SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 5
Downloaden Sie, um offline zu lesen
โรงพยาบาลท่าฉาง จังหวัด สุราษฏร์ธานี หน้าที 1 ของทังหมด 4 หน้า
วิธีการปฏิบัติงาน เรืองแนวทางการวิเคราะห์ RCA
รหัสเอกสาร WI-RM-004
วันทีออกเอกสารครังแรก 23กรกฎาคม2553
ปรับปรุงครังที 1 1 ตุลาคม 2557
หน่วยงาน คณะกรรมการบริหารความเสียง กลุ่มงาน -
วิธีการปฏิบัติงาน
เรือง แนวทางการวิเคราะห์ RCA
ผู้จัดทํา ผู้ทบทวน
(นายสุรเดช ศรีอังกูร) (นายสุรเดช ศรีอังกูร)
เลขานุการ เลขานุการ
คณะกรรมการบริหารความเสียง คณะกรรมการบริหารความเสียง
ผู้อนุมัติ
(นางขนิษฐา ธรรมรักษา)
รองประธาน
คณะกรรมการบริหารความเสียง
โรงพยาบาลท่าฉาง จังหวัด สุราษฏร์ธานี หน้าที 2 ของทังหมด 4 หน้า
วิธีการปฏิบัติงาน เรืองแนวทางการวิเคราะห์ RCA
รหัสเอกสาร WI-RM-004
วันทีออกเอกสารครังแรก 23กรกฎาคม2553
ปรับปรุงครังที 1 1 ตุลาคม 2557
หน่วยงาน คณะกรรมการบริหารความเสียง กลุ่มงาน -
ผู้จัดทํา นายสุรเดช ศรีอังกูร และคณะฯ ผู้ทบทวน นายสุรเดช ศรีอังกูร ผู้อนุมัตินางขนิษฐา ธรรมรักษา
ประวัติการแก้ไข/ทบทวนเอกสาร
ครังที วันทีแก้ไข/
ทบทวน
เลขหน้า รายละเอียดการแก้ไข/ทบทวน ผู้แก้ไข/
ทบทวน
1 1 ต.ค.57 3 แก้ไขข้อ5 ขันตอนการปฏิบัติ สุรเดช
โรงพยาบาลท่าฉาง จังหวัด สุราษฏร์ธานี หน้าที 3 ของทังหมด 4 หน้า
วิธีการปฏิบัติงาน เรืองแนวทางการวิเคราะห์ RCA
รหัสเอกสาร WI-RM-004
วันทีออกเอกสารครังแรก 23กรกฎาคม2553
ปรับปรุงครังที 1 1 ตุลาคม 2557
หน่วยงาน คณะกรรมการบริหารความเสียง กลุ่มงาน -
ผู้จัดทํา นายสุรเดช ศรีอังกูร และคณะฯ ผู้ทบทวน นายสุรเดช ศรีอังกูร ผู้อนุมัตินางขนิษฐา ธรรมรักษา
1. วัตถุประสงค์
เพือใช้เป็นแนวทางในการวิเคราะห์RCA ( Root cause analysis) ของโรงพยาบาลท่าฉาง
2. ขอบเขต
หน่วยงานในโรงพยาบาลท่าฉางทุกหน่วยงาน
3. นิยามศัพท์
RCA ( Root cause analysis) หมายถึง เครืองมือคุณภาพทีจะช่วยให้การแก้ปัญหาหรือการพัฒนาคุณภาพมีความ
ยังยืน ไม่เกิดซําอีก
4. หน้าทีความรับผิดชอบ
4.1 บุคลากรทุกคนในโรงพยาบาลมีหน้าทีในการหาRCA
4.2 คณะกรรมการบริหารความเสียงประเมินผลและติดตามการวิเคราะห์RCA
5. ขันตอนการปฏิบัติ
เมือเกิดความเสียง/อุบัติการณ์/เหตุการณ์ไม่พึงประสงค์ในความรุนแรงระดับG,H,I ,4 หรือ Sentineleventให้ดําเนิน
การตามวิธีการปฏิบัติงานเรือง แนวทางการรายงานอุบัติการณ์/ความเสียง(WI-RM-001) และดําเนินการหาRCA ดังนี
1. การะบุถึงเหตุการณ์/ปัญหาทีจะนํามาทบทวน
2. กําหนดทีมทีจะดําเนินการทบทวน ควรจะมีผู้เชียวชาญ หรือมีความรู้ในประเด็นปัญหานันๆ
3. นําปัญหาทีเกิดขึนมาเขียนเป็นส่วนของหัวปลา และเขียนก้างปลาตามตามหัวข้อหรือปัจจัยสาเหตุสําคัญ
4. ศึกษาปัญหาโดยอาศัยคําบอกเล่า หลักฐานทางกายภาพ การบันทึกต่างๆเพือช่วยในการวิเคราะห์
5. ระบุสาเหตุเบืองต้น/ใกล้ชิดกับเหตุการณ์(proximal cause) โดยการระดมความคิดในแต่ละหัวข้อ
6. เมือระบุสาเหตุเบืองต้นครบแล้ว ให้ทบทวนสิงทีช่วยกันคิด และทําความเข้าใจให้ตรงกัน
