SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 25
Downloaden Sie, um offline zu lesen
เครืองมือพืนฐานทีควรรู้จัก
ในการพัฒนาระบบ RM และการ
พัฒนาในด้านอืนๆ
Suradet Sriangkoon : @Riskroom
ข้อมูลทีนํามาเรียบเรียง : ข้อมูลใน Google
1. เครืองมือสําหรับการทํางานเป็นทีม ได้แก่
• เครืองมือในการรวบรวมความคิด : การระดมสมอง เดลไฟ การ
เขียนบัตรความคิดเห็น
• เครืองมือในการจัดระบบความคิด : Affinity diagram
• เครืองมือในการตัดสินใจ : Motivoting
เครืองมือทีช่วยในการพัฒนา
เครืองมือพืนฐานทีช่วยในการพัฒนาสามารถแบ่งออกเป็น 2
แบบคือ
Suradet Sriangkoon : ห้องเรียนความเสียง
2. เครืองมือสําหรับการจัดการกับข้อมูลอย่างเป็นระบบ ได้แก่
• เครืองมือทีใช้เก็บข้อมูล : การกําหนดคําจํากัดความเพือการ
เก็บข้อมูล การสุ่มตัวอย่าง แบบบันทึกข้อมูลง่ายๆ
• เครืองมือในการวิเคราะห์ข้อมูล : แผนภูมิพาเรโต แผนภูมิการ
กระจาย
• เครืองมือในการนําเสนอข้อมูล : กราฟเส้นแสดงการ
เปลียนแปลงข้อมูลอย่างต่อเนือง กราฟควบคุม
Suradet Sriangkoon : ห้องเรียนความเสียง
การระดมความคิด ( Brain storming)
คืออะไร เป็นกระบวนการทีรวบรวมความคิด ปัญหา ข้อเสนอแนะ จํานวน
มากในเวลาทีรวดเร็ว โดยมุ่งเน้นทีจํานวนความคิด ไม่ใช่คุณภาพ
ทําไม ก่อนทีจะตัดสินใจเรืองอะไร ควรมีการตรวจสอบทางเลือกให้มาก
ทีสุด และเป็นการเปิดโอกาสให้สมาชิกแสดงความคิดสร้างสรรค์
และไม่จํากัดกรอบความคิดของสมาชิก
ใช้เมือไหร่ ใช้ได้กับทุกขันตอนทีต้องการระดมความคิดทีหลากหลาย และ
สร้างสรรค์
ทําอย่างไร 1. การเตรียมการ
• กําหนดประเด็นทีเราจะระดมสมอง
• กําหนดเวลาในการคิด และวิธีการระดมสมอง (ฟรีรอบวง,เรียง
คิว)
เครืองมือในการรวบรวมความคิด
Suradet Sriangkoon : ห้องเรียนความเสียง
การระดมความคิด ( Brain storming)
ทําอย่างไร • กําหนดผู้รับผิดชอบ : ผู้ประสานงาน ผู้บันทึก
• ทบทวนกฎกติกา มารยาท ได้แก่ ไม่มีการวิพากษ์วิจารณ์ ไม่มี
การอภิปราย ไม่มีการแก้ไขข้อความของผู้เสนอ ให้ได้จํานวน
ความคิดให้มากทีสุด
2. ระดมความคิด
• ให้สมาชิกใช้เวลาเงียบๆในการสร้างความคิด
• ให้สมาชิกนําเสนอความคิดออกมา โดยใช้กฎกติกามารยาทเป็น
ตัวควบคุม
3. ทําความกระจ่าง โดยให้สมาชิกพิจารณา ทําความเข้าใจ
ข้อคิดเห็นทีเกิดขึน หากไม่เข้าใจให้เจ้าของความคิดปรับปรุง
ข้อความให้ชัดเจนขึน
4. ประเมินคือตรวจสอบความซําซ้อน หรือความคิดทีไม่ตรงกับ
ประเด็น ซึงอาจใช้วิธีการกรองข้อความ เป็นต้น
Suradet Sriangkoon : ห้องเรียนความเสียง
Brain storming
Suradet Sriangkoon : ห้องเรียนความเสียง
เทคนิคเดลไฟ ( Delphi Technique)
คืออะไร เป็นการให้สมาชิกได้แสดงความคิดเห็น และตัดสินใจอย่างเป็น
อิสระ ไม่ระบุชือ และให้มีการให้ความเห็นซําหลังจากทราบความ
คิดเห็นจากเพือนแล้ว ทํา 3 รอบ
ทําไม ในการประชุมบางครังมีความเกรงใจเจ้าของความคิด เช่นเป็นผู้
อาวุโสหรือเคารพ การใช้เทคนิคนีจะทําให้ไม่ทราบว่าใครเป็น
เจ้าของความคิด จึงสามารถให้ความคิดเห็นหลังจากแสดงความ
คิดเห็น และให้เจ้าของความคิดได้ทบทวนความคิดของตนเอง
ใช้เมือไหร่ • เมือต้องการรับความคิดเห็นทีหลากหลาย โดยไม่ทราบว่าเป็น
ของใคร
• สมาชิกของทีมไม่ได้อยู่ในสถานทีเดียวกัน
• เป็นเรืองทีต้องการให้สมาชิกเป็นเจ้าของการตัดสินใจ และ
ผลกระทบทีตามมา
• หลีกเลียงแรงกดดัน และความมีอิทธิพล
Suradet Sriangkoon : ห้องเรียนความเสียง
เทคนิคเดลไฟ ( Delphi Technique)
ทําอย่างไร 1. ระบุการตัดสินใจหรือปัญหาทีต้องการถามจากสมาชิกในทีม
2. ขอความเห็นจากสมาชิกในรอบแรก โดยให้เขียนในกระดาษ
และนําส่ง และไม่ทราบว่าใครนําเสนอความคิด ทราบแต่ว่าต้อง
นําเสนอมากกว่า 2 รอบ
3. สรุปความเห็นในรอบแรก ขอความเห็นในรอบ 2
• ปรับเปลียนเป็นข้อความสรุปของทีม เพือให้ได้ความเห็นร่วม
• เขียนสิงทีสมาชิกส่งมาโดยไม่ปรับเปลียน
• หาค่าเฉลียของความเห็น (ถ้าการแสดงความคิดเห็นเป็นการให้
คะแนน)
4. สรุปความคิดเห็นในรอบ 2 ขอความเห็นในรอบ 3 (ถ้าความ
คิดเห็นเป็นไปแนวทางเดียวกันอาจไม่ต้องทํารอบ 3 ก็ได้)
5. สรุปความเห็นในรอบที 3
6. นําเสนอผลการสรุปให้สมาชิกทราบ และนําสู่การปฏิบัติต่อไป
Suradet Sriangkoon : ห้องเรียนความเสียง
Delphi Technique
Suradet Sriangkoon : ห้องเรียนความเสียง
เครืองมือในการจัดระบบความคิด
แผนภูมิกลุ่มความคิด ( Affinity Diagram)
คืออะไร เป็นเครืองมือในการรวบรวมความคิด ความเห็น และนํามาจัด
หมวดหมู่ตามความสัมพันธ์
ทําไม 1. ความคิดในการระดมสมองมีจํานวนมาก จําเป็นต้องมีการจัด
หมวดหมู่
2. การจัดระบบความคิดด้วยวิธีเดิมๆมักกําหนดหัวข้อก่อนทําให้
จํากัดกรอบความคิด
3. การจัดกลุ่มความคิดทีใกล้เคียงกัน ก่อนการตังหัวข้อทําให้ทีม
สามารถสร้างระบบความคิดขึนมาใหม่
4. วิธีการนีทําให้ทุกคนมีส่วนร่วม และเท่าเทียมกัน
Suradet Sriangkoon : ห้องเรียนความเสียง
แผนภูมิกลุ่มความคิด ( Affinity Diagram)
ใช้เมือไหร่ 1. ประเด็นปัญหามีความซับซ้อน ยากทีจะเข้าใจ
2. ปัญหามีความไม่แน่นอน ไม่เป็นระเบียบ มีจํานวนมาก
3. ต้องการฉีกแนวทางการแก้ไขปัญหาแบบเดิมๆ
4. ต้องการมีส่วนร่วม และการสนับสนุนของทีมในการแก้ปัญหา
ทําไม 1. เตรียมการ
• เลือกทีม และผู้นํา
• ระบุประเด็นหรือปัญหาทีจะพิจารณา
2. ระดมสมอง
3. จัดกลุ่มตามบัตรความคิด
4. ตังชือกลุ่มและจัดระบบ
• เขียนชือกลุ่มบัตรความคิด
• เขียนผัง Affinity Diagram
