SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 35
Downloaden Sie, um offline zu lesen
โรคกลัวความรัก
(Philophobia)
ใบงานที่ 4 บทความสาหรับทาโครงงานคอมพิวเตอร์
สารบัญ
Statement of the problems
ที่มาและความสาคัญ
Objectives
วัตถุประสงค์
Results
ผลที่คาดว่าจาได้รับ
information
เนื้อหา
Creator
ผู้จัดทา
citation
แหล่งอ้างอิง
01 02
03 04
05 06
บนโลกใบนี้ที่เต็มไปด้วยโรคมากมาย หนึ่งในโรคที่สาคัญคือ ‚โรคทางจิต‛ ที่คน
มักจะมองข้าม ละเลย และ ไม่ได้ใส่ใจ เพราะมัวแต่ให้ความสาคัญกับ ‚ร่างกาย‛ ทั้งที่จริง
แล้ว สิ่งที่กาหนดตัวตนของเราจริงๆก็คือ ‚จิตใจ‛ ซึ่ง โรคบางชนิดผู้ป่วยอาจจะไม่
รู้สึกตัวเลยด้วยซ้า ว่าตนกาลังเป็นโรคชนิดนี้อยู่ และหนึ่งในโรคทางจิตใจ ที่อาจส่งผลต่อ
ร่างกาย และส่งผลต่อหลายๆด้านก็คือ โรคกลัวความรัก (Philophobia) ซึ่งจัดเป็นโรค
กลัวชนิดหนึ่ง ผู้ป่วยจะรู้สึก กลัวการมีความรักหรือ ความสัมพันธ์ที่ลึกซึ้งกับผู้อื่นจนไม่
กล้าเริ่มต้น หรืออาจรุนแรงถึงขั้นส่งผลต่อการใช้ชีวิต ซึ่ง ความกลัวที่เกิดขึ้น อาจส่งผล
ให้บางคนมีอาการทางร่างกาย เช่น ตื่นกลัว มีเหงื่อออก หัวใจเต้นเร็ว หายใจลาบาก
คลื่นไส้ เป็นต้น
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน
Statement of the problems
หากไม่ได้รับการรักษาอย่างถูกต้อง
อาจส่งผลต่อสุขภาพจิตและเสี่ยงทาให้ผู้ป่วย
แยกตัวออกจากสังคม ได้ดังนั้นผู้จัดทาจึง
อยากจะเสนอและกระจายความรู้เกี่ยวกับวิธี
ป้องกันบุคคลที่เสี่ยงต่อการเกิดโรคกลัวความ
รัก และ แนวทางการรักษาโรคกลัวความรัก
อย่างถูกวิธี เพราะในบางครั้งผู้ป่วยก็ไม่
ต้องการจะบอกว่าตนเป็นโรค กลัวความรัก
เพราะฉะนั้น จึงต้องอาศัยความเข้าใจและเวลา
เพื่อที่จะเข้าไปอยู่ในโลกของผู้ป่วยและทาให้เขา
ไม่รู้สึกว่าอยู่เพียง ลาพัง และผู้ป่วยดังกล่าว
จะสามารถหายขาดจากโรคกลัวความรักได้
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน
Statement of the problems
วัตถุ
ประ
สงค์
วัตถุประสงค์
Objectives
1.เพื่อเสนอวิธีการวิธีป้องกันบุคคลที่เสี่ยงต่อ
การเกิดโรคกลัวความรัก
2.เพื่อเสนอแนวทางการรักษาโรคกลัวความรัก
อย่างถูกวิธี
3.เพื่อให้ผู้ป่วยเปิดใจที่จะรักษาและมีสภาพจิตใจ
ที่ดีขึ้น
4.เพื่อให้ผู้ป่วยหายขาดจากโรคกลัวความรัก
1. ผู้จัดทามีความเข้าใจหัวข้อที่สนใจมากขึ้น
2. สามารถนาไปประยุกต์ใช้กับการเรียนได้จริง
3. สามารถนาความรู้เผยแพร่ให้กับเพื่อน
นักเรียนได้
4. ผู้จัดทามีความเข้าใจในการทางานอย่างเป็น
ระบบมากขึ้น
4
ผลที่คาด
ว่าจาได้รับ
ผลที่คาดว่าจาได้รับ
Results
Philophobia คืออะไร
คาว่า Philo ที่มาจากภาษากรีก แปลว่า