7. ให้ถามคําถาม 5 WHY เพือระบุสาเหตุ โดยเริมจาก
 ทําไมจึงเกิดขึน และเขียนสาเหตุลงไป
 ถามซําอีกครังว่า ทําไมจึงเกิดขึน โดยเขียนในแต่ละสาเหตุ ซึงแยกออกมาเป็นเป็นสาเหตุย่อยๆ แยกออกจาก
สาเหตุใหญ่
โรงพยาบาลท่าฉาง จังหวัด สุราษฏร์ธานี หน้าที 4 ของทังหมด 4 หน้า
วิธีการปฏิบัติงาน เรืองแนวทางการวิเคราะห์ RCA
รหัสเอกสาร WI-RM-004
วันทีออกเอกสารครังแรก 23กรกฎาคม2553
ปรับปรุงครังที 1 1 ตุลาคม 2557
หน่วยงาน คณะกรรมการบริหารความเสียง กลุ่มงาน -
ผู้จัดทํา นายสุรเดช ศรีอังกูร และคณะฯ ผู้ทบทวน นายสุรเดช ศรีอังกูร ผู้อนุมัตินางขนิษฐา ธรรมรักษา
8. ยังคงถามคําถามเดิมว่า ทําไมจึงเกิดขึนอย่างต่อเนืองและลงระดับลึกจนถึงสาเหตุของปัญหา
9. แปลผลจากผังก้างปลาทีเกิดขึน
 วิเคราะห์ผังก้างปลา หลังจากทีมทีทําการทบทวนเห็นพ้องต้องกันว่ารายละเอียดตามหัวข้อหรือปัจจัยสาเหตุ
สําคัญเพียงพอแล้ว
 พิจารณาทุกประเด็นตามหัวข้อหรือปัจจัยสาเหตุสําคัญทีมีมากกว่า1 สาเหตุหลัก สาเหตุดังกล่าวจะเป็น
สาเหตุทีแท้จริงมากทีสุด
10. ทีมทีทบทวนระดมความคิดเกียวกับการนําข้อมูลไปพัฒนา
 สาเหตุใดเป็นสาเหตุทีสามารถปรับปรุงให้ดีขึน สามารถจัดการได้ทันทีโดยไม่ต้องทําการจัดลําดับ
 การจัดลําดับสาเหตุในการดําเนินการ อาจมีเกณฑ์ทีใช้ในการจัดลําดับตามความเหมาะสม เช่นความเป็นไป
ได้ในการแก้ไข ขนาดผลกระทบทีเกิดขึน ความรุนแรง และอืนๆ
 นําไปสู่การกําหนดมาตรการในการป้องกัน และพัฒนาให้ดีขึน
หมายเหตุ
วิธีการค้นหาRCA มีดังต่อไปนี
1. Turning point หมายถึง การมองย้อนหลังตามขันตอนต่างๆของการทํางานก่อนทีจะเกิดอุบัติการณ์/เหตุการณ์
ไม่พึงประสงค์
วิธีการนีสามารถใช้ได้ทังในสถานการณ์ทีไม่ซับซ้อน และเป็นจุดเริมต้นวิเคราะห์สําหรับสถานการณ์ทีซับซ้อน
2. Cognitive Walkthrough หมายถึง เป็นการย้อนอดีตโดยผู้ทีเกียวข้องโดยตรง
3. Conventional WHYหมายถึง วิธีการทีถามคําถาม ทําไม ต่อเหตุการณ์ไม่พึงประสงค์ทีเกิดขึน และถามซํา
หลายๆครัง จนเห็นคําตอบทีพอใจและแก้ไขปัญหาได้โดยอาจใช้
3.1 แผนภูมิต้นไม้
3.2 ผังก้างปลา ในการวิเคราะห์
4. Comprehensive Scanหมายถึง เป็นการใช้หัวข้อทีครอบคลุมในการตรวจสอบว่าเหตุการณ์นันไปเกียวพันกับ
ปัจจัยในหัวข้อดังกล่าวหรือไม่ เช่น
- ผู้ป่วย
- ผู้ให้บริการ
- กระบวนการ
- ทีมงาน
- สิงแวดล้อม
โรงพยาบาลท่าฉาง จังหวัด สุราษฏร์ธานี หน้าที 4 ของทังหมด 4 หน้า
วิธีการปฏิบัติงาน เรืองแนวทางการวิเคราะห์ RCA
รหัสเอกสาร WI-RM-004
วันทีออกเอกสารครังแรก 23กรกฎาคม2553
ปรับปรุงครังที 1 1 ตุลาคม 2557
หน่วยงาน คณะกรรมการบริหารความเสียง กลุ่มงาน -
ผู้จัดทํา นายสุรเดช ศรีอังกูร และคณะฯ ผู้ทบทวน นายสุรเดช ศรีอังกูร ผู้อนุมัตินางขนิษฐา ธรรมรักษา
- เครืองมือ
- องค์กร เป็นต้น
โดยวิธีการนีมีความซับซ้อนและใช้เวลามากทีสุด
6. เอกสารอ้างอิง
6.1 Patient Safety concept and practice :สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล
6.2 คู่มือการบริหารความเสียง: โรงพยาบาลท่าฉาง จ. สุราษฏร์ธานี

