SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 64
Downloaden Sie, um offline zu lesen
แนวปฏิบัติเพื่อความปลอดภัย
ของรถพยาบาลฉุกเฉิน
PREVENTION
EMERGENCYEMERGENCY
P
reventio
n
P
reventio
n
แนวปฏิบัติเพ�่อความปลอดภัย
ของรถพยาบาลฉุกเฉิน
(PREVENTION)
ชื่อหนังสือ : แนวปฏิบัติเพื่อความปลอดภัย ของรถพยาบาลฉุกเฉิน
	 PREVENTION
พิมพ์ครั้งแรก : พฤศจิกายน 2557
ISBN : 978-616-7951-03-4
บรรณาธิการ
	 นายแพทย์วิทยา ชาติบัญชาชัย 	 นายสุรชัย ศิลาวรรณ	
กองบรรณาธิการ
	 นางนวนันทน์ อินทรักษ์		 นางสาวกมลทิพย์ แซ่เล้า
	 ดร.วิภาดา วิจักขณาลัญน์
	 และคณะทำ�งาน
ที่ปรึกษา
	 นายแพทย์อนุชา เศรษฐเสถียร
	 นายแพทย์อนุรักษ์ เพชรสถาพร
จัดพิมพ์โดย :
	         สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ (สพฉ.)
	          88/40 หมู่ที่ 4 ซอยสาธารณสุข 6 ถนนติวานนท์ ต�ำบลตลาดขวัญ
	         อ�ำเภอเมือง จังหวัดนนทบุรี 11000
พิมพ์ที่ :   บริษัท อัลทิเมท พริ้นติ้ง จำ�กัด E-mail : umnart_p@hotmail.com
แนวปฏิบัติเพื่อความปลอดภัยของรถพยาบาลฉุกเฉินเล่มนี้ จัดท�ำขึ้นเพื่อ
ให้รถพยาบาลหรือรถบริการการแพทย์ฉุกเฉินมีมาตรฐาน หลักเกณฑ์ที่ส่งเสริมและ
ป้องกันให้ผู้ปฏิบัติการฉุกเฉิน และผู้เจ็บป่วยฉุกเฉินที่ได้รับการช่วยเหลือขณะน�ำส่งมี
ความปลอดภัยมากที่สุดและมีอุปกรณ์ที่จ�ำเป็นที่ครบสมบูรณ์ ทั้งในเรื่องโครงสร้างของ
ระบบรถพยาบาลฉุกเฉิน รถปฏิบัติการฉุกเฉิน ระบบไฟส่องสว่าง ระบบวิทยุสื่อสาร
ระบบเสียง อุปกรณ์ป้องกันเพื่อความปลอดภัยของผู้ป่วยและเจ้าหน้าที่ อุปกรณ์ป้องกัน
ตนเองประจ�ำรถพยาบาลฉุกเฉิน รวมถึงมาตรฐานของพนักงานขับรถพยาบาล
ฉุกเฉิน ส�ำหรับแนวปฏิบัติเพื่อความปลอดภัย ของรถพยาบาลฉุกเฉินเล่มนี้
เน้นเฉพาะรถพยาบาลฉุกเฉินเท่านั้น ส�ำหรับด้านบุคลากรการแพทย์ฉุกเฉิน แยกเป็น
เล่มที่ 2 : แนวปฏิบัติด้านความปลอดภัยของผู้ปฏิบัติงานในระบบการแพทย์ฉุกเฉิน และ
เนื้อหาทั้งหมดได้ผ่านการตรวจสอบความเห็นจากคณะผู้ทรงคุณวุฒิ และผู้เชี่ยวชาญ
ที่มีประสบการณ์จากทั่วประเทศ เพื่อเป็นแนวทางให้หน่วยปฏิบัติการฉุกเฉิน น�ำไป
ใช้ประโยชน์ในการตรวจสอบเพื่อปรับปรุงแก้ไขและพัฒนารถพยาบาลฉุกเฉิน หรือ
รถบริการการแพทย์ฉุกเฉินให้ได้มาตรฐานสากลต่อไป
	 คณะท�ำงานหวังเป็นอย่างยิ่งว่าแนวปฏิบัติเพื่อความปลอดภัย ของรถ
พยาบาลฉุกเฉิน เล่มนี้ จะเป็นคู่มือในการพัฒนาแนวปฏิบัติเพื่อความปลอดภัย ของ
รถพยาบาลฉุกเฉิน และหากท่านมีข้อเสนอแนะที่ต้องการให้ปรับปรุง โปรดเสนอแนะ
มายังสถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ เพื่อเป็นการคุ้มครองสิทธิผู้ป่วยฉุกเฉินให้ได้รับ
ความปลอดภัย และหากท่านมีข้อเสนอแนะที่ต้องการให้ปรับปรุง โปรดเสนอแนะมายัง
สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ   E-mail : ems_std2014@niems.go.th
คณะท�ำงาน
สิงหาคม 2557
คำ�นำ�
บทที่ 1
	 บทน�ำ								
	 วัตถุประสงค์						
	 นิยามศัพท์						
	 สาเหตุของอันตรายในการท�ำงานโดยทั่วไป				
	 ความเสี่ยงในการท�ำงานของผู้ปฏิบัติงานในรถพยาบาลฉุกเฉิน		
						
บทที่ 2
	 มาตรการและข้อก�ำหนดเพื่อความปลอดภัย			
	 มาตรการป้องกันความเสี่ยง						
	 แนวปฏิบัติเพื่อความปลอดภัยของยานพาหนะ รถพยาบาลฉุกเฉิน		
	 แนวปฏิบัติเพื่อความปลอดภัยของระบบการจ่ายไฟในรถ		
	 แนวปฏิบัติเพื่อความปลอดภัยระบบแสงสว่าง			
	 แนวปฏิบัติเพื่อความปลอดภัยการติดแถบสะท้อนแสง		
	 แนวปฏิบัติเพื่อความปลอดภัยระบบสื่อสาร 				
	 เสียงรบกวน						
	 แนวปฏิบัติเพื่อความปลอดภัยระบบป้องกันอ๊อกซิเจน		
	 แนวปฏิบัติเพื่อความปลอดภัยอุปกรณ์ทางการแพทย์		
	 ระบบป้องกันเพื่อความปลอดภัยของผู้ป่วยและเจ้าหน้าที่
	 ผู้ปฏิบัติงานในรถพยาบาลฉุกเฉิน				
	 อุปกรณ์ป้องกันตนเองประจ�ำในรถพยาบาลฉุกเฉิน		
	