ความรัก ดังนั้นมันก็คือ โรคกลัวความรัก
นั่นเอง ซึ่งผู้ที่ป่วยเป็นโรคนี้ จะพยายาม
หลีกเลี่ยงการเผชิญหน้ากับความรัก
พยายามที่จะไม่ให้ตัวเองรู้สึกว่ารักใคร หรือ
รู้สึกพิเศษกับใครเลยสักคน ต่อให้ในบางครั้ง
จะรู้สึกดีกับใครขึ้นมาบ้าง แต่สุดท้ายก็จะไม่
ยอมเปิดใจและถอยห่างออกมาโดยไม่ทราบ
สาเหตุ
เนื้อหา
information
1
1.เหตุการณ์ในแง่ลบที่ฝังใจมา
ตั้งแต่เด็ก
โดยเฉพาะคนที่โตมาในครอบครัว
ที่มีความแตกแยกเกิดขึ้น พ่อแม่
หย่าร้าง ทะเลาะตบตีกันให้เห็น
หรือคนใกล้ตัวที่มีชีวิตรักไป
ในทางที่ไม่ค่อยดีนัก จะทาให้เรา
จาภาพนั้นและฝังเข้าไปใน
ความคิดของตัวเองได้โดยไม่รู้ตัว
2.วัฒนธรรม หรือศาสนา ที่มีข้อ
ห้ามเกี่ยวกับความรัก
อาจมีข้อห้ามหรือกรอบกฎเกณฑ์
บังคับเอาไว้ให้กับความรักอย่าง
ชัดเจน เหมือนอย่างที่เราเคยเห็น
ในละคร เวลาที่พ่อแม่ของฝ่าย
หญิงกีดกัน ทาให้ไม่สามารถรัก
กัน
2
เนื้อหา
information
สาเหตุเกิดจากอะไรได้บ้าง
3.การล้มเหลวในความรักซ้าๆ
มีรักเมื่อไหร่ก็ต้องเจ็บปวดและ
เลิกรากันไปทุกที เมื่อต้องเป็น
อย่างนั้นอยู่ตลอด อาจทาให้คุณ
ปฏิเสธที่จะมีรักครั้งใหม่ไปเลยก็ได้
4.รู้สึกว่าตัวเองหดหู่ เห็นคุณค่าใน
ตัวเองต่า
ถ้าเป็นอย่างนั้นจะทาให้คุณคิดว่า ตัว
เราเองไม่มีค่าพอที่จะเหมาะสมกับใคร
สักคน เลือกที่จะไม่สร้างความสัมพันธ์
กับใครอย่างลึกซึ้ง ต่อให้คนคนนั้นเป็น
คนที่ชอบก็ตาม
3 4
เนื้อหา
information
สาเหตุเกิดจากอะไรได้บ้าง
1.รู้สึกกังวลใจ หรือทนรับความรู้สึกไม่ได้ ทุกครั้งที่
เริ่มหวั่นไหวไปกับความรัก จนบางทีอาจทาให้เกิด
ความเครียด
2.จะพยายามอย่างสุดโต่ง หักห้ามใจ
ตัวเองไม่ให้จมดิ่งลงไปกับความรู้สึกรัก
3.หลีกเลี่ยงสถานที่ที่เหล่าคู่รักชอบไป
กัน เช่น โรงหนัง สวนสาธารณะ
เนื้อหา
information
อาการไหนบ้างที่จะบอกว่าคุณป่วยเป็นโรคนี้
เนื้อหา
information
อาการไหนบ้างที่จะบอกว่าคุณป่วยเป็นโรคนี้
4.ชอบใช้ชีวิตคนเดียว แต่ไม่ใช่เพราะว่ารักสันโดษ
ทาไปเพื่อป้องกันไม่ให้ตัวเองต้องไปเจอกับคน
ที่อาจทาให้รู้สึกหวั่นไหวได้
5.ไม่เปิดใจ ปิดกั้นตัวเองไม่ให้ใครสามารถเข้ามาทาให้รู้สึกว่ารักได้
6.ประเมินคนรอบข้างว่าจริงใจ หรือรักเรามากแค่ไหน
และจะมอบความรู้สึกเดียวกันกลับไปให้คนคนนั้น
เพราะกลัวว่าถ้าให้ไปมากกว่าคนอื่น อาจต้องเจอกับความผิดหวังได้
7.เวลาที่ต้องเจอกับบรรยากาศโรแมนติกหวานๆ
หรือมีคนพยายามตามจีบเราอย่างชัดเจน
อาจมีอาการที่แสดงออกมาทางร่างกาย
เช่นหัวใจเต้นเร็ว เหงื่อออก หายใจติดขัด คลื่นไส้
หรือโดนเข้าหาหนักๆ ก็อาจเป็นลมได้
ผู้ป่วยบางรายที่มีอาการรุนแรง อาจทาให้มีปัญหาในการใช้
ชีวิตประจาวันได้ อย่างเช่น การหลีกหนีออกจากสังคม เก็บ