Weitere ähnliche Inhalte

Andere mochten auch

Ha and er
Ha and erHa and er
Ha and ertaem
 
สรุประดับความรุนแรงของความเสี่ยงทางคลินิก และทางกายภาพ
สรุประดับความรุนแรงของความเสี่ยงทางคลินิก และทางกายภาพสรุประดับความรุนแรงของความเสี่ยงทางคลินิก และทางกายภาพ
สรุประดับความรุนแรงของความเสี่ยงทางคลินิก และทางกายภาพSuradet Sriangkoon
 
การวิเคราะห์ปัญหาด้วยแผนภูมิก้างปลา (FISH BONE)
การวิเคราะห์ปัญหาด้วยแผนภูมิก้างปลา (FISH BONE)การวิเคราะห์ปัญหาด้วยแผนภูมิก้างปลา (FISH BONE)
การวิเคราะห์ปัญหาด้วยแผนภูมิก้างปลา (FISH BONE)Sasipa YAisong
 
ความเสี่ยงขั้นพื้นฐานสำหรับผู้ปฏิบัติหน้างาน
ความเสี่ยงขั้นพื้นฐานสำหรับผู้ปฏิบัติหน้างานความเสี่ยงขั้นพื้นฐานสำหรับผู้ปฏิบัติหน้างาน
ความเสี่ยงขั้นพื้นฐานสำหรับผู้ปฏิบัติหน้างานSuradet Sriangkoon
 
บทที่2ความเสี่ยงภัยและการจัดการความเสี่ยง
บทที่2ความเสี่ยงภัยและการจัดการความเสี่ยง บทที่2ความเสี่ยงภัยและการจัดการความเสี่ยง
บทที่2ความเสี่ยงภัยและการจัดการความเสี่ยง Rungnapa Rungnapa
 
Fishbone style 2 powerpoint presentation templates
Fishbone style 2 powerpoint presentation templatesFishbone style 2 powerpoint presentation templates
Fishbone style 2 powerpoint presentation templatesSlideTeam.net
 
ก้าวทันคุณภาพ Ha
ก้าวทันคุณภาพ Haก้าวทันคุณภาพ Ha
ก้าวทันคุณภาพ HaSuradet Sriangkoon
 

Andere mochten auch (7)

Ha and er
Ha and erHa and er
Ha and er
 
สรุประดับความรุนแรงของความเสี่ยงทางคลินิก และทางกายภาพ
สรุประดับความรุนแรงของความเสี่ยงทางคลินิก และทางกายภาพสรุประดับความรุนแรงของความเสี่ยงทางคลินิก และทางกายภาพ
สรุประดับความรุนแรงของความเสี่ยงทางคลินิก และทางกายภาพ
 
การวิเคราะห์ปัญหาด้วยแผนภูมิก้างปลา (FISH BONE)
การวิเคราะห์ปัญหาด้วยแผนภูมิก้างปลา (FISH BONE)การวิเคราะห์ปัญหาด้วยแผนภูมิก้างปลา (FISH BONE)
การวิเคราะห์ปัญหาด้วยแผนภูมิก้างปลา (FISH BONE)
 
ความเสี่ยงขั้นพื้นฐานสำหรับผู้ปฏิบัติหน้างาน
ความเสี่ยงขั้นพื้นฐานสำหรับผู้ปฏิบัติหน้างานความเสี่ยงขั้นพื้นฐานสำหรับผู้ปฏิบัติหน้างาน
ความเสี่ยงขั้นพื้นฐานสำหรับผู้ปฏิบัติหน้างาน
 
บทที่2ความเสี่ยงภัยและการจัดการความเสี่ยง
บทที่2ความเสี่ยงภัยและการจัดการความเสี่ยง บทที่2ความเสี่ยงภัยและการจัดการความเสี่ยง
บทที่2ความเสี่ยงภัยและการจัดการความเสี่ยง
 
Fishbone style 2 powerpoint presentation templates
Fishbone style 2 powerpoint presentation templatesFishbone style 2 powerpoint presentation templates
Fishbone style 2 powerpoint presentation templates
 