สารบัญ
1
1
2
3
3
4
7
7
7
11
12
13
16
17
17
18
19
21
22
สารบัญ
		
บทที่ 3
	 มาตรการและข้อก�ำหนดของพนักงานขับรถพยาบาลฉุกเฉิน		
	 การตรวจเช็คความพร้อมของรถก่อนปฏิบัติงาน	
บทที่ 4
	 ระเบียบปฏิบัติในการปฏิบัติการฉุกเฉิน					
		 1. ขณะเดินทาง						
		 2. ขณะจอดรถปฏิบัติงาน
ภาคผนวก								
	 - กฎหมายที่เกี่ยวข้อง					
	 - รายการตรวจเช็คสภาพรถยนต์ทั่วไป 24 รายการ		
	 - แบบ Checklist : รถพยาบาลฉุกเฉินก่อนออกปฏิบัติงาน			
	 - อุปกรณ์ทางการแพทย์					
	 - การจัดท�ำ SOP ตามมาตรฐาน หลักเกณฑ์ในระบบการแพทย์ฉุกเฉิน
	 - รายชื่อคณะท�ำงานและให้ความเห็น			
บรรณานุกรม	
25
25
26
27
27
27
28
29
30
35
36
40
44
48
51
(PREVENTION)
แนวปฏิบัติเพ�่อความปลอดภัย
ของรถพยาบาลฉุกเฉิน
EMERGENCY
P
reventio
n
((PREVENTION) แนวปฏิบัติเพ�่อความปลอดภัย ของรถพยาบาลฉุกเฉิน
EMERGENCY
P
reventio
n
1
	 บุคลากรด้านการแพทย์ฉุกเฉิน มีคุณค่ายิ่งต่อการปฏิบัติงานให้ความช่วยเหลือ
ดูแลรักษา ผู้เจ็บป่วยฉุกเฉิน ณ จุดเกิดเหตุและน�ำส่งไปรับการรักษา ณ โรงพยาบาลที่
ได้มาตรฐานที่อยู่ใกล้ที่สุด โดยตั้งความหวังว่าผู้เจ็บป่วยฉุกเฉินทุกราย ที่ได้รับการดูแล
ช่วยเหลือมีความปลอดภัยและลดความพิการลง ซึ่งปัจจุบันมีจ�ำนวนประมาณ
120,000 คน กระจายอยู่ทุกๆ พื้นที่ทั่วประเทศ ทั้งที่สังกัดหน่วยงานของรัฐและเอกชน
โดยมีจ�ำนวนรถปฏิบัติการฉุกเฉินหรือรถพยาบาลฉุกเฉินในระบบการแพทย์ฉุกเฉินทั้ง
ระดับ FR, BLS, ILS, และ ALS มีจ�ำนวนมากกว่า 15,000 คัน และมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ
	 	 จากการด�ำเนินงานในอดีตที่ผ่านมา พบว่า มีรถพยาบาลฉุกเฉิน/
รถบริการการแพทย์ฉุกเฉินประสบอุบัติเหตุอยู่บ่อยครั้ง เป็นเหตุให้ผู้ปฏิบัติงาน
การแพทย์ฉุกเฉินต้องบาดเจ็บ เสียชีวิตและพิการอยู่อย่างต่อเนื่องทุกปี และมีแนวโน้ม
เพิ่มมากขึ้น ดังปรากฎในหน้าหนังสือพิมพ์อยู่เนืองๆ จากการสอบสวนการเกิดอุบัติเหตุ
สาเหตุของความรุนแรงของการบาดเจ็บ พบว่าส่วนใหญ่เกิดจากการไม่มีอุปกรณ์ป้องกัน
ให้เกิดความปลอดภัยในรถปฏิบัติการฉุกเฉิน นอกจากนั้นสภาพของรถปฏิบัติฉุกเฉิน
ทั้งในส่วนห้องคนขับ ห้องโดยสาร อุปกรณ์ที่เสริมความปลอดภัยภายนอกรถ รวมทั้ง
อุปกรณ์ที่จ�ำเป็นที่ควรมีประจ�ำรถ ก็ยังต้องมีการปรับปรุงแก้ไขให้ได้มาตรฐานสากล
และที่ส�ำคัญยิ่งคือพนักงานขับรถ ต้องเป็นผู้มีคุณสมบัติเหมาะสม ขับรถตามกฎและ
แนวปฏิบัติ เพื่อให้บุคลากรด้านการแพทย์ฉุกเฉินและผู้ป่วยที่ถูกช่วยเหลือมีความ
ปลอดภัย ทั้งขณะปฏิบัติงาน ขณะเดินทาง จนน�ำส่งผู้ป่วยฉุกเฉินถึงจุดหมายปลายทาง
โดยปลอดภัย
	 	 สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ ได้ให้ความส�ำคัญกับความ
ปลอดภัยของผู้ปฏิบัติงานด้านการแพทย์ฉุกเฉิน ตามนโยบายของเลขาธิการสถาบัน
การแพทย์ฉุกเฉินแห่ชาติ ที่จะต้องมีการคุ้มครองให้ผู้ปฏิบัติงานมีความปลอดภัยสูงสุด
จึงได้จัดท�ำคู่มือมาตรฐาน หลักเกณฑ์ เกณฑ์ และวิธีปฏิบัติในระบบการแพทย์ฉุกเฉิน
บทที่ 1
บทนำ�
แนวปฏิบัติเพ�่อความปลอดภัย ของรถพยาบาลฉุกเฉิน (PREVENTION)
EMERGENCY
P
reventio
n
EMERGENCY
P
reventio
n
2
ตามรายละเอียดของมาตรฐาน และวิธีการปฏิบัติในแต่ละด้าน ซึ่งได้ครอบคลุมเนื้อหา
ใน แต่ละเรื่อง ดังรายละเอียดในบทต่อๆ ไป
วัตถุประสงค์
	 1. เพื่อเป็นคู่มือทางวิชาการ เกี่ยวกับมาตรฐาน หลักเกณฑ์ เกณฑ์ และวิธี
ปฏิบัติในระบบการแพทย์ฉุกเฉิน
	 2. เพื่อเป็นแนวทางในการตรวจสอบความพร้อม และค้นหาความไม่ปลอดภัย
ในระบบปฏิบัติการการแพทย์ฉุกเฉิน
	 3. เพื่อใช้ในการส่งเสริมสนับสนุน พัฒนาให้ระบบการด�ำเนินงานด้าน
การแพทย์ฉุกเฉินมีมาตรฐานในการปฏิบัติการ
	 4. เพื่อเป็นเครื่องมือในการบริหารจัดการ และพัฒนาคุณภาพการด�ำเนินงาน
ให้ผู้ปฏิบัติงานในระบบการแพทย์ฉุกเฉิน และผู้เจ็บป่วยฉุกเฉินที่ได้รับการช่วยเหลือมี
ความปลอดภัยสูงสุด
ขอบเขต
	 เป็นกระบวนการป้องกันผู้ปฏิบัติการและผู้เจ็บป่วยให้ได้รับความปลอดภัย
จากภัยคุกคามที่เสี่ยงต่อภาวะฉุกเฉินและภัยจากการปฏิบัติการฉุกเฉิน การส่งเสริม
อาชีวอนามัย ความปลอดภัยในการท�ำงานของผู้ที่เกี่ยวข้องในระบบการแพทย์ฉุกเฉิน
ครอบคลุมถึงกระบวนการในการระบบส่งต่อผู้ป่วยฉุกเฉิน ตั้งแต่ระดับนโยบาย ระดับ
การปฏิบัติการฉุกเฉิน (ก่อนการส่งต่อ การดูแลระหว่างการส่งต่อ และการส่งมอบผู้ป่วย
ฉุกเฉินแก่สถานพยาบาลปลายทาง) รวมทั้งระบบการก�ำกับติดตามและประเมินผล
((PREVENTION) แนวปฏิบัติเพ�่อความปลอดภัย ของรถพยาบาลฉุกเฉิน
EMERGENCY
P
reventio
n
3
นิยามศัพท์
ความหมายของค�ำที่ใช้ในหนังสือคู่มือมาตรฐานฉบับนี้ คือ
	 ความเสี่ยง (Risk) คือ ผลรวมของความถี่ ความน่าจะเป็น โอกาสที่จะเกิด
สิ่งที่ไม่ดีที่จะเกิดขึ้นในอนาคตหรือสถานการณ์ ซึ่งจะเป็นอันตราย หรือมีผลร้ายส่งผล
ให้เกิดความสูญเสียต่อร่างกาย จิตใจ ทรัพย์สิน ชื่อเสียง ความสูญเสียต่อร่างกาย ได้แก่
การบาดเจ็บ การได้รับอันตรายและเกิดภาวะแทรกซ้อน การเสียชีวิต
	 ความปลอดภัย (Safety) ในทางทฤษฎี หมายถึง “การปราศจากภัย” แต่
ส�ำหรับในทางปฏิบัติอาจยอมรับได้ในความหมายที่ว่า “การปราศจากอันตรายที่มี
โอกาสจะเกิดขึ้น”
	 เดซิเบล เอ [dB(A)] หมายถึง สเกลของเครื่องวัดเสียงที่สร้างเลียนแบบ
ลักษณะการท�ำงานของหูมนุษย์ โดยจะกรองเอาความถี่ต�่ำ  และความถี่สูงของเสียงที่
เกินกว่ามนุษย์จะได้ยินออกไป
	 ดัดแปลง หมายถึง การเปลี่ยนแปลงต่อเติม เพิ่ม ลด หรือขยาย ซึ่งลักษณะ
ขอบเขต แบบ รูปทรง สัดส่วน น�้ำหนัก 	อาจผิดไปจากเดิม และมิใช่การซ่อมแซม
	 รถพยาบาลฉุกเฉิน หมายถึง รถบริการการแพทย์ฉุกเฉินที่ปฏิบัติการฉุกเฉิน
	 อุบัติเหตุ (Accident) เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นโดยมิได้วางแผนไว้ล่วงหน้า ซึ่งก่อ
ให้เกิดความบาดเจ็บ พิการ หรือตาย และท�ำให้ทรัพย์สินได้รับความเสียหาย
สาเหตุของอันตรายในการท�ำงานโดยทั่วไป
	 1.สาเหตุเกิดจากบุคคลหรือตัวเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติเช่นการแต่งกายไม่เหมาะสม
ไม่สวมชุดป้องกัน มีทัศนคติไม่ดีต่อความปลอดภัย อุปนิสัยไม่ดี ขาดประสบการณ์
สภาพร่างกายไม่พร้อมที่จะท�ำงาน (88%)
	 2. สาเหตุเกิดจากเครื่องมือและอุปกรณ์ เช่น เครื่อมือช�ำรุด การใช้เครื่อมือผิด
ประเภท การใช้เครื่องมือที่ไม่มีระบบป้องกันอันตราย (10%)
	 3. สาเหตุเกิดจากโครงสร้างทางกายภาพและสภาพแวดล้อม เช่น อุณหภูมิ
สูงหรือต�่ำไป แสงสว่างไม่เพียงพอ การระบายอากาศที่ไม่ดี เสียงดังรบกวน กลิ่นเหม็น
รบกวน ทางลื่น ความไม่เป็นระเบียบของห้องหรือสถานที่ท�ำงาน เป็นต้น (2%)
แนวปฏิบัติเพ�่อความปลอดภัย ของรถพยาบาลฉุกเฉิน (PREVENTION)
EMERGENCY
P
reventio
n
EMERGENCY
P
reventio
n
4
	 4. สาเหตุของการเกิดอุบัติเหตุบนทางหลวงมากที่สุด คือ การขับรถเร็ว
รองลงมาคือ การขับรถระยะกระชั้นชิด อุบัติเหตุที่เกิดขึ้นในการจราจรทางบกนั้น
มักเกิดขึ้นจากสาเหตุที่ส�ำคัญ 3 ประการคือ บุคคล สิ่งแวดล้อม และกฎหมาย
ความเสี่ยงในการท�ำงานของผู้ปฏิบัติงานในรถพยาบาลฉุกเฉิน ณ 
จุดเกิดเหตุ
การแบ่งประเภทของงานแบ่งเป็น
	 ก่อนการปฏิบัติการ ขณะปฏิบัติการ และหลังปฏิบัติการ บุคลากรที่ออกไป
ปฏิบัติงาน ณ จุดเกิดเหตุ ประกอบด้วย ทีมปฏิบัติการการแพทย์ฉุกเฉิน พนักงานขับรถ
แพทย์ พยาบาล เจ้าหน้าที่สื่อสาร เจ้าหน้าที่กู้ชีพ (FR, EMT-I, EMT-B)
ความเสี่ยงที่จะเกิดขึ้นกับ Working Job ของทีมปฏิบัติการการแพทย์
ฉุกเฉิน ณ จุดเกิดเหตุ
	 ความเสี่ยงทั้ง 5 ด้าน ประกอบด้วย
	 -  ด้านกายภาพ แสง (แสงจ้าเกินไป ความไม่พอของแสง) ฝนตก ความร้อน
อุณภูมิ ฝุ่นควัน หมอก กัมมันตรังสี ที่อับอากาศ ไฟฟ้าช๊อต การสั่นสะเทือน สัตว์มีพิษ
สุนัข
	 -  ด้านเคมี ไอระเหย ควันจากก๊าซ ฟูมโลหะ วัตถุระเบิด สารกัดกร่อน
	 -  ด้านชีวภาพ เชื้อโรค พื้นที่เกิดโรคระบาด วัณโรค โรคติดต่อทางเดินหายใจ
พาหะน�ำโรค สัมผัสสิ่งคัดหลั่ง ขยะติดเชื้อ
	 -   ด้านจิตใจ ความเครียด แรงกดดันจากภายนอก ความเหนื่อยล้าจากการ
ท�ำงาน ระยะเวลาที่ท�ำงานมากเกินไป
	 -  ด้านการยศาสตร์ การยกคนไข้ บาดเจ็บจากท่าทางการท�ำงาน  
	 -  เรื่องอุบัติเหตุ อุบัติเหตุการจราจร อุบัติเหตุภายในรถ ของมีคมทิ่มบาด ลื่น
ล้ม อุบัติเหตุซ�้ำ ทะเลาะวิวาท รถเปลนอนหนีบมือ ถูกรถชน
((PREVENTION) แนวปฏิบัติเพ�่อความปลอดภัย ของรถพยาบาลฉุกเฉิน
EMERGENCY
P
reventio
n
5
ความเสี่ยงที่จะเกิดขึ้นกับการปฏิบัติงานของทีมร่วมปฏิบัติการแพทย์
ฉุกเฉิน ณ จุดเกิดเหตุ
	 ทีมกู้ภัยทางบก ทางน�้ำ ทางอากาศ ดับเพลิง ต�ำรวจ อพปร. SRRT เจ้าหน้าที่
อื่นที่เกี่ยวข้อง
	 -  ด้านกายภาพแสง(แสงจ้าเกินไปความไม่เพียงพอของแสง)ฝนตกความร้อน
เปลวไฟ อุณภูมิ ฝุ่นควัน หมอก พื้นที่ เช่น พื้นที่ก่อสร้าง หุบเขา กัมมันตรังสี ที่อับอากาศ
ความกดอากาศ พื้นที่สูง น�้ำหนีบ ไฟฟ้าช๊อต สัตว์อันตราย เช่น ต่อต่อย งูกัด  
	 -  ด้านเคมี ไอระเหย ควันจากก๊าซ ฝูมโลหะ วัตถุระเบิด สารกัดกร่อน สารเคมี
ชนิดของเหลว
	 -  ด้านชีวภาพ เชื้อโรค พื้นที่เกิดโรคระบาด วัณโรค โรคติดต่อทางเดินหายใจ
พาหะน�ำโรค สัมผัสสิ่งคัดหลั่ง ขยะติดเชื้อ
	 -   ด้านจิตใจ ความเครียด แรงกดดันจากภายนอก ความเหนื่อยล้าจากการ
ท�ำงาน ระยะเวลาที่ท�ำงานมากเกินไป
	 - ด้านการยศาสตร์ การยกคนไข้ บาดเจ็บจากท่าทางการท�ำงาน การดึง ตัดยก
	 -  เรื่องอุบัติเหตุ อุบัติการจราจร อุบัติเหตุภายในรถ ของมีคมทิ่มบาด เลื่อน
ล้ม อุบัติเหตุซ�้ำ ทะเลาะวิวาท รถเปลนอนหนีบมือ ถูกรถชน จมน�้ำ ไฟลวก ไฟไหม้ ได้
รับอันตรายจากความเย็น ตกจากที่สูง
ความเสี่ยงที่จะเกิดขึ้นกับกลุ่มชนในสถานการณ์ ณ จุดเกิดเหตุ
	 - ด้านกายภาพ แสง (แสงจ้าเกินไป ความไม่เพียงพอของแสง) ฝนตก ความ
ร้อน เปลวไฟ อุณภูมิ ฝุ่นควัน หมอก พื้นที่ เช่น พื้นที่ก่อสร้าง หุบเขา กัมมันตรังสี
ที่อับอากาศ ความกดอากาศ พื้นที่สูง ไฟฟ้าช๊อต สัตว์อันตราย เช่น ต่อต๋อย งูกัด  
	 -  ด้านเคมี ไอระเหย ควันจากก๊าซ ฟูมโลหะ วัตถุระเบิด สารกัดกร่อน สาร
เคมีชนิดของเหลว
	 - ด้านชีวภาพ เชื้อโรค พื้นที่เกิดโรคระบาด วัณโรค โรคติดต่อทางเดินหายใจ
พาหะน�ำโรค สัมผัสสิ่งคัดหลั่ง
	 -  ด้านจิตใจ ความเครียด
	 - เรื่องอุบัติเหตุ อุบัติการจราจร อุบัติเหตุซ�้ำ  ทะเลาะตบตี ถูกรถชน จมน�้ำ 
ไฟลวก ไฟไหม้ ได้รับอันตรายจากความเย็น
แนวปฏิบัติเพ�่อความปลอดภัย ของรถพยาบาลฉุกเฉิน (PREVENTION)
EMERGENCY
P
reventio
n
EMERGENCY
P
reventio
n
6
สิ่งแวดล้อม ณ จุดเกิดเหตุ ความเสี่ยงที่จะเกิดขึ้น
	 -  ด้านกายภาพ แสง (แสงจ้าเกินไป ความไม่พอของแสง) น�้ำลึก น�้ำท่วม ฝนตก
ความร้อนอุณภูมิฝุ่นควันหมอกกัมมันตรังสีที่อับอากาศพื้นที่ก่อสร้างหุบเขาพื้นที่แคบ
พื้นที่สูง ตึกถล่ม ดินโคลนถล่ม น�้ำไหลหลาก สวนสัตว์ ลมพายุ ลูกเห็บ พื้นผิวจราจราลื่น
กิ่งไม้ล้มขวางทาง หินร่วง แผ่นดินไหว
	 -  ด้านเคมี ไอระเหย ควันจากก๊าซ ฟูมโลหะ วัตถุระเบิด
	 -  ด้านชีวภาพ เชื้อโรค พื้นที่เกิดโรคระบาด วัณโรค โรคติดต่อทางเดินหายใจ
พาหะน�ำโรค สัมผัสสิ่งคัดหลั่ง ขยะติดเชื้อ
	 -  การควบคุมฝูงชน
	 -  การควบคุมการจราจร
	 -  การเกิดอุบัติเหตุซ�้ำซ้อน จากอุบัติการจราจร จากก๊าซ aftershock จมน�้ำ
	 -  พลัดหลง หลงทางจากทีม
	 -  ความเสี่ยงจากการเสียชีวิตและพิการระหว่างปฏิบัติงาน
อุปกรณ์ความปลอดภัยขณะปฏิบัติงาน
ความเสี่ยงที่จะเกิดขึ้น
	 -  ขาดความรู้ ความตระหนัก และทักษะในการใช้
	 -  ขาดคู่มือประจ�ำรถ
	 -  ความไม่เพียงพอ
	 -  ความไม่พร้อมใช้
((PREVENTION) แนวปฏิบัติเพ�่อความปลอดภัย ของรถพยาบาลฉุกเฉิน
EMERGENCY
P
reventio
n
7
มาตรการป้องกันความเสี่ยง
ด้านกายภาพ
	 - แสงที่จ้าเกินไป เตรียมอุปกรณ์ป้องกันตนเองต่อแสง UV เช่น แว่นกัน
เต๊นท์เล็ก น�้ำดื่มเกลือแร่ ผ้าเย็น
	 - ความไม่พอของแสง เตรียมอุปกรณ์ก�ำเนิดแสง ไฟส่องสว่าง Spotlight
ไฟฉาย ชุดปฏิบัติการตามมาตรฐานของสพฉ. เสื้อสะท้อนแสง  กระบองไฟ กรวยจราจร
เทปกั้น (ชุดก�ำเนิดไฟจากหน่วยสนับสนุน กรณีเกิดการใหญ่)
	 - ฝุ่นควัน/หมอก เตรียมพื้นที่ให้ห่างจากแหล่งก�ำเนิดฝุ่นควัน เตรียมหน้ากาก
ป้องกันที่เหมาะสมแต่ละเหตุ
	 - กัมมันตรังสี เตรียมอุปกรณ์ป้องกันตนเองตามระดับของเหตุ เตรียมความรู้
และทักษะของบุคลากร การตรวจสุขภาพตามความเสี่ยงหลังปฏิบัติงาน กล้องส่องทางไกล
	 - ที่อับอากาศ เตรียมความรู้และทักษะของบุคลากร เตรียม SCBA (Self
Contained Breathing Apparatus โดยชุดสนับสนุน)  
	 -  ไฟฟ้าช๊อต การประเมินสถานการณ์ก่อนปฏิบัติงาน เตรียมร้องเท้าบูท ถุงมือยาง
เครื่องตรวจกระแสไฟ ตัดกระแสไฟฟ้าโดยประสานงานหน่วยสนับสนุนที่เกี่ยวข้อง
	 -  น�้ำลึก น�้ำท่วม ต้องมีอุปกรณ์ชูชีพ และว่ายน�้ำเป็น (การเอาชีวิตรอดทางน�้ำ)
	 -  ทางอากาศ ต้องผ่านการอบรมหลักสูตรการล�ำเลียงทางอากาศ
	 -  การสั่นสะเทือน ใช้ Lock Belt
ด้านเคมี
	 - ไอระเหย ควันจากก๊าซ ฟูมโลหะ วัตถุระเบิด สารกัดกร่อน เตรียมความรู้
ทักษะของบุคลากร เตรียมอุปกรณ์ป้องกันตนเองตามระดับของเหตุ การตรวจสุขภาพ
ตามความเสี่ยงหลังปฏิบัติงาน ชุดอุปกรณ์ล้างตัวของผู้ประสบเหตุและผู้ปฏิบัติการ
ช่วยเหลือ หยุดการขนส่งทางอากาศโดยใช้ Helicopter ในบริเวณใกล้เคียงจุดเกิดเหตุ
บทที่ 2
มาตรการและข้อกำ�หนดเพื่อความปลอดภัย
แนวปฏิบัติเพ�่อความปลอดภัย ของรถพยาบาลฉุกเฉิน (PREVENTION)
EMERGENCY
P
reventio
n
EMERGENCY
P
reventio
n
8
ด้านชีวภาพ
	 -  เชื้อโรค พื้นที่เกิดโรคระบาด วัณโรค โรคติดต่อทางเดินหายใจ พาหะน�ำโรค
สัมผัสสิ่งคัดหลั่ง ขยะติดเชื้อ ใช้หลัก Universal Precaution (UP) ชุดอุปกรณ์ป้องกัน
ให้เหมาะกับเชื้อโรคแต่ละชนิด การตรวจสุขภาพตามความเสี่ยงหลังปฏิบัติงาน การฉีด
วัคซีนป้องกันไข้หวัดใหญ่ TT, HBV, ท�ำมาตรการดูแลหลังโดนเข็มทิ่มต�ำ/สารคัดหลั่ง
ด้านจิตใจ
	 - เตรียมข้อมูลเบื้องต้นแต่ละเหตุ แจ้งความเสี่ยงที่จะเผชิญ ประชุมทีม
การสร้างแรงจูงใจ (เช่น ค่าตอบแทนเสี่ยงภัย ระบบประกันอุบัติเหตุและประกันชีวิต
กองทุนสงเคราะห์ผู้ประสบภัย) เตรียมทีมสนับสนุน เช่น MCATT (Mental Crisis
