SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 60
Downloaden Sie, um offline zu lesen
การบริหารจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศ
เพื่อพัฒนาการบริหารการศึกษา
ผศ.ดร.สุรพล บุญลือ ภาควิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา
คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรมและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
โลกเราแสนจะ กว้างไกล
Mu
Classroom
แต่ทาไม ? ไม่พอต่อการใช้
7,087,xxx,xxx คน
ประชากรโลก มีตั้งมากมาย แล้วทรัพยากรที่มีอยู่ จะเพียงพอหรือ
HELLO!
สิ่งที่มุ่งหวังในวันนี้ “แลกเปลี่ยนเรียนรู้”
ระบบ สารสนเทศ การบริหาร ออกแบบ
4
“การบริหาร คือ การใช้ทรัพยากรที่มีอยู่ให้คุ้มค่า”
Peter F. Druker ให้ความหมายว่า “ การบริหารคือการทาให้งานต่าง ๆ ลุล่วงไปโดยอาศัย
คนอื่นเป็นผู้ทา ”
คาว่า การบริหาร (administration) มีรากศัพท์มาจากภาษาลาติน “administatrae”
หมายถึง ช่วยเหลือ (assist) หรืออานวยการ (direct) การบริหารมีความสัมพันธ์หรือมี
ความหมายใกล้เคียงกับคาว่า “minister” ซึ่งหมายถึง การรับใช้หรือผู้รับใช้ หรือผู้รับใช้
รัฐ คือ รัฐมนตรี สาหรับความหมายดั้งเดิมของคาว่า administer หมายถึง การติดตาม
ดูแลสิ่งต่าง ๆ.....
5
ทาไม ต้องมีระบบ
แนวคิด ของการบริหารงาน
6
ระบบคือกลุ่มขององค์การต่างๆ ที่ทางาน ร่วมกันเพื่อจุดประสงค์อัน
เดียวกัน ระบบอาจจะประกอบด้วยบุคลากร เครื่องมือ เครื่องใช้ พัสดุ
และมีขั้นตอนการทางานที่ชัดเจนและต่อเนื่องกัน
▸นั่นคือ หากเกิดข้อผิดพลาด สามารถหาผู้รับผิดชอบได้
7
ระบบ คือ
SYSTEM
8
องค์ประกอ
บของระบบ
9
ระบบในการทางาน
10
สารสนเทศ คืออะไร
แนวคิด การจัดการข้อมูล
11
สารสนเทศคือข้อมูลที่ผ่านกระบวนการแล้ว
▸ข้อมูลที่จาเป็นจะต้องใช้
12
ข้อมูลและ
สารสนเทศ
▸ข้อมูล (Data) หมายถึง
ข้อเท็จจริงต่างๆ อาจอยู่ใน
รูปของ ตัวเลข ตัวอัษร
สัญลักษณ์ รูปภาพ หรือ
เสียงก็ได้ ซึ่งใน
ชีวิตประจาวันมีการบันทึก
ข้อมูลอยู่เสมอ เพื่อนามาใช้
ประโยชน์ในภายหลัง
▸
▸ สารสนเทศ
(Information) หมายถึง
สิ่งที่ได้จากการประมวลผล
ข้อมูลและสามารถนาไปใช้
ประโยชน์ในการวางแผน
การตัดสินใจ และการ
คาดการณ์ในอนาคตได้
สารสนเทศอาจแสดงในรูป
ของข้อความ ตาราง
แผนภูมิ หรือรูปภาพ
▸ความรู้ (Knowledge)
คือ การรับรู้และความ
เข้าใจสารสนเทศจนถึง
ระดับที่สามารถวิเคราะห์
และสังเคราะห์ได้ คือมี
ความเข้าใจ
(Understanding) ใน
องค์ประกอบต่างๆ จนอาจ
สร้างทฤษฎี
13
ทาไม ต้องบริหาร
แนวคิด ของการจัดการ
14
“การบริหาร” คือศิลปะในการทาให้สิ่งต่างๆ
ได้รับการกระทาจนเป็นผลสาเร็จ .....
หมายความว่าผู้บริหารไม่ใช่ผู้ปฏิบัติ แต่ใช้ศิลปะหรือกระบวนการทาให้ผู้ปฏิบัติงาน
ทางานจนเป็นผลสาเร็จตรงตามจุดหมายขององค์การ หรือตรงตามจุดหมายที่ผู้บริหารตัดสินใจเลือกแล้ว.....
15
16 แสดงความสัมพันธ์ระหว่างระบบบริหารและสารสนเทศกับ การแสดงความสัมพันธ์
ระหว่างระบบบริหารและสารสนเทศกับระบบการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษาระบบการ
ประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา
SBM
PMQA
TQM
อื่น ๆ
ระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
ระบบบริหาร ระบบสารสนเทศ
นาไปใช้พัฒนาคุณภาพให้ได้ ตาม
มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
- โรงเรียน
- ห้องเรียน
- นักเรียน
PMQA การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ
TQM คือ ระบบการบริหารจัดการองค์การที่ เน้นคุณภาพในทุก ๆ ด้านขององค์การ
SBM การบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน
กระบวนการในการบริหารจัดการ
ชั้นตอนในการดาเนินการ
17
▸1. กระบวนการ (PDCA)
▹การวางแผนและระบบการปฏิบัติงาน (Plan)
▹การดาเนินการตามแผนและระบบการปฏิบัติงาน (Do)
▹การตรวจสอบและประเมินผล (Check)
▹การปรับปรุงและพัฒนา (Action)
▸2. กระบวนการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน (SBM)
▸3. กระบวนการบริหารอื่น ๆ ที่โรงเรียนนามาใช้ตามความแตกต่างของ
โรงเรียน เช่น PMQA TQM RMB เป็นต้น
กระบวนการบริหาร
คุณภาพภายใน
สถานศึกษา
การบริหารที่มีเป้าหมาย เป็นที่ยอมรับ
จะทาอย่างไร จะเอาอะไรมาวัดคุณภาพ
19
▸การประกันคุณภาพการศึกษา หมายถึง การดาเนินการเกี่ยวกับการ
กาหนดมาตรฐานคุณภาพการศึกษาและกระบวนการตรวจสอบหรือ
การประเมินว่าเป็นไปตามมาตรฐานคุณภาพการศึกษามากน้อยเพียงไร
(Murgatroyd,Stephen and Morgan,Colin 1994 : 45)
▸การบริหารจัดการและการดาเนินกิจกรรมตามภารกิจปกติของ
สถานศึกษา เพื่อพัฒนาคุณภาพของผู้เรียนอย่างต่อเนื่อง สร้างความ
มั่นใจให้ผู้รับบริการทางการศึกษา ทั้งผู้รับบริการโดยตรง ได้แก่ ผู้เรียน
ผู้ปกครอง และผู้รับบริการทางอ้อม ได้แก่ สถานประกอบการ
ประชาชน และสังคมโดยรวม
ความหมายของการ
ประกันคุณภาพ
การศึกษา
▸เมอร์กาทรอยด์ และ มอร์แกน (Murgatroyd & Morgan 1994) ได้จาแนก
ลักษณะเด่นของการประกันคุณภาพทางการศึกษาไว้ 5 ประการ