ก้าวทันคุณภาพ Ha
ก้าวทันคุณภาพ Haก้าวทันคุณภาพ Ha
ก้าวทันคุณภาพ Ha
 

Mehr von Suradet Sriangkoon

ลด ละ เลิก วัฒนธรรมการตำหนิ กล่าวโทษ สุรเดช ศรีอังกูร
ลด ละ เลิก วัฒนธรรมการตำหนิ กล่าวโทษ   สุรเดช ศรีอังกูรลด ละ เลิก วัฒนธรรมการตำหนิ กล่าวโทษ   สุรเดช ศรีอังกูร
ลด ละ เลิก วัฒนธรรมการตำหนิ กล่าวโทษ สุรเดช ศรีอังกูรSuradet Sriangkoon
 
เครื่องมือพื้นฐานในการพัฒนาระบบ Rm และอื่นๆ - Suradet sriangkoon
เครื่องมือพื้นฐานในการพัฒนาระบบ Rm และอื่นๆ -  Suradet sriangkoonเครื่องมือพื้นฐานในการพัฒนาระบบ Rm และอื่นๆ -  Suradet sriangkoon
เครื่องมือพื้นฐานในการพัฒนาระบบ Rm และอื่นๆ - Suradet sriangkoonSuradet Sriangkoon
 
ฉันในความเป็นผู้นำ กับ Risk management
ฉันในความเป็นผู้นำ กับ Risk managementฉันในความเป็นผู้นำ กับ Risk management
ฉันในความเป็นผู้นำ กับ Risk managementSuradet Sriangkoon
 
12 กิจกรรมทบทวนภาคปฏิบัติ - Suradet Sriangkoon
12 กิจกรรมทบทวนภาคปฏิบัติ  - Suradet Sriangkoon12 กิจกรรมทบทวนภาคปฏิบัติ  - Suradet Sriangkoon
12 กิจกรรมทบทวนภาคปฏิบัติ - Suradet SriangkoonSuradet Sriangkoon
 
การรายงานความเสี่ยงที่สร้างความปลอดภัยและยั่งยืน Suradet sriangkoon
การรายงานความเสี่ยงที่สร้างความปลอดภัยและยั่งยืน   Suradet sriangkoonการรายงานความเสี่ยงที่สร้างความปลอดภัยและยั่งยืน   Suradet sriangkoon
การรายงานความเสี่ยงที่สร้างความปลอดภัยและยั่งยืน Suradet sriangkoonSuradet Sriangkoon
 
หลักคิดสำคัญการทบทวนเวชระเบียนคุณภาพและความปลอดภัย -Suradet sriangkoon
หลักคิดสำคัญการทบทวนเวชระเบียนคุณภาพและความปลอดภัย -Suradet sriangkoonหลักคิดสำคัญการทบทวนเวชระเบียนคุณภาพและความปลอดภัย -Suradet sriangkoon
หลักคิดสำคัญการทบทวนเวชระเบียนคุณภาพและความปลอดภัย -Suradet sriangkoonSuradet Sriangkoon
 
ชนิดของถังดับเพลิงและการใช้งาน V2 - Suradet Sriangkoon
ชนิดของถังดับเพลิงและการใช้งาน V2 - Suradet Sriangkoonชนิดของถังดับเพลิงและการใช้งาน V2 - Suradet Sriangkoon
ชนิดของถังดับเพลิงและการใช้งาน V2 - Suradet SriangkoonSuradet Sriangkoon
 
Rca for Fun - Suradet Sriangkoon
Rca for Fun - Suradet SriangkoonRca for Fun - Suradet Sriangkoon
Rca for Fun - Suradet SriangkoonSuradet Sriangkoon
 
หลักคิดสำคัญการวิเคราะห์ RCA - Suradet Sriangkoon
หลักคิดสำคัญการวิเคราะห์ RCA -  Suradet Sriangkoonหลักคิดสำคัญการวิเคราะห์ RCA -  Suradet Sriangkoon
หลักคิดสำคัญการวิเคราะห์ RCA - Suradet SriangkoonSuradet Sriangkoon
 
การบริหารจัดการความเสี่ยงคือการ่วมด้วย และช่วยกันของทุกๆคนในองค์กร - Suradet...
การบริหารจัดการความเสี่ยงคือการ่วมด้วย และช่วยกันของทุกๆคนในองค์กร  - Suradet...การบริหารจัดการความเสี่ยงคือการ่วมด้วย และช่วยกันของทุกๆคนในองค์กร  - Suradet...
การบริหารจัดการความเสี่ยงคือการ่วมด้วย และช่วยกันของทุกๆคนในองค์กร - Suradet...Suradet Sriangkoon
 
การบริหารจัดการความเสี่ยงจากมาตรฐานสู่การปฏิบัติ Suradet sri
การบริหารจัดการความเสี่ยงจากมาตรฐานสู่การปฏิบัติ   Suradet sriการบริหารจัดการความเสี่ยงจากมาตรฐานสู่การปฏิบัติ   Suradet sri
การบริหารจัดการความเสี่ยงจากมาตรฐานสู่การปฏิบัติ Suradet sriSuradet Sriangkoon
 