Assessment Treatment and Team) ตามความจ�ำเป็น   
	 - แรงกดดันจากภายนอก จากญาติและสังคมภายนอก ป้องกันโดยขอ
หน่วยสนับสนุน เช่น ต�ำรวจ มีสัญญลักษณ์ปิดกั้นเขตปฏิบัติงาน ให้ข้อมูลเบื้องต้นทาง
การแพทย์กับญาติและผู้เกี่ยวข้อง
	 - อุบัติเหตุซ�้ำ ประเมิน Scene Safety ก่อนเข้าปฏิบัติงาน ประสานงานกับทีม
สนับสนุน จัดการเรื่องความปลอดภัยจนทีมแพทย์พยาบาลเสร็จสิ้นภาระกิจ
	 - พลัดหลง หลงทางจากทีม ใช้อุปกรณ์สื่อสารและ GPRS เตรียมอุปกรณ์
ยังชีพส�ำหรับบุคคล
	 - ความเสี่ยงจากการเสียชีวิตและพิการระหว่างปฏิบัติงาน จัดท�ำระบบความ
ปลอดภัยและการประกันความเสี่ยง และเงินค่าตอบแทนความเสี่ยงที่เหมาะสม
	 - ความเหนื่อยล้าจากการท�ำงาน ควรมีแบบประเมินความเหนื่อยล้าเฉพาะ
รายบุคคลตามความจ�ำเป็น ขอสนับสนุนจากหน่วยงานใกล้เคียง
	 - ระยะเวลาที่ท�ำงานมากเกินไป มีแบบประเมินความเหนื่อยล้าและก�ำหนด
เวลาปฏิบัติงานตามมาตรฐานความปลอดภัย
((PREVENTION) แนวปฏิบัติเพ�่อความปลอดภัย ของรถพยาบาลฉุกเฉิน
EMERGENCY
P
reventio
n
9
ด้านการยศาสตร์
	 - การยกคนไข้ บาดเจ็บจากท่าทางการท�ำงาน ให้ความรู้ในการปฏิบัติงานที่
ถูกต้อง และการใช้เครื่องมือที่ถูกต้องและเหมาะสม เลือกใช้วัสดุอุปกรณ์ที่เหมาะสม
เช่น น�้ำหนักเบาแต่มีความแข็งแรง เครื่องทุ่นแรง ลูกกลิ้ง ล้อเลื่อน สายพาน
เรื่องอุบัติเหตุ
	 - อุบัติการจราจร อุบัติเหตุภายในรถ ของมีคมทิ่มบาด ลื่นล้ม อุบัติเหตุซ�้ำ 
ทะเลาะวิวาท
	 - อุบัติเหตุการจราจร กระบวนการการป้องกัน จัดเส้นทางการเดินรถ
ประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เช่น ต�ำรวจจราจร สัญญาณไฟจราจร ให้ความรู้
กับประชาชนการให้ทางรถฉุกเฉิน คัดเลือกพนักงานขับรถที่เหมาะสม อบรมการขับขี่รถ
Ambulance และประเมินสมรรถนะโดยใช้กฎหมายเดียวกันกับกรมการขนส่งทางบก
ในรถสาธารณะส�ำหรับผู้ขับรถ
	 - อุบัติเหตุภายในรถ ใช้อุปกรณ์ยึดตรึง กันกระแทรก การ์ดป้องกันอุปกรณ์
หลุดล่วง หก เปลี่ยนวัสดุที่ไม่แตกง่ายและไม่ติดไฟ
	 - ของมีคมทิ่มบาด ใช้หลัก Universal Precaution (UP)
	 - เลื่อนล้ม รองเท้า Safety กันลื่นและสะท้อนแสง กระชับ สวมหมวก Safety
	 - อุบัติเหตุซ�้ำ ประเมิน Scene Safety ก่อนเข้าปฏิบัติงาน ประสานงานกับทีม
สนับสนุน จัดการเรื่องความปลอดภัยจนทีมแพทย์พยาบาลเสร็จสิ้นภารกิจ
	 - ทะเลาะวิวาท ประสานงานกับต�ำรวจ
มาตรการการป้องกันความเสี่ยงที่จะเกิดขึ้นกับกลุ่มชนในสถานการณ์
และผู้เห็นเหตุการณ์ ณ จุดเกิดเหตุ
	 จัดพื้นที่ปลอดภัยให้อยู่ในที่ปลอดภัย และปฏิบัติตามค�ำสั่งของเจ้าหน้าที่ที่
เกี่ยวข้อง ขึ้นทะเบียนกลุ่มเสี่ยงผู้สัมผัสเชื้อโรคและสารเคมี ตรวจสุขภาพตามความเสี่ยง
แนวปฏิบัติเพ�่อความปลอดภัย ของรถพยาบาลฉุกเฉิน (PREVENTION)
EMERGENCY
P
reventio
n
EMERGENCY
P
reventio
n
10
เครื่องมืออุปกรณ์ มาตรฐานของอุปกรณ์
รถพยาบาล เรือ เครื่องบิน  
	 @ ความพร้อมใช้ของยานพาหนะ และอุปกรณ์เสียง สี แสง
	 	 ความเข้มของแสงภายในรถพยาบาล
	 	 ความดังของระดับเสียงภายในรถ เสียงไซเลน
	 	 สีของแสงไฟวับวาบ
	 	 ความเข้มของ ฟิล์มกรองแสง ซึ่งยังไม่มีมาตรฐานก�ำหนด
	 @ การตรวจสอบสภาพความพร้อมใช้ของยานพาหนะ
เครื่องมือภายในรถ เครื่องมือภายในเรือ เครื่องมือภายในเครื่องบิน
ความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้น เช่น วัสดุติดไฟ วัสดุแตกหัก
	 @ ความพร้อมใช้ของวัสดุอุปกรณ์
	 @ การตรวจสอบสภาพความพร้อมใช้ของวัสดุอุปกรณ์
	 @ อุปกรณ์น�ำทาง (GPS)
	 @ กล้องวงจรปิดภายในรถทั้งด้านหน้าและด้านหลัง เพื่อปรึกษาการรักษา
	 @ กล้องวงจรปิดภายนอกรถทั้งด้านหน้าและด้านหลัง เพื่อความปลอดภัย
	 @ ไฟตัดหมอก
มาตรการป้องกันความเสี่ยงของเครื่องมืออุปกรณ์
	 ก�ำหนดมาตรฐานดังรายการเบื้องต้นและประกาศใช้
มาตรการป้องกันความเสี่ยงจากอุปกรณ์ความปลอดภัยขณะปฏิบัติงาน
	 ให้ความรู้ สร้างทักษะและความตระหนักในความปลอดภัย (Safety First)
จัดท�ำคู่มือประจ�ำรถ จัดหาและตรวจสอบความเพียงพอและพร้อมใช้ของอุปกรณ์
((PREVENTION) แนวปฏิบัติเพ�่อความปลอดภัย ของรถพยาบาลฉุกเฉิน
EMERGENCY
P
reventio
n
11
แนวปฏิบัติเพื่อความปลอดภัยของยานพาหนะ รถพยาบาลฉุกเฉิน
(กรณีรถตู้ที่เป็นรถปฏิบัติการชั้นสูง และปฏิบัติการขั้นพื้นฐาน)
แนวปฏิบัติเพ�่อความปลอดภัย ของรถพยาบาลฉุกเฉิน (PREVENTION)
EMERGENCY
P
reventio
n
EMERGENCY
P
reventio
n
12
แนวปฏิบัติเพื่อความปลอดภัยของระบบการจ่ายไฟในรถ
สำ�หรับรถพยาบาล (Refer)
((PREVENTION) แนวปฏิบัติเพ�่อความปลอดภัย ของรถพยาบาลฉุกเฉิน
EMERGENCY
P
reventio
n
13
แนวปฏิบัติเพื่อความปลอดภัยระบบแสงสว่าง
แนวปฏิบัติเพ�่อความปลอดภัย ของรถพยาบาลฉุกเฉิน (PREVENTION)
EMERGENCY
P
reventio
n
EMERGENCY
P
reventio
n
14
((PREVENTION) แนวปฏิบัติเพ�่อความปลอดภัย ของรถพยาบาลฉุกเฉิน
EMERGENCY
P
reventio
n
15
ต์
แนวปฏิบัติเพ�่อความปลอดภัย ของรถพยาบาลฉุกเฉิน (PREVENTION)
EMERGENCY
P
reventio
n
EMERGENCY
P
reventio
n
16
แนวปฏิบัติเพื่อความปลอดภัยการติดแถบสะท้อนแสง
((PREVENTION) แนวปฏิบัติเพ�่อความปลอดภัย ของรถพยาบาลฉุกเฉิน
EMERGENCY
P
reventio
n
17
แนวปฏิบัติเพื่อความปลอดภัยระบบสื่อสาร
เสียงรบกวน
แนวปฏิบัติเพ�่อความปลอดภัย ของรถพยาบาลฉุกเฉิน (PREVENTION)
EMERGENCY
P
reventio
n
EMERGENCY
P
reventio
n
18
แนวปฏิบัติเพื่อความปลอดภัยระบบป้องกันออกซิเจน
วาล์ว
((PREVENTION) แนวปฏิบัติเพ�่อความปลอดภัย ของรถพยาบาลฉุกเฉิน
EMERGENCY
P
reventio
n
19
แนวปฏิบัติเพื่อความปลอดภัยของอุปกรณ์ทางการแพทย์
แนวปฏิบัติเพ�่อความปลอดภัย ของรถพยาบาลฉุกเฉิน (PREVENTION)
EMERGENCY
P
reventio
n
EMERGENCY
P
reventio
n
20
แนวปฏิบัติเพื่อความปลอดภัยของอุปกรณ์ทางการแพทย์
แอลกอฮอล์/เจลล้างมือ
((PREVENTION) แนวปฏิบัติเพ�่อความปลอดภัย ของรถพยาบาลฉุกเฉิน
EMERGENCY
P
reventio
n
21
ระบบป้องกันเพื่อความปลอดภัยของผู้ป่วยและเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงาน
ในรถพยาบาลฉุกเฉิน
แนวปฏิบัติเพ�่อความปลอดภัย ของรถพยาบาลฉุกเฉิน (PREVENTION)
EMERGENCY
P
reventio
n
EMERGENCY
P
reventio
n
22
อุปกรณ์ป้องกันตนเองที่มีประจำ�รถพยาบาลฉุกเฉิน
((PREVENTION) แนวปฏิบัติเพ�่อความปลอดภัย ของรถพยาบาลฉุกเฉิน
EMERGENCY
P
reventio
n
23
อุปกรณ์ป้องกันตนเองที่มีประจำ�รถพยาบาลฉุกเฉิน
แนวปฏิบัติเพ�่อความปลอดภัย ของรถพยาบาลฉุกเฉิน (PREVENTION)
EMERGENCY
P
reventio
n
EMERGENCY
P
reventio
n
24
ตัวอย่างกรณีรถกะบะที่ดัดแปลงเป็นรถปฏิบัติการชั้นสูง
และปฏิบัติการขั้นพื้นฐาน
((PREVENTION) แนวปฏิบัติเพ�่อความปลอดภัย ของรถพยาบาลฉุกเฉิน
EMERGENCY
P
reventio
n
25
บทที่ 3
มาตรการและข้อกำ�หนดของพนักงานขับรถพยาบาลฉุกเฉิน
แนวปฏิบัติเพ�่อความปลอดภัย ของรถพยาบาลฉุกเฉิน (PREVENTION)
EMERGENCY
P
reventio
n
EMERGENCY
P
reventio
n
26
การตรวจเช็คความพร้อมของรถก่อนปฏิบัติงาน
็
((PREVENTION) แนวปฏิบัติเพ�่อความปลอดภัย ของรถพยาบาลฉุกเฉิน
EMERGENCY
P
reventio
n
27
บทที่ 4
มาตรการและข้อกำ�หนดของพนักงานขับรถพยาบาลฉุกเฉิน
ก. ขณะเดินทาง
	 1. การก�ำหนดรหัสการออกปฏิบัติการ
	 	 รหัส 2	 ผู้ป่วยฉุกเฉินวิกฤต ผู้ป่วยฉุกเฉินเร่งด่วน (คนไข้สีแดง	
	 	 	 และเหลือง)	
	 	 รหัส 1	 ผู้ป่วยฉุกเฉินอื่นๆ ผู้ป่วยฉุกเฉินไม่รุนแรง (คนไข้สีเขียว)
	 	 รหัส 0	 ผู้ป่วยอื่นๆ 	
	 2. ศูนย์สื่อสารสั่งการ สั่งการการออกเหตุตามข้อมูลที่ได้รับจากการแจ้งเหตุ
	 3. รหัส 2 ผู้ป่วยฉุกเฉินวิกฤต (คนไข้สีแดง) ต้องได้รับการสั่งการโดย
ศูนย์สื่อสารสั่งการเท่านั้น เมื่อได้รับการสั่งการให้ออกเหตุโดย รหัส 2 (แดง) ต้อง
เปิดสัญญานไฟฉุกเฉินและเสียงไซเรนตลอดการเดินทาง รวมถึงการขับขี่รถพยาบาล
ตามระเบียบปฏิบัติในกรณีฉุกเฉินวิกฤต
	 4. รหัส 1 ผู้ป่วยฉุกเฉินอื่นๆ ผู้ป่วยฉุกเฉินไม่รุนแรง (คนไข้สีเขียว) ให้เปิด
สัญญาณไฟฉุกเฉินแต่ไม่ต้องเปิดเสียงไซเรนและขับขี่รถพยาบาลตามระเบียบการขับรถ
ในภาวะปรกติ
	 5. รหัส 0 (ขาว) ไม่เปิดสัญญานไฟฉุกเฉิน และเสียงไซเรน และขับขี่
รถพยาบาลตามระเบียบการขับรถ ในภาวะปรกติ
	 6. เมื่อถึงจุดเกิดเหตุ หัวหน้าทีมกู้ชีพ ต้องประเมินสภาพผู้ป่วย แจ้ง
ศูนย์สื่อสารสั่งการ เพื่อสั่งการให้น�ำส่งผู้ป่วย โดยใช้รหัส ตามสภาพของผู้ป่วย
	 7. ใช้ความเร็วในการขับขี่รถพยาบาลฉุกเฉินเมื่อได้รับรหัส 2 (แดงและเหลือง)
มากกว่า อัตราความเร็ว ของอัตราความเร็วที่กฎหมายก�ำหนดในเทศบาล และนอก
เขตเทศบาล ไม่เกิน 15 กม. หมายถึงในเขตเทศบาล ไม่เกิน 95 กม./ชม. และนอกเขต
เทศบาล ไม่เกิน 135 กม./ชม.
	 8. เมื่อขับผ่านทางแยก จะต้องไม่ใช้ความเร็วเกินก�ำหนด ไม่ว่าจะเป็นรหัสสี
อะไรก็ตาม
แนวปฏิบัติเพ�่อความปลอดภัย ของรถพยาบาลฉุกเฉิน (PREVENTION)
EMERGENCY
P
reventio
n
EMERGENCY
P
reventio
n
28
	 9. เมื่อขับผ่านทางแยกไม่ว่าจะมีสัญญานไฟจราจรหรือไม่ จะต้องขับผ่านด้วย
ความระมัดระวัง
	 10. เมื่อขับผ่านทางแยก ที่เป็นสัญญานไฟแดง หรือผ่านทางรถไฟ จะต้อง
หยุด ก่อนที่จะขับต่อไปด้วยความระมัดระวัง
	 11. ในถนนที่มีหลายเลน การเปลี่ยนเลน ให้ปฏิบัติเหมือนการขับรถผ่านทาง
แยก
	 12. เมื่อมีความจ�ำเป็นต้องขับรถย้อนศร ให้ใช้ความเร็วไม่เกิน 30 กม./ชม.
	 13. รถพยาบาลฉุกเฉินจะต้องไม่เป็นรถพ่วง หรือรถบรรทุก (รถที่ใช้ปฏิบัติ
การรหัส 2)
	 14. ผู้ขับขี่ต้องขับขี่ด้วยความระมัดระวังและเป็นไปตามมาตรา 75 ของพรบ.
จราจรทางบก พ.ศ.2550
ข. ขณะจอดปฏิบัติงาน
	 1. การจอดรถพยาบาล ต้องเปิดสัญญานไฟฉุกเฉินทุกดวง
	 2. ต้องประเมินจุดเกิดหตุ และพิจารณาจอดรถในที่เกิดเหตุอย่างปลอดภัย
	 3. ต้องวางกรวยยางจราจรเป็นระยะ เพื่อป้องกันการเกิดเหตุซ้อน
	 4. จอดห่างจากที่เกิดเหตุ 15 เมตร
	 5. บุคลากรทุกคนที่ออกปฏิบัติงานต้องแต่งตัวด้วยชุดสะท้อนแสง มี
กระบองไฟ มีคนรับผิดชอบควบคุมการจราจร ณ จุดเกิดเหตุ
((PREVENTION) แนวปฏิบัติเพ�่อความปลอดภัย ของรถพยาบาลฉุกเฉิน
EMERGENCY
P
reventio
n
29
ภาคผนวก
แนวปฏิบัติเพ�่อความปลอดภัย ของรถพยาบาลฉุกเฉิน (PREVENTION)
EMERGENCY
P
reventio
n
EMERGENCY
P
reventio
n
30
กฎหมายที่เกี่ยวข้อง
การขับขี่รถให้ปลอดภัย ในการขับรถผู้ขับขี่ต้องขับรถในทางเดินรถด้านซ้ายและ
ต้องไม่ล�้ำกึ่งกลางของทางเดินรถ เว้นแต่กรณีต่อไปนี้ที่ผู้ขับขี่สามารถขับล�้ำกึ่งกลางของ
ทางเดินรถหรือขับเข้าไปในทางเดินรถด้านขวาได้
	 1. ด้านซ้ายของทางเดินรถมีสิ่งกีดขวาง หรือถูกปิดการจราจร
	 2. ทางเดินรถนั้นเจ้าพนักงานจราจรก�ำหนดให้เป็นทางเดินรถทางเดียว
	 3. ทางเดินรถนั้นกว้างไม่ถึง 6 เมตร
ห้ามผู้ขับขี่ขับรถในกรณี
	 1. ในขณะหย่อนความสามารถในอันที่จะขับ เช่น ภายหลังจากรับประทานยา
แก้ไข้หวัด ในขณะง่วงนอน
	 2. ในขณะเมาสุราหรือของมึนเมาอย่างอื่น
	 3. ในลักษณะกีดขวางการจราจร
	 4. โดยประมาทหรือน่าหวาดเสียว อันอาจเกิดอันตรายแก่บุคคลหรือทรัพย์สิน
	 5. ในลักษณะที่ผิดปกติวิสัยของการขับรถตามธรรมดาหรือไม่อาจและเห็น
ทางด้านหน้าหรือด้านหลัง ด้านใดด้านหนึ่ง หรือทั้งสองด้านได้พอแก่ความปลอดภัย
	 6. คร่อมหรือทับเส้นหรือแนวแบ่งช่องรถ เว้นแต่เมื่อต้องการเปลี่ยนช่อง
เดินรถ เลี้ยวรถ หรือกลับรถ
	 7. บนทางเท้าโดยไม่มีเหตุอันควร เว้นแต่รถลากเข็นส�ำหรับทารก คนป่วย
หรือคนพิการ
	 8. โดยไม่ค�ำนึงถึงความปลอดภัย หรือความเดือดร้อนของผู้อื่น
	 9. ในขณะที่เสพ หรือรับเข้าร่างกาย ไม่ว่าด้วยวิธีการใดๆ ซึ่งวัตถุที่ออกฤทธิ์
ต่อจิตและประสาทกลุ่มแอมเฟตามีน(ยาบ้า) หรือวัตถุที่ออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาท
อย่างอื่น
	 10. ขับรถโดยไม่มีใบอนุญาตขับรถ
	 11. ขับรถบนไหล่ทาง เว้นแต่ได้รับอนุญาตจากเจ้าพนักงานจราจร
	 12. ใช้ไฟฉุกเฉินขณะขับรถตรงไปเพื่อผ่านทางร่วมทางแยก
	 13. ขับรถแข่ง เว้นแต่ได้รับอนุญาตจากเจ้าพนักงานจราจร
((PREVENTION) แนวปฏิบัติเพ�่อความปลอดภัย ของรถพยาบาลฉุกเฉิน
EMERGENCY
P
reventio
n
31
ข้อห้ามของผู้ขับรถ
	 1. ห้ามอนุญาตให้ผู้ที่ไม่มีใบอนุญาตขับรถ ขับรถของตน
	 2. ห้ามใช้แผ่นป้ายทะเบียนรถที่จัดท�ำขึ้นเอง
	 3. ห้ามให้ผู้อื่นใช้ใบอนุญาตขับรถของตน
	 4. ห้ามใช้รถที่ยังไม่ได้จดทะเบียน
ขับขี่ขับรถลงจากทางลาดชันหรือภูเขา
	 • ห้ามใช้เกียร์ว่าง
	 • ห้ามเหยียบคลัทซ์
	 • ห้ามใช้เบรคตลอดเวลา
	 • ห้ามดับเครื่องยนต์
	 • ใช้เกียร์ต�่ำ
	 • ขับรถชิดขอบทางด้านซ้าย
	 • ให้เสียงสัญญาณเตือนรถที่อาจสวนทางมา
การขับรถสวนทางกัน
	 1. ให้ผู้ขับขี่ขับรถชิดทางด้านซ้ายของทางเดินรถ และให้ถือกึ่งกลางของทาง
เดินรถหรือเส้นหรือแนวที่แบ่งทางเดินรถเป็นหลัก
	 2. ทางเดินรถที่แคบ ให้ผู้ขับขี่แต่ละฝ่าย ลดความเร็วของรถลง เพื่อให้สวน
ทางกันได้โดยปลอดภัย
	 3. ทางเดินรถที่แคบ ซึ่งไม่อาจขับรถสวนทางกันได้โดยปลอดภัย ให้ผู้ขับขี่รถ
คันที่ใหญ่กว่าหยุดรถชิดขอบทางด้านซ้าย เพื่อให้ผู้ขับรถคันที่เล็กกว่าขับผ่านไปก่อน
	 4. กรณีที่มีสิ่งกีดขวาง ผู้ขับขี่ต้องลดความเร็วหรือหยุดรถให้รถคันที่สวนทาง
ขับผ่านมาก่อน
แนวปฏิบัติเพ�่อความปลอดภัย ของรถพยาบาลฉุกเฉิน (PREVENTION)
EMERGENCY
P
reventio
n
EMERGENCY
P
reventio
n
32
ขับรถห่างจากรถคันหน้า
	 • ผู้ขับขี่ต้องขับรถให้ห่างจากรถคันหน้าในระยะห่างพอสมควรในระยะที่
สามารถหยุดรถได้โดยปลอดภัย
การขับรถผ่านทางร่วมทางแยก
	 การขับรถผ่านทางร่วมทางแยกที่เป็นทางเอกตัดกัน และไม่ปรากฏสัญญาณ
หรือเครื่องหมายจราจรผู้ขับขี่จะต้องปฏิบัติอย่างไร
	 • ถ้ามีรถอื่นอยู่ในทางร่วมทางแยก ผู้ขับขี่ต้องให้รถในทางร่วมทางแยกนั้นขับ
ผ่านไปก่อน
	 • ถ้ามาถึงทางร่วมทางแยกพร้อมกัน และไม่มีรถอยู่ในทางร่วมทางแยกผู้ขับขี่
ต้องหยุดรถให้รถที่อยู่ทางด้านซ้ายของคนขับผ่านไปก่อน
เมื่อผู้ขับขี่พบเครื่องหมาย
	 เมื่อผู้ขับขี่พบเครื่องหมาย “เลี้ยวซ้ายผ่านตลอด” ผู้ขับขี่ควรหยุดให้ทางแก่
รถที่ก�ำลังผ่านทางร่วมทางแยกจากทางด้านขวาและให้ทางแก่รถที่เลี้ยวขวาก่อนจึงจะ