กด อยู่แต่กับตัวเอง เงียบขรึม เป็นต้น เพราะว่าความกลัว
ไม่ได้มีเพียงชีวิตคู่เท่านั้น แต่รวมถึงความรักที่มีให้กับคนใน
ครอบครัว เพื่อน และคนรอบข้างอีกด้วย
ทั้งหมดอาจทาให้เกิดความเครียด ความกดดันจนเป็นบ่อ
เกิดให้กับปัญหาสุขภาพที่ตามมาทีหลังได้ เพราะฉะนั้นเมื่อ
รู้สึกว่าตัวเองมีอาการดังกล่าวมากๆ เข้า ก็ควรที่จะลองไป
พบแพทย์ดูก่อน
อาการที่เป็นต้องอยู่ในระดับไหน ถึงควรไปปรึกษาแพทย์
เนื้อหา
information
แนวทางการรักษา สามารถแบ่งได้ 3 วิธีดังต่อไปนี้
1.ความคิดและพฤติกรรมบาบัด (Cognitive
Behavioral Therapy)
คือการให้นักจิตวิทยาหรือจิตแพทย์เข้ามาพูดคุย และ
สร้างมุมมองให้คนไข้สามารถเข้าใจในสิ่งที่ตัวเองเป็นได้
ดีขึ้น จากการพูดคุยในเรื่องที่กลัว หรือใช้รูปภาพ วิดีโอ
เกี่ยวกับความรักเข้ามาช่วย เพื่อให้ผู้ป่วยมีทัศนคติใน
แง่บวกเกี่ยวกับความรัก และสามารถจัดการกับกับ
ความรู้สึกตัวเองได้ดีขึ้น
โรคนี้รักษาได้อย่างไรบ้าง
M o r e . .
เนื้อหา
information
เป็นวิธีที่ค่อนข้างได้ผลมากพอสมควร
โดยผู้เชี่ยวชาญจะจาลองให้ผู้ป่วยเผชิญกับสถานการณ์โรแมนติก
มีเพศตรงข้ามเข้ามาชวนคุย หรือการเปิดหนังรักหวานซึ้ง
เพื่อฝึกให้สามารถลดแรงกดดัน และต้านทานความกลัวของตัวเองได้ดี
ขึ้น เวลาที่ไปเจอกับสถานการณ์จริง
2.การเผชิญหน้ากับสิ่งที่กลัวโดยตรง
เนื้อหา
information
3.การใช้ยา
รักษาด้วยยาคือตัวช่วยเสริมสาหรับคนไข้ที่มีความเครียด หรือวิตกกังวลเวลาที่ต้องเจอกับสิ่งที่กลัว ช่วยให้พวกเขาสามารถ
ควบคุมอารมณ์และการแสดงออกได้ดีขึ้น
เนื้อหา
information
ภาวะแทรกซ้อนของโรค
กลัวความรัก
ผู้ป่วยที่มีอาการกลัวอย่างมากจนส่งผลต่อการใช้ชีวิตประจาวัน ควรไปพบแพทย์เพื่อรับ
การตรวจรักษา เพราะหากปล่อยไว้อาจเสี่ยงทาให้ผู้ป่วยมีพฤติกรรมแยกตัวออกจาก
สังคม มีภาวะซึมเศร้าหรือภาวะวิตกกังวลได้ บางรายก็อาจเครียดจนหันไปพึ่งพา
แอลกอฮอล์และยาเสพติด หรืออาจถึงขั้นพยายามฆ่าตัวตายเพื่อจบปัญหา
เนื้อหา
information
การป้องกันโรคกลัวความรัก
ในปัจจุบันยังไม่ทราบสาเหตุที่แน่ชัดของโรคนี้ จึงยากที่จะ
ระบุวิธีป้องกันได้อย่างชัดเจน อย่างไรก็ตามพ่อแม่ หรือ
คุณครูอาจมีส่วนช่วยสอดส่องดูแล และเอาใส่ใจเด็ก เพื่อ
ป้องกันการกระทบกระเทือนทางจิตใจที่อาจเกิดขึ้น และ
กลายเป็นเรื่องฝังใจที่นาไปสู่โรคกลัวความรักได้เมื่อโตขึ้น
เนื้อหา
information
นายแพทย์อภิชาติ จริยาวิลาศ กล่าวว่า ‚อาการเหล่านี้อาจพบได้กับคนทั่วไป ซึ่งหากได้รับการให้กาลังใจที่ดี จะสามารถกลับมา
มีความรักได้ปกติ แต่กรณีคนที่เป็นโรคทางจิตเวชต่าง ๆ ประกอบ โดยเฉพาะโรคซึมเศร้า ตัวโรคจะทาให้พวกเขามองโลกในแง่
ลบ และไม่มั่นใจในตัวเอง กลัวว่าจะไม่สามารถรักษาความสัมพันธ์ หรือรักษาความรักไว้ได้ รวมถึงกลัวความผิดหวัง จึงไม่กล้า
มีความสัมพันธ์
การป้องกันโรคกลัว
ความรัก
เนื้อหา
information
หากกลัวมากจนถึงขนาดผิดปกติ จนส่งผลต่อสุขภาพ หรือเกิด
ความซึมเศร้า และไม่สามารถใช้ชีวิตร่วมกับคนรอบข้างได้ ถือ
เป็นสัญญาณว่าควรปรึกษาแพทย์ ถึงสิ่งที่กลัว หรือสิ่งที่กาลัง
มีปัญหา เพื่อให้แพทย์ช่วยวิเคราะห์ และแก้ไขต่อไป หากเกิดจาก
ประสบการณ์ในอดีต แพทย์จะให้คาแนะนาเพื่อการปรับตัวและ
สร้างความมั่นใจให้สามารถใช้ชีวิตปกติร่วมกับผู้อื่นได้‛
การป้องกันโรค
กลัวความรัก
เนื้อหา
information
หรือ โรคกลัวความรัก เป็นความกลัวเมื่อต้องเริ่มต้นสร้างความสัมพันธ์กับใคร โรค
นี้ไม่ได้น่ากลัวหรืออันตราย แต่หากมีอาการมากเกินไปอาจรบกวนการใช้
ชีวิตประจาวัน คือ วิตกกังวล กระสับกระส่าย เก็บตัว หลบหนีจากผู้คน ไม่กล้าเข้า
สังคม
โรคกลัวการตกหลุมรัก
(Philophobia)
เนื้อหา
information
1. เจ็บปวดจากครอบครัว เช่น ลูกที่
พ่อแม่ทะเลาะกัน หย่ากัน หรือมี
ความรุนแรงในครอบครัว หรือมี
ความรู้สึกที่ไม่ดีในครอบครัว ก็สร้าง
รอยแผลทาให้กลัวและไม่เชื่อมั่นใน
ความรักหรือการสร้างครอบครัว
กลัวว่ารักที่สวยงามโรแมนติกใน
ตอนเริ่ม แต่จุดสิ้นสุดกลับกลายเป็น
ความเศร้า
ความรักที่ใคร
ก็ตามหา ทาไม
ถึงต้องกลัว
เนื้อหา
information
2. อกหัก แผลรักจากอดีต คนที่มี
ประสบการณ์รักผิดหวังรุนแรง หรือ
อกหักมาหลายครั้ง ทาให้เข็ดกับ
ความรัก จนส่งผลให้เป็นโรคกลัว
ความรักไปเลย
ความรักที่ใคร
ก็ตามหา ทาไม
ถึงต้องกลัว
เนื้อหา
information
3. วัฒนธรรมหรือศาสนา ในบาง
สังคมวัฒนธรรมที่จับคลุมถุงชน
โดนบังคับให้แต่งงานทั้งที่ไม่ได้เกิด
จากความรัก หรือเคร่งครัด มีกฏ
ระเบียบเรื่องความสัมพันธ์มาก
เกินไป โดนกีดกันความรักจาก
ครอบครัว
ความรักที่ใคร
ก็ตามหา ทาไม
ถึงต้องกลัว
เนื้อหา
information
4. ไม่เห็นคุณค่าของตัวเอง ขาดความ
เชื่อมั่น หรือการเคารพตัวเอง ไม่เห็น
ว่าตัวเองมีคุณค่า เหมาะสมพอที่จะ
ได้รับความรักจากใคร ทาให้เลือกที่
จะปิดตัวเอง
ความรักที่ใคร
ก็ตามหา ทาไม
ถึงต้องกลัว
เนื้อหา
information
เช็กลิสต์ สัญญาณว่าคุณอาจจะเป็นโรคกลัวความรัก
2. เมื่อต้องเริ่มความสัมพันธ์
เจอโมเม้นต์หวาน ๆ เช่น มีคนมา
จีบ จะมีอาการเครียดวิตกกังวล
กระสับกระส่าย หายใจถี่ หัว
ใจเต้นเร็ว คลื่นไส้ เหมือนจะเป็น
ลม
3. เหม็นความรัก ไม่ชอบดูหนัง
รัก รับไม่ได้กับเรื่องโรแมนติก
กลัวการไปงานแต่งงาน
5. บางคนอาจจะมีเซ็กซ์ได้แค่มีความรู้สึกทางกาย แต่จะรู้สึกเครียด วิตกกังวล อึดอัดใจหลังมีเซ็กส์
1. ไม่กล้าเริ่มต้นสร้าง