▸1. มาตรฐานการศึกษากาหนดโดยผู้เชี่ยวชาญภายนอก
▸2. มาตรฐานเขียนในรูปของความคาดหวังที่โรงเรียนจะต้องบรรลุถึง
▸3. มาตรฐานต้องสามารถประเมินได้โดยใช้เกณฑ์ที่เป็นปรนัย
▸4. มาตรฐานต้องใช้อย่างเสมอภาค ไม่มีการยกเว้นโดยปราศจากเหตุผลสมควร
▸5. การประกันคุณภาพการศึกษาจะประกอบด้วยการตรวจสอบและทบทวน
(Audit and Review) การทดสอบด้วยแบบ ทดสอบมาตรฐาน และการประเมิน
คุณภาพการศึกษา
การประกันคุณภาพ
การศึกษา
▸การประกันคุณภาพการศึกษา มีความสาคัญ 3 ประการ คือ
▸1. ทาให้ประชาชนได้รับข้อมูลคุณภาพการศึกษาที่เชื่อถือได้ เกิดความเชื่อมั่นและ
สามารถตัดสินใจเลือกใช้บริการที่มีคุณภาพมาตรฐาน
▸2. ป้องกันการจัดการศึกษาที่ไม่มีคุณภาพ ซึ่งจะเป็นการคุ้มครองผู้บริโภคและเกิด
ความเสมอภาคในโอกาสที่จะได้รับการบริการการศึกษาที่มีคุณภาพอย่างทั่วถึง
▸3. ทาให้ผู้รับผิดชอบในการจัดการศึกษามุ่งบริหารจัดการศึกษาสู่คุณภาพและ
มาตรฐานอย่างจริงจัง ซึ่งมีผลให้การศึกษามีพลังที่จะพัฒนาประชากรให้มีคุณภาพ
อย่างเป็นรูปธรรมและต่อเนื่อง
การประกันคุณภาพ
การศึกษา
การดาเนินงานของการประกันคุณภาพ ๓ ขั้นตอน
Let’s start with the first set of slides
23
▸การประกันคุณภาพการศึกษาเกี่ยวข้องกับการดาเนินการที่สาคัญ 3
ขั้นตอนดังนี้
1. การควบคุมคุณภาพ (Quality Control )
2.การตรวจสอบคุณภาพ (Quality Audit)
3. การประเมินคุณภาพ (Quality Assessment)
(Murgatroyd,Stephen and Morgan,Colin 1994 : 45)
▸1. การควบคุมคุณภาพ (Quality Control ) เป็นการกาหนดมาตรฐานคุณภาพการศึกษา
เพื่อให้สถานศึกษาตลอดจนหน่วยงานที่เกี่ยวข้องใช้เป็นเป้าหมายและเป็นเครื่องมือในการพัฒนาซึ่ง
หลักปฏิบัติทั่วไปมาตรฐานจะกาหนดโดยองค์คณะบุคคล ผู้เชี่ยวชาญ หรือ ผู้มีประสบการณ์
▸2.การตรวจสอบคุณภาพ (Quality Audit) เป็นการตรวจสอบและติดตามผลการดาเนินการจัด
การศึกษาว่าเป็นไปตามมาตรฐานคุณภาพการศึกษาที่กาหนดขึ้นมากน้อยเพียงไร และมีขั้นตอน
การดาเนินการที่จะทาให้เชื่อถือได้หรือไม่ว่าการจัดการศึกษาจะเป็นไปอย่างมีคุณภาพ
▸3. การประเมินคุณภาพ (Quality Assessment) เป็นการประเมินคุณภาพของสถานศึกษาโดย
บุคลากรของสถานศึกษาหรือโดยหน่วยงานที่กากับดูแลในเขตพื้นที่และหน่วยงานต้นสังกัดใน
ส่วนกลางที่มีหน้าที่กากับดูแลสถานศึกษา
▸ทั้งนี้ การตรวจสอบและประเมินคุณภาพนี้จะกระทาอย่างเป็นระบบ
โดยมีกฎเกณฑ์และแนวทางการดาเนินการที่ชัดเจน มีการนาผลการ
ประเมินในทุกขั้นตอนมาใช้เพื่อการวางแผน ออกแบบ และการปฏิบัติ
เพื่อให้เกิดการ ปรับปรุงพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่อง (Continuous
Improvement)
การดาเนินการประกัน
คุณภาพ
ความแตกต่างระหว่างการ
ประกันคุณภาพภายในและ
ภายนอก
การประกันคุณภาพภายใน การประกันคุณภาพภายนอก
ผู้รับผิดชอบ :โรงเรียน,สานักงานเขตพื้นที่
การศึกษา
ผู้รับผิดชอบ : สานักงานรับรองมาตรฐาน และ
ประเมิน คุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) (สม
ศ.)
กระบวนการ กระบวนการ
 การควบคุมคุณภาพ  การตรวจสอบคุณภาพ
 การตรวจสอบคุณภาพ  การประเมินคุณภาพ
 ประเมินคุณภาพ  การให้การรับรอง
ระบบในการบริหารสถานศึกษา
Let’s start with the first set of slides
28
▸ระบบการบริหารสถานศึกษา หมายถึง กิจกรรมทั้งมวลที่จาเป็นต่อ
การธารงรักษาและดาเนินการภายในสถานศึกษาเพื่อให้บรรลุ
จุดประสงค์ของสถานศึกษา
▸การบริหารสถานศึกษา เป็นภารกิจหลักของสถานศึกษาที่จะต้อง
กาหนดแบบแผน วิธีการ และขั้นตอนต่าง ๆ ในการปฏิบัติงานไว้อย่าง
เป็นระบบ เพราะถ้าระบบการบริหารงาน ไม่ดีจะกระทบกระเทือนต่อ
ส่วนอื่น ๆ ขององค์การ
ความสาคัญของการ
บริหารสถานศึกษา
การบริหารจัดการศึกษาภายในสถานศึกษาให้เกิดพลังและมีประสิทธิภาพ
จาเป็นต้องยึดเงื่อนไขและหลักการสาคัญของการปฏิรูปการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ คือ
▸ 3.1 ยึดโรงเรียนเป็นศูนย์กลางในการตัดสินใจ (School-Based Decision) เป็นแนวคิดที่
มุ่งให้โรงเรียนมีอิสระในการตัดสินใจด้วยตนเอง โดยยึดประโยชน์ที่จะเกิดกับผู้เรียนเป็นสาคัญ
▸ 3.2 การมีส่วนร่วม (Participation) กาหนดให้บุคคลหลายฝ่ายที่เกี่ยวข้องกับการศึกษา
หรือผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในการจัดการศึกษา เข้ามามีส่วนร่วมเป็นคณะกรรมการร่วมแสดงความคิดเห็นหรือ
ร่วมกากับติดตาม ดูแล
▸ 3.3 การกระจายอานาจ (Decentralization) เป็นการกระจายอานาจด้านการบริหาร
จัดการด้านวิชาการ งบประมาณ การบริหารบุคคลและการบริหารทั่วไป ให้คณะกรรมการเขตพื้นที่
การศึกษาและคณะกรรมการสถานศึกษาเป็นผู้รับผิดชอบ
หลักการบริหาร
สถานศึกษา
▸3.4 ความรับผิดชอบตรวจสอบได้ (Accountability) มีการ
กาหนดหน้าที่ความรับผิดชอบและภารกิจของผู้รับผิดชอบ เพื่อเป็น
หลักประกันคุณภาพการศึกษาให้เกิดขึ้น
▸3.5 ธรรมาภิบาล (Good Governance) เป็นหลักคิดสาหรับการ
บริหารจัดการที่ดี เพื่อประกันว่าในองค์การจะไม่มีการฉ้อราษฎร์บัง
หลวง ไม่ด้อยประสิทธิภาพ ทั้งนี้ยึดหลักเป้าหมายสอดคล้องต่อสังคม
กระบวนการโปร่งใสและทุกขั้นตอนมีผู้รับผิดชอบ