เลี้ยวซ้ายผ่านไปได้
การเลี้ยวรถ
	 ในการเลี้ยวรถผู้ขับขี่จะต้องขับรถในช่องทางเดินรถที่ต้องการจะเลี้ยวก่อนถึง
ทางเลี้ยวไม่น้อยกว่าเมตร 30 เมตร
ขับขี่พบรถฉุกเฉิน เมื่อขับขี่พบรถฉุกเฉินจะต้อง
	 1. หยุดรถ หรือจอดรถให้อยู่ชิดขอบทางด้านซ้าย แต้ถ้ามีช่องทางเดินรถ
ประจ�ำรถทางให้หยุดชิดกับช่องทางเดินรถประจ�ำทาง แต่ห้ามหยุดหรือจอดรถในทาง
ร่วมทางแยก
	 2. ขับรถตามหลังรถฉุกเฉินได้ในระยะไม่ต�่ำกว่า 50 เมตร
((PREVENTION) แนวปฏิบัติเพ�่อความปลอดภัย ของรถพยาบาลฉุกเฉิน
EMERGENCY
P
reventio
n
33
ลักษณะรถที่ห้ามน�ำมาใช้ในทาง
	 1. รถที่มีสภาพไม่มั่นคงแข็งแรง มีส่วนควบอุปกรณ์ไม่ครบถ้วนตามที่กฏมาย
ก�ำหนด หรืออาจเกิดอันตราย หรือเสื่อมเสียสุขภาพอนามัยแก่ผู้ใช้รถ คนโดยสารหรือ
ประชาชน เช่น รถที่มีโคมไฟหน้าหรือโคมไฟท้ายช�ำรุด รถที่มีเสียงดังเกิน 85 เดซิเบล
รถที่มีควันด�ำเกินเกณฑ์ที่ทางราชการก�ำหนด รถที่ไม่มีกระจกด้านหน้า เป็นต้น
	 2.รถที่ไม่ติดแผ่นป้ายทะเบียน(ไม่ว่าจะ1หรือ2แผ่นป้าย)ไม่ติดเครื่องหมาย
แสดงการเสียภาษี หรือเครื่องหมายอื่นๆ ที่กฏหมายที่เกี่ยวข้องกับรถก�ำหนด
	 3. รถที่มีเสียงอื้ออึงหรือมีสิ่งลากถูไปบนทางเดินรถ
	 4. รถที่มีล้อหรือส่วนที่สัมผัสกับผิวทางที่ไม่ใช่ยาง ยกเว้น รถที่ใช้ในราชการ
สงคราม หรือรถที่ใช้ในราชการต�ำรวจ
	 5. รถที่มีเสียงแตรได้ยินในระยะน้อยกว่า 60 เมตร
	 6. รถที่ผู้ขับขี่ยอมให้ผู้อื่นนั่งที่นั่งแถวหน้าเกินกว่า 2 คน
	 7. รถที่ไม่ได้เสียภาษีประจ�ำปี
	 8. รถที่ใช้แผ่นป้ายที่ท�ำขึ้นเอง
การติดตั้งสัญญาณไฟวาบวาบ
	 ตาม พ.ร.บ.จราจรทางบก พ.ศ. 2522 มาตรา 4 ได้ให้ค�ำนิยามของ
“รถฉุกเฉิน” ไว้ว่า รถดับเพลิงและรถพยาบาลของราชการบริหารส่วนกลาง ราชการ
บริหารส่วนภูมิภาคและราชการบริหารส่วนท้องถิ่น หรือรถอื่นที่ได้รับอนุญาตจากอธิบดี
ให้ใช้ไฟสัญญาณแสงวับวาบ หรือให้ใช้เสียงสัญญาณไซเรนหรือเสียงสัญญาณอย่างอื่น
ตามที่จะก�ำหนดให้ และ พ.ร.บ.ดังกล่าว ได้บัญญัติเกี่ยวกับการปฏิบัติของรถฉุกเฉินไว้
ดังนี้
มาตรา 75 ในขณะที่ผู้ขับขี่ขับรถฉุกเฉินไปปฏิบัติหน้าที่ ผู้ขับขี่มีสิทธิดังนี้
	 (1) ใช้ไฟสัญญาณแสงวับวาบ ใช้เสียงสัญญาณไซเรน หรือเสียงสัญญาณอย่าง
อื่นตามที่อธิบดีก�ำหนดไว้
	 (2) หยุดรถหรือจอดรถ ณ ที่ห้ามจอด
	 (3) ขับรถเกินอัตราความเร็วที่ก�ำหนดไว้
แนวปฏิบัติเพ�่อความปลอดภัย ของรถพยาบาลฉุกเฉิน (PREVENTION)
EMERGENCY
P
reventio
n
EMERGENCY
P
reventio
n
34
	 (4) ขับรถผ่านสัญญาณจราจรหรือเครื่องหมายจราจรใด ๆ ที่ให้รถหยุด แต่
ต้องลดความเร็วของรถให้ช้าลงตามสมควร
	 5) ไม่ต้องปฏิบัติตามบทแห่งพระราชบัญญัตินี้หรือข้อบังคับการจราจรเกี่ยว
กับช่องเดินรถ ทิศทางของการขับรถหรือการเลี้ยวรถที่ก�ำหนดไว้
ในการปฏิบัติตามวรรคหนึ่ง ผู้ขับขี่ต้องใช้ความระมัดระวังตามควรแก่กรณี
	 มาตรา 76 เมื่อคนเดินเท้า ผู้ขับขี่ หรือผู้ขี่หรือควบคุมสัตว์เห็นรถฉุกเฉินใน
ขณะปฏิบัติหน้าที่ใช้ไฟสัญญาณแสงวับวาบ หรือได้ยินเสียงสัญญาณไซเรน หรือเสียง
สัญญาณอย่างอื่นตามที่อธิบดีก�ำหนดไว้ คนเดินเท้า ผู้ขับขี่ หรือผู้ขี่หรือควบคุมสัตว์ต้อง
ให้รถฉุกเฉินผ่านไปก่อนโดยปฏิบัติดังต่อไปนี้
	 (1) ส�ำหรับคนเดินเท้าต้องหยุดและหลบให้ชิดขอบทาง หรือขึ้นไปบนทางเขต
ปลอดภัย หรือไหล่ทางที่ใกล้ที่สุด
	 (2) ส�ำหรับผู้ขับขี่ต้องหยุดรถหรือจอดรถให้อยู่ชิดขอบทางด้านซ้าย หรือใน
กรณีที่มีช่องเดินรถประจ�ำทางอยู่ทางด้านซ้ายสุดของทางเดินรถ ต้องหยุดรถหรือจอด
รถให้อยู่ชิดช่องเดินรถประจ�ำทาง แต่ห้ามหยุดรถหรือจอดรถในทางร่วมทางแยก
	 (3) ส�ำหรับผู้ขี่หรือควบคุมสัตว์ต้องบังคับสัตว์ให้หยุดชิดทาง แต่ห้ามหยุดใน
ทางร่วมทางแยก
	 ในการปฏิบัติตาม (2) และ (3) ผู้ขับขี่และผู้ขี่หรือควบคุมสัตว์ต้องรีบ
กระท�ำโดยเร็วที่สุดเท่าที่จะกระท�ำได้และต้องใช้ความระมัดระวังตามควรแก่กรณี	
	 มาตรา 148 ผู้ใดฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามมาตรา 76 ต้องระวางโทษปรับ
ไม่เกินห้าร้อยบาท
((PREVENTION) แนวปฏิบัติเพ�่อความปลอดภัย ของรถพยาบาลฉุกเฉิน
EMERGENCY
P
reventio
n
35
ตรวจเช็คสภาพรถยนต์ทั่วไป 24 รายการ
เช็คทั่วไป
	 1. ที่ปัดน�้ำฝน / น�้ำล้างกระจก 
	 2. ระดับน�้ำมันเครื่อง 
	 3. ระดับน�้ำในถังส�ำรอง / ระดับน�้ำยาหล่อเย็น 
	 4. ระดับน�้ำมันเบรก 
	 5. ระดับน�้ำมันพาวเวอร์ 
	 6. ไส้กรองอากาศเครื่องยนต์ 
	 7. แบตเตอรี่ / ระดับน�้ำกลั่น 
	 8. สภาพยางรถยนต์
เช็คเพิ่มเติม 
	 9. ตรวจเสียงเครื่องยนต์ขณะสตาร์ท 
	 10. สายพานต่างๆ 
	 11. ระบบไฟส่องสว่าง / แตร 
	 12. เข็มขัดนิรภัย 
	 13. ระดับน�้ำมันเกียร์ 
	 14. ระบบฟรีแป้นเหยียบ / คลัทช์ / เบรกมือ 
	 15. ยางกันฝุ่นเพลาขับ 
	 16. โช้คอัพหน้า-หลัง 
	 17. ลูกหมากปีกนก 
	 18. ลูกปืนล้อ 
	 19. ระบบเครื่องปรับอากาศ พัดลมและน�้ำยา 
	 20. รอยรั่วและความผิดปกติของ เครื่องยนต์ 
	 21. รอยรั่วและความผิดปกติของ เกียร์ 
	 22. รอยรั่วแล้วความผิดปกติของ หม้อน�้ำ 
	 23. รอยรั่วและความผิดปกติของ ท่อทางน�้ำ 
	 24. รอยรั่วและความผิดปกติของ พวงมาลัยพาวเวอร์
แนวปฏิบัติเพ�่อความปลอดภัย ของรถพยาบาลฉุกเฉิน (PREVENTION)
EMERGENCY
P
reventio
n
EMERGENCY
P
reventio
n
36
((PREVENTION) แนวปฏิบัติเพ�่อความปลอดภัย ของรถพยาบาลฉุกเฉิน
EMERGENCY
P
reventio
n
37
แนวปฏิบัติเพ�่อความปลอดภัย ของรถพยาบาลฉุกเฉิน (PREVENTION)
EMERGENCY
P
reventio
n
EMERGENCY
P
reventio
n
38
2
((PREVENTION) แนวปฏิบัติเพ�่อความปลอดภัย ของรถพยาบาลฉุกเฉิน
EMERGENCY
P
reventio
n
39
แนวปฏิบัติเพ�่อความปลอดภัย ของรถพยาบาลฉุกเฉิน (PREVENTION)
EMERGENCY
P
reventio
n
EMERGENCY
P
reventio
n
40
((PREVENTION) แนวปฏิบัติเพ�่อความปลอดภัย ของรถพยาบาลฉุกเฉิน
EMERGENCY
P
reventio
n
41
แนวปฏิบัติเพ�่อความปลอดภัย ของรถพยาบาลฉุกเฉิน (PREVENTION)
EMERGENCY
P
reventio
n
EMERGENCY
P
reventio
n
42
ในกระเป๋า
((PREVENTION) แนวปฏิบัติเพ�่อความปลอดภัย ของรถพยาบาลฉุกเฉิน
EMERGENCY
P
reventio
n
43
แนวปฏิบัติเพ�่อความปลอดภัย ของรถพยาบาลฉุกเฉิน (PREVENTION)
EMERGENCY
P
reventio
n
EMERGENCY
P
reventio
n
44
((PREVENTION) แนวปฏิบัติเพ�่อความปลอดภัย ของรถพยาบาลฉุกเฉิน
EMERGENCY
P
reventio
n
45
YES
YES
YES
NO
NO
NO
แนวปฏิบัติเพ�่อความปลอดภัย ของรถพยาบาลฉุกเฉิน (PREVENTION)
EMERGENCY
P
reventio
n
EMERGENCY
P
reventio
n
46
((PREVENTION) แนวปฏิบัติเพ�่อความปลอดภัย ของรถพยาบาลฉุกเฉิน
EMERGENCY
P
reventio
n
47
YES
NO
แนวปฏิบัติเพ�่อความปลอดภัย ของรถพยาบาลฉุกเฉิน (PREVENTION)
EMERGENCY
P
reventio
n
EMERGENCY
P
reventio
n
48
รายชื่อคณะทำ�งานและให้ความเห็น
ที่ร่วมพิจารณา คู่มือมาตรฐานความปลอดภัยของรถพยาบาลฉุกเฉิน
พนักงานขับรถพยาบาล
ที่ปรึกษา
      1. นายแพทย์อนุชา  เศรษฐเสถียร	เลขาธิการสถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ
      2. นายแพทย์อนุรักษ์  เพชรสถาพร ผู้อำ�นวยการสำ�นักสาธารณสุขฉุกเฉิน
คณะทำ�งานและให้ความเห็น
1.นายแพทย์วิทยา  ชาติบัญชาชัย	 โรงพยาบาลขอนแก่น ประธานคณะทำ�งาน
      2. นายแพทย์ไพโรจน์  บุญศิริคำ�ชัย	 สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ
      3. นายแพทย์ธนพงศ์  จินวงษ์	 ศูนย์วิชาการเพื่อความปลอดภัยทางถนน (ศวปถ.)  
4.  ดร.วิภาดา วิจักขณาลัญน์	 วิทยาลัยสาธารณสุขสิรินธรจังหวัดขอนแก่น
5.  อ.ธัญญลักษณ์ ศรีจันทวิโรฒ   	 สำ�นักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและ
	 	 	 	 การศึกษาตามอัธยาศัย
6.  นางสาวสุนันทา  ศรอนุสิน	 สภากาชาดไทย
7.  นางปวีนุช จีนกูล	 	 สถาบันโรคทรวงอก
8.  นางสาวธัญรดี ครามเขียว	 สถาบันโรคทรวงอก
9.  นายแพทย์เอกราช เพิ่มศรี	 สถาบันเวชศาสตร์ผู้สูงอายุ กรมแพทย์
10. นางสาวอรวรรณ์ คูหา		 สถาบันเวชศาสตร์ผู้สูงอายุ กรมแพทย์
11. นายแพทย์นพสิทธิ์ ธนะธีระพงศ์	โรงพยาบาลกรุงเทพ
12. นางนงนุช  ตันติธรรม		 กรมควบคุมโรค
13. พ.ต.ต.ปริญญา มิ่งมงคล	 ผู้บังคับการตำ�รวจจราจร
14. พ.ต.ท.ภานุภาฬ  ฉ่ำ�ประสิทธิ์ 	 กองบังคับการตำ�รวจจราจร
15. แพทย์หญิงจันทิรา  แก้วสัมฤทธิ์	 โรงพยาบาลพระนั่งเกล้า (จ.นนทบุรี)
16. นายแพทย์เอนก  สุภาพ	 โรงพยาบาลพุทธชินราช (จ.พิษณุโลก)
      17. นายแพทย์ปกรณ์  นาระคล	 สำ�นักการสาธารณสุขฉุกเฉิน
((PREVENTION) แนวปฏิบัติเพ�่อความปลอดภัย ของรถพยาบาลฉุกเฉิน
EMERGENCY
P
reventio
n
49
คณะทำ�งานและให้ความเห็น
	 18. นายสุทัศน์  กองขุนทด	 สำ�นักสาธารณสุขฉุกเฉิน
	 19. นายวินัย  ทองชุบ 	 สำ�นักงานป้องกันและควบคุมโรคที่ 9 จ.พิษณุโลก
	 20. นางเบญจมาศ  ปิงเมือง	 โรงพยาบาลพุทธชินราช (จ.พิษณุโลก)
	 21. นางสาวอัญชลี  บัวทอง	 โรงพยาบาลพุทธชินราช (จ.พิษณุโลก)
	 22. แพทย์หญิงแสงดาว  อุประ	 สำ�นักโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม
	 23. แพทย์หญิงชุลีกร  ธนธิติกร	 สำ�นักโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม
	 24. นางนุชนารถ  นาคขำ�
	 25. นางนิตยาภรณ์  สีหาบัว	 โรงพยาบาลขอนแก่น
	 26. นางสาวศิริกุล  กุลเลียบ 	 โรงพยาบาลขอนแก่น
	 27. คุณธัญรัสมิ์  ปิยวัชรเวลา	 โรงพยาบาลขอนแก่น
	 28. นายไพศาล  โชติกล่อม	 โรงพยาบาลขอนแก่น
	 29.นางสาวเทวารักษ์ ภูครองนาค  สำ�นักงานสาธารณสุขจังหวัดขอนแก่น
	 30. นางอนงค์ มณีศร	ี	 สำ�นักงานสาธารณสุขจังหวัดสุรินทร์
	 31. นางเทียนทอง บุญยรางกูร	 สำ�นักงานสาธารณสุขจังหวัดบุรีรัมย์
	 32. นายทินกร  นิลผาย	 เทศบาลนครรังสิต
	 33. นางสาวอัจฉราวดี  สุจริต	 โรงพยาบาลเมโย
	 34. นายอภินันท์  สืบตระกุล	 โรงพยาบาลเมโย
	 35. นายสุรพล  พูลเกษ	 มูลนิธิปอเต็กตึ๊ง
	 36. นายธีรวุฒิ  คำ�ภิมาบุตร	 มูลนิธิปอเต็กตึ๊ง
	 37. นายอรัญ  โตทวด	 มูลนิธิปอเต็กตึ๊ง
	 38. นายพุฒินันท์  วงษ์สุมาลี	 มูลนิธิปอเต็กตึ๊ง
	 39. นายวันจักร  จันทร์สว่าง	 มูลนิธิพิทักกาญจน์
	 40. นายไพศาล  ศุภวังกุล	 มูลนิธิฮุก 31
	 41. นายวิสุทธิ์  กฤตยาอรรณพ	มูลนิธิสว่างเมตตาธรรมสถาน
	 42. นายสุรชัย  ศิลาวรรณ	 สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ
	 43. เรืออากาศเอกนายแพทย์อัจฉริยะ  แพงมา  สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ
	 44. นางสาวกมลทิพย์  แซ่เล้า	 สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ
	 45. นางพิศมัย  พันธ์ครุฑ	 สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ
	 46. นายบุญฤทธิ์  เพชรรักษ์	 สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ
แนวปฏิบัติเพ�่อความปลอดภัย ของรถพยาบาลฉุกเฉิน (PREVENTION)
EMERGENCY
P
reventio
n
EMERGENCY
P
reventio
n
50
คณะทำ�งานและให้ความเห็น
	 47. นางสาวสุดารัตน์  นิราพาท		 สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ
	 48. นายอรรถพล  ถาน้อย	 	 สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ
	 49. ดร.ปวีณ  นราเมธกุล	 	 สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ
	 50. นางธัณณ์จิรา  ธนาศิริธัชนันท์	 สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ
	 51. นางนลินรัตน์  เรืองจิรายศ	 	 สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ
	 52. นายวสันต์  เวียนเสี้ยว	 	 สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ
	 53. ดร.เสกสรรค์  มานวิโรจน์	 	 สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ
	 54. นายศิริชัย  นิ่มมา	 	 สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ
	 55. นายวัฒนา  ทองเอีย	 	 สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ
	 56. นางสาวณญาดา  เผือกขำ�	 	 สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ
	 57. นายเกียรติคุณ  เผ่าทรงฤทธิ์	 สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ
	 58. นางนวนันทน์  อินทรักษ์	 	 สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ
	 59. นางสาวคงขวัญ  จันทร์แก้ว		 สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ
	 60. ว่าที่ร้อยเอกอรรณพ  สุขไพบูลย์	 สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ
	 61. นางสาวขนิษฐา  ภูสีมุงคุณ	 	 สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ
	 62. นายประสงค์  เตชาภรณ์พงศ์	 สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ
((PREVENTION) แนวปฏิบัติเพ�่อความปลอดภัย ของรถพยาบาลฉุกเฉิน
EMERGENCY
P
reventio
n
51
บรรณานุกรม
กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข. คู่มือมาตรฐานความปลอดภัยและ	
สภาพแวดล้อมในโรงพยาบาล. 2556, นนทบุรี : กองวิศวกรรมการแพทย์
สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ. คู่มือแนวปฏิบัติการรับรองรถบริการการแพทย์ 	
ฉุกเฉิน. 2556,นนทบุรี : สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ
Office of Personal Management United States. Emergency Vehicle
Operator (Ambulance) Training Course National Standard
Curriculum, 1995
แนวปฏิบัติเพ�่อความปลอดภัย ของรถพยาบาลฉุกเฉิน (PREVENTION)
EMERGENCY
P
reventio
n
EMERGENCY
P
reventio
n
52
((PREVENTION) แนวปฏิบัติเพ�่อความปลอดภัย ของรถพยาบาลฉุกเฉิน
EMERGENCY
P
reventio
n
53
แนวปฏิบัติเพ�่อความปลอดภัย ของรถพยาบาลฉุกเฉิน (PREVENTION)
EMERGENCY
P
reventio
n
EMERGENCY
P
reventio
n
54
((PREVENTION) แนวปฏิบัติเพ�่อความปลอดภัย ของรถพยาบาลฉุกเฉิน
EMERGENCY
P
reventio
n
55
แนวปฏิบัติเพ�่อความปลอดภัย ของรถพยาบาลฉุกเฉิน (PREVENTION)
EMERGENCY
P
reventio
n
EMERGENCY
P
reventio
n
56
เลขที่ 88/40 หมูที่ 4 อาคารเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว 84 พรรษา
สาธารณสุขซอย 6 ถนนติวานนท ตำบลตลาดขวัญ อำเภอเมือง จังหวัดนนทบุรี 11000
โทรศัพท 0 2872 1669 โทรสาร 0 2872 1601-6