ความความสัมพันธ์กับใคร
ไม่เปิดใจเมื่อมีคนมาชอบ
4. เก็บตัว ชอบอยู่คนเดียว
ไม่กล้าเข้าสังคม ไม่ไว้ใจใคร
เนื้อหา
information
โรคนี้รักษาได้ ถ้าไม่อยากอยู่ตัวคนเดียวอีกต่อไป
ถ้าเริ่มรู้สึกว่าโรคนี้มีอาการรุนแรง เริ่มส่งผลกับชีวิต อาจจะต้องเริ่มปรึกษาจิตแพทย์ หรือนักจิตวิทยา การรักษา
มี 3 แนวทางหลัก ๆ คือ
1. พฤติกรรมบาบัด พูดคุย
กับจิตแพทย์ ให้ช่วยปรับ
ทัศนคติต่อความรัก หรือ
ความสัมพันธ์ ทาให้มอง
ความรักในแง่บวก หาแง่ดี
ของความรัก
3. รักษาด้วยการใช้
ยา สุดท้ายถ้าลองปรับ
พฤติกรรมแล้ว แต่อาการ
วิตกกังวล หวาดกลัวยัง
ไม่ดีขึ้น อาจต้องใช้ยา
รักษา
2. เผชิญหน้ากับความกลัว ถ้ากลัว
อะไรก็ให้เผชิญหน้าตรงๆ กับสิ่งนั้น
แต่ต้องมีจิตแพทย์คอยแนะนา เช่น
ถ้ากลัวความรัก จิตแพทย์อาจจะให้
ลองหักดิบความกลัว เช่น เข้าไปคุย
กับเพศตรงข้ามก่อนเลย หรือทา
อะไรหวาน ๆ เลี่ยน ๆ ที่ไม่อยากทา
เช่น ไปดูหนังรัก ไปงานแต่งงาน
เนื้อหา
information
โรคกลัวความรัก ปล่อยไว้ อันตรายไหม
โดยปกติโรคกลัวความรักไม่ได้อันตราย แต่หากมีอาการรุนแรง หรือมีอาการอื่นแทรกซ้อน และไม่ได้รับการบาบัดรักษา
อาจเพิ่มความเสี่ยงให้เกิดผลกระทบรุนแรง คือ
1 2
43
กลายเป็นคนหลีกหนีจากสังคม ไม่พบปะผู้คน
เสี่ยงติดยาหรือติดแอลกอฮอล์
เป็นโรคซึมเศร้า วิตกกังวล
ฆ่าตัวตาย
เนื้อหา
information
ธรรมชาติของมนุษย์ทุกคนต้องการความรัก GedGoodLife
ขอเป็นกาลังใจให้ทุกคนที่กาลังหวาดกลัวจากความรัก ให้กล้าเผชิญหน้ากับความกลัว
และเริ่มต้นที่จะรักใครสักคนได้อีกครั้ง
ตัวอย่าง คลิปเกี่ยวกับโรคกลัวความรัก
Philophobia
Philophobia
หญิงสาวผู้กลัวฝน
Philophobia โรคกลัวการ
ตกหลุมรัก ที่กาลังระบาด
หนัก | ตีสองสยองขวัญ
2016 2017 2018
Philophobia
โรคกลัวความรัก I H&B Channel
ผู้จัดทา
นางสาว ธนภร สุขนิรันดร์
เลขที่ 27
ม. 6/8
นางสาว ศุภมาส ศรีสวัสดิ์
เลขที่ 32
ม. 6/8
end
เหมียวตะปู. (2560). [ออนไลน์]. มารู้จักกับอาการ Philophobia
หรือ ‘โรคกลัวความรัก’ สารวจตัวเองว่า คุณก็
เป็น รึเปล่า. เข้าถึงได้จาก :
https://www.catdumb.com/what-is-philophobia/ (วันที่
สืบค้นข้อมูล : 21 พฤศจิกายน 2562)
เชียงใหม่นิวส์. (2562). [ออนไลน์]. โรคกลัวความรัก ถ้ารักได้…
รักไปแล้ว. เข้าถึงได้จาก :
https://www.chiangmainews.co.th/page/archives/89533
4 (วันที่สืบค้นข้อมูล : 21 พฤศจิกายน 2562)
GedGoodLife. (2562). [ออนไลน์]. เป็นโสดเพราะ ‚โรคกลัว
ความรัก‛ อยู่หรือเปล่า. เข้าถึงได้จาก :
https://www.gedgoodlife.com/health/8111-philophobia/
(วันที่สืบค้นข้อมูล : 21 พฤศจิกายน 2562)
แหล่งอ้างอิง
แหล่งอ้างอิง
citation

Weitere ähnliche Inhalte

Ähnlich wie Philophobia

Attention deficit hyperactivity disorder (adhd)
Attention deficit hyperactivity disorder (adhd)Attention deficit hyperactivity disorder (adhd)
Attention deficit hyperactivity disorder (adhd)Utai Sukviwatsirikul
 
Final project.pp
Final project.ppFinal project.pp
Final project.ppmew46716
 
โครงงาน โรคไบโพลาร์-Bipolar-คนสองบุคลิก
โครงงาน โรคไบโพลาร์-Bipolar-คนสองบุคลิกโครงงาน โรคไบโพลาร์-Bipolar-คนสองบุคลิก
โครงงาน โรคไบโพลาร์-Bipolar-คนสองบุคลิกphurinwisachai
 
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาโรคสมาธิสั้น
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาโรคสมาธิสั้นแนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาโรคสมาธิสั้น
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาโรคสมาธิสั้นUtai Sukviwatsirikul
 
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคสมาธิสั้น
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคสมาธิสั้น แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคสมาธิสั้น
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคสมาธิสั้น Utai Sukviwatsirikul
 
สูงวัยกับโรคซึมเศร้าใหม่
สูงวัยกับโรคซึมเศร้าใหม่สูงวัยกับโรคซึมเศร้าใหม่
สูงวัยกับโรคซึมเศร้าใหม่Gear Tanatchaporn
 
ความรู้เรื่องยาเสพติด
ความรู้เรื่องยาเสพติดความรู้เรื่องยาเสพติด
ความรู้เรื่องยาเสพติดจ๊ะจ๋า ขอทาน
 
โรคความผิดปกติทางจิตใจภายหลังภยันตรายในเด็ก
โรคความผิดปกติทางจิตใจภายหลังภยันตรายในเด็กโรคความผิดปกติทางจิตใจภายหลังภยันตรายในเด็ก
โรคความผิดปกติทางจิตใจภายหลังภยันตรายในเด็กUtai Sukviwatsirikul
 
2562 final-project 22
2562 final-project 222562 final-project 22
2562 final-project 22Napisa22
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง โรคซึมเศร้า
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง โรคซึมเศร้าโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง โรคซึมเศร้า
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง โรคซึมเศร้าธนัชพร ส่งงาน
 
ความปลอดภัยในชีวิต 1
ความปลอดภัยในชีวิต 1ความปลอดภัยในชีวิต 1
ความปลอดภัยในชีวิต 1Nooa Love
 
ความปลอดภัยในชีวิต 1
ความปลอดภัยในชีวิต 1ความปลอดภัยในชีวิต 1
ความปลอดภัยในชีวิต 1Nooa Love
 
สิ่งเสพติด4
สิ่งเสพติด4สิ่งเสพติด4
สิ่งเสพติด4linnoi
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8Tuk Diving
 

Ähnlich wie Philophobia (20)

Attention deficit hyperactivity disorder (adhd)
Attention deficit hyperactivity disorder (adhd)Attention deficit hyperactivity disorder (adhd)
Attention deficit hyperactivity disorder (adhd)
 
Final project.pp
Final project.ppFinal project.pp
Final project.pp
 
โครงงาน โรคไบโพลาร์-Bipolar-คนสองบุคลิก
โครงงาน โรคไบโพลาร์-Bipolar-คนสองบุคลิกโครงงาน โรคไบโพลาร์-Bipolar-คนสองบุคลิก
โครงงาน โรคไบโพลาร์-Bipolar-คนสองบุคลิก
 
Cpg ADHD
Cpg ADHDCpg ADHD
Cpg ADHD
 
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาโรคสมาธิสั้น
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาโรคสมาธิสั้นแนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาโรคสมาธิสั้น
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาโรคสมาธิสั้น
 
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคสมาธิสั้น
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคสมาธิสั้น แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคสมาธิสั้น
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคสมาธิสั้น
 
สูงวัยกับโรคซึมเศร้าใหม่
สูงวัยกับโรคซึมเศร้าใหม่สูงวัยกับโรคซึมเศร้าใหม่
สูงวัยกับโรคซึมเศร้าใหม่
 
ความรู้เรื่องยาเสพติด
ความรู้เรื่องยาเสพติดความรู้เรื่องยาเสพติด
ความรู้เรื่องยาเสพติด
 
01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ
 
Final Project
Final ProjectFinal Project
Final Project
 
โรคความผิดปกติทางจิตใจภายหลังภยันตรายในเด็ก
โรคความผิดปกติทางจิตใจภายหลังภยันตรายในเด็กโรคความผิดปกติทางจิตใจภายหลังภยันตรายในเด็ก
โรคความผิดปกติทางจิตใจภายหลังภยันตรายในเด็ก
 
2562 final-project 22
2562 final-project 222562 final-project 22
2562 final-project 22
 
ยาเสพติด
ยาเสพติดยาเสพติด
ยาเสพติด
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง โรคซึมเศร้า
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง โรคซึมเศร้าโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง โรคซึมเศร้า
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง โรคซึมเศร้า
 
ความปลอดภัยในชีวิต 1
ความปลอดภัยในชีวิต 1ความปลอดภัยในชีวิต 1
ความปลอดภัยในชีวิต 1
 
ความปลอดภัยในชีวิต 1
ความปลอดภัยในชีวิต 1ความปลอดภัยในชีวิต 1
ความปลอดภัยในชีวิต 1
 
April wellnesmag
April wellnesmagApril wellnesmag
April wellnesmag
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
สิ่งเสพติด4
สิ่งเสพติด4สิ่งเสพติด4
สิ่งเสพติด4
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8
 

Philophobia