หลักการบริหาร
สถานศึกษา
▸3.6 ความเป็นนิติบุคคล (A juristic person) เป็นการให้สิทธิและ
อานาจหน้าที่ที่กาหนดไว้เป็นของตนเอง ตามพระราชบัญญัติการศึกษา
แห่งชาติ พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ
พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาและ
พระราชบัญญัติการศึกษาภาคบังคับ ซึ่งได้กาหนดอานาจหน้าที่ที่เป็น
ของโรงเรียน ไว้โดยเฉพาะ
หลักการบริหาร
สถานศึกษา
ระบบสารสนเทศ ในสถานศึกษา
Let’s start with the first set of slides
33
34
สถานศึกษา
ระบบบริหาร
งานบุคคล
ระบบบริการ
ทางวิชาชีพ
ระบบสนับสนุน
วิชาการ
ระบบนักศึกษา
ระบบทะเบียน
ระบบเงินทุน
การศึกษา
ระบบบริหารทั่วไป
ระบบ
จัดซื้อจัดจ้าง
ระบบทะเบียน
พัสดุและสิ่งก่อสร้าง
ระบบจัดหารายได้
ระบบสัญญา
และเงินทุน
ระบบศิษย์เก่า
ระบบงบประมาณ
การเงิน บัญชี
ระบบห้องสมุด
▸ในสถานศึกษามีข้อมูลมากมาย กระจัดกระจายอยู่ในส่วนต่าง ๆ ตามภาระหน้าที่
ความรับผิดชอบของครู
▸สถานศึกษาที่มีระบบสารสนเทศที่สมบูรณ์ ครบถ้วน เป็นปัจจุบัน เรียกใช้ได้
สะดวกและตรงตามความต้องการ จะช่วยให้สถานศึกษาสามารถดาเนินงานพัฒนา
คุณภาพการศึกษาได้อย่างมีประสิทธิภาพ
▸สารสนเทศทั้งหลายนั้นนอกจากจะใช้ในการวางแผนการดาเนินงานและ
ประกอบการตัดสินใจแล้ว ยังนาไปสู่การพัฒนาแนวความคิด และสร้างทางเลือก
ใหม่ๆ ในการดาเนินการต่างๆ ด้วย
ข้อดีของการมีระบบสารสนเทศ
1. ระบบทาด้วยมือ (Manual
System)
ง่าย สะดวก
ค้นหายาก จัดการไม่สะดวก
ทางานซ้าซ้อน
2. ระบบกึ่งอัตโนมัติ (Semi –
Automation)
ง่ายขึ้น รับข้อมูลมากขึ้นได้
ไม่ชัดเจน ผสมกัน
3. ระบบอัตโนมัติ (Full –
Automation)
ข้อมูลได้มาก วิเคราะห์ได้เร็ว
ราคาแพง ระบบใช้งานยาก
องค์ประกอบมาก
การจัดระบบสารสนเทการจัดระบบสารสนเทศ สามารถจาแนกตาม
วิธีดาเนินการออกเป็น 3 ระบบ
ตัวอย่างการจัดเก็บข้อมูลสารสนเทศ โดยใช้แฟ้มเอกสาร อาจแบ่งได้ดังนี้
▸แฟ้มข้อมูลหลัก: เป็นข้อมูลพื้นฐานซึ่งแบ่งเป็นหลายแฟ้มตามโครงสร้างของงาน
▸แฟ้มข้อมูลย่อย : เป็นแฟ้มข้อมูลใหม่ ๆ ของแฟ้มข้อมูลหลักแต่ยังอาจต้องปรับ
ให้เป็นปัจจุบัน
▸แฟ้มดัชนี: เป็นแฟ้มเลขดัชนี้ที่ระบุว่าข้อมูลใดอยู่ส่วนไหนของข้อมูลหลัก
▸แฟ้มตารางอ้างอิง : เป็นแฟ้มรวบรวมข้อมูลในลักษณะตารางซึ่งใช้ประโยชน์ใน
การอ้างอิง
▸แฟ้มข้อมูลสรุป : เป็นแฟ้มที่รวบรวมข้อมูลในรูปแบบของการสรุปผล
▸แฟ้มข้อมูลสารอง : เป็นการสร้างแฟ้มสารองข้อมูลสาคัญ ๆ เพื่อประโยชน์
ในกรณีที่ข้อมูลเดิมสูญหาย
การจัดระบบสารสนเทศ
▸ในการประเมินคุณภาพผู้เรียนเพื่อจัดทาข้อมูลสารสนเทศ นั้น
สถานศึกษาต้องประเมินจากผลการเรียนรู้ตามหลักสูตรสถานศึกษา ผล
การดาเนินงานตามแผนปฏิบัติการประจาปี และผลการดาเนินงาน
โครงการ/กิจกรรมตามนโยบายพิเศษ จะได้ข้อมูลสารสนเทศที่สมบูรณ์
พร้อมนาไปใช้ในการเขียนรายงานและเป็นข้อมูลสาหรับวางแผนพัฒนาใน
ปีต่อไป ลักษณะหรือรูปแบบการจัดเก็บ อาจจาแนกเป็น 3 ลักษณะ ได้แก่
การพัฒนาระบบสารสนเทศ
เพื่อการประกันคุณภาพ
ภายในของสถานศึกษา
▸ข้อมูลพื้นฐานของสถานศึกษา
▸ข้อมูลสารสนเทศที่เกิดจากการจัดการเรียนรู้ตาม
หลักสูตรสถานศึกษา
▸ข้อมูลสารสนเทศที่เกิดจากการดาเนินงานตาม
แผนปฏิบัติการประจาปี
การพัฒนาระบบสารสนเทศ
เพื่อการประกันคุณภาพ
ภายในของสถานศึกษา
▸นอกจากนี้ สถานศึกษาควรจัดเก็บข้อมูลสารสนเทศย้อนหลังอย่างน้อย 3
ปี เพื่อประโยชน์ในการพัฒนาคุณภาพสถานศึกษา และเตรียมความพร้อม
ในการรองรับการประเมินคุณภาพภายนอก ซึ่งควรจัดเก็บผลการ
ดาเนินงานของสถานศึกษาให้ครอบคลุมมาตรฐานการศึกษาของ
สถานศึกษา ดังนี้
▸1. ผลการประเมินคุณภาพภายในของสถานศึกษา (ผลจาก SAR ของ
สถานศึกษาย้อนหลัง)
▸2. ผลการดาเนินงานตามแผนปฏิบัติการประจาปีย้อนหลัง
▸3. ผลการจัดการเรียนรู้ตามหลักสูตรสถานศึกษาย้อนหลัง
การพัฒนาระบบสารสนเทศ
เพื่อการประกันคุณภาพ
ภายในของสถานศึกษา
▸1. สารสนเทศพื้นฐานของสถานศึกษา ข้อมูลเกี่ยวกับสถานศึกษา เช่น
ปรัชญา วิสัยทัศน์ พันธกิจ
เป้าหมาย/เป้าประสงค์
โครงสร้าง
บุคลากร
ภูมิปัญญาท้องถิ่น
แหล่งเรียนรู้
ทรัพยากรและงบประมาณ
เกียรติยศชื่อเสียง/ผลงาน/โครงการดีเด่นของสถานศึกษา
ตัวอย่างข้อมูลสารสนเทศ
พื้นฐานของสถานศึกษาที่ใช้
ในการประกันคุณภาพ
การศึกษา
▸2. สารสนเทศเกี่ยวกับผู้เรียน
▹1) จานวนนักศึกษาที่ลงทะเบียนเรียน
▹2) จานวนนักศึกษาที่จบการศึกษาตัวอย่างข้อมูลสารสนเทศ
พื้นฐานของสถานศึกษาที่ใช้
ในการประกันคุณภาพ
การศึกษา
▸3. สารสนเทศบริหารงานวิชาการ
▸ 3.1 หลักสูตรสถานศึกษา
▸ -ระดับประถมศึกษา
-ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น
-ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
3.2 กลุ่มหมวดวิชาพื้นฐาน
3.3 กลุ่มหมวดวิชาประสบการณ์
3.4 ระเบียบและแนวทางต่างๆ เช่น คู่มือการวัดผลและประเมินผลการเรียน การ
เทียบโอนผลการเรียน เป็นต้น
ตัวอย่างข้อมูลสารสนเทศ
พื้นฐานของสถานศึกษาที่ใช้
ในการประกันคุณภาพ
การศึกษา
▸4. สารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการ
4.1 งานบริหารทั่วไป
