SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 22
Downloaden Sie, um offline zu lesen
เสวนา กสทช. กับ การกากับดูแลกิจการโทรคมนาคม
การจัดสรรคลื่นความถี่
ดร. สุพจน์ เธียรวุฒิ
13 พฤษภาคม 2559
งานขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะ NBTC Policy Watch: 5 ปี กสทช. กับอนาคตการสื่อสารไทย
ข่าวการประมูลคลื่น 900 MHz
15 ธันวาคม เริ่มแล้ว ประมูล 4จี คลื่น 900MHz เชื่อแข่งเดือด!
18 ธันวาคม เคาะมาราธอน เข้าวันที่ 4 ทะลุ 6.9 หมื่นล้าน ทุบสถิติประมูล 4G คลื่น 900
19 ธันวาคม ล็อกถล่ม! ประมูล 4จี'แจส-ทรู'ซิวคลื่น 900 MHz เงินเข้ารัฐกว่า1.5แสนล.
กสทช.แจงสรุปผลประมูล 4G /900 โปร่งใส แข่งขันเสรี
12 มีนาคม ทรูมูฟเอชจ่ายจริงค่า 4 จี “ศุภชัย” ใจป้าให้ใช้คลื่น 900 ฟรีกันซิมดับ
21 มีนาคม 'แจส' ทิ้งคลื่น4จี ไม่จ่าย '7หมื่นล้าน'
2
ข่าวการประมูลคลื่น 900 MHz
23 มีนาคม นายกฯให้ประมูลใหม่ 'แจส'โยนกสทช.ไม่ผ่อนเงื่อนเวลา
24 มีนาคม เล็งฟ้องแพ่งอาญา-ปั่นหุ้นแจส ประมูลใหม่ มิ.ย.เริ่ม 7.5 หมื่นล้านดีแทคเมิน
4 เมษายน เอไอเอสยอมเซ้งต่อคลื่นแจส
5 เมษายน กสทช.จ่อชงใช้ ม.44 กู้หน้าไร้เงาผู้ประมูล
ตัดสิทธิ์ทรูเข้าร่วมประมูล 4จี รอบสอง
6 เมษายน ทีดีอาร์ไอเห็นด้วยเอไอเอสรับช่วงต่อแจส
8 เมษายน วิษณุ คาด เปิดประมูล 4จีใหม่ กลางพ.ค. เคาะ 75,654 ล้านบาท
12 เมษายน งัดม.44-ให้ประมูล 4 จี กาหนด 27 พ.ค. เริ่มที่ 75,654 ล. ยันไม่มีซิมดับ
3
คลื่นความถี่กับเทคโนโลยีโทรศัพท์เคลื่อนที่
เทคโนโลยียุค 2G 3G 4G 5G
ความเร็วในการ
รับส่งข้อมูล
> 64 kbps > 2 Mbps >100 Mbps > 1 Gbps
ปริมาณคลื่นความถี่
ที่ต้องการ
5 MHz 10 MHz 10s MHz 100s MHz
ย่านความถี่ที่ใช้ 850/900/
1800 MHz
2.1 GHz 1800 MHz + 24-27, 37-
52, 66-76,
81-86 GHz
5
อัตราการเข้าถึงบริการโทรศัพท์เคลื่อนที่
-20
0
20
40
60
80
0%
20%
40%
60%
80%
100%
120%
140%
160%
2003 2004 2005 2006 2007 2008 2009 2010 2011 2012 2013 2014 2015
Mobile Penetration Growth (%)
ตั้ง กทช.
ปรับเลขหมาย
เป็น 10 หลัก ตั้ง กสทช.