5. อภิปราย และทําความเข้าใจ
Suradet Sriangkoon : ห้องเรียนความเสียง
Suradet Sriangkoon : ห้องเรียนความเสียง
เครืองมือในการตัดสินใจ
การลงคะแนนพหุ ( Multivoting)
คืออะไร เป็นเทคนิคในการลดรายการจากการทีระดมความคิดเห็นให้เหลือ
3-5 รายการ ทีพอจะสามารถนําไปใช้ได้ สามารถตกลงกันได้ใน
เวลาทีสัน และมีความรู้สึกร่วมกันในการเป็นเจ้าของความคิด
ทําไม ผลจากการระดมสมองจะมีข้อมูลเป็นจํานวนมาก แต่ละคนมี
ความคิดเป็นของตนเอง ยากทีจะหาจุดร่วมว่าทีมควรให้ความ
สนใจเรืองใด
ใช้เมือไหร่ ทุกครังทีต้องการลดความเห็นจํานวนมาก
ทําอย่างไร 1. จัดทํารายการความคิดเห็น
2. ลงคะแนนโดยสมาชิก
3. ลดจํานวนรายการ
4. ลงคะแนนซําในรอบต่อไป Suradet Sriangkoon : ห้องเรียนความเสียง
Suradet Sriangkoon : ห้องเรียนความเสียง
เครืองมือทีใช้เก็บข้อมูล
คําจํากัดความสําหรับการเก็บข้อมูล (Operational Definition)
คืออะไร คําจํากัดความของการเก็บข้อมูลทีชัดเจน กระชับ และมี
รายละเอียดทีจําเป็น
ทําไม เพือให้เก็บข้อมูลได้คําตอบเดียวกัน
ใช้เมือไหร่ เมือจะมีการเก็บข้อมูล
ทําอย่างไร • กําหนดลักษณะหรือแนวคิดทีต้องการวัด
• กําหนดข้อมูลทีจะเก็บ พร้อมทังระบุหน่วยนับ
• เลือกเครืองมือทีจะวัด
• ระบุวิธีการวัด และวิธีการสุ่มตัวอย่าง (ทีไหน เมือไหร่ อย่างไร
ละเอียดเพียงใด)
• กําหนดหลักเกณฑ์การตัดสินใจสําหรับข้อมูลเชิงคุณภาพ
(เมือไหร่ทีจะเข้าข่ายว่าใช่หรือไม่ใช่) Suradet Sriangkoon : ห้องเรียนความเสียง
ตัวอย่าง คําจํากัดความสําหรับการเก็บข้อมูล (Operational Definition)
คุณลักษณะ ความแม่นยําในการวินิจฉัยโรค
ข้อมูลและหน่วยนับ อัตราการวินิจฉัยโรคทีไม่ตรงกัน (ก่อนผ่ากับหลังผ่า)
เทียบกับจํานวนการผ่าตัดทังหมด (หน่วยนับเป็นร้อย
ละ)
เครืองมือทีจะใช้วัด ทะเบียนผู้ป่วยผ่าตัด
วิธีการวัด
• การสุ่มตัวอย่าง
• สถานที
• เวลา
• ความถี
• ผู้เก็บ
ตรวจสอบจากทะเบียนผ่าตัดทุกรายในช่วงเวลา 3
เดือน จําแนกตามกลุ่มงาน
• หลักเกณฑ์การตัดสินใจ การวินิจฉัยโรคทีไม่ตรงกัน
Suradet Sriangkoon : ห้องเรียนความเสียง
แบบบันทึกข้อมูลง่ายๆ( Check Sheet)
Suradet Sriangkoon : ห้องเรียนความเสียง
เครืองมือในการวิเคราะห์ข้อมูล
แผนภูมิพาเรโต (Pareto Diagram)
คืออะไร กราฟแท่งเรียงตามลําดับความถีของการเกิดเหตุการณ์ เพือช่วย
ในการตัดสินใจว่าควรจะเลือกปัญหาหรือสาเหตุใดมาก่อน
ทําไม การลดปัญหาในหัวข้อทีมีความสําคัญจะส่งผลให้เกิดการพัฒนาที
มากกว่า
ใช้เมือไหร่ ใช้จัดลําดับหัวข้อทีมีความสําคัญ
ทําอย่างไร • เก็บข้อมูลด้วยแบบบันทึกแบง่ายๆ
• สร้างตารางแจกแจงความถี เรียงข้อมูลตามลําดับความถี สร้าง
คอลัมน์ % ความถีสะสม
• เขียนแกนนอนแบ่งให้เท่ากับจํานวนข้อ แกนตังทางซ้ายมือเป็น
หน่วยวัด แกนตังขวาเป็น % ความถีสะสมทีมีค่าอยู่ระหว่าง 0 -
100 % Suradet Sriangkoon : ห้องเรียนความเสียง
แผนภูมิพาเรโต (Pareto Diagram)
ทําอย่างไร • ตัวเลขบนแกนตังซ้ายมือในระดับทีตรงกับ 100 % ของแกนตัง
ขวามือจะเท่ากับจํานวนความถีสะสมทังหมด
• เขียนกราฟแท่งของแต่ละหัวข้อ
• เขียนกราฟเส้นของ % ความถีสะสม
Suradet Sriangkoon : ห้องเรียนความเสียง
เครืองมือในการนําเสนอข้อมูล
กราฟเส้นแสดงการเปลียนแปลงของข้อมูลอย่างต่อเนือง (Run Chart )
คืออะไร เป็นกราฟเส้นซึง Plot ไปตามลําดับเวลาเพือดูพฤติกรรมของ
ระบบในช่วงเวลาหนึง
ทําไม อาจพบแนวโน้มหรือรูปแบบข้อมูลซึงมีผลในการตัดสินใจเพือ
ปรับปรุงระบบ
ใช้เมือไหร่ เก็บข้อมูลเป็นพืนฐาน ก่อนนํามาสู่การคํารวนทางสถิติได้
ทําอย่างไร • บันทึกหัวเรือง ( หน่วยงาน กระบวนการ สถานที เครืองชีวัด
เครืองมือวัด หน่วยวัด วันที )
• บันทึกข้อมูลตามลําดับเหตุการณ์
• ประมาณอัตราส่วนของแกนตังของกราฟให้ครอบคลุมตัวเลขที
เก็บมาได้
• นําข้อมูลจุดลงบนกราฟตามลําดับเหตุการณ์ ลากเส้นต่อจุด
Suradet Sriangkoon : ห้องเรียนความเสียง
Suradet Sriangkoon : ห้องเรียนความเสียง
กราฟควบคุม ( Control Chart )
คืออะไร การทําความเข้าใจกับข้อมูลของระบบทีศึกษาเพือดําเนินการอย่าง
เหมาะสม
ทําไม การปรับปรุงระบบเกิดจากการเปลียนแปลงอย่างมีแผนบนพืนฐาน
ของข้อมูล
ใช้เมือไหร่ ใช้กราฟควบคุมทุกอัน ทุกครังเมือมีการบันทึกข้อมูลเพิมเติม
ทําอย่างไร • ดูว่ามีลักษณะทีบ่งบอกว่ามีความไม่คงตัวหรือไม่ เช่นมีจุดอยู่
นอกระดับควบคุม
• ตอบสนองข้อมูลอย่างเหมาะสม ถ้าเป็นเหตุการณ์ปกติ ให้ค้นหา
สาเหตุ และแก้ไขทีสาเหตุนัน เป็นหน้าทีของผู้ปฏิบัติ ถ้าต้องการ
ลดค่าเฉลียหรือความแปรปรวนเป็นหน้าทีของผู้บริหาร
Suradet Sriangkoon : ห้องเรียนความเสียง
Suradet Sriangkoon : ห้องเรียนความเสียง
Control Chart
Suradet Sriangkoon : ห้องเรียนความเสียง
เหล่านีคือเครืองมือพืนฐาน
ทีเราสามารถนํามาประยุกต์ใช้ในด้านต่างๆ
ของกระบวนการการพัฒนาคุณภาพ และความปลอดภัย
เพราะหลักคิดสําคัญของการพัฒนาทีสําคัญสองอย่างคือ
ประการแรกเราต้องรับฟังความคิดเห็นต่างๆของสมาชิก
ของบุคลากร ไม่ว่าความคิดนันจะดีหรือไม่ดี
เข้าท่าหรือไม่เข้าท่า แต่เราก็ต้องรับฟัง ตังใจฟัง รับรู้
แล้วนํามาหาข้อสรุปร่วมกัน เพือพัฒนาต่อไป
ประการทีสองเราต้องหมันเรียนรู้ ประเมินผลข้อมูล
ทีเรามีอยู่อย่างสมําเสมอ เพือให้เกิดการพัฒนา
ดังนันสร้างการมีส่วนร่วม ประเมินผลสมําเสมอ
คุณภาพ และ ความปลอดภัยย่อมต่อเนือง ยังยืน
Suradet Sriangkoon : ห้องเรียนความเสียง