งานพัฒนาบุคลากร
งานทะเบียนนักศึกษา
งานการเงินและบัญชี
งานประกันคุณภาพการศึกษา
งานเครือข่าย
ตัวอย่างข้อมูลสารสนเทศ
พื้นฐานของสถานศึกษาที่ใช้
ในการประกันคุณภาพ
การศึกษา
4.2 งานนโยบายและแผน
4.2 งบประมาณ
4.4 การประกันคุณภาพการศึกษา
▸5. สารสนเทศเพื่อการรายงาน
รายงาน แผนงาน/โครงการ
รายงานการประชุมประจาเดือน
รายงานผลการปฏิบัติงานประจาเดือน ส
รุปผลการดาเนินงานตามรายโครงการ/กิจกรรม
รายงานผลการดาเนินงานประจาปีงบประมาณ 2553 รอบ 6 เดือน
รายงานการประเมินตนเอง (SAR)
▸
ตัวอย่างข้อมูลสารสนเทศ
พื้นฐานของสถานศึกษาที่ใช้
ในการประกันคุณภาพ
การศึกษา
▸6. สารสนเทศ คู่มือและแนวทางการปฏิบัติงาน
▹คู่มือ/แนวทางการจัดการศึกษานอกระบบ ระดับการศึกษาพื้นฐาน
▹คู่มือดาเนินงาน หลักสูตร
▹คู่มือการฝึกอบรม
▹คู่มือวิจัยปฎิบัติการแบบมีส่วนร่วม
▹คู่มือการใช้โปรแกรม
▹คู่มือการใช้โปรแกรมฐานข้อมูลห้องสมุด
▹คู่มือผู้ใช้งานระบบ E-Library
▹คู่มือการจัดทาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์
ตัวอย่างข้อมูลสารสนเทศ
พื้นฐานของสถานศึกษาที่ใช้
ในการประกันคุณภาพ
การศึกษา
คาถาม การประกันคุณภาพระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน มี
มาตรฐานการศึกษาและตัวบ่งชี้ เพื่อประเมินคุณภาพการศึกษา ขั้น
พื้นฐาน มีกี่มาตรฐาน มีมาตรฐานอะไรบ้าง และแต่ละมาตรฐานมีกี่ตัวบ่งชี้
คาถาม การประกันคุณภาพระดับอุดมศึกษา มีองค์ประกอบและ
ตัวบ่งชี้เพื่อประเมินคุณภาพการศึกษา ระดับอุดมศึกษา มีกี่องค์ประกอบ มี
องค์ประกอบอะไรบ้าง และแต่ละองค์ประกอบมีกี่ตัวบ่งชี้
คาถาม จากเกณฑ์การประเมินดังกล่าวมีมาตรฐานหรือ
องค์ประกอบใดหรือตัวบ่งชี้ใดบ้าง ที่เกี่ยวข้องกับระบบสารสนเทศ จง
อธิบาย
Assignment
ตัวอย่าง
การนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ
ของมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิตมาใช้
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิตได้จัดเตรียมระบบเทคโนโลยี
สารสนเทศที่มีประสิทธิภาพเข้ามาช่วยสนับสนุนการดาเนินงานและการเรียนการ
สอนโดยแบ่งลักษณะการใช้งานออกเป็น 3 ประเภท คือ ระบบสารสนเทศเพื่อการ
บริหาร ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารการศึกษา และเทคโนโลยีสารสนเทศ
สาหรับการศึกษา
การนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ
ของมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิตมาใช้
ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหาร
(MIS : Management Information System)
ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารเป็นระบบสารสนเทศที่สร้างขึ้นเพื่อ
ช่วยผู้บริหารใช้ในการตัดสินใจ สารสนเทศที่ใช้ส่วนใหญ่มักจะเป็นรายงานสรุป
ซึ่งได้จากสารสนเทศรวมจากหลายระบบงาน ได้แก่ ระบบบัญชี รับ-จ่าย ระบบ
เงินเดือน ระบบบุคลากรของมหาวิทยาลัย ระบบการบริหารงานงบประมาณ
และระบบพัสดุครุภัณฑ์ เป็นต้น
ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารการศึกษา
(EM : Education Management)
ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารการศึกษา (Education
Management:) ได้แก่ ระบบการ รับสมัครนักศึกษาใหม่ ระบบทะเบียน
นักศึกษา ระบบการจัดตารางสอน ตารางสอบ การลงทะเบียนเรียน การชาระ
เงิน และการตรวจสอบการชาระเงิน การขอสาเร็จการศึกษา และระบบศิษย์
เก่า เป็นต้น
ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารการศึกษา (ดาเนินการ
เรียบร้อย)
ระบบรับสมัครนักศึกษา
ระบบจัดตารางเรียนตารางสอบ
ระบบจัดตารางเรียนตารางสอบ
ระบบลงทะเบียนนักศึกษา
ระบบการเงินทะเบียน
ระบบตัดเกรดนักศึกษา-สาหรับการใช้งานของอาจารย์
ระบบขอสาเร็จการศึกษา
ระบบเงินกู้มหาวิทยาลัย,เงินกู้รัฐบาล
ระบบการคิดเงินค่าสอนสาหรับอาจารย์
ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารการศึกษา
(ดาเนินการเรียบร้อย) (ต่อ)
ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารการศึกษา
(กาลังพัฒนาระบบย่อยเพิ่มเติม)
ระบบบริหารหลักสูตร
ระบบเทียบโอน
ระบบริการนักศึกษา
ระบบคือสิ่งที่
สร้างได้
ออกแบบได้
และ
เพื่อแก้ปัญหาได้
55
ให้นักศึกษาออกแบบ ระบบ ข้อมูลพื้นฐานของสถานศึกษา เช่น
โดยให้นักศึกษาเขียนระบบและอธิบายสิ่งดังกล่าวลงในกระดาษ A4
Assignment
USE CHARTS
TO EXPLAIN
IDEAS
57
58
THANKS!
Any questions?
surapon@hotmail.com
CREDITS
เอกสารอ้างอิง
▸ ม.สวนดุสิต การออกแบบ ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหาร
การศึกษา EM : Education Management
▸ พื้นที่ครูพา แนวทางการพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการ
สื่อสารเพื่อการศึกษา
▸ อังคณา รอดประยูร ทส.3205 การบริหาร
เทคโนโลยีสารสนเทศ
▸ Angie Crandall all. EMIS 101 An Introductionto EMIS
59
60
SlidesCarnival icons are editable shapes.
This means that you can:
● Resize them without losing quality.
● Change line color, width and style.
Isn’t that nice? :)
Examples:

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
srkschool
 
วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.3
วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.3 วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.3
วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.3
sudchaleom
 
บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55
บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55
บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55
Decode Ac
 
การวิเคราะห์และสังเคราะห์สารสนเทศ
การวิเคราะห์และสังเคราะห์สารสนเทศ การวิเคราะห์และสังเคราะห์สารสนเทศ
การวิเคราะห์และสังเคราะห์สารสนเทศ
Srion Janeprapapong
 
ทฤษฏีการบริหาร
ทฤษฏีการบริหารทฤษฏีการบริหาร
ทฤษฏีการบริหาร
guest6b6fea3
 

Was ist angesagt? (20)

ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
 
เทคนิคการจัดการเรียนรู้ด้วยเกมมิฟิเคชั่น (Gamification)
เทคนิคการจัดการเรียนรู้ด้วยเกมมิฟิเคชั่น (Gamification)เทคนิคการจัดการเรียนรู้ด้วยเกมมิฟิเคชั่น (Gamification)
เทคนิคการจัดการเรียนรู้ด้วยเกมมิฟิเคชั่น (Gamification)
 
ภาษาไทยเพื่อการสื่อสารของม.ราชภัฎสวนดุสิต
ภาษาไทยเพื่อการสื่อสารของม.ราชภัฎสวนดุสิตภาษาไทยเพื่อการสื่อสารของม.ราชภัฎสวนดุสิต
ภาษาไทยเพื่อการสื่อสารของม.ราชภัฎสวนดุสิต
 
การบริหารงานวิชาการ
การบริหารงานวิชาการการบริหารงานวิชาการ
การบริหารงานวิชาการ
 
Instructional Design for Next Normal Education
Instructional Design for Next Normal EducationInstructional Design for Next Normal Education
Instructional Design for Next Normal Education
 