เริ่มบริการคงสิทธิ
เลขหมาย
ประมูลคลื่น
2100 MHz
ประมูลคลื่น
1800, 900 MHz
สิ้นสุดลงทะเบียน
พรีเพด
ที่มา: ข้อมูลจากเว็บไซต์ สานักงาน กสทช. และประกาศที่เกี่ยวข้อง
6
วัตถุประสงค์ของการประมูล
กสทช. กาหนดวัตถุประสงค์ของการประมูลเรียงตามลาดับความสาคัญดังต่อไปนี้
1. เพื่อการจัดสรรคลื่นความถี่อย่างมีประสิทธิภาพและเกิดประโยชน์สูงสุดต่อประชาชนส่วนรวม
2. เพื่อส่งเสริมการแข่งขันในตลาด การปรับปรุงคุณภาพบริการ และการลดต้นทุนในการให้บริการ เพื่อ
ประโยชน์ต่อผู้บริโภคโดยรวม
3. เพื่อให้เกิดความโปร่งใสในการประมูล ทั้งนี้เพื่อให้ทุกฝ่ายยอมรับผลของการประมูล
4. เพื่อการพัฒนาตลาดโทรคมนาคมในประเทศ ซึ่งรวมถึงการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน และการให้บริการ
5. การแสวงหารายได้เข้ารัฐ รายได้อันเกิดจากการประมูลซึ่งมีมูลค่าสมเหตุสมผลอันก่อให้เกิดประโยชน์ต่อ
รัฐ
7
ผลการประมูล
ย่านความถี่ ผู้ชนะ ขนาดคลื่นที่
ประมูลได้
ราคาที่ประมูลได้
(ล้านบาท/ MHz)
ราคาเริ่มต้น
(ล้านบาท/ MHz)
2100 AIS 2x15 MHz 488 450
True 2x15 MHz 450
DTAC 2x15 MHz 450
1800 True 2x15 MHz 1,326 530
AIS 2x15 MHz 1,366
900 True 2x10 MHz 3,815 645
JAS* 2x10 MHz 3,783
8
ราคาที่ประมูลได้
450 530
645
450.00
1,326.00
3,815.00
0
500
1,000
1,500
2,000
2,500
3,000
3,500
4,000
2100 MHz 1800 MHz 900 MHz
(MBt/MHz)
Spectrum Band
ราคาตั้งต้น ผลประมูล
9
คลื่นความถี่ของผู้ให้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่
ผู้ให้บริการ Coverage
Band
Capacity Band คลื่นความถี่รวม
(MHz)
850 900 1800 2100 2300
AIS - (17.5) 15 15 - 30
DTAC 10 - 25 15 - 50
TRUE 15 10 15 15 - 55
CAT 15 - 20 - - 35
TOT - - - 15 64 79
10
ผลต่อการแข่งขัน
• การประมูลคลื่นทั้งสามรอบ ไม่มีผู้ให้บริการรายใหม่เกิดขึ้น
• มีการแข่งขันราคาในช่วงระยะเวลาสั้นๆ หลังการประมูลคลื่น 900 MHz สิ้นสุด
• การแข่งขันโดยมุ่งเน้นความได้เปรียบจากการถือครองทรัพยากรคลื่นความถี่ยังคงดาเนินต่อไป
11
ผลต่อผู้บริโภค: ด้านราคา
• เดิม กทช. ออกประกาศ กทช. เรื่อง อัตราขั้นสูงของค่าบริการและการเรียกเก็บเงินค่าบริการล่วงหน้าใน
กิจการโทรคมนาคม พ.ศ. 2549 ระบุ
• ผู้รับใบอนุญาต หมายถึง ผู้รับใบอนุญาต ตาม กม.ประกอบกิจการโทรคมนาคม
• 3 เมษายน 2555 กสทช. ออกประกาศ กสทช. เรื่อง อัตราขั้นสูงของค่าบริการโทรคมนาคมสาหรับบริการ
โทรศัพท์เคลื่อนที่ประเภทเสียงภายในประเทศ พ.ศ. 2555 ระบุ
• ผู้รับใบอนุญาต หมายถึง ผู้รับใบอนุญาต แบบที่ 3 รวมผู้รับสัมปทาน ที่ให้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ประเภทเสียง
ภายในประเทศ ย่านความถี่ 800, 900 และ 1,800 MHz
และ เป็นผู้มีอานาจเหนือตลาดอย่างมีนัยสาคัญ ตามประกาศ กทช.
• ให้เรียกเก็บได้ไม่เกิน อัตรา 99 สตางค์ต่อนาที
• ผลคือ การให้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ ย่านความถี่ 2100 MHz จึงไม่อยู่ภายใต้การกากับดูแลราคา
12
ผลต่อผู้บริโภค: ด้านราคา (ต่อ)
• เดิม กทช. ออกคาสั่ง กทช. ที่ 32/2553 กาหนดให้ผู้มีอานาจเหนือตลาดอย่างมีนัยสาคัญในบริการ
โทรศัพท์เคลื่อนที่ คือ AIS และ DTAC
• 22 กันยายน 2558 กสทช. ออกคาสั่ง กสทช. ที่ 76.01/2558 ปรากฎว่า ไม่มีผู้มีอานาจเหนือตลาดอย่างมี
นัยสาคัญแม้แต่รายเดียว ในตลาดบริการโทรศัพท์เคลื่อนที่
• จึงไม่มีผู้รับใบอนุญาตบริการโทรศัพท์เคลื่อนที่รายใดอยู่ภายใต้การกากับดูแลราคาตามประกาศอัตราขั้นสูง พ.ศ.