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

12 กิจกรรมทบทวน
12 กิจกรรมทบทวน12 กิจกรรมทบทวน
12 กิจกรรมทบทวน
Suradet Sriangkoon
 
การจัดการทางเดินหายใจ
การจัดการทางเดินหายใจการจัดการทางเดินหายใจ
การจัดการทางเดินหายใจ
Krongdai Unhasuta
 
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ
pueniiz
 
34การเย็บฝีเย็บ
34การเย็บฝีเย็บ34การเย็บฝีเย็บ
34การเย็บฝีเย็บ
My Parents
 
งานสอนปฐมพยาบาล อฉช 57
งานสอนปฐมพยาบาล อฉช 57 งานสอนปฐมพยาบาล อฉช 57
งานสอนปฐมพยาบาล อฉช 57
Yanee Tongmanee
 
3 กิตติกรรมประกาศ
3 กิตติกรรมประกาศ3 กิตติกรรมประกาศ
3 กิตติกรรมประกาศ
kasetpcc
 
การพันผ้าแบบต่างๆ
การพันผ้าแบบต่างๆการพันผ้าแบบต่างๆ
การพันผ้าแบบต่างๆ
Dashodragon KaoKaen
 
แบบตรวจสอบระบบไฟฟ้าก่อนวันหยุด
แบบตรวจสอบระบบไฟฟ้าก่อนวันหยุดแบบตรวจสอบระบบไฟฟ้าก่อนวันหยุด
แบบตรวจสอบระบบไฟฟ้าก่อนวันหยุด
witchcom
 

Was ist angesagt? (20)

12 กิจกรรมทบทวน
12 กิจกรรมทบทวน12 กิจกรรมทบทวน
12 กิจกรรมทบทวน
 
จำแนกประเภท
จำแนกประเภทจำแนกประเภท
จำแนกประเภท
 
การบริหารจัดการความเสี่ยงจากมาตรฐานสู่การปฏิบัติ Suradet sri
การบริหารจัดการความเสี่ยงจากมาตรฐานสู่การปฏิบัติ   Suradet sriการบริหารจัดการความเสี่ยงจากมาตรฐานสู่การปฏิบัติ   Suradet sri
การบริหารจัดการความเสี่ยงจากมาตรฐานสู่การปฏิบัติ Suradet sri
 
หลักคิดสำคัญการวิเคราะห์ RCA - Suradet Sriangkoon
หลักคิดสำคัญการวิเคราะห์ RCA -  Suradet Sriangkoonหลักคิดสำคัญการวิเคราะห์ RCA -  Suradet Sriangkoon
หลักคิดสำคัญการวิเคราะห์ RCA - Suradet Sriangkoon
 
แนวปฏิบัติการพยาบาลการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยวิกฤตภายในโรงพยาบาล
แนวปฏิบัติการพยาบาลการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยวิกฤตภายในโรงพยาบาลแนวปฏิบัติการพยาบาลการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยวิกฤตภายในโรงพยาบาล
แนวปฏิบัติการพยาบาลการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยวิกฤตภายในโรงพยาบาล
 
การจัดการทางเดินหายใจ
การจัดการทางเดินหายใจการจัดการทางเดินหายใจ
การจัดการทางเดินหายใจ
 
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ
 
34การเย็บฝีเย็บ
34การเย็บฝีเย็บ34การเย็บฝีเย็บ
34การเย็บฝีเย็บ
 
งานสอนปฐมพยาบาล อฉช 57
งานสอนปฐมพยาบาล อฉช 57 งานสอนปฐมพยาบาล อฉช 57
งานสอนปฐมพยาบาล อฉช 57
 
บันทึกทางการพยาบาล
บันทึกทางการพยาบาลบันทึกทางการพยาบาล
บันทึกทางการพยาบาล
 
การพยาบาลผู้ป่วยก่อนและหลังการตรวจเพื่อการวินิจฉัยโรค
การพยาบาลผู้ป่วยก่อนและหลังการตรวจเพื่อการวินิจฉัยโรคการพยาบาลผู้ป่วยก่อนและหลังการตรวจเพื่อการวินิจฉัยโรค
การพยาบาลผู้ป่วยก่อนและหลังการตรวจเพื่อการวินิจฉัยโรค
 
1แนวคิดการบริหารทางการพยาบาล
1แนวคิดการบริหารทางการพยาบาล1แนวคิดการบริหารทางการพยาบาล
1แนวคิดการบริหารทางการพยาบาล
 
แนวทางการรายงานความเสี่ยง
แนวทางการรายงานความเสี่ยงแนวทางการรายงานความเสี่ยง
แนวทางการรายงานความเสี่ยง
 
Triage
TriageTriage
Triage
 
SฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัย
SฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัยSฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัย
SฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัย
 
การบริหารการพยาบาล
การบริหารการพยาบาลการบริหารการพยาบาล
การบริหารการพยาบาล
 
3 กิตติกรรมประกาศ
3 กิตติกรรมประกาศ3 กิตติกรรมประกาศ
3 กิตติกรรมประกาศ
 
การพันผ้าแบบต่างๆ
การพันผ้าแบบต่างๆการพันผ้าแบบต่างๆ
การพันผ้าแบบต่างๆ
 
แบบตรวจสอบระบบไฟฟ้าก่อนวันหยุด
แบบตรวจสอบระบบไฟฟ้าก่อนวันหยุดแบบตรวจสอบระบบไฟฟ้าก่อนวันหยุด
แบบตรวจสอบระบบไฟฟ้าก่อนวันหยุด
 
คู่มือดำเนินงานดูแลผู้ป่วยจิตเวชเรื้อรังในชุมชน
คู่มือดำเนินงานดูแลผู้ป่วยจิตเวชเรื้อรังในชุมชนคู่มือดำเนินงานดูแลผู้ป่วยจิตเวชเรื้อรังในชุมชน
คู่มือดำเนินงานดูแลผู้ป่วยจิตเวชเรื้อรังในชุมชน
 

Andere mochten auch

บันทึกการสอบสวน (ความรับผิดทางละเมิด)
บันทึกการสอบสวน (ความรับผิดทางละเมิด)บันทึกการสอบสวน (ความรับผิดทางละเมิด)
บันทึกการสอบสวน (ความรับผิดทางละเมิด)
นายจักราวุธ คำทวี
 
แนวทางการกำหนดสัดส่วนความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่
แนวทางการกำหนดสัดส่วนความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่แนวทางการกำหนดสัดส่วนความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่
แนวทางการกำหนดสัดส่วนความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่
นายจักราวุธ คำทวี
 
จักราวุธ คำทวี แนวทางการสอบสวนทางละเมิด พร้อมแบบ สล.ต่างๆ
จักราวุธ คำทวี แนวทางการสอบสวนทางละเมิด พร้อมแบบ สล.ต่างๆจักราวุธ คำทวี แนวทางการสอบสวนทางละเมิด พร้อมแบบ สล.ต่างๆ
จักราวุธ คำทวี แนวทางการสอบสวนทางละเมิด พร้อมแบบ สล.ต่างๆ
นายจักราวุธ คำทวี
 
คู่มือการดำเนินการสอบสวน อ.จักราวุธ คำทวี
คู่มือการดำเนินการสอบสวน อ.จักราวุธ คำทวีคู่มือการดำเนินการสอบสวน อ.จักราวุธ คำทวี
คู่มือการดำเนินการสอบสวน อ.จักราวุธ คำทวี
นายจักราวุธ คำทวี
 

Andere mochten auch (20)

ชนิดของถังดับเพลิงและการใช้งาน V2 - Suradet Sriangkoon
ชนิดของถังดับเพลิงและการใช้งาน V2 - Suradet Sriangkoonชนิดของถังดับเพลิงและการใช้งาน V2 - Suradet Sriangkoon
ชนิดของถังดับเพลิงและการใช้งาน V2 - Suradet Sriangkoon
 
โครงงานเชียงคานในวันนี้กับวิถีที่เปลี่ยนไป ผลกระทบจากกระแสโลกาภิวัตน์
โครงงานเชียงคานในวันนี้กับวิถีที่เปลี่ยนไป ผลกระทบจากกระแสโลกาภิวัตน์โครงงานเชียงคานในวันนี้กับวิถีที่เปลี่ยนไป ผลกระทบจากกระแสโลกาภิวัตน์
โครงงานเชียงคานในวันนี้กับวิถีที่เปลี่ยนไป ผลกระทบจากกระแสโลกาภิวัตน์
 
Palabras con ge y gi
Palabras con ge y giPalabras con ge y gi
Palabras con ge y gi
 
Ortografía básica
Ortografía básicaOrtografía básica
Ortografía básica
 
แนวทางประเมินภายในพื้นฐาน
แนวทางประเมินภายในพื้นฐานแนวทางประเมินภายในพื้นฐาน
แนวทางประเมินภายในพื้นฐาน
 
หลักการยกเคลื่อนย้ายผู้ประสบเหตุ
หลักการยกเคลื่อนย้ายผู้ประสบเหตุหลักการยกเคลื่อนย้ายผู้ประสบเหตุ
หลักการยกเคลื่อนย้ายผู้ประสบเหตุ
 
บันทึกการสอบสวน (ความรับผิดทางละเมิด)
บันทึกการสอบสวน (ความรับผิดทางละเมิด)บันทึกการสอบสวน (ความรับผิดทางละเมิด)
บันทึกการสอบสวน (ความรับผิดทางละเมิด)
 
แนวทางการกำหนดสัดส่วนความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่
แนวทางการกำหนดสัดส่วนความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่แนวทางการกำหนดสัดส่วนความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่
แนวทางการกำหนดสัดส่วนความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่
 
ดร.กำพลฯ การตรวจสำนวนการสอบสวน ๑
ดร.กำพลฯ การตรวจสำนวนการสอบสวน ๑ดร.กำพลฯ การตรวจสำนวนการสอบสวน ๑
ดร.กำพลฯ การตรวจสำนวนการสอบสวน ๑
 
เรื่องร้องเรียน หนองบัวลำภู
เรื่องร้องเรียน หนองบัวลำภูเรื่องร้องเรียน หนองบัวลำภู
เรื่องร้องเรียน หนองบัวลำภู
 
ความถูกต้องในการทำงานและการดูแลผู้ป่วยกับการบริหารจัดการความเสี่ยง Suradet ...
ความถูกต้องในการทำงานและการดูแลผู้ป่วยกับการบริหารจัดการความเสี่ยง   Suradet ...ความถูกต้องในการทำงานและการดูแลผู้ป่วยกับการบริหารจัดการความเสี่ยง   Suradet ...
ความถูกต้องในการทำงานและการดูแลผู้ป่วยกับการบริหารจัดการความเสี่ยง Suradet ...
 