เทคนิคการจัดการเรียนการสอนแบบฐานสมรรถนะอาชีวศึกษา#1
เทคนิคการจัดการเรียนการสอนแบบฐานสมรรถนะอาชีวศึกษา#1เทคนิคการจัดการเรียนการสอนแบบฐานสมรรถนะอาชีวศึกษา#1
เทคนิคการจัดการเรียนการสอนแบบฐานสมรรถนะอาชีวศึกษา#1
 
วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.3
วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.3 วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.3
วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.3
 
บทที่ 2 พัฒนาการของแนวคิดและทฤษฎีการจัดการ
บทที่ 2 พัฒนาการของแนวคิดและทฤษฎีการจัดการบทที่ 2 พัฒนาการของแนวคิดและทฤษฎีการจัดการ
บทที่ 2 พัฒนาการของแนวคิดและทฤษฎีการจัดการ
 
วิเคราะห์การเมืองกับการศึกษา
วิเคราะห์การเมืองกับการศึกษาวิเคราะห์การเมืองกับการศึกษา
วิเคราะห์การเมืองกับการศึกษา
 
ภาษาและวัฒนธรรม ประเทศเมียนม่าร์
ภาษาและวัฒนธรรม ประเทศเมียนม่าร์ภาษาและวัฒนธรรม ประเทศเมียนม่าร์
ภาษาและวัฒนธรรม ประเทศเมียนม่าร์
 
Power point 1 การบริหารทรัพยากรมนุษย์
Power point 1 การบริหารทรัพยากรมนุษย์Power point 1 การบริหารทรัพยากรมนุษย์
Power point 1 การบริหารทรัพยากรมนุษย์
 
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
 
โครงงานสิ่งประดิษฐ์
โครงงานสิ่งประดิษฐ์โครงงานสิ่งประดิษฐ์
โครงงานสิ่งประดิษฐ์
 
ปรัชญาและปรัชญาการศึกษา
ปรัชญาและปรัชญาการศึกษาปรัชญาและปรัชญาการศึกษา
ปรัชญาและปรัชญาการศึกษา
 
บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55
บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55
บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55
 
การวิเคราะห์และสังเคราะห์สารสนเทศ
การวิเคราะห์และสังเคราะห์สารสนเทศ การวิเคราะห์และสังเคราะห์สารสนเทศ
การวิเคราะห์และสังเคราะห์สารสนเทศ
 
การติดต่อสื่อสารในองค์กร
การติดต่อสื่อสารในองค์กรการติดต่อสื่อสารในองค์กร
การติดต่อสื่อสารในองค์กร
 
ระบบการศึกษาจีน อดีต-ปัจจุบัน-อนาคต
ระบบการศึกษาจีน อดีต-ปัจจุบัน-อนาคตระบบการศึกษาจีน อดีต-ปัจจุบัน-อนาคต
ระบบการศึกษาจีน อดีต-ปัจจุบัน-อนาคต
 
รายงานการประชุมครั้งที่ 3 54
รายงานการประชุมครั้งที่ 3 54รายงานการประชุมครั้งที่ 3 54
รายงานการประชุมครั้งที่ 3 54
 
ทฤษฏีการบริหาร
ทฤษฏีการบริหารทฤษฏีการบริหาร
ทฤษฏีการบริหาร
 

Andere mochten auch

Andere mochten auch (20)

Smart Learning มิติใหม่ในยุคการศึกษา 4.0
Smart Learning  มิติใหม่ในยุคการศึกษา 4.0Smart Learning  มิติใหม่ในยุคการศึกษา 4.0
Smart Learning มิติใหม่ในยุคการศึกษา 4.0
 
การวิจัยโดยใช้เกมมิฟิเคชั่นเป็นฐาน
การวิจัยโดยใช้เกมมิฟิเคชั่นเป็นฐานการวิจัยโดยใช้เกมมิฟิเคชั่นเป็นฐาน
การวิจัยโดยใช้เกมมิฟิเคชั่นเป็นฐาน
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
การใช้เทคโนโลยีในการเรียนการสอนและ e-Learning
การใช้เทคโนโลยีในการเรียนการสอนและ e-Learning  การใช้เทคโนโลยีในการเรียนการสอนและ e-Learning
การใช้เทคโนโลยีในการเรียนการสอนและ e-Learning
 
การประยุกต์เทคโนโลยีอุบัติใหม่เพื่อการศึกษา Emerging Technology for Education
การประยุกต์เทคโนโลยีอุบัติใหม่เพื่อการศึกษา Emerging Technology for Educationการประยุกต์เทคโนโลยีอุบัติใหม่เพื่อการศึกษา Emerging Technology for Education
การประยุกต์เทคโนโลยีอุบัติใหม่เพื่อการศึกษา Emerging Technology for Education
 
Education 4.0 transforming educatio
Education 4.0  transforming educatioEducation 4.0  transforming educatio
Education 4.0 transforming educatio
 
วิเคราะห์กรอบนโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ระยะ พ.ศ. 2554-2563 ของประเ...
วิเคราะห์กรอบนโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารระยะ พ.ศ. 2554-2563 ของประเ...วิเคราะห์กรอบนโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารระยะ พ.ศ. 2554-2563 ของประเ...
วิเคราะห์กรอบนโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ระยะ พ.ศ. 2554-2563 ของประเ...
 
การประยุกต์ใช้ซอฟต์แวร์เพื่อพัฒนา “มัลติมีเดียเชิงปฎิสัมพันธ์”
การประยุกต์ใช้ซอฟต์แวร์เพื่อพัฒนา “มัลติมีเดียเชิงปฎิสัมพันธ์” การประยุกต์ใช้ซอฟต์แวร์เพื่อพัฒนา “มัลติมีเดียเชิงปฎิสัมพันธ์”
การประยุกต์ใช้ซอฟต์แวร์เพื่อพัฒนา “มัลติมีเดียเชิงปฎิสัมพันธ์”
 
เปลี่ยนการสอนและการวัดผล คุณภาพการศึกษาสู่Thailand 4.0
เปลี่ยนการสอนและการวัดผล คุณภาพการศึกษาสู่Thailand 4.0เปลี่ยนการสอนและการวัดผล คุณภาพการศึกษาสู่Thailand 4.0
เปลี่ยนการสอนและการวัดผล คุณภาพการศึกษาสู่Thailand 4.0
 
OER in the Mobile Era: Content Repositories’ Features for Mobile Devices and ...
OER in the Mobile Era: Content Repositories’ Features for Mobile Devices and ...OER in the Mobile Era: Content Repositories’ Features for Mobile Devices and ...
OER in the Mobile Era: Content Repositories’ Features for Mobile Devices and ...
 