การบริหารจัดการความเสี่ยงสำหรับน้องๆหน้างาน - Suradet Sriangkoon
การบริหารจัดการความเสี่ยงสำหรับน้องๆหน้างาน - Suradet Sriangkoonการบริหารจัดการความเสี่ยงสำหรับน้องๆหน้างาน - Suradet Sriangkoon
การบริหารจัดการความเสี่ยงสำหรับน้องๆหน้างาน - Suradet SriangkoonSuradet Sriangkoon
 
Risk management กับ CQI - Suradet Sriangkoon
Risk management กับ CQI - Suradet SriangkoonRisk management กับ CQI - Suradet Sriangkoon
Risk management กับ CQI - Suradet SriangkoonSuradet Sriangkoon
 
ความถูกต้องในการทำงานและการดูแลผู้ป่วยกับการบริหารจัดการความเสี่ยง Suradet ...
ความถูกต้องในการทำงานและการดูแลผู้ป่วยกับการบริหารจัดการความเสี่ยง   Suradet ...ความถูกต้องในการทำงานและการดูแลผู้ป่วยกับการบริหารจัดการความเสี่ยง   Suradet ...
ความถูกต้องในการทำงานและการดูแลผู้ป่วยกับการบริหารจัดการความเสี่ยง Suradet ...Suradet Sriangkoon
 
3 P for Quality and Happy v.2 suradet sriangkoon
3 P for Quality and Happy v.2   suradet sriangkoon3 P for Quality and Happy v.2   suradet sriangkoon
3 P for Quality and Happy v.2 suradet sriangkoonSuradet Sriangkoon
 
การจัดการข้อร้องเรียนฉบับย่อ
การจัดการข้อร้องเรียนฉบับย่อการจัดการข้อร้องเรียนฉบับย่อ
การจัดการข้อร้องเรียนฉบับย่อSuradet Sriangkoon
 
A -Z กับการบริหารจัดการความเสี่ยง
A -Z กับการบริหารจัดการความเสี่ยงA -Z กับการบริหารจัดการความเสี่ยง
A -Z กับการบริหารจัดการความเสี่ยงSuradet Sriangkoon
 
Rm กับการประเมินผล
Rm กับการประเมินผลRm กับการประเมินผล
Rm กับการประเมินผลSuradet Sriangkoon
 
SฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัย
SฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัยSฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัย
SฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัยSuradet Sriangkoon
 

Mehr von Suradet Sriangkoon (20)

ลด ละ เลิก วัฒนธรรมการตำหนิ กล่าวโทษ สุรเดช ศรีอังกูร
ลด ละ เลิก วัฒนธรรมการตำหนิ กล่าวโทษ   สุรเดช ศรีอังกูรลด ละ เลิก วัฒนธรรมการตำหนิ กล่าวโทษ   สุรเดช ศรีอังกูร
ลด ละ เลิก วัฒนธรรมการตำหนิ กล่าวโทษ สุรเดช ศรีอังกูร
 
เครื่องมือพื้นฐานในการพัฒนาระบบ Rm และอื่นๆ - Suradet sriangkoon
เครื่องมือพื้นฐานในการพัฒนาระบบ Rm และอื่นๆ -  Suradet sriangkoonเครื่องมือพื้นฐานในการพัฒนาระบบ Rm และอื่นๆ -  Suradet sriangkoon
เครื่องมือพื้นฐานในการพัฒนาระบบ Rm และอื่นๆ - Suradet sriangkoon
 
ฉันในความเป็นผู้นำ กับ Risk management
ฉันในความเป็นผู้นำ กับ Risk managementฉันในความเป็นผู้นำ กับ Risk management
ฉันในความเป็นผู้นำ กับ Risk management
 
12 กิจกรรมทบทวนภาคปฏิบัติ - Suradet Sriangkoon
12 กิจกรรมทบทวนภาคปฏิบัติ  - Suradet Sriangkoon12 กิจกรรมทบทวนภาคปฏิบัติ  - Suradet Sriangkoon
12 กิจกรรมทบทวนภาคปฏิบัติ - Suradet Sriangkoon
 
การรายงานความเสี่ยงที่สร้างความปลอดภัยและยั่งยืน Suradet sriangkoon
การรายงานความเสี่ยงที่สร้างความปลอดภัยและยั่งยืน   Suradet sriangkoonการรายงานความเสี่ยงที่สร้างความปลอดภัยและยั่งยืน   Suradet sriangkoon
การรายงานความเสี่ยงที่สร้างความปลอดภัยและยั่งยืน Suradet sriangkoon
 
หลักคิดสำคัญการทบทวนเวชระเบียนคุณภาพและความปลอดภัย -Suradet sriangkoon
หลักคิดสำคัญการทบทวนเวชระเบียนคุณภาพและความปลอดภัย -Suradet sriangkoonหลักคิดสำคัญการทบทวนเวชระเบียนคุณภาพและความปลอดภัย -Suradet sriangkoon
หลักคิดสำคัญการทบทวนเวชระเบียนคุณภาพและความปลอดภัย -Suradet sriangkoon
 
ชนิดของถังดับเพลิงและการใช้งาน V2 - Suradet Sriangkoon
ชนิดของถังดับเพลิงและการใช้งาน V2 - Suradet Sriangkoonชนิดของถังดับเพลิงและการใช้งาน V2 - Suradet Sriangkoon
ชนิดของถังดับเพลิงและการใช้งาน V2 - Suradet Sriangkoon
 
Rca for Fun - Suradet Sriangkoon
Rca for Fun - Suradet SriangkoonRca for Fun - Suradet Sriangkoon
Rca for Fun - Suradet Sriangkoon
 
หลักคิดสำคัญการวิเคราะห์ RCA - Suradet Sriangkoon
หลักคิดสำคัญการวิเคราะห์ RCA -  Suradet Sriangkoonหลักคิดสำคัญการวิเคราะห์ RCA -  Suradet Sriangkoon
หลักคิดสำคัญการวิเคราะห์ RCA - Suradet Sriangkoon
 
การบริหารจัดการความเสี่ยงคือการ่วมด้วย และช่วยกันของทุกๆคนในองค์กร - Suradet...
การบริหารจัดการความเสี่ยงคือการ่วมด้วย และช่วยกันของทุกๆคนในองค์กร  - Suradet...การบริหารจัดการความเสี่ยงคือการ่วมด้วย และช่วยกันของทุกๆคนในองค์กร  - Suradet...
การบริหารจัดการความเสี่ยงคือการ่วมด้วย และช่วยกันของทุกๆคนในองค์กร - Suradet...
 
การบริหารจัดการความเสี่ยงจากมาตรฐานสู่การปฏิบัติ Suradet sri
การบริหารจัดการความเสี่ยงจากมาตรฐานสู่การปฏิบัติ   Suradet sriการบริหารจัดการความเสี่ยงจากมาตรฐานสู่การปฏิบัติ   Suradet sri
การบริหารจัดการความเสี่ยงจากมาตรฐานสู่การปฏิบัติ Suradet sri
 
การบริหารจัดการความเสี่ยงสำหรับน้องๆหน้างาน - Suradet Sriangkoon
การบริหารจัดการความเสี่ยงสำหรับน้องๆหน้างาน - Suradet Sriangkoonการบริหารจัดการความเสี่ยงสำหรับน้องๆหน้างาน - Suradet Sriangkoon
การบริหารจัดการความเสี่ยงสำหรับน้องๆหน้างาน - Suradet Sriangkoon
 
Risk management กับ CQI - Suradet Sriangkoon
Risk management กับ CQI - Suradet SriangkoonRisk management กับ CQI - Suradet Sriangkoon
Risk management กับ CQI - Suradet Sriangkoon
 
ความถูกต้องในการทำงานและการดูแลผู้ป่วยกับการบริหารจัดการความเสี่ยง Suradet ...
ความถูกต้องในการทำงานและการดูแลผู้ป่วยกับการบริหารจัดการความเสี่ยง   Suradet ...ความถูกต้องในการทำงานและการดูแลผู้ป่วยกับการบริหารจัดการความเสี่ยง   Suradet ...
ความถูกต้องในการทำงานและการดูแลผู้ป่วยกับการบริหารจัดการความเสี่ยง Suradet ...
 
Risk matrix VS Risk profile
Risk matrix VS Risk profileRisk matrix VS Risk profile
Risk matrix VS Risk profile
 
3 P for Quality and Happy v.2 suradet sriangkoon
3 P for Quality and Happy v.2   suradet sriangkoon3 P for Quality and Happy v.2   suradet sriangkoon
3 P for Quality and Happy v.2 suradet sriangkoon
 
การจัดการข้อร้องเรียนฉบับย่อ
การจัดการข้อร้องเรียนฉบับย่อการจัดการข้อร้องเรียนฉบับย่อ
การจัดการข้อร้องเรียนฉบับย่อ
 
A -Z กับการบริหารจัดการความเสี่ยง
A -Z กับการบริหารจัดการความเสี่ยงA -Z กับการบริหารจัดการความเสี่ยง
A -Z กับการบริหารจัดการความเสี่ยง
 
Rm กับการประเมินผล
Rm กับการประเมินผลRm กับการประเมินผล
Rm กับการประเมินผล
 
SฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัย
SฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัยSฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัย
SฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัย
 

แนวทางการวิเคราะห์ Rca

  • 1. โรงพยาบาลท่าฉาง จังหวัด สุราษฏร์ธานี หน้าที 1 ของทังหมด 4 หน้า วิธีการปฏิบัติงาน เรืองแนวทางการวิเคราะห์ RCA รหัสเอกสาร WI-RM-004 วันทีออกเอกสารครังแรก 23กรกฎาคม2553 ปรับปรุงครังที 1 1 ตุลาคม 2557 หน่วยงาน คณะกรรมการบริหารความเสียง กลุ่มงาน - วิธีการปฏิบัติงาน เรือง แนวทางการวิเคราะห์ RCA ผู้จัดทํา ผู้ทบทวน (นายสุรเดช ศรีอังกูร) (นายสุรเดช ศรีอังกูร) เลขานุการ เลขานุการ คณะกรรมการบริหารความเสียง คณะกรรมการบริหารความเสียง ผู้อนุมัติ (นางขนิษฐา ธรรมรักษา) รองประธาน คณะกรรมการบริหารความเสียง
  • 2. โรงพยาบาลท่าฉาง จังหวัด สุราษฏร์ธานี หน้าที 2 ของทังหมด 4 หน้า วิธีการปฏิบัติงาน เรืองแนวทางการวิเคราะห์ RCA รหัสเอกสาร WI-RM-004 วันทีออกเอกสารครังแรก 23กรกฎาคม2553 ปรับปรุงครังที 1 1 ตุลาคม 2557 หน่วยงาน คณะกรรมการบริหารความเสียง กลุ่มงาน - ผู้จัดทํา นายสุรเดช ศรีอังกูร และคณะฯ ผู้ทบทวน นายสุรเดช ศรีอังกูร ผู้อนุมัตินางขนิษฐา ธรรมรักษา ประวัติการแก้ไข/ทบทวนเอกสาร ครังที วันทีแก้ไข/ ทบทวน เลขหน้า รายละเอียดการแก้ไข/ทบทวน ผู้แก้ไข/ ทบทวน 1 1 ต.ค.57 3 แก้ไขข้อ5 ขันตอนการปฏิบัติ สุรเดช
  • 3. โรงพยาบาลท่าฉาง จังหวัด สุราษฏร์ธานี หน้าที 3 ของทังหมด 4 หน้า วิธีการปฏิบัติงาน เรืองแนวทางการวิเคราะห์ RCA รหัสเอกสาร WI-RM-004 วันทีออกเอกสารครังแรก 23กรกฎาคม2553 ปรับปรุงครังที 1 1 ตุลาคม 2557 หน่วยงาน คณะกรรมการบริหารความเสียง กลุ่มงาน - ผู้จัดทํา นายสุรเดช ศรีอังกูร และคณะฯ ผู้ทบทวน นายสุรเดช ศรีอังกูร ผู้อนุมัตินางขนิษฐา ธรรมรักษา 1. วัตถุประสงค์ เพือใช้เป็นแนวทางในการวิเคราะห์RCA ( Root cause analysis) ของโรงพยาบาลท่าฉาง 2. ขอบเขต หน่วยงานในโรงพยาบาลท่าฉางทุกหน่วยงาน 3. นิยามศัพท์ RCA ( Root cause analysis) หมายถึง เครืองมือคุณภาพทีจะช่วยให้การแก้ปัญหาหรือการพัฒนาคุณภาพมีความ ยังยืน ไม่เกิดซําอีก 4. หน้าทีความรับผิดชอบ 4.1 บุคลากรทุกคนในโรงพยาบาลมีหน้าทีในการหาRCA 4.2 คณะกรรมการบริหารความเสียงประเมินผลและติดตามการวิเคราะห์RCA 5. ขันตอนการปฏิบัติ เมือเกิดความเสียง/อุบัติการณ์/เหตุการณ์ไม่พึงประสงค์ในความรุนแรงระดับG,H,I ,4 หรือ Sentineleventให้ดําเนิน การตามวิธีการปฏิบัติงานเรือง แนวทางการรายงานอุบัติการณ์/ความเสียง(WI-RM-001) และดําเนินการหาRCA ดังนี 1. การะบุถึงเหตุการณ์/ปัญหาทีจะนํามาทบทวน 2. กําหนดทีมทีจะดําเนินการทบทวน ควรจะมีผู้เชียวชาญ หรือมีความรู้ในประเด็นปัญหานันๆ 3. นําปัญหาทีเกิดขึนมาเขียนเป็นส่วนของหัวปลา และเขียนก้างปลาตามตามหัวข้อหรือปัจจัยสาเหตุสําคัญ 4. ศึกษาปัญหาโดยอาศัยคําบอกเล่า หลักฐานทางกายภาพ การบันทึกต่างๆเพือช่วยในการวิเคราะห์ 5. ระบุสาเหตุเบืองต้น/ใกล้ชิดกับเหตุการณ์(proximal cause) โดยการระดมความคิดในแต่ละหัวข้อ 6. เมือระบุสาเหตุเบืองต้นครบแล้ว ให้ทบทวนสิงทีช่วยกันคิด และทําความเข้าใจให้ตรงกัน 7. ให้ถามคําถาม 5 WHY เพือระบุสาเหตุ โดยเริมจาก  ทําไมจึงเกิดขึน และเขียนสาเหตุลงไป  ถามซําอีกครังว่า ทําไมจึงเกิดขึน โดยเขียนในแต่ละสาเหตุ ซึงแยกออกมาเป็นเป็นสาเหตุย่อยๆ แยกออกจาก สาเหตุใหญ่
  • 4. โรงพยาบาลท่าฉาง จังหวัด สุราษฏร์ธานี หน้าที 4 ของทังหมด 4 หน้า วิธีการปฏิบัติงาน เรืองแนวทางการวิเคราะห์ RCA รหัสเอกสาร WI-RM-004 วันทีออกเอกสารครังแรก 23กรกฎาคม2553 ปรับปรุงครังที 1 1 ตุลาคม 2557 หน่วยงาน คณะกรรมการบริหารความเสียง กลุ่มงาน - ผู้จัดทํา นายสุรเดช ศรีอังกูร และคณะฯ ผู้ทบทวน นายสุรเดช ศรีอังกูร ผู้อนุมัตินางขนิษฐา ธรรมรักษา 8. ยังคงถามคําถามเดิมว่า ทําไมจึงเกิดขึนอย่างต่อเนืองและลงระดับลึกจนถึงสาเหตุของปัญหา 9. แปลผลจากผังก้างปลาทีเกิดขึน  วิเคราะห์ผังก้างปลา หลังจากทีมทีทําการทบทวนเห็นพ้องต้องกันว่ารายละเอียดตามหัวข้อหรือปัจจัยสาเหตุ สําคัญเพียงพอแล้ว  พิจารณาทุกประเด็นตามหัวข้อหรือปัจจัยสาเหตุสําคัญทีมีมากกว่า1 สาเหตุหลัก สาเหตุดังกล่าวจะเป็น สาเหตุทีแท้จริงมากทีสุด 10. ทีมทีทบทวนระดมความคิดเกียวกับการนําข้อมูลไปพัฒนา  สาเหตุใดเป็นสาเหตุทีสามารถปรับปรุงให้ดีขึน สามารถจัดการได้ทันทีโดยไม่ต้องทําการจัดลําดับ  การจัดลําดับสาเหตุในการดําเนินการ อาจมีเกณฑ์ทีใช้ในการจัดลําดับตามความเหมาะสม เช่นความเป็นไป ได้ในการแก้ไข ขนาดผลกระทบทีเกิดขึน ความรุนแรง และอืนๆ  นําไปสู่การกําหนดมาตรการในการป้องกัน และพัฒนาให้ดีขึน หมายเหตุ วิธีการค้นหาRCA มีดังต่อไปนี 1. Turning point หมายถึง การมองย้อนหลังตามขันตอนต่างๆของการทํางานก่อนทีจะเกิดอุบัติการณ์/เหตุการณ์ ไม่พึงประสงค์ วิธีการนีสามารถใช้ได้ทังในสถานการณ์ทีไม่ซับซ้อน และเป็นจุดเริมต้นวิเคราะห์สําหรับสถานการณ์ทีซับซ้อน 2. Cognitive Walkthrough หมายถึง เป็นการย้อนอดีตโดยผู้ทีเกียวข้องโดยตรง 3. Conventional WHYหมายถึง วิธีการทีถามคําถาม ทําไม ต่อเหตุการณ์ไม่พึงประสงค์ทีเกิดขึน และถามซํา หลายๆครัง จนเห็นคําตอบทีพอใจและแก้ไขปัญหาได้โดยอาจใช้ 3.1 แผนภูมิต้นไม้ 3.2 ผังก้างปลา ในการวิเคราะห์ 4. Comprehensive Scanหมายถึง เป็นการใช้หัวข้อทีครอบคลุมในการตรวจสอบว่าเหตุการณ์นันไปเกียวพันกับ ปัจจัยในหัวข้อดังกล่าวหรือไม่ เช่น - ผู้ป่วย - ผู้ให้บริการ - กระบวนการ - ทีมงาน
  • 5. - สิงแวดล้อม โรงพยาบาลท่าฉาง จังหวัด สุราษฏร์ธานี หน้าที 4 ของทังหมด 4 หน้า วิธีการปฏิบัติงาน เรืองแนวทางการวิเคราะห์ RCA รหัสเอกสาร WI-RM-004 วันทีออกเอกสารครังแรก 23กรกฎาคม2553 ปรับปรุงครังที 1 1 ตุลาคม 2557 หน่วยงาน คณะกรรมการบริหารความเสียง กลุ่มงาน - ผู้จัดทํา นายสุรเดช ศรีอังกูร และคณะฯ ผู้ทบทวน นายสุรเดช ศรีอังกูร ผู้อนุมัตินางขนิษฐา ธรรมรักษา - เครืองมือ - องค์กร เป็นต้น โดยวิธีการนีมีความซับซ้อนและใช้เวลามากทีสุด 6. เอกสารอ้างอิง 6.1 Patient Safety concept and practice :สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล 6.2 คู่มือการบริหารความเสียง: โรงพยาบาลท่าฉาง จ. สุราษฏร์ธานี