การรับมือข้อร้องเรียนของลูกค้า
การรับมือข้อร้องเรียนของลูกค้าการรับมือข้อร้องเรียนของลูกค้า
การรับมือข้อร้องเรียนของลูกค้า
 
การจัดการข้อร้องเรียนฉบับย่อ
การจัดการข้อร้องเรียนฉบับย่อการจัดการข้อร้องเรียนฉบับย่อ
การจัดการข้อร้องเรียนฉบับย่อ
 
การจัดการข้อร้องเรียน
การจัดการข้อร้องเรียนการจัดการข้อร้องเรียน
การจัดการข้อร้องเรียน
 
การเคลื่อนย้ายผู้ป่วย
การเคลื่อนย้ายผู้ป่วยการเคลื่อนย้ายผู้ป่วย
การเคลื่อนย้ายผู้ป่วย
 
จักราวุธ คำทวี แนวทางการสอบสวนทางละเมิด พร้อมแบบ สล.ต่างๆ
จักราวุธ คำทวี แนวทางการสอบสวนทางละเมิด พร้อมแบบ สล.ต่างๆจักราวุธ คำทวี แนวทางการสอบสวนทางละเมิด พร้อมแบบ สล.ต่างๆ
จักราวุธ คำทวี แนวทางการสอบสวนทางละเมิด พร้อมแบบ สล.ต่างๆ
 
Rca for Fun - Suradet Sriangkoon
Rca for Fun - Suradet SriangkoonRca for Fun - Suradet Sriangkoon
Rca for Fun - Suradet Sriangkoon
 
Risk matrix VS Risk profile
Risk matrix VS Risk profileRisk matrix VS Risk profile
Risk matrix VS Risk profile
 
การบริหารจัดการความเสี่ยงคือการ่วมด้วย และช่วยกันของทุกๆคนในองค์กร - Suradet...
การบริหารจัดการความเสี่ยงคือการ่วมด้วย และช่วยกันของทุกๆคนในองค์กร  - Suradet...การบริหารจัดการความเสี่ยงคือการ่วมด้วย และช่วยกันของทุกๆคนในองค์กร  - Suradet...
การบริหารจัดการความเสี่ยงคือการ่วมด้วย และช่วยกันของทุกๆคนในองค์กร - Suradet...
 
คู่มือการดำเนินการสอบสวน อ.จักราวุธ คำทวี
คู่มือการดำเนินการสอบสวน อ.จักราวุธ คำทวีคู่มือการดำเนินการสอบสวน อ.จักราวุธ คำทวี
คู่มือการดำเนินการสอบสวน อ.จักราวุธ คำทวี
 

Ähnlich wie แนวปฏิบัติเพื่อความปลอดภัยของรถพยาบาลฉุกเฉิน Prevention โดยสถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ

นวัตกรรมกรรมพยาบาล ทีมโรงพยาบาลทับสะแก
นวัตกรรมกรรมพยาบาล ทีมโรงพยาบาลทับสะแกนวัตกรรมกรรมพยาบาล ทีมโรงพยาบาลทับสะแก
นวัตกรรมกรรมพยาบาล ทีมโรงพยาบาลทับสะแก
taem
 
TAEM11: การพัฒนาและธำรงรักษาบุคลากรฉุกเฉิน
TAEM11: การพัฒนาและธำรงรักษาบุคลากรฉุกเฉินTAEM11: การพัฒนาและธำรงรักษาบุคลากรฉุกเฉิน
TAEM11: การพัฒนาและธำรงรักษาบุคลากรฉุกเฉิน
taem
 
คนฉุกเฉินตามทันมั๊ย ..อ.ศรีทัย สีทิพย์
คนฉุกเฉินตามทันมั๊ย ..อ.ศรีทัย  สีทิพย์คนฉุกเฉินตามทันมั๊ย ..อ.ศรีทัย  สีทิพย์
คนฉุกเฉินตามทันมั๊ย ..อ.ศรีทัย สีทิพย์
taem
 
1. บทบาทและคุณสมบัติของ te n cs __ update 17 เมย. 2560
1. บทบาทและคุณสมบัติของ te n cs __ update 17 เมย. 25601. บทบาทและคุณสมบัติของ te n cs __ update 17 เมย. 2560
1. บทบาทและคุณสมบัติของ te n cs __ update 17 เมย. 2560
Krongdai Unhasuta
 
Thai Emergency Medicine Journal no. 3
Thai Emergency Medicine Journal no. 3Thai Emergency Medicine Journal no. 3
Thai Emergency Medicine Journal no. 3
taem
 
Road map to preparedness management in er
Road map to preparedness management in erRoad map to preparedness management in er
Road map to preparedness management in er
Krongdai Unhasuta
 
Predictive Validity of 4-Level Triage In Emergency Department of Chaophayaa...
Predictive Validity of 4-Level Triage  In Emergency Department of  Chaophayaa...Predictive Validity of 4-Level Triage  In Emergency Department of  Chaophayaa...
Predictive Validity of 4-Level Triage In Emergency Department of Chaophayaa...
Narenthorn EMS Center
 

Ähnlich wie แนวปฏิบัติเพื่อความปลอดภัยของรถพยาบาลฉุกเฉิน Prevention โดยสถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ (20)

นวัตกรรมกรรมพยาบาล ทีมโรงพยาบาลทับสะแก
นวัตกรรมกรรมพยาบาล ทีมโรงพยาบาลทับสะแกนวัตกรรมกรรมพยาบาล ทีมโรงพยาบาลทับสะแก
นวัตกรรมกรรมพยาบาล ทีมโรงพยาบาลทับสะแก
 
TRAUMA SYSTEM.pdf
TRAUMA SYSTEM.pdfTRAUMA SYSTEM.pdf
TRAUMA SYSTEM.pdf
 
TRAUMA SYSTEM.pdf
TRAUMA SYSTEM.pdfTRAUMA SYSTEM.pdf
TRAUMA SYSTEM.pdf
 
TAEM11: การพัฒนาและธำรงรักษาบุคลากรฉุกเฉิน
TAEM11: การพัฒนาและธำรงรักษาบุคลากรฉุกเฉินTAEM11: การพัฒนาและธำรงรักษาบุคลากรฉุกเฉิน
TAEM11: การพัฒนาและธำรงรักษาบุคลากรฉุกเฉิน
 
Middle East Respiratory Syndrome Coronavirus : MERS-CoV Handbook
Middle East Respiratory Syndrome Coronavirus : MERS-CoV HandbookMiddle East Respiratory Syndrome Coronavirus : MERS-CoV Handbook
Middle East Respiratory Syndrome Coronavirus : MERS-CoV Handbook
 
(16 มิ.ย. 56) service profile update
(16 มิ.ย. 56) service profile update(16 มิ.ย. 56) service profile update
(16 มิ.ย. 56) service profile update
 
Traum Care the Injured Patient in the ER.pdf
Traum Care the Injured Patient in the ER.pdfTraum Care the Injured Patient in the ER.pdf
Traum Care the Injured Patient in the ER.pdf
 
Emergency department triage
Emergency department triageEmergency department triage
Emergency department triage
 
คนฉุกเฉินตามทันมั๊ย ..อ.ศรีทัย สีทิพย์
คนฉุกเฉินตามทันมั๊ย ..อ.ศรีทัย  สีทิพย์คนฉุกเฉินตามทันมั๊ย ..อ.ศรีทัย  สีทิพย์
คนฉุกเฉินตามทันมั๊ย ..อ.ศรีทัย สีทิพย์
 
Emergency Triage and BCLS ,ACLS 2015
Emergency Triage and BCLS ,ACLS 2015Emergency Triage and BCLS ,ACLS 2015
Emergency Triage and BCLS ,ACLS 2015
 
(20 พ.ค 56) service profile (ส่งเจี๊ยบ)
(20 พ.ค 56) service profile (ส่งเจี๊ยบ)(20 พ.ค 56) service profile (ส่งเจี๊ยบ)
(20 พ.ค 56) service profile (ส่งเจี๊ยบ)
 
1. บทบาทและคุณสมบัติของ te n cs __ update 17 เมย. 2560
1. บทบาทและคุณสมบัติของ te n cs __ update 17 เมย. 25601. บทบาทและคุณสมบัติของ te n cs __ update 17 เมย. 2560
1. บทบาทและคุณสมบัติของ te n cs __ update 17 เมย. 2560
 
แนวทางการดำเนินงาน คลีนิกหมอครอบครัว
แนวทางการดำเนินงาน คลีนิกหมอครอบครัว แนวทางการดำเนินงาน คลีนิกหมอครอบครัว
แนวทางการดำเนินงาน คลีนิกหมอครอบครัว
 
Thai Emergency Medicine Journal no. 3
Thai Emergency Medicine Journal no. 3Thai Emergency Medicine Journal no. 3
Thai Emergency Medicine Journal no. 3
 
ระบบบัญชาการเหตุการณ์ กับการจัดการในภาวะฉุกเฉินของประเทศ
ระบบบัญชาการเหตุการณ์ กับการจัดการในภาวะฉุกเฉินของประเทศระบบบัญชาการเหตุการณ์ กับการจัดการในภาวะฉุกเฉินของประเทศ
ระบบบัญชาการเหตุการณ์ กับการจัดการในภาวะฉุกเฉินของประเทศ
 
Road map to preparedness management in er
Road map to preparedness management in erRoad map to preparedness management in er
Road map to preparedness management in er
 
Predictive Validity of 4-Level Triage In Emergency Department of Chaophayaa...
Predictive Validity of 4-Level Triage  In Emergency Department of  Chaophayaa...Predictive Validity of 4-Level Triage  In Emergency Department of  Chaophayaa...
Predictive Validity of 4-Level Triage In Emergency Department of Chaophayaa...
 
2 p safety kanniga 60
2 p safety kanniga 602 p safety kanniga 60
2 p safety kanniga 60
 
3.rapid response sepsis ratapum 2565.pdf
3.rapid response sepsis ratapum 2565.pdf3.rapid response sepsis ratapum 2565.pdf
3.rapid response sepsis ratapum 2565.pdf
 
สาธารณภัยกับศูนย์ประสานงาน
สาธารณภัยกับศูนย์ประสานงานสาธารณภัยกับศูนย์ประสานงาน
สาธารณภัยกับศูนย์ประสานงาน
 

Mehr von Suradet Sriangkoon

ลด ละ เลิก วัฒนธรรมการตำหนิ กล่าวโทษ สุรเดช ศรีอังกูร
ลด ละ เลิก วัฒนธรรมการตำหนิ กล่าวโทษ   สุรเดช ศรีอังกูรลด ละ เลิก วัฒนธรรมการตำหนิ กล่าวโทษ   สุรเดช ศรีอังกูร
ลด ละ เลิก วัฒนธรรมการตำหนิ กล่าวโทษ สุรเดช ศรีอังกูร
Suradet Sriangkoon
 
เครื่องมือพื้นฐานในการพัฒนาระบบ Rm และอื่นๆ - Suradet sriangkoon
เครื่องมือพื้นฐานในการพัฒนาระบบ Rm และอื่นๆ -  Suradet sriangkoonเครื่องมือพื้นฐานในการพัฒนาระบบ Rm และอื่นๆ -  Suradet sriangkoon
เครื่องมือพื้นฐานในการพัฒนาระบบ Rm และอื่นๆ - Suradet sriangkoon
Suradet Sriangkoon
 

Mehr von Suradet Sriangkoon (19)

ลด ละ เลิก วัฒนธรรมการตำหนิ กล่าวโทษ สุรเดช ศรีอังกูร
ลด ละ เลิก วัฒนธรรมการตำหนิ กล่าวโทษ   สุรเดช ศรีอังกูรลด ละ เลิก วัฒนธรรมการตำหนิ กล่าวโทษ   สุรเดช ศรีอังกูร
ลด ละ เลิก วัฒนธรรมการตำหนิ กล่าวโทษ สุรเดช ศรีอังกูร
 
เครื่องมือพื้นฐานในการพัฒนาระบบ Rm และอื่นๆ - Suradet sriangkoon
เครื่องมือพื้นฐานในการพัฒนาระบบ Rm และอื่นๆ -  Suradet sriangkoonเครื่องมือพื้นฐานในการพัฒนาระบบ Rm และอื่นๆ -  Suradet sriangkoon
เครื่องมือพื้นฐานในการพัฒนาระบบ Rm และอื่นๆ - Suradet sriangkoon
 
ฉันในความเป็นผู้นำ กับ Risk management
ฉันในความเป็นผู้นำ กับ Risk managementฉันในความเป็นผู้นำ กับ Risk management
ฉันในความเป็นผู้นำ กับ Risk management
 
12 กิจกรรมทบทวนภาคปฏิบัติ - Suradet Sriangkoon
12 กิจกรรมทบทวนภาคปฏิบัติ  - Suradet Sriangkoon12 กิจกรรมทบทวนภาคปฏิบัติ  - Suradet Sriangkoon
12 กิจกรรมทบทวนภาคปฏิบัติ - Suradet Sriangkoon
 
การรายงานความเสี่ยงที่สร้างความปลอดภัยและยั่งยืน Suradet sriangkoon
การรายงานความเสี่ยงที่สร้างความปลอดภัยและยั่งยืน   Suradet sriangkoonการรายงานความเสี่ยงที่สร้างความปลอดภัยและยั่งยืน   Suradet sriangkoon
การรายงานความเสี่ยงที่สร้างความปลอดภัยและยั่งยืน Suradet sriangkoon
 
หลักคิดสำคัญการทบทวนเวชระเบียนคุณภาพและความปลอดภัย -Suradet sriangkoon
หลักคิดสำคัญการทบทวนเวชระเบียนคุณภาพและความปลอดภัย -Suradet sriangkoonหลักคิดสำคัญการทบทวนเวชระเบียนคุณภาพและความปลอดภัย -Suradet sriangkoon
หลักคิดสำคัญการทบทวนเวชระเบียนคุณภาพและความปลอดภัย -Suradet sriangkoon
 
Risk management กับ CQI - Suradet Sriangkoon
Risk management กับ CQI - Suradet SriangkoonRisk management กับ CQI - Suradet Sriangkoon
Risk management กับ CQI - Suradet Sriangkoon
 
3 P for Quality and Happy v.2 suradet sriangkoon
3 P for Quality and Happy v.2   suradet sriangkoon3 P for Quality and Happy v.2   suradet sriangkoon
3 P for Quality and Happy v.2 suradet sriangkoon
 
A -Z กับการบริหารจัดการความเสี่ยง
A -Z กับการบริหารจัดการความเสี่ยงA -Z กับการบริหารจัดการความเสี่ยง
A -Z กับการบริหารจัดการความเสี่ยง
 
Rm กับการประเมินผล
Rm กับการประเมินผลRm กับการประเมินผล
Rm กับการประเมินผล
 
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
 
จุดอ่อนของระบบ Rm ที่เราควรรู้
จุดอ่อนของระบบ Rm ที่เราควรรู้จุดอ่อนของระบบ Rm ที่เราควรรู้
จุดอ่อนของระบบ Rm ที่เราควรรู้
 
คู่มือการเพิ่มความปลอดภัยในการใช้ยา และเลือด ฉบับร่าง
คู่มือการเพิ่มความปลอดภัยในการใช้ยา และเลือด ฉบับร่างคู่มือการเพิ่มความปลอดภัยในการใช้ยา และเลือด ฉบับร่าง
คู่มือการเพิ่มความปลอดภัยในการใช้ยา และเลือด ฉบับร่าง
 
RCA แบบ ชิว ชิว
RCA แบบ ชิว ชิวRCA แบบ ชิว ชิว
RCA แบบ ชิว ชิว
 
Visionary leadership
Visionary leadershipVisionary leadership
Visionary leadership
 
ความสำคัญของระดับความรุนแรงที่เกิดจาก Risk
ความสำคัญของระดับความรุนแรงที่เกิดจาก Riskความสำคัญของระดับความรุนแรงที่เกิดจาก Risk
ความสำคัญของระดับความรุนแรงที่เกิดจาก Risk
 
Grows model
Grows modelGrows model
Grows model
 
ความฝัน ความสุข ความเสี่ยง
ความฝัน ความสุข ความเสี่ยงความฝัน ความสุข ความเสี่ยง
ความฝัน ความสุข ความเสี่ยง
 
ความปลอดภัยอย่างยั่งยืน
ความปลอดภัยอย่างยั่งยืนความปลอดภัยอย่างยั่งยืน
ความปลอดภัยอย่างยั่งยืน
 

แนวปฏิบัติเพื่อความปลอดภัยของรถพยาบาลฉุกเฉิน Prevention โดยสถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ

  • 2.
  • 4. ชื่อหนังสือ : แนวปฏิบัติเพื่อความปลอดภัย ของรถพยาบาลฉุกเฉิน PREVENTION พิมพ์ครั้งแรก : พฤศจิกายน 2557 ISBN : 978-616-7951-03-4 บรรณาธิการ นายแพทย์วิทยา ชาติบัญชาชัย นายสุรชัย ศิลาวรรณ กองบรรณาธิการ นางนวนันทน์ อินทรักษ์ นางสาวกมลทิพย์ แซ่เล้า ดร.วิภาดา วิจักขณาลัญน์ และคณะทำ�งาน ที่ปรึกษา นายแพทย์อนุชา เศรษฐเสถียร นายแพทย์อนุรักษ์ เพชรสถาพร จัดพิมพ์โดย : สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ (สพฉ.) 88/40 หมู่ที่ 4 ซอยสาธารณสุข 6 ถนนติวานนท์ ต�ำบลตลาดขวัญ อ�ำเภอเมือง จังหวัดนนทบุรี 11000 พิมพ์ที่ : บริษัท อัลทิเมท พริ้นติ้ง จำ�กัด E-mail : umnart_p@hotmail.com
  • 5. แนวปฏิบัติเพื่อความปลอดภัยของรถพยาบาลฉุกเฉินเล่มนี้ จัดท�ำขึ้นเพื่อ ให้รถพยาบาลหรือรถบริการการแพทย์ฉุกเฉินมีมาตรฐาน หลักเกณฑ์ที่ส่งเสริมและ ป้องกันให้ผู้ปฏิบัติการฉุกเฉิน และผู้เจ็บป่วยฉุกเฉินที่ได้รับการช่วยเหลือขณะน�ำส่งมี ความปลอดภัยมากที่สุดและมีอุปกรณ์ที่จ�ำเป็นที่ครบสมบูรณ์ ทั้งในเรื่องโครงสร้างของ ระบบรถพยาบาลฉุกเฉิน รถปฏิบัติการฉุกเฉิน ระบบไฟส่องสว่าง ระบบวิทยุสื่อสาร ระบบเสียง อุปกรณ์ป้องกันเพื่อความปลอดภัยของผู้ป่วยและเจ้าหน้าที่ อุปกรณ์ป้องกัน ตนเองประจ�ำรถพยาบาลฉุกเฉิน รวมถึงมาตรฐานของพนักงานขับรถพยาบาล ฉุกเฉิน ส�ำหรับแนวปฏิบัติเพื่อความปลอดภัย ของรถพยาบาลฉุกเฉินเล่มนี้ เน้นเฉพาะรถพยาบาลฉุกเฉินเท่านั้น ส�ำหรับด้านบุคลากรการแพทย์ฉุกเฉิน แยกเป็น เล่มที่ 2 : แนวปฏิบัติด้านความปลอดภัยของผู้ปฏิบัติงานในระบบการแพทย์ฉุกเฉิน และ เนื้อหาทั้งหมดได้ผ่านการตรวจสอบความเห็นจากคณะผู้ทรงคุณวุฒิ และผู้เชี่ยวชาญ ที่มีประสบการณ์จากทั่วประเทศ เพื่อเป็นแนวทางให้หน่วยปฏิบัติการฉุกเฉิน น�ำไป ใช้ประโยชน์ในการตรวจสอบเพื่อปรับปรุงแก้ไขและพัฒนารถพยาบาลฉุกเฉิน หรือ รถบริการการแพทย์ฉุกเฉินให้ได้มาตรฐานสากลต่อไป คณะท�ำงานหวังเป็นอย่างยิ่งว่าแนวปฏิบัติเพื่อความปลอดภัย ของรถ พยาบาลฉุกเฉิน เล่มนี้ จะเป็นคู่มือในการพัฒนาแนวปฏิบัติเพื่อความปลอดภัย ของ รถพยาบาลฉุกเฉิน และหากท่านมีข้อเสนอแนะที่ต้องการให้ปรับปรุง โปรดเสนอแนะ มายังสถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ เพื่อเป็นการคุ้มครองสิทธิผู้ป่วยฉุกเฉินให้ได้รับ ความปลอดภัย และหากท่านมีข้อเสนอแนะที่ต้องการให้ปรับปรุง โปรดเสนอแนะมายัง สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ E-mail : ems_std2014@niems.go.th คณะท�ำงาน สิงหาคม 2557 คำ�นำ�
  • 6. บทที่ 1 บทน�ำ วัตถุประสงค์ นิยามศัพท์ สาเหตุของอันตรายในการท�ำงานโดยทั่วไป ความเสี่ยงในการท�ำงานของผู้ปฏิบัติงานในรถพยาบาลฉุกเฉิน บทที่ 2 มาตรการและข้อก�ำหนดเพื่อความปลอดภัย มาตรการป้องกันความเสี่ยง แนวปฏิบัติเพื่อความปลอดภัยของยานพาหนะ รถพยาบาลฉุกเฉิน แนวปฏิบัติเพื่อความปลอดภัยของระบบการจ่ายไฟในรถ แนวปฏิบัติเพื่อความปลอดภัยระบบแสงสว่าง แนวปฏิบัติเพื่อความปลอดภัยการติดแถบสะท้อนแสง แนวปฏิบัติเพื่อความปลอดภัยระบบสื่อสาร เสียงรบกวน แนวปฏิบัติเพื่อความปลอดภัยระบบป้องกันอ๊อกซิเจน แนวปฏิบัติเพื่อความปลอดภัยอุปกรณ์ทางการแพทย์ ระบบป้องกันเพื่อความปลอดภัยของผู้ป่วยและเจ้าหน้าที่ ผู้ปฏิบัติงานในรถพยาบาลฉุกเฉิน อุปกรณ์ป้องกันตนเองประจ�ำในรถพยาบาลฉุกเฉิน สารบัญ 1 1 2 3 3 4 7 7 7 11 12 13 16 17 17 18 19 21 22
  • 7. สารบัญ บทที่ 3 มาตรการและข้อก�ำหนดของพนักงานขับรถพยาบาลฉุกเฉิน การตรวจเช็คความพร้อมของรถก่อนปฏิบัติงาน บทที่ 4 ระเบียบปฏิบัติในการปฏิบัติการฉุกเฉิน 1. ขณะเดินทาง 2. ขณะจอดรถปฏิบัติงาน ภาคผนวก - กฎหมายที่เกี่ยวข้อง - รายการตรวจเช็คสภาพรถยนต์ทั่วไป 24 รายการ - แบบ Checklist : รถพยาบาลฉุกเฉินก่อนออกปฏิบัติงาน - อุปกรณ์ทางการแพทย์ - การจัดท�ำ SOP ตามมาตรฐาน หลักเกณฑ์ในระบบการแพทย์ฉุกเฉิน - รายชื่อคณะท�ำงานและให้ความเห็น บรรณานุกรม 25 25 26 27 27 27 28 29 30 35 36 40 44 48 51
  • 9. ((PREVENTION) แนวปฏิบัติเพ�่อความปลอดภัย ของรถพยาบาลฉุกเฉิน EMERGENCY P reventio n 1 บุคลากรด้านการแพทย์ฉุกเฉิน มีคุณค่ายิ่งต่อการปฏิบัติงานให้ความช่วยเหลือ ดูแลรักษา ผู้เจ็บป่วยฉุกเฉิน ณ จุดเกิดเหตุและน�ำส่งไปรับการรักษา ณ โรงพยาบาลที่ ได้มาตรฐานที่อยู่ใกล้ที่สุด โดยตั้งความหวังว่าผู้เจ็บป่วยฉุกเฉินทุกราย ที่ได้รับการดูแล ช่วยเหลือมีความปลอดภัยและลดความพิการลง ซึ่งปัจจุบันมีจ�ำนวนประมาณ 120,000 คน กระจายอยู่ทุกๆ พื้นที่ทั่วประเทศ ทั้งที่สังกัดหน่วยงานของรัฐและเอกชน โดยมีจ�ำนวนรถปฏิบัติการฉุกเฉินหรือรถพยาบาลฉุกเฉินในระบบการแพทย์ฉุกเฉินทั้ง ระดับ FR, BLS, ILS, และ ALS มีจ�ำนวนมากกว่า 15,000 คัน และมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ จากการด�ำเนินงานในอดีตที่ผ่านมา พบว่า มีรถพยาบาลฉุกเฉิน/ รถบริการการแพทย์ฉุกเฉินประสบอุบัติเหตุอยู่บ่อยครั้ง เป็นเหตุให้ผู้ปฏิบัติงาน การแพทย์ฉุกเฉินต้องบาดเจ็บ เสียชีวิตและพิการอยู่อย่างต่อเนื่องทุกปี และมีแนวโน้ม เพิ่มมากขึ้น ดังปรากฎในหน้าหนังสือพิมพ์อยู่เนืองๆ จากการสอบสวนการเกิดอุบัติเหตุ สาเหตุของความรุนแรงของการบาดเจ็บ พบว่าส่วนใหญ่เกิดจากการไม่มีอุปกรณ์ป้องกัน ให้เกิดความปลอดภัยในรถปฏิบัติการฉุกเฉิน นอกจากนั้นสภาพของรถปฏิบัติฉุกเฉิน ทั้งในส่วนห้องคนขับ ห้องโดยสาร อุปกรณ์ที่เสริมความปลอดภัยภายนอกรถ รวมทั้ง อุปกรณ์ที่จ�ำเป็นที่ควรมีประจ�ำรถ ก็ยังต้องมีการปรับปรุงแก้ไขให้ได้มาตรฐานสากล และที่ส�ำคัญยิ่งคือพนักงานขับรถ ต้องเป็นผู้มีคุณสมบัติเหมาะสม ขับรถตามกฎและ แนวปฏิบัติ เพื่อให้บุคลากรด้านการแพทย์ฉุกเฉินและผู้ป่วยที่ถูกช่วยเหลือมีความ ปลอดภัย ทั้งขณะปฏิบัติงาน ขณะเดินทาง จนน�ำส่งผู้ป่วยฉุกเฉินถึงจุดหมายปลายทาง โดยปลอดภัย สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ ได้ให้ความส�ำคัญกับความ ปลอดภัยของผู้ปฏิบัติงานด้านการแพทย์ฉุกเฉิน ตามนโยบายของเลขาธิการสถาบัน การแพทย์ฉุกเฉินแห่ชาติ ที่จะต้องมีการคุ้มครองให้ผู้ปฏิบัติงานมีความปลอดภัยสูงสุด จึงได้จัดท�ำคู่มือมาตรฐาน หลักเกณฑ์ เกณฑ์ และวิธีปฏิบัติในระบบการแพทย์ฉุกเฉิน บทที่ 1 บทนำ�
  • 10. แนวปฏิบัติเพ�่อความปลอดภัย ของรถพยาบาลฉุกเฉิน (PREVENTION) EMERGENCY P reventio n EMERGENCY P reventio n 2 ตามรายละเอียดของมาตรฐาน และวิธีการปฏิบัติในแต่ละด้าน ซึ่งได้ครอบคลุมเนื้อหา ใน แต่ละเรื่อง ดังรายละเอียดในบทต่อๆ ไป วัตถุประสงค์ 1. เพื่อเป็นคู่มือทางวิชาการ เกี่ยวกับมาตรฐาน หลักเกณฑ์ เกณฑ์ และวิธี ปฏิบัติในระบบการแพทย์ฉุกเฉิน 2. เพื่อเป็นแนวทางในการตรวจสอบความพร้อม และค้นหาความไม่ปลอดภัย ในระบบปฏิบัติการการแพทย์ฉุกเฉิน 3. เพื่อใช้ในการส่งเสริมสนับสนุน พัฒนาให้ระบบการด�ำเนินงานด้าน การแพทย์ฉุกเฉินมีมาตรฐานในการปฏิบัติการ 4. เพื่อเป็นเครื่องมือในการบริหารจัดการ และพัฒนาคุณภาพการด�ำเนินงาน ให้ผู้ปฏิบัติงานในระบบการแพทย์ฉุกเฉิน และผู้เจ็บป่วยฉุกเฉินที่ได้รับการช่วยเหลือมี ความปลอดภัยสูงสุด ขอบเขต เป็นกระบวนการป้องกันผู้ปฏิบัติการและผู้เจ็บป่วยให้ได้รับความปลอดภัย จากภัยคุกคามที่เสี่ยงต่อภาวะฉุกเฉินและภัยจากการปฏิบัติการฉุกเฉิน การส่งเสริม อาชีวอนามัย ความปลอดภัยในการท�ำงานของผู้ที่เกี่ยวข้องในระบบการแพทย์ฉุกเฉิน ครอบคลุมถึงกระบวนการในการระบบส่งต่อผู้ป่วยฉุกเฉิน ตั้งแต่ระดับนโยบาย ระดับ การปฏิบัติการฉุกเฉิน (ก่อนการส่งต่อ การดูแลระหว่างการส่งต่อ และการส่งมอบผู้ป่วย ฉุกเฉินแก่สถานพยาบาลปลายทาง) รวมทั้งระบบการก�ำกับติดตามและประเมินผล
  • 11. ((PREVENTION) แนวปฏิบัติเพ�่อความปลอดภัย ของรถพยาบาลฉุกเฉิน EMERGENCY P reventio n 3 นิยามศัพท์ ความหมายของค�ำที่ใช้ในหนังสือคู่มือมาตรฐานฉบับนี้ คือ ความเสี่ยง (Risk) คือ ผลรวมของความถี่ ความน่าจะเป็น โอกาสที่จะเกิด สิ่งที่ไม่ดีที่จะเกิดขึ้นในอนาคตหรือสถานการณ์ ซึ่งจะเป็นอันตราย หรือมีผลร้ายส่งผล ให้เกิดความสูญเสียต่อร่างกาย จิตใจ ทรัพย์สิน ชื่อเสียง ความสูญเสียต่อร่างกาย ได้แก่ การบาดเจ็บ การได้รับอันตรายและเกิดภาวะแทรกซ้อน การเสียชีวิต ความปลอดภัย (Safety) ในทางทฤษฎี หมายถึง “การปราศจากภัย” แต่ ส�ำหรับในทางปฏิบัติอาจยอมรับได้ในความหมายที่ว่า “การปราศจากอันตรายที่มี โอกาสจะเกิดขึ้น” เดซิเบล เอ [dB(A)] หมายถึง สเกลของเครื่องวัดเสียงที่สร้างเลียนแบบ ลักษณะการท�ำงานของหูมนุษย์ โดยจะกรองเอาความถี่ต�่ำ และความถี่สูงของเสียงที่ เกินกว่ามนุษย์จะได้ยินออกไป ดัดแปลง หมายถึง การเปลี่ยนแปลงต่อเติม เพิ่ม ลด หรือขยาย ซึ่งลักษณะ ขอบเขต แบบ รูปทรง สัดส่วน น�้ำหนัก อาจผิดไปจากเดิม และมิใช่การซ่อมแซม รถพยาบาลฉุกเฉิน หมายถึง รถบริการการแพทย์ฉุกเฉินที่ปฏิบัติการฉุกเฉิน อุบัติเหตุ (Accident) เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นโดยมิได้วางแผนไว้ล่วงหน้า ซึ่งก่อ ให้เกิดความบาดเจ็บ พิการ หรือตาย และท�ำให้ทรัพย์สินได้รับความเสียหาย สาเหตุของอันตรายในการท�ำงานโดยทั่วไป 1.สาเหตุเกิดจากบุคคลหรือตัวเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติเช่นการแต่งกายไม่เหมาะสม ไม่สวมชุดป้องกัน มีทัศนคติไม่ดีต่อความปลอดภัย อุปนิสัยไม่ดี ขาดประสบการณ์ สภาพร่างกายไม่พร้อมที่จะท�ำงาน (88%) 2. สาเหตุเกิดจากเครื่องมือและอุปกรณ์ เช่น เครื่อมือช�ำรุด การใช้เครื่อมือผิด ประเภท การใช้เครื่องมือที่ไม่มีระบบป้องกันอันตราย (10%) 3. สาเหตุเกิดจากโครงสร้างทางกายภาพและสภาพแวดล้อม เช่น อุณหภูมิ สูงหรือต�่ำไป แสงสว่างไม่เพียงพอ การระบายอากาศที่ไม่ดี เสียงดังรบกวน กลิ่นเหม็น รบกวน ทางลื่น ความไม่เป็นระเบียบของห้องหรือสถานที่ท�ำงาน เป็นต้น (2%)
  • 12. แนวปฏิบัติเพ�่อความปลอดภัย ของรถพยาบาลฉุกเฉิน (PREVENTION) EMERGENCY P reventio n EMERGENCY P reventio n 4 4. สาเหตุของการเกิดอุบัติเหตุบนทางหลวงมากที่สุด คือ การขับรถเร็ว รองลงมาคือ การขับรถระยะกระชั้นชิด อุบัติเหตุที่เกิดขึ้นในการจราจรทางบกนั้น มักเกิดขึ้นจากสาเหตุที่ส�ำคัญ 3 ประการคือ บุคคล สิ่งแวดล้อม และกฎหมาย ความเสี่ยงในการท�ำงานของผู้ปฏิบัติงานในรถพยาบาลฉุกเฉิน ณ  จุดเกิดเหตุ การแบ่งประเภทของงานแบ่งเป็น ก่อนการปฏิบัติการ ขณะปฏิบัติการ และหลังปฏิบัติการ บุคลากรที่ออกไป ปฏิบัติงาน ณ จุดเกิดเหตุ ประกอบด้วย ทีมปฏิบัติการการแพทย์ฉุกเฉิน พนักงานขับรถ แพทย์ พยาบาล เจ้าหน้าที่สื่อสาร เจ้าหน้าที่กู้ชีพ (FR, EMT-I, EMT-B) ความเสี่ยงที่จะเกิดขึ้นกับ Working Job ของทีมปฏิบัติการการแพทย์ ฉุกเฉิน ณ จุดเกิดเหตุ ความเสี่ยงทั้ง 5 ด้าน ประกอบด้วย - ด้านกายภาพ แสง (แสงจ้าเกินไป ความไม่พอของแสง) ฝนตก ความร้อน อุณภูมิ ฝุ่นควัน หมอก กัมมันตรังสี ที่อับอากาศ ไฟฟ้าช๊อต การสั่นสะเทือน สัตว์มีพิษ สุนัข - ด้านเคมี ไอระเหย ควันจากก๊าซ ฟูมโลหะ วัตถุระเบิด สารกัดกร่อน - ด้านชีวภาพ เชื้อโรค พื้นที่เกิดโรคระบาด วัณโรค โรคติดต่อทางเดินหายใจ พาหะน�ำโรค สัมผัสสิ่งคัดหลั่ง ขยะติดเชื้อ - ด้านจิตใจ ความเครียด แรงกดดันจากภายนอก ความเหนื่อยล้าจากการ ท�ำงาน ระยะเวลาที่ท�ำงานมากเกินไป - ด้านการยศาสตร์ การยกคนไข้ บาดเจ็บจากท่าทางการท�ำงาน - เรื่องอุบัติเหตุ อุบัติเหตุการจราจร อุบัติเหตุภายในรถ ของมีคมทิ่มบาด ลื่น ล้ม อุบัติเหตุซ�้ำ ทะเลาะวิวาท รถเปลนอนหนีบมือ ถูกรถชน
  • 13. ((PREVENTION) แนวปฏิบัติเพ�่อความปลอดภัย ของรถพยาบาลฉุกเฉิน EMERGENCY P reventio n 5 ความเสี่ยงที่จะเกิดขึ้นกับการปฏิบัติงานของทีมร่วมปฏิบัติการแพทย์ ฉุกเฉิน ณ จุดเกิดเหตุ ทีมกู้ภัยทางบก ทางน�้ำ ทางอากาศ ดับเพลิง ต�ำรวจ อพปร. SRRT เจ้าหน้าที่ อื่นที่เกี่ยวข้อง - ด้านกายภาพแสง(แสงจ้าเกินไปความไม่เพียงพอของแสง)ฝนตกความร้อน เปลวไฟ อุณภูมิ ฝุ่นควัน หมอก พื้นที่ เช่น พื้นที่ก่อสร้าง หุบเขา กัมมันตรังสี ที่อับอากาศ ความกดอากาศ พื้นที่สูง น�้ำหนีบ ไฟฟ้าช๊อต สัตว์อันตราย เช่น ต่อต่อย งูกัด - ด้านเคมี ไอระเหย ควันจากก๊าซ ฝูมโลหะ วัตถุระเบิด สารกัดกร่อน สารเคมี ชนิดของเหลว - ด้านชีวภาพ เชื้อโรค พื้นที่เกิดโรคระบาด วัณโรค โรคติดต่อทางเดินหายใจ พาหะน�ำโรค สัมผัสสิ่งคัดหลั่ง ขยะติดเชื้อ - ด้านจิตใจ ความเครียด แรงกดดันจากภายนอก ความเหนื่อยล้าจากการ ท�ำงาน ระยะเวลาที่ท�ำงานมากเกินไป - ด้านการยศาสตร์ การยกคนไข้ บาดเจ็บจากท่าทางการท�ำงาน การดึง ตัดยก - เรื่องอุบัติเหตุ อุบัติการจราจร อุบัติเหตุภายในรถ ของมีคมทิ่มบาด เลื่อน ล้ม อุบัติเหตุซ�้ำ ทะเลาะวิวาท รถเปลนอนหนีบมือ ถูกรถชน จมน�้ำ ไฟลวก ไฟไหม้ ได้ รับอันตรายจากความเย็น ตกจากที่สูง ความเสี่ยงที่จะเกิดขึ้นกับกลุ่มชนในสถานการณ์ ณ จุดเกิดเหตุ - ด้านกายภาพ แสง (แสงจ้าเกินไป ความไม่เพียงพอของแสง) ฝนตก ความ ร้อน เปลวไฟ อุณภูมิ ฝุ่นควัน หมอก พื้นที่ เช่น พื้นที่ก่อสร้าง หุบเขา กัมมันตรังสี ที่อับอากาศ ความกดอากาศ พื้นที่สูง ไฟฟ้าช๊อต สัตว์อันตราย เช่น ต่อต๋อย งูกัด -  ด้านเคมี ไอระเหย ควันจากก๊าซ ฟูมโลหะ วัตถุระเบิด สารกัดกร่อน สาร เคมีชนิดของเหลว - ด้านชีวภาพ เชื้อโรค พื้นที่เกิดโรคระบาด วัณโรค โรคติดต่อทางเดินหายใจ พาหะน�ำโรค สัมผัสสิ่งคัดหลั่ง -  ด้านจิตใจ ความเครียด - เรื่องอุบัติเหตุ อุบัติการจราจร อุบัติเหตุซ�้ำ ทะเลาะตบตี ถูกรถชน จมน�้ำ ไฟลวก ไฟไหม้ ได้รับอันตรายจากความเย็น
  • 14. แนวปฏิบัติเพ�่อความปลอดภัย ของรถพยาบาลฉุกเฉิน (PREVENTION) EMERGENCY P reventio n EMERGENCY P reventio n 6 สิ่งแวดล้อม ณ จุดเกิดเหตุ ความเสี่ยงที่จะเกิดขึ้น - ด้านกายภาพ แสง (แสงจ้าเกินไป ความไม่พอของแสง) น�้ำลึก น�้ำท่วม ฝนตก ความร้อนอุณภูมิฝุ่นควันหมอกกัมมันตรังสีที่อับอากาศพื้นที่ก่อสร้างหุบเขาพื้นที่แคบ พื้นที่สูง ตึกถล่ม ดินโคลนถล่ม น�้ำไหลหลาก สวนสัตว์ ลมพายุ ลูกเห็บ พื้นผิวจราจราลื่น กิ่งไม้ล้มขวางทาง หินร่วง แผ่นดินไหว - ด้านเคมี ไอระเหย ควันจากก๊าซ ฟูมโลหะ วัตถุระเบิด - ด้านชีวภาพ เชื้อโรค พื้นที่เกิดโรคระบาด วัณโรค โรคติดต่อทางเดินหายใจ พาหะน�ำโรค สัมผัสสิ่งคัดหลั่ง ขยะติดเชื้อ - การควบคุมฝูงชน - การควบคุมการจราจร - การเกิดอุบัติเหตุซ�้ำซ้อน จากอุบัติการจราจร จากก๊าซ aftershock จมน�้ำ - พลัดหลง หลงทางจากทีม - ความเสี่ยงจากการเสียชีวิตและพิการระหว่างปฏิบัติงาน อุปกรณ์ความปลอดภัยขณะปฏิบัติงาน ความเสี่ยงที่จะเกิดขึ้น - ขาดความรู้ ความตระหนัก และทักษะในการใช้ - ขาดคู่มือประจ�ำรถ - ความไม่เพียงพอ - ความไม่พร้อมใช้
  • 15. ((PREVENTION) แนวปฏิบัติเพ�่อความปลอดภัย ของรถพยาบาลฉุกเฉิน EMERGENCY P reventio n 7 มาตรการป้องกันความเสี่ยง ด้านกายภาพ - แสงที่จ้าเกินไป เตรียมอุปกรณ์ป้องกันตนเองต่อแสง UV เช่น แว่นกัน เต๊นท์เล็ก น�้ำดื่มเกลือแร่ ผ้าเย็น - ความไม่พอของแสง เตรียมอุปกรณ์ก�ำเนิดแสง ไฟส่องสว่าง Spotlight ไฟฉาย ชุดปฏิบัติการตามมาตรฐานของสพฉ. เสื้อสะท้อนแสง กระบองไฟ กรวยจราจร เทปกั้น (ชุดก�ำเนิดไฟจากหน่วยสนับสนุน กรณีเกิดการใหญ่) - ฝุ่นควัน/หมอก เตรียมพื้นที่ให้ห่างจากแหล่งก�ำเนิดฝุ่นควัน เตรียมหน้ากาก ป้องกันที่เหมาะสมแต่ละเหตุ - กัมมันตรังสี เตรียมอุปกรณ์ป้องกันตนเองตามระดับของเหตุ เตรียมความรู้ และทักษะของบุคลากร การตรวจสุขภาพตามความเสี่ยงหลังปฏิบัติงาน กล้องส่องทางไกล - ที่อับอากาศ เตรียมความรู้และทักษะของบุคลากร เตรียม SCBA (Self Contained Breathing Apparatus โดยชุดสนับสนุน) - ไฟฟ้าช๊อต การประเมินสถานการณ์ก่อนปฏิบัติงาน เตรียมร้องเท้าบูท ถุงมือยาง เครื่องตรวจกระแสไฟ ตัดกระแสไฟฟ้าโดยประสานงานหน่วยสนับสนุนที่เกี่ยวข้อง - น�้ำลึก น�้ำท่วม ต้องมีอุปกรณ์ชูชีพ และว่ายน�้ำเป็น (การเอาชีวิตรอดทางน�้ำ) - ทางอากาศ ต้องผ่านการอบรมหลักสูตรการล�ำเลียงทางอากาศ - การสั่นสะเทือน ใช้ Lock Belt ด้านเคมี - ไอระเหย ควันจากก๊าซ ฟูมโลหะ วัตถุระเบิด สารกัดกร่อน เตรียมความรู้ ทักษะของบุคลากร เตรียมอุปกรณ์ป้องกันตนเองตามระดับของเหตุ การตรวจสุขภาพ ตามความเสี่ยงหลังปฏิบัติงาน ชุดอุปกรณ์ล้างตัวของผู้ประสบเหตุและผู้ปฏิบัติการ ช่วยเหลือ หยุดการขนส่งทางอากาศโดยใช้ Helicopter ในบริเวณใกล้เคียงจุดเกิดเหตุ บทที่ 2 มาตรการและข้อกำ�หนดเพื่อความปลอดภัย
  • 16. แนวปฏิบัติเพ�่อความปลอดภัย ของรถพยาบาลฉุกเฉิน (PREVENTION) EMERGENCY P reventio n EMERGENCY P reventio n 8 ด้านชีวภาพ - เชื้อโรค พื้นที่เกิดโรคระบาด วัณโรค โรคติดต่อทางเดินหายใจ พาหะน�ำโรค สัมผัสสิ่งคัดหลั่ง ขยะติดเชื้อ ใช้หลัก Universal Precaution (UP) ชุดอุปกรณ์ป้องกัน ให้เหมาะกับเชื้อโรคแต่ละชนิด การตรวจสุขภาพตามความเสี่ยงหลังปฏิบัติงาน การฉีด วัคซีนป้องกันไข้หวัดใหญ่ TT, HBV, ท�ำมาตรการดูแลหลังโดนเข็มทิ่มต�ำ/สารคัดหลั่ง ด้านจิตใจ - เตรียมข้อมูลเบื้องต้นแต่ละเหตุ แจ้งความเสี่ยงที่จะเผชิญ ประชุมทีม การสร้างแรงจูงใจ (เช่น ค่าตอบแทนเสี่ยงภัย ระบบประกันอุบัติเหตุและประกันชีวิต กองทุนสงเคราะห์ผู้ประสบภัย) เตรียมทีมสนับสนุน เช่น MCATT (Mental Crisis Assessment Treatment and Team) ตามความจ�ำเป็น - แรงกดดันจากภายนอก จากญาติและสังคมภายนอก ป้องกันโดยขอ หน่วยสนับสนุน เช่น ต�ำรวจ มีสัญญลักษณ์ปิดกั้นเขตปฏิบัติงาน ให้ข้อมูลเบื้องต้นทาง การแพทย์กับญาติและผู้เกี่ยวข้อง - อุบัติเหตุซ�้ำ ประเมิน Scene Safety ก่อนเข้าปฏิบัติงาน ประสานงานกับทีม สนับสนุน จัดการเรื่องความปลอดภัยจนทีมแพทย์พยาบาลเสร็จสิ้นภาระกิจ - พลัดหลง หลงทางจากทีม ใช้อุปกรณ์สื่อสารและ GPRS เตรียมอุปกรณ์ ยังชีพส�ำหรับบุคคล - ความเสี่ยงจากการเสียชีวิตและพิการระหว่างปฏิบัติงาน จัดท�ำระบบความ ปลอดภัยและการประกันความเสี่ยง และเงินค่าตอบแทนความเสี่ยงที่เหมาะสม - ความเหนื่อยล้าจากการท�ำงาน ควรมีแบบประเมินความเหนื่อยล้าเฉพาะ รายบุคคลตามความจ�ำเป็น ขอสนับสนุนจากหน่วยงานใกล้เคียง - ระยะเวลาที่ท�ำงานมากเกินไป มีแบบประเมินความเหนื่อยล้าและก�ำหนด เวลาปฏิบัติงานตามมาตรฐานความปลอดภัย
  • 17. ((PREVENTION) แนวปฏิบัติเพ�่อความปลอดภัย ของรถพยาบาลฉุกเฉิน EMERGENCY P reventio n 9 ด้านการยศาสตร์ - การยกคนไข้ บาดเจ็บจากท่าทางการท�ำงาน ให้ความรู้ในการปฏิบัติงานที่ ถูกต้อง และการใช้เครื่องมือที่ถูกต้องและเหมาะสม เลือกใช้วัสดุอุปกรณ์ที่เหมาะสม เช่น น�้ำหนักเบาแต่มีความแข็งแรง เครื่องทุ่นแรง ลูกกลิ้ง ล้อเลื่อน สายพาน เรื่องอุบัติเหตุ - อุบัติการจราจร อุบัติเหตุภายในรถ ของมีคมทิ่มบาด ลื่นล้ม อุบัติเหตุซ�้ำ ทะเลาะวิวาท - อุบัติเหตุการจราจร กระบวนการการป้องกัน จัดเส้นทางการเดินรถ ประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เช่น ต�ำรวจจราจร สัญญาณไฟจราจร ให้ความรู้ กับประชาชนการให้ทางรถฉุกเฉิน คัดเลือกพนักงานขับรถที่เหมาะสม อบรมการขับขี่รถ Ambulance และประเมินสมรรถนะโดยใช้กฎหมายเดียวกันกับกรมการขนส่งทางบก ในรถสาธารณะส�ำหรับผู้ขับรถ - อุบัติเหตุภายในรถ ใช้อุปกรณ์ยึดตรึง กันกระแทรก การ์ดป้องกันอุปกรณ์ หลุดล่วง หก เปลี่ยนวัสดุที่ไม่แตกง่ายและไม่ติดไฟ - ของมีคมทิ่มบาด ใช้หลัก Universal Precaution (UP) - เลื่อนล้ม รองเท้า Safety กันลื่นและสะท้อนแสง กระชับ สวมหมวก Safety - อุบัติเหตุซ�้ำ ประเมิน Scene Safety ก่อนเข้าปฏิบัติงาน ประสานงานกับทีม สนับสนุน จัดการเรื่องความปลอดภัยจนทีมแพทย์พยาบาลเสร็จสิ้นภารกิจ - ทะเลาะวิวาท ประสานงานกับต�ำรวจ มาตรการการป้องกันความเสี่ยงที่จะเกิดขึ้นกับกลุ่มชนในสถานการณ์ และผู้เห็นเหตุการณ์ ณ จุดเกิดเหตุ จัดพื้นที่ปลอดภัยให้อยู่ในที่ปลอดภัย และปฏิบัติตามค�ำสั่งของเจ้าหน้าที่ที่ เกี่ยวข้อง ขึ้นทะเบียนกลุ่มเสี่ยงผู้สัมผัสเชื้อโรคและสารเคมี ตรวจสุขภาพตามความเสี่ยง