Answer sheet
Answer sheetAnswer sheet
Answer sheet
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
Online content development and video production
Online content development and video production  Online content development and video production
Online content development and video production
 
สารสนเทศเพื่อการบริหารทางการศึกษา03
สารสนเทศเพื่อการบริหารทางการศึกษา03สารสนเทศเพื่อการบริหารทางการศึกษา03
สารสนเทศเพื่อการบริหารทางการศึกษา03
 
Online active learning
Online active learningOnline active learning
Online active learning
 
Intelligent school design - english version
Intelligent school design - english versionIntelligent school design - english version
Intelligent school design - english version
 
Smart learning environment
Smart learning environmentSmart learning environment
Smart learning environment
 
สารสนเทศเพื่อการบริหารทางการศึกษา01
สารสนเทศเพื่อการบริหารทางการศึกษา01สารสนเทศเพื่อการบริหารทางการศึกษา01
สารสนเทศเพื่อการบริหารทางการศึกษา01
 
PHP facebook strategy 4 4 11
PHP facebook strategy 4 4 11PHP facebook strategy 4 4 11
PHP facebook strategy 4 4 11
 
ScaleUp Airbnb - จับเสือมือเปล่า
ScaleUp Airbnb - จับเสือมือเปล่าScaleUp Airbnb - จับเสือมือเปล่า
ScaleUp Airbnb - จับเสือมือเปล่า
 

Ähnlich wie การบริหารจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาการบริหารการศึกษา

4รายงานนวีตกรรม
4รายงานนวีตกรรม 4รายงานนวีตกรรม
4รายงานนวีตกรรม
krupornpana55
 
Introduction to technologies and educational media
Introduction to technologies and educational mediaIntroduction to technologies and educational media
Introduction to technologies and educational media
Bunsasi
 
ตัวบ่งชี้และเกณฑ์ประเมินรอบสาม(ระดับขั้นพื้นฐาน)
ตัวบ่งชี้และเกณฑ์ประเมินรอบสาม(ระดับขั้นพื้นฐาน)ตัวบ่งชี้และเกณฑ์ประเมินรอบสาม(ระดับขั้นพื้นฐาน)
ตัวบ่งชี้และเกณฑ์ประเมินรอบสาม(ระดับขั้นพื้นฐาน)
pairat13
 
เกณฑ์สมศ.รอบ3
เกณฑ์สมศ.รอบ3เกณฑ์สมศ.รอบ3
เกณฑ์สมศ.รอบ3
arsad20
 
เทคโนโลยีนวัตกรรมและการศึกษา
เทคโนโลยีนวัตกรรมและการศึกษาเทคโนโลยีนวัตกรรมและการศึกษา
เทคโนโลยีนวัตกรรมและการศึกษา
Palmchuta
 
บทความวิจัยดุษฎีบัณฑิต สาขาบริหารการศึกษา ภาคภาษาไทย ผอ.เชิดศักดิ์ ศุภโสภณ
บทความวิจัยดุษฎีบัณฑิต สาขาบริหารการศึกษา ภาคภาษาไทย ผอ.เชิดศักดิ์  ศุภโสภณบทความวิจัยดุษฎีบัณฑิต สาขาบริหารการศึกษา ภาคภาษาไทย ผอ.เชิดศักดิ์  ศุภโสภณ
บทความวิจัยดุษฎีบัณฑิต สาขาบริหารการศึกษา ภาคภาษาไทย ผอ.เชิดศักดิ์ ศุภโสภณ
Kobwit Piriyawat
 
ขอบข่ายเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา
ขอบข่ายเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษาขอบข่ายเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา
ขอบข่ายเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา
apostrophe0327
 
chapter 1 แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารจัดการ .pdf
chapter 1 แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารจัดการ .pdfchapter 1 แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารจัดการ .pdf
chapter 1 แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารจัดการ .pdf
PhatchaRee5
 

Ähnlich wie การบริหารจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาการบริหารการศึกษา (20)

Introduction to Knowledge Management
Introduction to Knowledge ManagementIntroduction to Knowledge Management
Introduction to Knowledge Management
 
CNMI การบริหารโครงการ:จากแนวคิดสู่การปฏิบัติ(2555-2557)
CNMI การบริหารโครงการ:จากแนวคิดสู่การปฏิบัติ(2555-2557)CNMI การบริหารโครงการ:จากแนวคิดสู่การปฏิบัติ(2555-2557)
CNMI การบริหารโครงการ:จากแนวคิดสู่การปฏิบัติ(2555-2557)
 
มุมมองโรงพยาบาลกองทัพบกกับ HA - Ha & Army hospitals
มุมมองโรงพยาบาลกองทัพบกกับ HA - Ha & Army hospitals มุมมองโรงพยาบาลกองทัพบกกับ HA - Ha & Army hospitals
มุมมองโรงพยาบาลกองทัพบกกับ HA - Ha & Army hospitals
 
4รายงานนวีตกรรม
4รายงานนวีตกรรม 4รายงานนวีตกรรม
4รายงานนวีตกรรม
 
Introduction to technologies and educational media
Introduction to technologies and educational mediaIntroduction to technologies and educational media
Introduction to technologies and educational media
 
ตัวบ่งชี้และเกณฑ์ประเมินรอบสาม(ระดับขั้นพื้นฐาน)
ตัวบ่งชี้และเกณฑ์ประเมินรอบสาม(ระดับขั้นพื้นฐาน)ตัวบ่งชี้และเกณฑ์ประเมินรอบสาม(ระดับขั้นพื้นฐาน)
ตัวบ่งชี้และเกณฑ์ประเมินรอบสาม(ระดับขั้นพื้นฐาน)
 
680 1377-1-pb the development of servant leadership for international school ...
680 1377-1-pb the development of servant leadership for international school ...680 1377-1-pb the development of servant leadership for international school ...
680 1377-1-pb the development of servant leadership for international school ...
 