2555
• มติที่ประชุมคณะกรรมการกิจการโทรคมนาคม (กทค.) (31/2558 และ 1/2559) เรื่องหลักเกณฑ์และวิธีการ
คานวณอัตราค่าบริการเฉลี่ยโทรศัพท์เคลื่อนที่ ให้คานวณอัตราค่าบริการเฉลี่ยโดยการนาค่าบริการในทุกรายการ
ส่งเสริมการขายมาหาค่าเฉลี่ย
• กสทช. กาหนดเงื่อนไขใบอนุญาต ต้องจัดให้มีรายการส่งเสริมการขายอย่างน้อยหนึ่งรายการที่มีค่าบริการต่ากว่า
ค่าบริการเฉลี่ยของบริการ ย่าน 2.1 GHz
13
ผลต่อผู้บริโภค: ด้านการบริการอย่างทั่วถึง
• โครงข่ายในระบบ 2G ครอบคลุมร้อยละ 93 ของประชากร
• แผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศ IT2020 กาหนดเป้าหมายให้ Broadband Internet ครอบคลุม
ร้อยละ 95 ของประชากร และประชาชนร้อยละ 75 เข้าถึงอินเทอร์เน็ตภายในปี 2020
• แผน DE ตั้งเป้าหมายให้ประชาชนร้อยละ 75 มีทักษะการใช้เทคโนโลยีดิจิทัลอย่างสร้างสรรค์ภายใน 5 ปี
• กสทช. กาหนดเงื่อนไขใบอนุญาตประกอบกิจการโทรศัพท์เคลื่อนที่
• 2100 MHz ให้สร้างโครงข่ายครอบคลุมประชากร 50% ภายใน 2 ปี และ 80% ภายใน 4 ปี
• 1800 MHz ให้สร้างโครงข่ายครอบคลุมประชากร 40% ภายใน 4 ปี และ 50% ภายใน 8 ปี
• 900 MHz ให้สร้างโครงข่ายครอบคลุมประชากร 50% ภายใน 4 ปี และ 80% ภายใน 8 ปี
14
ความเคลื่อนไหวของผู้มีส่วนได้เสีย
ผู้มีส่วนได้เสีย 2100 MHz 1800 MHz 900 MHz /1 900 MHz /2
รัฐบาล - - - • ให้เร่งจัดประมูลใน
เดือนพฤษภาคม 59
• ให้ทรูเข้าประมูล
กสทช. กาหนดวิธีการประมูลที่
โปร่งใส สร้างการยอมรับ
กาหนดเงินประกันการ
ประมูลให้ต่าและผ่อนชาระ
เงินประมูลพื่อให้มีผู้สนใจ
เข้าประมูล
• มีผู้ให้บริการรายใหม่
เพิ่มการแข่งขัน
• เป็นความสาเร็จที่ได้
เงินเข้ารัฐจานวนมาก
• เริ่มที่ราคาเดิม
• ไม่ให้ทรูเข้าประมูล
• เพิ่มเงินประกันการ
ประมูล
ผู้ให้บริการ • ผู้ให้บริการเดิม 3 ราย
ใหญ่เข้าร่วมประมูล
• JAS เข้าร่วมประมูล
ครั้งแรก
• JAS เป็นผู้ชนะการ
ประมูล แต่ผิดนัดชาระ
• DTAC จะไม่เข้า
ประมูล
นักวิชาการ • ราคาเริ่มต้นต่าเกินไป
• ไม่มีการแข่งขันในการ
ประมูลอย่างแท้จริง
• ให้ลดราคาค่าบริการ
ลง
• ควรแยกจัดประมูล
1800 กับ 900
• ราคาประมูลที่สูง ไม่ทา
ให้ราคาค่าบริการสูง
ตามไปด้วย
ราคาประมูลสูงแต่ยังไม่สูง
เกินไป
• ควรเริ่มประมูลที่ราคา
ต่ากว่าเดิม
• ควรใช้ ม.44 ยกคลื่น
ให้เอไอเอสไปโดยไม่
ต้องประมูล 15
ประเมินผลการจัดประมูล
วัตถุประสงค์ 2100 MHz 1800 MHz 900 MHz /1 900 MHz /2
1. การจัดสรรคลื่น ⃝ ⃝ X
2. การแข่งขัน X X X
3. ความโปร่งใส ⃝ ⃝ ⃝
4. พัฒนาตลาด ⃝ ⃝ ⃝
5. รายได้รัฐ X ⃝ ∆
16
⃝ บรรลุวัตถุประสงค์ส่วนใหญ่
∆ บรรลุวัตถุประสงค์บางส่วน
X ยังไม่บรรลุวัตถุประสงค์
สรุปการประมูลที่ผ่านมา...