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

คู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉาง
คู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉางคู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉาง
คู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉาง
Suradet Sriangkoon
 
แนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุ
แนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุแนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุ
แนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุ
Dashodragon KaoKaen
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับรังสีรักษา
การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับรังสีรักษา การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับรังสีรักษา
การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับรังสีรักษา
techno UCH
 
4.แผนสุขศึกษาม4แผน11เอมพันธ์
4.แผนสุขศึกษาม4แผน11เอมพันธ์4.แผนสุขศึกษาม4แผน11เอมพันธ์
4.แผนสุขศึกษาม4แผน11เอมพันธ์
Kruthai Kidsdee
 
ความเสี่ยงขั้นพื้นฐานสำหรับผู้ปฏิบัติหน้างาน
ความเสี่ยงขั้นพื้นฐานสำหรับผู้ปฏิบัติหน้างานความเสี่ยงขั้นพื้นฐานสำหรับผู้ปฏิบัติหน้างาน
ความเสี่ยงขั้นพื้นฐานสำหรับผู้ปฏิบัติหน้างาน
Suradet Sriangkoon
 
11แผน
11แผน11แผน
11แผน
Fmz Npaz
 

Was ist angesagt? (20)

อาการที่สําคัญในผู้สูงอายุ
อาการที่สําคัญในผู้สูงอายุอาการที่สําคัญในผู้สูงอายุ
อาการที่สําคัญในผู้สูงอายุ
 
Ppt. คุณแม่วัยใส
Ppt. คุณแม่วัยใสPpt. คุณแม่วัยใส
Ppt. คุณแม่วัยใส
 
คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)
คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)
คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)
 
คู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉาง
คู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉางคู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉาง
คู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉาง
 
คู่มือการดูแลผู้ป่วยหัวใจล้มเหลวเรื้อรัง แบบบูรณาการ
คู่มือการดูแลผู้ป่วยหัวใจล้มเหลวเรื้อรัง แบบบูรณาการคู่มือการดูแลผู้ป่วยหัวใจล้มเหลวเรื้อรัง แบบบูรณาการ
คู่มือการดูแลผู้ป่วยหัวใจล้มเหลวเรื้อรัง แบบบูรณาการ
 
วิธีการดูแลเท้าในผู้ป่วยเบาหวานในชุมชน
วิธีการดูแลเท้าในผู้ป่วยเบาหวานในชุมชนวิธีการดูแลเท้าในผู้ป่วยเบาหวานในชุมชน
วิธีการดูแลเท้าในผู้ป่วยเบาหวานในชุมชน
 
การบริหารจัดการความเสี่ยงสำหรับน้องๆหน้างาน - Suradet Sriangkoon
การบริหารจัดการความเสี่ยงสำหรับน้องๆหน้างาน - Suradet Sriangkoonการบริหารจัดการความเสี่ยงสำหรับน้องๆหน้างาน - Suradet Sriangkoon
การบริหารจัดการความเสี่ยงสำหรับน้องๆหน้างาน - Suradet Sriangkoon
 
แนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุ
แนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุแนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุ
แนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุ
 
EKG in ACLS
EKG in ACLSEKG in ACLS
EKG in ACLS
 
Ppt. ตัวอย่าง 12 กิจกรรมทบทวน
Ppt. ตัวอย่าง 12 กิจกรรมทบทวนPpt. ตัวอย่าง 12 กิจกรรมทบทวน
Ppt. ตัวอย่าง 12 กิจกรรมทบทวน
 
แนวทางการรายงานความเสี่ยง
แนวทางการรายงานความเสี่ยงแนวทางการรายงานความเสี่ยง
แนวทางการรายงานความเสี่ยง
 
คู่มือยาจิตเวชชุมชน
คู่มือยาจิตเวชชุมชนคู่มือยาจิตเวชชุมชน
คู่มือยาจิตเวชชุมชน
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับรังสีรักษา
การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับรังสีรักษา การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับรังสีรักษา
การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับรังสีรักษา
 
4.แผนสุขศึกษาม4แผน11เอมพันธ์
4.แผนสุขศึกษาม4แผน11เอมพันธ์4.แผนสุขศึกษาม4แผน11เอมพันธ์
4.แผนสุขศึกษาม4แผน11เอมพันธ์
 
คู่มือดำเนินงานดูแลผู้ป่วยจิตเวชเรื้อรังในชุมชน
คู่มือดำเนินงานดูแลผู้ป่วยจิตเวชเรื้อรังในชุมชนคู่มือดำเนินงานดูแลผู้ป่วยจิตเวชเรื้อรังในชุมชน
คู่มือดำเนินงานดูแลผู้ป่วยจิตเวชเรื้อรังในชุมชน
 
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบัน
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบันยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบัน
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบัน
 
ความเสี่ยงขั้นพื้นฐานสำหรับผู้ปฏิบัติหน้างาน
ความเสี่ยงขั้นพื้นฐานสำหรับผู้ปฏิบัติหน้างานความเสี่ยงขั้นพื้นฐานสำหรับผู้ปฏิบัติหน้างาน
ความเสี่ยงขั้นพื้นฐานสำหรับผู้ปฏิบัติหน้างาน
 
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยา
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยาบทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยา
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยา
 
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลโภชนบำบัดในโรคเบาหวาน
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลโภชนบำบัดในโรคเบาหวานแนวทางเวชปฏิบัติการดูแลโภชนบำบัดในโรคเบาหวาน
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลโภชนบำบัดในโรคเบาหวาน
 
11แผน
11แผน11แผน
11แผน
 

Ähnlich wie เครื่องมือพื้นฐานในการพัฒนาระบบ Rm และอื่นๆ - Suradet sriangkoon

โครงงาน 2
โครงงาน 2โครงงาน 2
โครงงาน 2
Fam Santiboon
 
คู่มือการจัดทำแผนการจัดการความรู้
คู่มือการจัดทำแผนการจัดการความรู้  คู่มือการจัดทำแผนการจัดการความรู้
คู่มือการจัดทำแผนการจัดการความรู้
Walaiporn Mahamai
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
BKc BiGgy
 
ใบงานท 4
ใบงานท   4ใบงานท   4
ใบงานท 4
kanatakenta
 
การจัดการการเรียนรู้
การจัดการการเรียนรู้การจัดการการเรียนรู้
การจัดการการเรียนรู้
uncasanova
 

Ähnlich wie เครื่องมือพื้นฐานในการพัฒนาระบบ Rm และอื่นๆ - Suradet sriangkoon (20)

Chapter 6 ideate
Chapter 6 ideateChapter 6 ideate
Chapter 6 ideate
 
โครงงาน 2
โครงงาน 2โครงงาน 2
โครงงาน 2
 
แบบทดสอบที่ 1
แบบทดสอบที่ 1แบบทดสอบที่ 1
แบบทดสอบที่ 1
 
2558 project (1)
2558 project  (1)2558 project  (1)
2558 project (1)
 
K3
K3K3
K3
 
K3
K3K3
K3
 
Work.com3
Work.com3Work.com3
Work.com3
 
คู่มือการจัดทำแผนการจัดการความรู้
คู่มือการจัดทำแผนการจัดการความรู้  คู่มือการจัดทำแผนการจัดการความรู้
คู่มือการจัดทำแผนการจัดการความรู้
 
Spreadsheets as cognitive tools
Spreadsheets as cognitive toolsSpreadsheets as cognitive tools
Spreadsheets as cognitive tools
 
Expand
ExpandExpand
Expand
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
How to Design Knowledge Toolkit - การออกแบบชุดสื่อเรียนรู้
How to Design Knowledge Toolkit - การออกแบบชุดสื่อเรียนรู้How to Design Knowledge Toolkit - การออกแบบชุดสื่อเรียนรู้
How to Design Knowledge Toolkit - การออกแบบชุดสื่อเรียนรู้
 