เกณฑ์สมศ.รอบ3
เกณฑ์สมศ.รอบ3เกณฑ์สมศ.รอบ3
เกณฑ์สมศ.รอบ3
 
กระบวนการจัดทำแผนยุทธศาสตร์
กระบวนการจัดทำแผนยุทธศาสตร์กระบวนการจัดทำแผนยุทธศาสตร์
กระบวนการจัดทำแผนยุทธศาสตร์
 
โครงการเสื้อพูดได้ พัฒนาประชาธิปไตยเชิงคุณภาพ
โครงการเสื้อพูดได้ พัฒนาประชาธิปไตยเชิงคุณภาพโครงการเสื้อพูดได้ พัฒนาประชาธิปไตยเชิงคุณภาพ
โครงการเสื้อพูดได้ พัฒนาประชาธิปไตยเชิงคุณภาพ
 
เทคโนโลยีนวัตกรรมและการศึกษา
เทคโนโลยีนวัตกรรมและการศึกษาเทคโนโลยีนวัตกรรมและการศึกษา
เทคโนโลยีนวัตกรรมและการศึกษา
 
แผนยุทธศาตร์การแนะแนว55
แผนยุทธศาตร์การแนะแนว55แผนยุทธศาตร์การแนะแนว55
แผนยุทธศาตร์การแนะแนว55
 
งานนำเสนอวิชานวัตกรรม
งานนำเสนอวิชานวัตกรรมงานนำเสนอวิชานวัตกรรม
งานนำเสนอวิชานวัตกรรม
 
งานนำเสนอวิชานวัตกรรม
งานนำเสนอวิชานวัตกรรมงานนำเสนอวิชานวัตกรรม
งานนำเสนอวิชานวัตกรรม
 
บทความวิจัยดุษฎีบัณฑิต สาขาบริหารการศึกษา ภาคภาษาไทย ผอ.เชิดศักดิ์ ศุภโสภณ
บทความวิจัยดุษฎีบัณฑิต สาขาบริหารการศึกษา ภาคภาษาไทย ผอ.เชิดศักดิ์  ศุภโสภณบทความวิจัยดุษฎีบัณฑิต สาขาบริหารการศึกษา ภาคภาษาไทย ผอ.เชิดศักดิ์  ศุภโสภณ
บทความวิจัยดุษฎีบัณฑิต สาขาบริหารการศึกษา ภาคภาษาไทย ผอ.เชิดศักดิ์ ศุภโสภณ
 
บทที่2 ระบบการเรียนการสอน
บทที่2  ระบบการเรียนการสอนบทที่2  ระบบการเรียนการสอน
บทที่2 ระบบการเรียนการสอน
 
บทที่ 2
บทที่ 2 บทที่ 2
บทที่ 2
 
ขอบข่ายเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา
ขอบข่ายเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษาขอบข่ายเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา
ขอบข่ายเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา
 
งาน
งานงาน
งาน
 
chapter 1 แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารจัดการ .pdf
chapter 1 แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารจัดการ .pdfchapter 1 แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารจัดการ .pdf
chapter 1 แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารจัดการ .pdf
 

Mehr von Surapon Boonlue

New media@kmut tbysurapon
New media@kmut tbysuraponNew media@kmut tbysurapon
New media@kmut tbysurapon
Surapon Boonlue
 

Mehr von Surapon Boonlue (20)

สัมมนาการพัฒนาศักยภาพองค์กร 2021
สัมมนาการพัฒนาศักยภาพองค์กร 2021สัมมนาการพัฒนาศักยภาพองค์กร 2021
สัมมนาการพัฒนาศักยภาพองค์กร 2021
 
มาตรฐานMoocมจธ
มาตรฐานMoocมจธมาตรฐานMoocมจธ
มาตรฐานMoocมจธ
 
Learning Space: Design Tips for Classroom ห้องสมุด ในยุค 4.0
Learning Space: Design Tips for Classroom ห้องสมุด ในยุค 4.0Learning Space: Design Tips for Classroom ห้องสมุด ในยุค 4.0
Learning Space: Design Tips for Classroom ห้องสมุด ในยุค 4.0
 
การจัดการเรียนการสอนในยุคดิจิทัล
การจัดการเรียนการสอนในยุคดิจิทัลการจัดการเรียนการสอนในยุคดิจิทัล
การจัดการเรียนการสอนในยุคดิจิทัล
 
การบริหารจัดการห้องเรียนด้วย Classdojo
การบริหารจัดการห้องเรียนด้วย Classdojoการบริหารจัดการห้องเรียนด้วย Classdojo
การบริหารจัดการห้องเรียนด้วย Classdojo
 
Ar in active learning
Ar in active learning Ar in active learning
Ar in active learning
 
Management technology in classroom for 21
Management technology in classroom for 21Management technology in classroom for 21
Management technology in classroom for 21
 
Lms & MOOCs surapon
Lms & MOOCs suraponLms & MOOCs surapon
Lms & MOOCs surapon
 
Smart classroom ความสมาร์ทในความเสมือน
Smart classroom  ความสมาร์ทในความเสมือนSmart classroom  ความสมาร์ทในความเสมือน
Smart classroom ความสมาร์ทในความเสมือน
 
New media@kmut tbysurapon
New media@kmut tbysuraponNew media@kmut tbysurapon
New media@kmut tbysurapon
 
หลักพื้นฐาน 12 ข้อสำหรับสร้างแอนิเมชัน
หลักพื้นฐาน 12 ข้อสำหรับสร้างแอนิเมชันหลักพื้นฐาน 12 ข้อสำหรับสร้างแอนิเมชัน
หลักพื้นฐาน 12 ข้อสำหรับสร้างแอนิเมชัน
 
Fischertechnik training
Fischertechnik trainingFischertechnik training
Fischertechnik training
 
ความคิดสร้างสรรค์
ความคิดสร้างสรรค์ความคิดสร้างสรรค์
ความคิดสร้างสรรค์
 
Ict for edu primary school surapon
Ict for edu primary school  suraponIct for edu primary school  surapon
Ict for edu primary school surapon
 
Social network training
Social network trainingSocial network training
Social network training
 
New media for teaching
New media for teachingNew media for teaching
New media for teaching
 
Hdtv surapon
Hdtv suraponHdtv surapon
Hdtv surapon
 
Classroom In The Future
Classroom In  The  FutureClassroom In  The  Future
Classroom In The Future
 
Ox game
Ox gameOx game
Ox game
 
Millionaire game
Millionaire gameMillionaire game
Millionaire game
 

การบริหารจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาการบริหารการศึกษา