่อนที่Apinya Phuadsing
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน หน่วย งานและพลังงาน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน    หน่วย งานและพลังงานแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน    หน่วย งานและพลังงาน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน หน่วย งานและพลังงานdnavaroj
 
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศบทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศTa Lattapol
 
แรงลัพธ์
แรงลัพธ์แรงลัพธ์
แรงลัพธ์Kan Pan
 

Was ist angesagt? (20)

โลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงโลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลง
 
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
 
บทที่ 4 งาน กำลัง พลังงาน และเครื่องกลอย่างง่าย
บทที่ 4 งาน กำลัง พลังงาน  และเครื่องกลอย่างง่ายบทที่ 4 งาน กำลัง พลังงาน  และเครื่องกลอย่างง่าย
บทที่ 4 งาน กำลัง พลังงาน และเครื่องกลอย่างง่าย
 
o net-2552
o net-2552o net-2552
o net-2552
 
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อน
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อนเอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อน
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อน
 
ใบงานกฎหมาย
ใบงานกฎหมายใบงานกฎหมาย
ใบงานกฎหมาย
 
บรรยากาศ (Atmosphere)
บรรยากาศ (Atmosphere)บรรยากาศ (Atmosphere)
บรรยากาศ (Atmosphere)
 
1ความหนาแน่น และความดันในของไหล
1ความหนาแน่น และความดันในของไหล1ความหนาแน่น และความดันในของไหล
1ความหนาแน่น และความดันในของไหล
 
2
22
2
 
เรื่องที่ 8 สภาพสมดุลยืดหยุ่น
เรื่องที่ 8   สภาพสมดุลยืดหยุ่นเรื่องที่ 8   สภาพสมดุลยืดหยุ่น
เรื่องที่ 8 สภาพสมดุลยืดหยุ่น
 
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก
บทที่ 1 โครงสร้างของโลกบทที่ 1 โครงสร้างของโลก
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก
 
เอกสารประกอบการสอนเรื่องเสียง
เอกสารประกอบการสอนเรื่องเสียงเอกสารประกอบการสอนเรื่องเสียง
เอกสารประกอบการสอนเรื่องเสียง
 
คลื่นกล
คลื่นกลคลื่นกล
คลื่นกล
 
เรื่องที่2การเคลื่อนที่
เรื่องที่2การเคลื่อนที่เรื่องที่2การเคลื่อนที่
เรื่องที่2การเคลื่อนที่
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน หน่วย งานและพลังงาน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน    หน่วย งานและพลังงานแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน    หน่วย งานและพลังงาน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน หน่วย งานและพลังงาน
 
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศบทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
 
โมเมนต์
โมเมนต์โมเมนต์
โมเมนต์
 
แรงพยุงหรือแรงลอยตัว
แรงพยุงหรือแรงลอยตัวแรงพยุงหรือแรงลอยตัว
แรงพยุงหรือแรงลอยตัว
 
แรงลัพธ์
แรงลัพธ์แรงลัพธ์
แรงลัพธ์
 
แสงและการมองเห็น
แสงและการมองเห็นแสงและการมองเห็น
แสงและการมองเห็น
 

Mehr von Ta Lattapol

พันธุกรรม ประถม
พันธุกรรม ประถมพันธุกรรม ประถม
พันธุกรรม ประถมTa Lattapol
 
หินและแร่ ประถม
หินและแร่ ประถมหินและแร่ ประถม
หินและแร่ ประถมTa Lattapol
 
สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดำรงชีวิต ประถม
สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดำรงชีวิต ประถมสิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดำรงชีวิต ประถม
สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดำรงชีวิต ประถมTa Lattapol
 
สิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม ประถม
สิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม ประถมสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม ประถม
สิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม ประถมTa Lattapol
 
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึกบทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึกTa Lattapol
 
บทที่ 1 การรักษาดุลยภาพในร่างกาย
บทที่ 1 การรักษาดุลยภาพในร่างกายบทที่ 1 การรักษาดุลยภาพในร่างกาย
บทที่ 1 การรักษาดุลยภาพในร่างกายTa Lattapol
 
บทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะบทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะTa Lattapol
 
บทที่ 6 ดาวฤกษ์
บทที่ 6 ดาวฤกษ์บทที่ 6 ดาวฤกษ์
บทที่ 6 ดาวฤกษ์Ta Lattapol
 
บทที่ 5 เอกภพ
บทที่ 5 เอกภพบทที่ 5 เอกภพ
บทที่ 5 เอกภพTa Lattapol
 
บทที่ 4 ธรณีประวัติ
บทที่ 4 ธรณีประวัติบทที่ 4 ธรณีประวัติ
บทที่ 4 ธรณีประวัติTa Lattapol
 
บทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลง
บทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลงบทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลง
บทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลงTa Lattapol
 
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตบทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตTa Lattapol
 

Mehr von Ta Lattapol (12)

พันธุกรรม ประถม
พันธุกรรม ประถมพันธุกรรม ประถม
พันธุกรรม ประถม
 
หินและแร่ ประถม
หินและแร่ ประถมหินและแร่ ประถม
หินและแร่ ประถม
 
สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดำรงชีวิต ประถม
สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดำรงชีวิต ประถมสิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดำรงชีวิต ประถม
สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดำรงชีวิต ประถม
 
สิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม ประถม
สิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม ประถมสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม ประถม
สิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม ประถม
 
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึกบทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
 
บทที่ 1 การรักษาดุลยภาพในร่างกาย
บทที่ 1 การรักษาดุลยภาพในร่างกายบทที่ 1 การรักษาดุลยภาพในร่างกาย
บทที่ 1 การรักษาดุลยภาพในร่างกาย
 
บทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะบทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะ
 
บทที่ 6 ดาวฤกษ์
บทที่ 6 ดาวฤกษ์บทที่ 6 ดาวฤกษ์
บทที่ 6 ดาวฤกษ์
 
บทที่ 5 เอกภพ
บทที่ 5 เอกภพบทที่ 5 เอกภพ
บทที่ 5 เอกภพ
 
บทที่ 4 ธรณีประวัติ
บทที่ 4 ธรณีประวัติบทที่ 4 ธรณีประวัติ
บทที่ 4 ธรณีประวัติ
 
บทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลง
บทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลงบทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลง
บทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลง
 
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตบทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
 

บทที่ 3 ปรากฏการณ์ทางธรณีวิทยา