Spreadsheets as cognitive tools
Spreadsheets as cognitive tools Spreadsheets as cognitive tools
Spreadsheets as cognitive tools
 
ใบงานท 4
ใบงานท   4ใบงานท   4
ใบงานท 4
 
ใบงานท 4
ใบงานท   4ใบงานท   4
ใบงานท 4
 
การจัดการการเรียนรู้
การจัดการการเรียนรู้การจัดการการเรียนรู้
การจัดการการเรียนรู้
 
Com3com
Com3comCom3com
Com3com
 
K3
K3K3
K3
 
chapter 5 computer for education
chapter 5 computer for educationchapter 5 computer for education
chapter 5 computer for education
 
Chapter 5 computer for education
Chapter 5 computer for educationChapter 5 computer for education
Chapter 5 computer for education
 

Mehr von Suradet Sriangkoon

ลด ละ เลิก วัฒนธรรมการตำหนิ กล่าวโทษ สุรเดช ศรีอังกูร
ลด ละ เลิก วัฒนธรรมการตำหนิ กล่าวโทษ   สุรเดช ศรีอังกูรลด ละ เลิก วัฒนธรรมการตำหนิ กล่าวโทษ   สุรเดช ศรีอังกูร
ลด ละ เลิก วัฒนธรรมการตำหนิ กล่าวโทษ สุรเดช ศรีอังกูร
Suradet Sriangkoon
 

Mehr von Suradet Sriangkoon (20)

ลด ละ เลิก วัฒนธรรมการตำหนิ กล่าวโทษ สุรเดช ศรีอังกูร
ลด ละ เลิก วัฒนธรรมการตำหนิ กล่าวโทษ   สุรเดช ศรีอังกูรลด ละ เลิก วัฒนธรรมการตำหนิ กล่าวโทษ   สุรเดช ศรีอังกูร
ลด ละ เลิก วัฒนธรรมการตำหนิ กล่าวโทษ สุรเดช ศรีอังกูร
 
ฉันในความเป็นผู้นำ กับ Risk management
ฉันในความเป็นผู้นำ กับ Risk managementฉันในความเป็นผู้นำ กับ Risk management
ฉันในความเป็นผู้นำ กับ Risk management
 
12 กิจกรรมทบทวนภาคปฏิบัติ - Suradet Sriangkoon
12 กิจกรรมทบทวนภาคปฏิบัติ  - Suradet Sriangkoon12 กิจกรรมทบทวนภาคปฏิบัติ  - Suradet Sriangkoon
12 กิจกรรมทบทวนภาคปฏิบัติ - Suradet Sriangkoon
 
การรายงานความเสี่ยงที่สร้างความปลอดภัยและยั่งยืน Suradet sriangkoon
การรายงานความเสี่ยงที่สร้างความปลอดภัยและยั่งยืน   Suradet sriangkoonการรายงานความเสี่ยงที่สร้างความปลอดภัยและยั่งยืน   Suradet sriangkoon
การรายงานความเสี่ยงที่สร้างความปลอดภัยและยั่งยืน Suradet sriangkoon
 
หลักคิดสำคัญการทบทวนเวชระเบียนคุณภาพและความปลอดภัย -Suradet sriangkoon
หลักคิดสำคัญการทบทวนเวชระเบียนคุณภาพและความปลอดภัย -Suradet sriangkoonหลักคิดสำคัญการทบทวนเวชระเบียนคุณภาพและความปลอดภัย -Suradet sriangkoon
หลักคิดสำคัญการทบทวนเวชระเบียนคุณภาพและความปลอดภัย -Suradet sriangkoon
 
ชนิดของถังดับเพลิงและการใช้งาน V2 - Suradet Sriangkoon
ชนิดของถังดับเพลิงและการใช้งาน V2 - Suradet Sriangkoonชนิดของถังดับเพลิงและการใช้งาน V2 - Suradet Sriangkoon
ชนิดของถังดับเพลิงและการใช้งาน V2 - Suradet Sriangkoon
 
Rca for Fun - Suradet Sriangkoon
Rca for Fun - Suradet SriangkoonRca for Fun - Suradet Sriangkoon
Rca for Fun - Suradet Sriangkoon
 
หลักคิดสำคัญการวิเคราะห์ RCA - Suradet Sriangkoon
หลักคิดสำคัญการวิเคราะห์ RCA -  Suradet Sriangkoonหลักคิดสำคัญการวิเคราะห์ RCA -  Suradet Sriangkoon
หลักคิดสำคัญการวิเคราะห์ RCA - Suradet Sriangkoon
 
การบริหารจัดการความเสี่ยงคือการ่วมด้วย และช่วยกันของทุกๆคนในองค์กร - Suradet...
การบริหารจัดการความเสี่ยงคือการ่วมด้วย และช่วยกันของทุกๆคนในองค์กร  - Suradet...การบริหารจัดการความเสี่ยงคือการ่วมด้วย และช่วยกันของทุกๆคนในองค์กร  - Suradet...
การบริหารจัดการความเสี่ยงคือการ่วมด้วย และช่วยกันของทุกๆคนในองค์กร - Suradet...
 
การบริหารจัดการความเสี่ยงจากมาตรฐานสู่การปฏิบัติ Suradet sri
การบริหารจัดการความเสี่ยงจากมาตรฐานสู่การปฏิบัติ   Suradet sriการบริหารจัดการความเสี่ยงจากมาตรฐานสู่การปฏิบัติ   Suradet sri
การบริหารจัดการความเสี่ยงจากมาตรฐานสู่การปฏิบัติ Suradet sri
 
Risk management กับ CQI - Suradet Sriangkoon
Risk management กับ CQI - Suradet SriangkoonRisk management กับ CQI - Suradet Sriangkoon
Risk management กับ CQI - Suradet Sriangkoon
 
ความถูกต้องในการทำงานและการดูแลผู้ป่วยกับการบริหารจัดการความเสี่ยง Suradet ...
ความถูกต้องในการทำงานและการดูแลผู้ป่วยกับการบริหารจัดการความเสี่ยง   Suradet ...ความถูกต้องในการทำงานและการดูแลผู้ป่วยกับการบริหารจัดการความเสี่ยง   Suradet ...
ความถูกต้องในการทำงานและการดูแลผู้ป่วยกับการบริหารจัดการความเสี่ยง Suradet ...
 
3 P for Quality and Happy v.2 suradet sriangkoon
3 P for Quality and Happy v.2   suradet sriangkoon3 P for Quality and Happy v.2   suradet sriangkoon
3 P for Quality and Happy v.2 suradet sriangkoon
 
การจัดการข้อร้องเรียนฉบับย่อ
การจัดการข้อร้องเรียนฉบับย่อการจัดการข้อร้องเรียนฉบับย่อ
การจัดการข้อร้องเรียนฉบับย่อ
 
A -Z กับการบริหารจัดการความเสี่ยง
A -Z กับการบริหารจัดการความเสี่ยงA -Z กับการบริหารจัดการความเสี่ยง
A -Z กับการบริหารจัดการความเสี่ยง
 
Rm กับการประเมินผล
Rm กับการประเมินผลRm กับการประเมินผล
Rm กับการประเมินผล
 
SฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัย
SฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัยSฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัย
SฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัย
 
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
 
จุดอ่อนของระบบ Rm ที่เราควรรู้
จุดอ่อนของระบบ Rm ที่เราควรรู้จุดอ่อนของระบบ Rm ที่เราควรรู้
จุดอ่อนของระบบ Rm ที่เราควรรู้
 
คู่มือการเพิ่มความปลอดภัยในการใช้ยา และเลือด ฉบับร่าง
คู่มือการเพิ่มความปลอดภัยในการใช้ยา และเลือด ฉบับร่างคู่มือการเพิ่มความปลอดภัยในการใช้ยา และเลือด ฉบับร่าง
คู่มือการเพิ่มความปลอดภัยในการใช้ยา และเลือด ฉบับร่าง
 

เครื่องมือพื้นฐานในการพัฒนาระบบ Rm และอื่นๆ - Suradet sriangkoon

  • 2. 1. เครืองมือสําหรับการทํางานเป็นทีม ได้แก่ • เครืองมือในการรวบรวมความคิด : การระดมสมอง เดลไฟ การ เขียนบัตรความคิดเห็น • เครืองมือในการจัดระบบความคิด : Affinity diagram • เครืองมือในการตัดสินใจ : Motivoting เครืองมือทีช่วยในการพัฒนา เครืองมือพืนฐานทีช่วยในการพัฒนาสามารถแบ่งออกเป็น 2 แบบคือ Suradet Sriangkoon : ห้องเรียนความเสียง
  • 3. 2. เครืองมือสําหรับการจัดการกับข้อมูลอย่างเป็นระบบ ได้แก่ • เครืองมือทีใช้เก็บข้อมูล : การกําหนดคําจํากัดความเพือการ เก็บข้อมูล การสุ่มตัวอย่าง แบบบันทึกข้อมูลง่ายๆ • เครืองมือในการวิเคราะห์ข้อมูล : แผนภูมิพาเรโต แผนภูมิการ กระจาย • เครืองมือในการนําเสนอข้อมูล : กราฟเส้นแสดงการ เปลียนแปลงข้อมูลอย่างต่อเนือง กราฟควบคุม Suradet Sriangkoon : ห้องเรียนความเสียง
  • 4. การระดมความคิด ( Brain storming) คืออะไร เป็นกระบวนการทีรวบรวมความคิด ปัญหา ข้อเสนอแนะ จํานวน มากในเวลาทีรวดเร็ว โดยมุ่งเน้นทีจํานวนความคิด ไม่ใช่คุณภาพ ทําไม ก่อนทีจะตัดสินใจเรืองอะไร ควรมีการตรวจสอบทางเลือกให้มาก ทีสุด และเป็นการเปิดโอกาสให้สมาชิกแสดงความคิดสร้างสรรค์ และไม่จํากัดกรอบความคิดของสมาชิก ใช้เมือไหร่ ใช้ได้กับทุกขันตอนทีต้องการระดมความคิดทีหลากหลาย และ สร้างสรรค์ ทําอย่างไร 1. การเตรียมการ • กําหนดประเด็นทีเราจะระดมสมอง • กําหนดเวลาในการคิด และวิธีการระดมสมอง (ฟรีรอบวง,เรียง คิว) เครืองมือในการรวบรวมความคิด Suradet Sriangkoon : ห้องเรียนความเสียง
  • 5. การระดมความคิด ( Brain storming) ทําอย่างไร • กําหนดผู้รับผิดชอบ : ผู้ประสานงาน ผู้บันทึก • ทบทวนกฎกติกา มารยาท ได้แก่ ไม่มีการวิพากษ์วิจารณ์ ไม่มี การอภิปราย ไม่มีการแก้ไขข้อความของผู้เสนอ ให้ได้จํานวน ความคิดให้มากทีสุด 2. ระดมความคิด • ให้สมาชิกใช้เวลาเงียบๆในการสร้างความคิด • ให้สมาชิกนําเสนอความคิดออกมา โดยใช้กฎกติกามารยาทเป็น ตัวควบคุม 3. ทําความกระจ่าง โดยให้สมาชิกพิจารณา ทําความเข้าใจ ข้อคิดเห็นทีเกิดขึน หากไม่เข้าใจให้เจ้าของความคิดปรับปรุง ข้อความให้ชัดเจนขึน 4. ประเมินคือตรวจสอบความซําซ้อน หรือความคิดทีไม่ตรงกับ ประเด็น ซึงอาจใช้วิธีการกรองข้อความ เป็นต้น Suradet Sriangkoon : ห้องเรียนความเสียง
  • 6. Brain storming Suradet Sriangkoon : ห้องเรียนความเสียง
  • 7. เทคนิคเดลไฟ ( Delphi Technique) คืออะไร เป็นการให้สมาชิกได้แสดงความคิดเห็น และตัดสินใจอย่างเป็น อิสระ ไม่ระบุชือ และให้มีการให้ความเห็นซําหลังจากทราบความ คิดเห็นจากเพือนแล้ว ทํา 3 รอบ ทําไม ในการประชุมบางครังมีความเกรงใจเจ้าของความคิด เช่นเป็นผู้ อาวุโสหรือเคารพ การใช้เทคนิคนีจะทําให้ไม่ทราบว่าใครเป็น เจ้าของความคิด จึงสามารถให้ความคิดเห็นหลังจากแสดงความ คิดเห็น และให้เจ้าของความคิดได้ทบทวนความคิดของตนเอง ใช้เมือไหร่ • เมือต้องการรับความคิดเห็นทีหลากหลาย โดยไม่ทราบว่าเป็น ของใคร • สมาชิกของทีมไม่ได้อยู่ในสถานทีเดียวกัน • เป็นเรืองทีต้องการให้สมาชิกเป็นเจ้าของการตัดสินใจ และ ผลกระทบทีตามมา • หลีกเลียงแรงกดดัน และความมีอิทธิพล Suradet Sriangkoon : ห้องเรียนความเสียง
  • 8. เทคนิคเดลไฟ ( Delphi Technique) ทําอย่างไร 1. ระบุการตัดสินใจหรือปัญหาทีต้องการถามจากสมาชิกในทีม 2. ขอความเห็นจากสมาชิกในรอบแรก โดยให้เขียนในกระดาษ และนําส่ง และไม่ทราบว่าใครนําเสนอความคิด ทราบแต่ว่าต้อง นําเสนอมากกว่า 2 รอบ 3. สรุปความเห็นในรอบแรก ขอความเห็นในรอบ 2 • ปรับเปลียนเป็นข้อความสรุปของทีม เพือให้ได้ความเห็นร่วม • เขียนสิงทีสมาชิกส่งมาโดยไม่ปรับเปลียน • หาค่าเฉลียของความเห็น (ถ้าการแสดงความคิดเห็นเป็นการให้ คะแนน) 4. สรุปความคิดเห็นในรอบ 2 ขอความเห็นในรอบ 3 (ถ้าความ คิดเห็นเป็นไปแนวทางเดียวกันอาจไม่ต้องทํารอบ 3 ก็ได้) 5. สรุปความเห็นในรอบที 3 6. นําเสนอผลการสรุปให้สมาชิกทราบ และนําสู่การปฏิบัติต่อไป Suradet Sriangkoon : ห้องเรียนความเสียง
  • 9. Delphi Technique Suradet Sriangkoon : ห้องเรียนความเสียง
  • 10. เครืองมือในการจัดระบบความคิด แผนภูมิกลุ่มความคิด ( Affinity Diagram) คืออะไร เป็นเครืองมือในการรวบรวมความคิด ความเห็น และนํามาจัด หมวดหมู่ตามความสัมพันธ์ ทําไม 1. ความคิดในการระดมสมองมีจํานวนมาก จําเป็นต้องมีการจัด หมวดหมู่ 2. การจัดระบบความคิดด้วยวิธีเดิมๆมักกําหนดหัวข้อก่อนทําให้ จํากัดกรอบความคิด 3. การจัดกลุ่มความคิดทีใกล้เคียงกัน ก่อนการตังหัวข้อทําให้ทีม สามารถสร้างระบบความคิดขึนมาใหม่ 4. วิธีการนีทําให้ทุกคนมีส่วนร่วม และเท่าเทียมกัน Suradet Sriangkoon : ห้องเรียนความเสียง
  • 11. แผนภูมิกลุ่มความคิด ( Affinity Diagram) ใช้เมือไหร่ 1. ประเด็นปัญหามีความซับซ้อน ยากทีจะเข้าใจ 2. ปัญหามีความไม่แน่นอน ไม่เป็นระเบียบ มีจํานวนมาก 3. ต้องการฉีกแนวทางการแก้ไขปัญหาแบบเดิมๆ 4. ต้องการมีส่วนร่วม และการสนับสนุนของทีมในการแก้ปัญหา ทําไม 1. เตรียมการ • เลือกทีม และผู้นํา • ระบุประเด็นหรือปัญหาทีจะพิจารณา 2. ระดมสมอง 3. จัดกลุ่มตามบัตรความคิด 4. ตังชือกลุ่มและจัดระบบ • เขียนชือกลุ่มบัตรความคิด • เขียนผัง Affinity Diagram 5. อภิปราย และทําความเข้าใจ Suradet Sriangkoon : ห้องเรียนความเสียง
  • 12. Suradet Sriangkoon : ห้องเรียนความเสียง
  • 13. เครืองมือในการตัดสินใจ การลงคะแนนพหุ ( Multivoting) คืออะไร เป็นเทคนิคในการลดรายการจากการทีระดมความคิดเห็นให้เหลือ 3-5 รายการ ทีพอจะสามารถนําไปใช้ได้ สามารถตกลงกันได้ใน เวลาทีสัน และมีความรู้สึกร่วมกันในการเป็นเจ้าของความคิด ทําไม ผลจากการระดมสมองจะมีข้อมูลเป็นจํานวนมาก แต่ละคนมี ความคิดเป็นของตนเอง ยากทีจะหาจุดร่วมว่าทีมควรให้ความ สนใจเรืองใด ใช้เมือไหร่ ทุกครังทีต้องการลดความเห็นจํานวนมาก ทําอย่างไร 1. จัดทํารายการความคิดเห็น 2. ลงคะแนนโดยสมาชิก 3. ลดจํานวนรายการ 4. ลงคะแนนซําในรอบต่อไป Suradet Sriangkoon : ห้องเรียนความเสียง
  • 14. Suradet Sriangkoon : ห้องเรียนความเสียง
  • 15. เครืองมือทีใช้เก็บข้อมูล คําจํากัดความสําหรับการเก็บข้อมูล (Operational Definition) คืออะไร คําจํากัดความของการเก็บข้อมูลทีชัดเจน กระชับ และมี รายละเอียดทีจําเป็น ทําไม เพือให้เก็บข้อมูลได้คําตอบเดียวกัน ใช้เมือไหร่ เมือจะมีการเก็บข้อมูล ทําอย่างไร • กําหนดลักษณะหรือแนวคิดทีต้องการวัด • กําหนดข้อมูลทีจะเก็บ พร้อมทังระบุหน่วยนับ • เลือกเครืองมือทีจะวัด • ระบุวิธีการวัด และวิธีการสุ่มตัวอย่าง (ทีไหน เมือไหร่ อย่างไร ละเอียดเพียงใด) • กําหนดหลักเกณฑ์การตัดสินใจสําหรับข้อมูลเชิงคุณภาพ (เมือไหร่ทีจะเข้าข่ายว่าใช่หรือไม่ใช่) Suradet Sriangkoon : ห้องเรียนความเสียง
  • 16. ตัวอย่าง คําจํากัดความสําหรับการเก็บข้อมูล (Operational Definition) คุณลักษณะ ความแม่นยําในการวินิจฉัยโรค ข้อมูลและหน่วยนับ อัตราการวินิจฉัยโรคทีไม่ตรงกัน (ก่อนผ่ากับหลังผ่า) เทียบกับจํานวนการผ่าตัดทังหมด (หน่วยนับเป็นร้อย ละ) เครืองมือทีจะใช้วัด ทะเบียนผู้ป่วยผ่าตัด วิธีการวัด • การสุ่มตัวอย่าง • สถานที • เวลา • ความถี • ผู้เก็บ ตรวจสอบจากทะเบียนผ่าตัดทุกรายในช่วงเวลา 3 เดือน จําแนกตามกลุ่มงาน • หลักเกณฑ์การตัดสินใจ การวินิจฉัยโรคทีไม่ตรงกัน Suradet Sriangkoon : ห้องเรียนความเสียง
  • 17. แบบบันทึกข้อมูลง่ายๆ( Check Sheet) Suradet Sriangkoon : ห้องเรียนความเสียง
  • 18. เครืองมือในการวิเคราะห์ข้อมูล แผนภูมิพาเรโต (Pareto Diagram) คืออะไร กราฟแท่งเรียงตามลําดับความถีของการเกิดเหตุการณ์ เพือช่วย ในการตัดสินใจว่าควรจะเลือกปัญหาหรือสาเหตุใดมาก่อน ทําไม การลดปัญหาในหัวข้อทีมีความสําคัญจะส่งผลให้เกิดการพัฒนาที มากกว่า ใช้เมือไหร่ ใช้จัดลําดับหัวข้อทีมีความสําคัญ ทําอย่างไร • เก็บข้อมูลด้วยแบบบันทึกแบง่ายๆ • สร้างตารางแจกแจงความถี เรียงข้อมูลตามลําดับความถี สร้าง คอลัมน์ % ความถีสะสม • เขียนแกนนอนแบ่งให้เท่ากับจํานวนข้อ แกนตังทางซ้ายมือเป็น หน่วยวัด แกนตังขวาเป็น % ความถีสะสมทีมีค่าอยู่ระหว่าง 0 - 100 % Suradet Sriangkoon : ห้องเรียนความเสียง
  • 19. แผนภูมิพาเรโต (Pareto Diagram) ทําอย่างไร • ตัวเลขบนแกนตังซ้ายมือในระดับทีตรงกับ 100 % ของแกนตัง ขวามือจะเท่ากับจํานวนความถีสะสมทังหมด • เขียนกราฟแท่งของแต่ละหัวข้อ • เขียนกราฟเส้นของ % ความถีสะสม Suradet Sriangkoon : ห้องเรียนความเสียง
  • 20. เครืองมือในการนําเสนอข้อมูล กราฟเส้นแสดงการเปลียนแปลงของข้อมูลอย่างต่อเนือง (Run Chart ) คืออะไร เป็นกราฟเส้นซึง Plot ไปตามลําดับเวลาเพือดูพฤติกรรมของ ระบบในช่วงเวลาหนึง ทําไม อาจพบแนวโน้มหรือรูปแบบข้อมูลซึงมีผลในการตัดสินใจเพือ ปรับปรุงระบบ ใช้เมือไหร่ เก็บข้อมูลเป็นพืนฐาน ก่อนนํามาสู่การคํารวนทางสถิติได้ ทําอย่างไร • บันทึกหัวเรือง ( หน่วยงาน กระบวนการ สถานที เครืองชีวัด เครืองมือวัด หน่วยวัด วันที ) • บันทึกข้อมูลตามลําดับเหตุการณ์ • ประมาณอัตราส่วนของแกนตังของกราฟให้ครอบคลุมตัวเลขที เก็บมาได้ • นําข้อมูลจุดลงบนกราฟตามลําดับเหตุการณ์ ลากเส้นต่อจุด Suradet Sriangkoon : ห้องเรียนความเสียง
  • 21. Suradet Sriangkoon : ห้องเรียนความเสียง
  • 22. กราฟควบคุม ( Control Chart ) คืออะไร การทําความเข้าใจกับข้อมูลของระบบทีศึกษาเพือดําเนินการอย่าง เหมาะสม ทําไม การปรับปรุงระบบเกิดจากการเปลียนแปลงอย่างมีแผนบนพืนฐาน ของข้อมูล ใช้เมือไหร่ ใช้กราฟควบคุมทุกอัน ทุกครังเมือมีการบันทึกข้อมูลเพิมเติม ทําอย่างไร • ดูว่ามีลักษณะทีบ่งบอกว่ามีความไม่คงตัวหรือไม่ เช่นมีจุดอยู่ นอกระดับควบคุม • ตอบสนองข้อมูลอย่างเหมาะสม ถ้าเป็นเหตุการณ์ปกติ ให้ค้นหา สาเหตุ และแก้ไขทีสาเหตุนัน เป็นหน้าทีของผู้ปฏิบัติ ถ้าต้องการ ลดค่าเฉลียหรือความแปรปรวนเป็นหน้าทีของผู้บริหาร Suradet Sriangkoon : ห้องเรียนความเสียง
  • 23. Suradet Sriangkoon : ห้องเรียนความเสียง
  • 24. Control Chart Suradet Sriangkoon : ห้องเรียนความเสียง
  • 25. เหล่านีคือเครืองมือพืนฐาน ทีเราสามารถนํามาประยุกต์ใช้ในด้านต่างๆ ของกระบวนการการพัฒนาคุณภาพ และความปลอดภัย เพราะหลักคิดสําคัญของการพัฒนาทีสําคัญสองอย่างคือ ประการแรกเราต้องรับฟังความคิดเห็นต่างๆของสมาชิก ของบุคลากร ไม่ว่าความคิดนันจะดีหรือไม่ดี เข้าท่าหรือไม่เข้าท่า แต่เราก็ต้องรับฟัง ตังใจฟัง รับรู้ แล้วนํามาหาข้อสรุปร่วมกัน เพือพัฒนาต่อไป ประการทีสองเราต้องหมันเรียนรู้ ประเมินผลข้อมูล ทีเรามีอยู่อย่างสมําเสมอ เพือให้เกิดการพัฒนา ดังนันสร้างการมีส่วนร่วม ประเมินผลสมําเสมอ คุณภาพ และ ความปลอดภัยย่อมต่อเนือง ยังยืน Suradet Sriangkoon : ห้องเรียนความเสียง