  • 18. แนวปฏิบัติเพ�่อความปลอดภัย ของรถพยาบาลฉุกเฉิน (PREVENTION) EMERGENCY P reventio n EMERGENCY P reventio n 10 เครื่องมืออุปกรณ์ มาตรฐานของอุปกรณ์ รถพยาบาล เรือ เครื่องบิน @ ความพร้อมใช้ของยานพาหนะ และอุปกรณ์เสียง สี แสง ความเข้มของแสงภายในรถพยาบาล ความดังของระดับเสียงภายในรถ เสียงไซเลน สีของแสงไฟวับวาบ ความเข้มของ ฟิล์มกรองแสง ซึ่งยังไม่มีมาตรฐานก�ำหนด @ การตรวจสอบสภาพความพร้อมใช้ของยานพาหนะ เครื่องมือภายในรถ เครื่องมือภายในเรือ เครื่องมือภายในเครื่องบิน ความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้น เช่น วัสดุติดไฟ วัสดุแตกหัก @ ความพร้อมใช้ของวัสดุอุปกรณ์ @ การตรวจสอบสภาพความพร้อมใช้ของวัสดุอุปกรณ์ @ อุปกรณ์น�ำทาง (GPS) @ กล้องวงจรปิดภายในรถทั้งด้านหน้าและด้านหลัง เพื่อปรึกษาการรักษา @ กล้องวงจรปิดภายนอกรถทั้งด้านหน้าและด้านหลัง เพื่อความปลอดภัย @ ไฟตัดหมอก มาตรการป้องกันความเสี่ยงของเครื่องมืออุปกรณ์ ก�ำหนดมาตรฐานดังรายการเบื้องต้นและประกาศใช้ มาตรการป้องกันความเสี่ยงจากอุปกรณ์ความปลอดภัยขณะปฏิบัติงาน ให้ความรู้ สร้างทักษะและความตระหนักในความปลอดภัย (Safety First) จัดท�ำคู่มือประจ�ำรถ จัดหาและตรวจสอบความเพียงพอและพร้อมใช้ของอุปกรณ์
  • 19. ((PREVENTION) แนวปฏิบัติเพ�่อความปลอดภัย ของรถพยาบาลฉุกเฉิน EMERGENCY P reventio n 11 แนวปฏิบัติเพื่อความปลอดภัยของยานพาหนะ รถพยาบาลฉุกเฉิน (กรณีรถตู้ที่เป็นรถปฏิบัติการชั้นสูง และปฏิบัติการขั้นพื้นฐาน)
  • 33. ((PREVENTION) แนวปฏิบัติเพ�่อความปลอดภัย ของรถพยาบาลฉุกเฉิน EMERGENCY P reventio n 25 บทที่ 3 มาตรการและข้อกำ�หนดของพนักงานขับรถพยาบาลฉุกเฉิน
  • 35. ((PREVENTION) แนวปฏิบัติเพ�่อความปลอดภัย ของรถพยาบาลฉุกเฉิน EMERGENCY P reventio n 27 บทที่ 4 มาตรการและข้อกำ�หนดของพนักงานขับรถพยาบาลฉุกเฉิน ก. ขณะเดินทาง 1. การก�ำหนดรหัสการออกปฏิบัติการ รหัส 2 ผู้ป่วยฉุกเฉินวิกฤต ผู้ป่วยฉุกเฉินเร่งด่วน (คนไข้สีแดง และเหลือง) รหัส 1 ผู้ป่วยฉุกเฉินอื่นๆ ผู้ป่วยฉุกเฉินไม่รุนแรง (คนไข้สีเขียว) รหัส 0 ผู้ป่วยอื่นๆ 2. ศูนย์สื่อสารสั่งการ สั่งการการออกเหตุตามข้อมูลที่ได้รับจากการแจ้งเหตุ 3. รหัส 2 ผู้ป่วยฉุกเฉินวิกฤต (คนไข้สีแดง) ต้องได้รับการสั่งการโดย ศูนย์สื่อสารสั่งการเท่านั้น เมื่อได้รับการสั่งการให้ออกเหตุโดย รหัส 2 (แดง) ต้อง เปิดสัญญานไฟฉุกเฉินและเสียงไซเรนตลอดการเดินทาง รวมถึงการขับขี่รถพยาบาล ตามระเบียบปฏิบัติในกรณีฉุกเฉินวิกฤต 4. รหัส 1 ผู้ป่วยฉุกเฉินอื่นๆ ผู้ป่วยฉุกเฉินไม่รุนแรง (คนไข้สีเขียว) ให้เปิด สัญญาณไฟฉุกเฉินแต่ไม่ต้องเปิดเสียงไซเรนและขับขี่รถพยาบาลตามระเบียบการขับรถ ในภาวะปรกติ 5. รหัส 0 (ขาว) ไม่เปิดสัญญานไฟฉุกเฉิน และเสียงไซเรน และขับขี่ รถพยาบาลตามระเบียบการขับรถ ในภาวะปรกติ 6. เมื่อถึงจุดเกิดเหตุ หัวหน้าทีมกู้ชีพ ต้องประเมินสภาพผู้ป่วย แจ้ง ศูนย์สื่อสารสั่งการ เพื่อสั่งการให้น�ำส่งผู้ป่วย โดยใช้รหัส ตามสภาพของผู้ป่วย 7. ใช้ความเร็วในการขับขี่รถพยาบาลฉุกเฉินเมื่อได้รับรหัส 2 (แดงและเหลือง) มากกว่า อัตราความเร็ว ของอัตราความเร็วที่กฎหมายก�ำหนดในเทศบาล และนอก เขตเทศบาล ไม่เกิน 15 กม. หมายถึงในเขตเทศบาล ไม่เกิน 95 กม./ชม. และนอกเขต เทศบาล ไม่เกิน 135 กม./ชม. 8. เมื่อขับผ่านทางแยก จะต้องไม่ใช้ความเร็วเกินก�ำหนด ไม่ว่าจะเป็นรหัสสี อะไรก็ตาม
  • 36. แนวปฏิบัติเพ�่อความปลอดภัย ของรถพยาบาลฉุกเฉิน (PREVENTION) EMERGENCY P reventio n EMERGENCY P reventio n 28 9. เมื่อขับผ่านทางแยกไม่ว่าจะมีสัญญานไฟจราจรหรือไม่ จะต้องขับผ่านด้วย ความระมัดระวัง 10. เมื่อขับผ่านทางแยก ที่เป็นสัญญานไฟแดง หรือผ่านทางรถไฟ จะต้อง หยุด ก่อนที่จะขับต่อไปด้วยความระมัดระวัง 11. ในถนนที่มีหลายเลน การเปลี่ยนเลน ให้ปฏิบัติเหมือนการขับรถผ่านทาง แยก 12. เมื่อมีความจ�ำเป็นต้องขับรถย้อนศร ให้ใช้ความเร็วไม่เกิน 30 กม./ชม. 13. รถพยาบาลฉุกเฉินจะต้องไม่เป็นรถพ่วง หรือรถบรรทุก (รถที่ใช้ปฏิบัติ การรหัส 2) 14. ผู้ขับขี่ต้องขับขี่ด้วยความระมัดระวังและเป็นไปตามมาตรา 75 ของพรบ. จราจรทางบก พ.ศ.2550 ข. ขณะจอดปฏิบัติงาน 1. การจอดรถพยาบาล ต้องเปิดสัญญานไฟฉุกเฉินทุกดวง 2. ต้องประเมินจุดเกิดหตุ และพิจารณาจอดรถในที่เกิดเหตุอย่างปลอดภัย 3. ต้องวางกรวยยางจราจรเป็นระยะ เพื่อป้องกันการเกิดเหตุซ้อน 4. จอดห่างจากที่เกิดเหตุ 15 เมตร 5. บุคลากรทุกคนที่ออกปฏิบัติงานต้องแต่งตัวด้วยชุดสะท้อนแสง มี กระบองไฟ มีคนรับผิดชอบควบคุมการจราจร ณ จุดเกิดเหตุ
  • 38. แนวปฏิบัติเพ�่อความปลอดภัย ของรถพยาบาลฉุกเฉิน (PREVENTION) EMERGENCY P reventio n EMERGENCY P reventio n 30 กฎหมายที่เกี่ยวข้อง การขับขี่รถให้ปลอดภัย ในการขับรถผู้ขับขี่ต้องขับรถในทางเดินรถด้านซ้ายและ ต้องไม่ล�้ำกึ่งกลางของทางเดินรถ เว้นแต่กรณีต่อไปนี้ที่ผู้ขับขี่สามารถขับล�้ำกึ่งกลางของ ทางเดินรถหรือขับเข้าไปในทางเดินรถด้านขวาได้ 1. ด้านซ้ายของทางเดินรถมีสิ่งกีดขวาง หรือถูกปิดการจราจร 2. ทางเดินรถนั้นเจ้าพนักงานจราจรก�ำหนดให้เป็นทางเดินรถทางเดียว 3. ทางเดินรถนั้นกว้างไม่ถึง 6 เมตร ห้ามผู้ขับขี่ขับรถในกรณี 1. ในขณะหย่อนความสามารถในอันที่จะขับ เช่น ภายหลังจากรับประทานยา แก้ไข้หวัด ในขณะง่วงนอน 2. ในขณะเมาสุราหรือของมึนเมาอย่างอื่น 3. ในลักษณะกีดขวางการจราจร 4. โดยประมาทหรือน่าหวาดเสียว อันอาจเกิดอันตรายแก่บุคคลหรือทรัพย์สิน 5. ในลักษณะที่ผิดปกติวิสัยของการขับรถตามธรรมดาหรือไม่อาจและเห็น ทางด้านหน้าหรือด้านหลัง ด้านใดด้านหนึ่ง หรือทั้งสองด้านได้พอแก่ความปลอดภัย 6. คร่อมหรือทับเส้นหรือแนวแบ่งช่องรถ เว้นแต่เมื่อต้องการเปลี่ยนช่อง เดินรถ เลี้ยวรถ หรือกลับรถ 7. บนทางเท้าโดยไม่มีเหตุอันควร เว้นแต่รถลากเข็นส�ำหรับทารก คนป่วย หรือคนพิการ 8. โดยไม่ค�ำนึงถึงความปลอดภัย หรือความเดือดร้อนของผู้อื่น 9. ในขณะที่เสพ หรือรับเข้าร่างกาย ไม่ว่าด้วยวิธีการใดๆ ซึ่งวัตถุที่ออกฤทธิ์ ต่อจิตและประสาทกลุ่มแอมเฟตามีน(ยาบ้า) หรือวัตถุที่ออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาท อย่างอื่น 10. ขับรถโดยไม่มีใบอนุญาตขับรถ 11. ขับรถบนไหล่ทาง เว้นแต่ได้รับอนุญาตจากเจ้าพนักงานจราจร 12. ใช้ไฟฉุกเฉินขณะขับรถตรงไปเพื่อผ่านทางร่วมทางแยก 13. ขับรถแข่ง เว้นแต่ได้รับอนุญาตจากเจ้าพนักงานจราจร
  • 39. ((PREVENTION) แนวปฏิบัติเพ�่อความปลอดภัย ของรถพยาบาลฉุกเฉิน EMERGENCY P reventio n 31 ข้อห้ามของผู้ขับรถ 1. ห้ามอนุญาตให้ผู้ที่ไม่มีใบอนุญาตขับรถ ขับรถของตน 2. ห้ามใช้แผ่นป้ายทะเบียนรถที่จัดท�ำขึ้นเอง 3. ห้ามให้ผู้อื่นใช้ใบอนุญาตขับรถของตน 4. ห้ามใช้รถที่ยังไม่ได้จดทะเบียน ขับขี่ขับรถลงจากทางลาดชันหรือภูเขา • ห้ามใช้เกียร์ว่าง • ห้ามเหยียบคลัทซ์ • ห้ามใช้เบรคตลอดเวลา • ห้ามดับเครื่องยนต์ • ใช้เกียร์ต�่ำ • ขับรถชิดขอบทางด้านซ้าย • ให้เสียงสัญญาณเตือนรถที่อาจสวนทางมา การขับรถสวนทางกัน 1. ให้ผู้ขับขี่ขับรถชิดทางด้านซ้ายของทางเดินรถ และให้ถือกึ่งกลางของทาง เดินรถหรือเส้นหรือแนวที่แบ่งทางเดินรถเป็นหลัก 2. ทางเดินรถที่แคบ ให้ผู้ขับขี่แต่ละฝ่าย ลดความเร็วของรถลง เพื่อให้สวน ทางกันได้โดยปลอดภัย 3. ทางเดินรถที่แคบ ซึ่งไม่อาจขับรถสวนทางกันได้โดยปลอดภัย ให้ผู้ขับขี่รถ คันที่ใหญ่กว่าหยุดรถชิดขอบทางด้านซ้าย เพื่อให้ผู้ขับรถคันที่เล็กกว่าขับผ่านไปก่อน 4. กรณีที่มีสิ่งกีดขวาง ผู้ขับขี่ต้องลดความเร็วหรือหยุดรถให้รถคันที่สวนทาง ขับผ่านมาก่อน
  • 40. แนวปฏิบัติเพ�่อความปลอดภัย ของรถพยาบาลฉุกเฉิน (PREVENTION) EMERGENCY P reventio n EMERGENCY P reventio n 32 ขับรถห่างจากรถคันหน้า • ผู้ขับขี่ต้องขับรถให้ห่างจากรถคันหน้าในระยะห่างพอสมควรในระยะที่ สามารถหยุดรถได้โดยปลอดภัย การขับรถผ่านทางร่วมทางแยก การขับรถผ่านทางร่วมทางแยกที่เป็นทางเอกตัดกัน และไม่ปรากฏสัญญาณ หรือเครื่องหมายจราจรผู้ขับขี่จะต้องปฏิบัติอย่างไร • ถ้ามีรถอื่นอยู่ในทางร่วมทางแยก ผู้ขับขี่ต้องให้รถในทางร่วมทางแยกนั้นขับ ผ่านไปก่อน • ถ้ามาถึงทางร่วมทางแยกพร้อมกัน และไม่มีรถอยู่ในทางร่วมทางแยกผู้ขับขี่ ต้องหยุดรถให้รถที่อยู่ทางด้านซ้ายของคนขับผ่านไปก่อน เมื่อผู้ขับขี่พบเครื่องหมาย เมื่อผู้ขับขี่พบเครื่องหมาย “เลี้ยวซ้ายผ่านตลอด” ผู้ขับขี่ควรหยุดให้ทางแก่ รถที่ก�ำลังผ่านทางร่วมทางแยกจากทางด้านขวาและให้ทางแก่รถที่เลี้ยวขวาก่อนจึงจะ เลี้ยวซ้ายผ่านไปได้ การเลี้ยวรถ ในการเลี้ยวรถผู้ขับขี่จะต้องขับรถในช่องทางเดินรถที่ต้องการจะเลี้ยวก่อนถึง ทางเลี้ยวไม่น้อยกว่าเมตร 30 เมตร ขับขี่พบรถฉุกเฉิน เมื่อขับขี่พบรถฉุกเฉินจะต้อง 1. หยุดรถ หรือจอดรถให้อยู่ชิดขอบทางด้านซ้าย แต้ถ้ามีช่องทางเดินรถ ประจ�ำรถทางให้หยุดชิดกับช่องทางเดินรถประจ�ำทาง แต่ห้ามหยุดหรือจอดรถในทาง ร่วมทางแยก 2. ขับรถตามหลังรถฉุกเฉินได้ในระยะไม่ต�่ำกว่า 50 เมตร
  • 41. ((PREVENTION) แนวปฏิบัติเพ�่อความปลอดภัย ของรถพยาบาลฉุกเฉิน EMERGENCY P reventio n 33 ลักษณะรถที่ห้ามน�ำมาใช้ในทาง 1. รถที่มีสภาพไม่มั่นคงแข็งแรง มีส่วนควบอุปกรณ์ไม่ครบถ้วนตามที่กฏมาย ก�ำหนด หรืออาจเกิดอันตราย หรือเสื่อมเสียสุขภาพอนามัยแก่ผู้ใช้รถ คนโดยสารหรือ ประชาชน เช่น รถที่มีโคมไฟหน้าหรือโคมไฟท้ายช�ำรุด รถที่มีเสียงดังเกิน 85 เดซิเบล รถที่มีควันด�ำเกินเกณฑ์ที่ทางราชการก�ำหนด รถที่ไม่มีกระจกด้านหน้า เป็นต้น 2.รถที่ไม่ติดแผ่นป้ายทะเบียน(ไม่ว่าจะ1หรือ2แผ่นป้าย)ไม่ติดเครื่องหมาย แสดงการเสียภาษี หรือเครื่องหมายอื่นๆ ที่กฏหมายที่เกี่ยวข้องกับรถก�ำหนด 3. รถที่มีเสียงอื้ออึงหรือมีสิ่งลากถูไปบนทางเดินรถ 4. รถที่มีล้อหรือส่วนที่สัมผัสกับผิวทางที่ไม่ใช่ยาง ยกเว้น รถที่ใช้ในราชการ สงคราม หรือรถที่ใช้ในราชการต�ำรวจ 5. รถที่มีเสียงแตรได้ยินในระยะน้อยกว่า 60 เมตร 6. รถที่ผู้ขับขี่ยอมให้ผู้อื่นนั่งที่นั่งแถวหน้าเกินกว่า 2 คน 7. รถที่ไม่ได้เสียภาษีประจ�ำปี 8. รถที่ใช้แผ่นป้ายที่ท�ำขึ้นเอง การติดตั้งสัญญาณไฟวาบวาบ ตาม พ.ร.บ.จราจรทางบก พ.ศ. 2522 มาตรา 4 ได้ให้ค�ำนิยามของ “รถฉุกเฉิน” ไว้ว่า รถดับเพลิงและรถพยาบาลของราชการบริหารส่วนกลาง ราชการ บริหารส่วนภูมิภาคและราชการบริหารส่วนท้องถิ่น หรือรถอื่นที่ได้รับอนุญาตจากอธิบดี ให้ใช้ไฟสัญญาณแสงวับวาบ หรือให้ใช้เสียงสัญญาณไซเรนหรือเสียงสัญญาณอย่างอื่น ตามที่จะก�ำหนดให้ และ พ.ร.บ.ดังกล่าว ได้บัญญัติเกี่ยวกับการปฏิบัติของรถฉุกเฉินไว้ ดังนี้ มาตรา 75 ในขณะที่ผู้ขับขี่ขับรถฉุกเฉินไปปฏิบัติหน้าที่ ผู้ขับขี่มีสิทธิดังนี้ (1) ใช้ไฟสัญญาณแสงวับวาบ ใช้เสียงสัญญาณไซเรน หรือเสียงสัญญาณอย่าง อื่นตามที่อธิบดีก�ำหนดไว้ (2) หยุดรถหรือจอดรถ ณ ที่ห้ามจอด (3) ขับรถเกินอัตราความเร็วที่ก�ำหนดไว้
  • 42. แนวปฏิบัติเพ�่อความปลอดภัย ของรถพยาบาลฉุกเฉิน (PREVENTION) EMERGENCY P reventio n EMERGENCY P reventio n 34 (4) ขับรถผ่านสัญญาณจราจรหรือเครื่องหมายจราจรใด ๆ ที่ให้รถหยุด แต่ ต้องลดความเร็วของรถให้ช้าลงตามสมควร 5) ไม่ต้องปฏิบัติตามบทแห่งพระราชบัญญัตินี้หรือข้อบังคับการจราจรเกี่ยว กับช่องเดินรถ ทิศทางของการขับรถหรือการเลี้ยวรถที่ก�ำหนดไว้ ในการปฏิบัติตามวรรคหนึ่ง ผู้ขับขี่ต้องใช้ความระมัดระวังตามควรแก่กรณี มาตรา 76 เมื่อคนเดินเท้า ผู้ขับขี่ หรือผู้ขี่หรือควบคุมสัตว์เห็นรถฉุกเฉินใน ขณะปฏิบัติหน้าที่ใช้ไฟสัญญาณแสงวับวาบ หรือได้ยินเสียงสัญญาณไซเรน หรือเสียง สัญญาณอย่างอื่นตามที่อธิบดีก�ำหนดไว้ คนเดินเท้า ผู้ขับขี่ หรือผู้ขี่หรือควบคุมสัตว์ต้อง ให้รถฉุกเฉินผ่านไปก่อนโดยปฏิบัติดังต่อไปนี้ (1) ส�ำหรับคนเดินเท้าต้องหยุดและหลบให้ชิดขอบทาง หรือขึ้นไปบนทางเขต ปลอดภัย หรือไหล่ทางที่ใกล้ที่สุด (2) ส�ำหรับผู้ขับขี่ต้องหยุดรถหรือจอดรถให้อยู่ชิดขอบทางด้านซ้าย หรือใน กรณีที่มีช่องเดินรถประจ�ำทางอยู่ทางด้านซ้ายสุดของทางเดินรถ ต้องหยุดรถหรือจอด รถให้อยู่ชิดช่องเดินรถประจ�ำทาง แต่ห้ามหยุดรถหรือจอดรถในทางร่วมทางแยก (3) ส�ำหรับผู้ขี่หรือควบคุมสัตว์ต้องบังคับสัตว์ให้หยุดชิดทาง แต่ห้ามหยุดใน ทางร่วมทางแยก ในการปฏิบัติตาม (2) และ (3) ผู้ขับขี่และผู้ขี่หรือควบคุมสัตว์ต้องรีบ กระท�ำโดยเร็วที่สุดเท่าที่จะกระท�ำได้และต้องใช้ความระมัดระวังตามควรแก่กรณี มาตรา 148 ผู้ใดฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามมาตรา 76 ต้องระวางโทษปรับ ไม่เกินห้าร้อยบาท
  • 43. ((PREVENTION) แนวปฏิบัติเพ�่อความปลอดภัย ของรถพยาบาลฉุกเฉิน EMERGENCY P reventio n 35 ตรวจเช็คสภาพรถยนต์ทั่วไป 24 รายการ เช็คทั่วไป 1. ที่ปัดน�้ำฝน / น�้ำล้างกระจก  2. ระดับน�้ำมันเครื่อง  3. ระดับน�้ำในถังส�ำรอง / ระดับน�้ำยาหล่อเย็น  4. ระดับน�้ำมันเบรก  5. ระดับน�้ำมันพาวเวอร์  6. ไส้กรองอากาศเครื่องยนต์  7. แบตเตอรี่ / ระดับน�้ำกลั่น  8. สภาพยางรถยนต์ เช็คเพิ่มเติม  9. ตรวจเสียงเครื่องยนต์ขณะสตาร์ท  10. สายพานต่างๆ  11. ระบบไฟส่องสว่าง / แตร  12. เข็มขัดนิรภัย  13. ระดับน�้ำมันเกียร์  14. ระบบฟรีแป้นเหยียบ / คลัทช์ / เบรกมือ  15. ยางกันฝุ่นเพลาขับ  16. โช้คอัพหน้า-หลัง  17. ลูกหมากปีกนก  18. ลูกปืนล้อ  19. ระบบเครื่องปรับอากาศ พัดลมและน�้ำยา  20. รอยรั่วและความผิดปกติของ เครื่องยนต์  21. รอยรั่วและความผิดปกติของ เกียร์  22. รอยรั่วแล้วความผิดปกติของ หม้อน�้ำ  23. รอยรั่วและความผิดปกติของ ท่อทางน�้ำ  24. รอยรั่วและความผิดปกติของ พวงมาลัยพาวเวอร์
  • 56. แนวปฏิบัติเพ�่อความปลอดภัย ของรถพยาบาลฉุกเฉิน (PREVENTION) EMERGENCY P reventio n EMERGENCY P reventio n 48 รายชื่อคณะทำ�งานและให้ความเห็น ที่ร่วมพิจารณา คู่มือมาตรฐานความปลอดภัยของรถพยาบาลฉุกเฉิน พนักงานขับรถพยาบาล ที่ปรึกษา 1. นายแพทย์อนุชา เศรษฐเสถียร เลขาธิการสถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ 2. นายแพทย์อนุรักษ์ เพชรสถาพร ผู้อำ�นวยการสำ�นักสาธารณสุขฉุกเฉิน คณะทำ�งานและให้ความเห็น 1.นายแพทย์วิทยา ชาติบัญชาชัย โรงพยาบาลขอนแก่น ประธานคณะทำ�งาน 2. นายแพทย์ไพโรจน์ บุญศิริคำ�ชัย สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ 3. นายแพทย์ธนพงศ์ จินวงษ์ ศูนย์วิชาการเพื่อความปลอดภัยทางถนน (ศวปถ.) 4. ดร.วิภาดา วิจักขณาลัญน์ วิทยาลัยสาธารณสุขสิรินธรจังหวัดขอนแก่น 5. อ.ธัญญลักษณ์ ศรีจันทวิโรฒ สำ�นักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศัย 6. นางสาวสุนันทา ศรอนุสิน สภากาชาดไทย 7. นางปวีนุช จีนกูล สถาบันโรคทรวงอก 8. นางสาวธัญรดี ครามเขียว สถาบันโรคทรวงอก 9. นายแพทย์เอกราช เพิ่มศรี สถาบันเวชศาสตร์ผู้สูงอายุ กรมแพทย์ 10. นางสาวอรวรรณ์ คูหา สถาบันเวชศาสตร์ผู้สูงอายุ กรมแพทย์ 11. นายแพทย์นพสิทธิ์ ธนะธีระพงศ์ โรงพยาบาลกรุงเทพ 12. นางนงนุช ตันติธรรม กรมควบคุมโรค 13. พ.ต.ต.ปริญญา มิ่งมงคล ผู้บังคับการตำ�รวจจราจร 14. พ.ต.ท.ภานุภาฬ ฉ่ำ�ประสิทธิ์ กองบังคับการตำ�รวจจราจร 15. แพทย์หญิงจันทิรา แก้วสัมฤทธิ์ โรงพยาบาลพระนั่งเกล้า (จ.นนทบุรี) 16. นายแพทย์เอนก สุภาพ โรงพยาบาลพุทธชินราช (จ.พิษณุโลก) 17. นายแพทย์ปกรณ์ นาระคล สำ�นักการสาธารณสุขฉุกเฉิน
  • 57. ((PREVENTION) แนวปฏิบัติเพ�่อความปลอดภัย ของรถพยาบาลฉุกเฉิน EMERGENCY P reventio n 49 คณะทำ�งานและให้ความเห็น 18. นายสุทัศน์ กองขุนทด สำ�นักสาธารณสุขฉุกเฉิน 19. นายวินัย ทองชุบ สำ�นักงานป้องกันและควบคุมโรคที่ 9 จ.พิษณุโลก 20. นางเบญจมาศ ปิงเมือง โรงพยาบาลพุทธชินราช (จ.พิษณุโลก) 21. นางสาวอัญชลี บัวทอง โรงพยาบาลพุทธชินราช (จ.พิษณุโลก) 22. แพทย์หญิงแสงดาว อุประ สำ�นักโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม 23. แพทย์หญิงชุลีกร ธนธิติกร สำ�นักโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม 24. นางนุชนารถ นาคขำ� 25. นางนิตยาภรณ์ สีหาบัว โรงพยาบาลขอนแก่น 26. นางสาวศิริกุล กุลเลียบ โรงพยาบาลขอนแก่น 27. คุณธัญรัสมิ์ ปิยวัชรเวลา โรงพยาบาลขอนแก่น 28. นายไพศาล โชติกล่อม โรงพยาบาลขอนแก่น 29.นางสาวเทวารักษ์ ภูครองนาค สำ�นักงานสาธารณสุขจังหวัดขอนแก่น 30. นางอนงค์ มณีศร ี สำ�นักงานสาธารณสุขจังหวัดสุรินทร์ 31. นางเทียนทอง บุญยรางกูร สำ�นักงานสาธารณสุขจังหวัดบุรีรัมย์ 32. นายทินกร นิลผาย เทศบาลนครรังสิต 33. นางสาวอัจฉราวดี สุจริต โรงพยาบาลเมโย 34. นายอภินันท์ สืบตระกุล โรงพยาบาลเมโย 35. นายสุรพล พูลเกษ มูลนิธิปอเต็กตึ๊ง 36. นายธีรวุฒิ คำ�ภิมาบุตร มูลนิธิปอเต็กตึ๊ง 37. นายอรัญ โตทวด มูลนิธิปอเต็กตึ๊ง 38. นายพุฒินันท์ วงษ์สุมาลี มูลนิธิปอเต็กตึ๊ง 39. นายวันจักร จันทร์สว่าง มูลนิธิพิทักกาญจน์ 40. นายไพศาล ศุภวังกุล มูลนิธิฮุก 31 41. นายวิสุทธิ์ กฤตยาอรรณพ มูลนิธิสว่างเมตตาธรรมสถาน 42. นายสุรชัย ศิลาวรรณ สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ 43. เรืออากาศเอกนายแพทย์อัจฉริยะ แพงมา สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ 44. นางสาวกมลทิพย์ แซ่เล้า สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ 45. นางพิศมัย พันธ์ครุฑ สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ 46. นายบุญฤทธิ์ เพชรรักษ์ สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ
  • 58. แนวปฏิบัติเพ�่อความปลอดภัย ของรถพยาบาลฉุกเฉิน (PREVENTION) EMERGENCY P reventio n EMERGENCY P reventio n 50 คณะทำ�งานและให้ความเห็น 47. นางสาวสุดารัตน์ นิราพาท สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ 48. นายอรรถพล ถาน้อย สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ 49. ดร.ปวีณ นราเมธกุล สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ 50. นางธัณณ์จิรา ธนาศิริธัชนันท์ สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ 51. นางนลินรัตน์ เรืองจิรายศ สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ 52. นายวสันต์ เวียนเสี้ยว สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ 53. ดร.เสกสรรค์ มานวิโรจน์ สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ 54. นายศิริชัย นิ่มมา สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ 55. นายวัฒนา ทองเอีย สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ 56. นางสาวณญาดา เผือกขำ� สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ 57. นายเกียรติคุณ เผ่าทรงฤทธิ์ สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ 58. นางนวนันทน์ อินทรักษ์ สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ 59. นางสาวคงขวัญ จันทร์แก้ว สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ 60. ว่าที่ร้อยเอกอรรณพ สุขไพบูลย์ สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ 61. นางสาวขนิษฐา ภูสีมุงคุณ สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ 62. นายประสงค์ เตชาภรณ์พงศ์ สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ
  • 59. ((PREVENTION) แนวปฏิบัติเพ�่อความปลอดภัย ของรถพยาบาลฉุกเฉิน EMERGENCY P reventio n 51 บรรณานุกรม กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข. คู่มือมาตรฐานความปลอดภัยและ สภาพแวดล้อมในโรงพยาบาล. 2556, นนทบุรี : กองวิศวกรรมการแพทย์ สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ. คู่มือแนวปฏิบัติการรับรองรถบริการการแพทย์ ฉุกเฉิน. 2556,นนทบุรี : สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ Office of Personal Management United States. Emergency Vehicle Operator (Ambulance) Training Course National Standard Curriculum, 1995
  • 64. แนวปฏิบัติเพ�่อความปลอดภัย ของรถพยาบาลฉุกเฉิน (PREVENTION) EMERGENCY P reventio n EMERGENCY P reventio n 56 เลขที่ 88/40 หมูที่ 4 อาคารเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว 84 พรรษา สาธารณสุขซอย 6 ถนนติวานนท ตำบลตลาดขวัญ อำเภอเมือง จังหวัดนนทบุรี 11000 โทรศัพท 0 2872 1669 โทรสาร 0 2872 1601-6