• ไม่มีเป้าหมายชัดเจน
• Policy Flip Flop
• ไม่ได้เพิ่มระดับการแข่งขัน
• ยังรักษาสมดุลของการแข่งขันโดยผู้ประกอบการรายเดิม ไม่ได้เพิ่มผู้ให้บริการรายใหม่
• ไม่มีการ set aside คลื่นความถี่สาหรับผู้ให้บริการรายใหม่ MVNO ไม่เกิดขึ้น
• ไม่ได้กากับดูแลการลดราคาให้ผู้บริโภคอย่างแท้จริง
• อัตราค่าบริการเฉลี่ยไม่มีผลในการลดราคาจริง
• ยังไม่มีการกากับราคาบริการสื่อสารข้อมูล
• บริการยังไม่ทั่วถึง
• กาหนดเงื่อนไขใบอนุญาตน้อยกว่าความเป็นจริง
• ยังไม่ได้ใช้ประโยชน์จากกองทุน USO ให้เกิดผลอย่างจริงจัง
17
สรุปการประมูลที่ผ่านมา...
• ไม่มีเป้าหมายชัดเจน
• Policy Flip Flop
• ไม่ได้เพิ่มระดับการแข่งขัน
• ยังรักษาสมดุลของการแข่งขันโดยผู้ประกอบการรายเดิม ไม่ได้เพิ่มผู้ให้บริการรายใหม่
• ไม่มีการ set aside คลื่นความถี่สาหรับผู้ให้บริการรายใหม่ MVNO ไม่เกิดขึ้น
• ไม่ได้กากับดูแลการลดราคาให้ผู้บริโภคอย่างแท้จริง
• อัตราค่าบริการเฉลี่ยไม่มีผลในการลดราคาจริง
• ยังไม่มีการกากับราคาบริการสื่อสารข้อมูล
• บริการยังไม่ทั่วถึง
• กาหนดเงื่อนไขใบอนุญาตน้อยกว่าความเป็นจริง
• ยังไม่ได้ใช้ประโยชน์จากกองทุน USO ให้เกิดผลอย่างจริงจัง
18
สรุปการจัดสรรคลื่นความถี่
• ไม่ทันการ
• ไม่ทันต่อการเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยี 3G, 4G
• ไม่ทันต่อการเปลี่ยนแปลงของตลาด ไม่ประมูลก่อนสัมปทานสิ้นสุด
• ไม่สมดุลต่อผู้มีส่วนได้เสีย
• เน้นประโยชน์ของผู้ให้บริการเดิมเป็นหลัก ไม่มีการ set aside
• ผู้บริโภคยังไม่ได้ประโยชน์จากการแข่งขัน และได้รับผลกระทบในช่วงเปลี่ยนผ่านหลังสัมปทานสิ้นสุด
• ไม่มีการเตรียมความพร้อมสาหรับอนาคต
• ยังติดกับการแก้ปัญหาจากอดีตซึ่งยังไม่สาเร็จ เช่น กรณีสิ้นสุดสัญญาสัมปทาน
• ไม่มี spectrum availability roadmap
• ยังไม่พร้อมรองรับอนาคต 5G, IoT
• ไม่สร้างระบบที่เข้มแข็ง
• พึ่งมาตรการชั่วคราวที่ขัดกับหลักการความเป็นองค์กรอิสระและแนวทางที่ดาเนินการมาทั้งหมด
19
การดาเนินการของ กสทช. ตามพรบ.และแผนแม่บท
Frequency Act Master Plan Progress Done/Not Yet
Return of spectrum •Up to 5, 10, 15 years
for radio, TV and
telecom
•Definite timeframe
within 2 years
•Regulation passed •Not yet
Issuance of new license • Non-spectrum license
within 1 year
• Spectrum license
within 3 years
•Regulation in effect
• 3 3G licenses issued in
2012
•24 DTTV licenses in 2013
• 3 licenses in 2015-16
•Done
Allocation of new
spectrum
•For government, etc.
within 3 years
•For civic use within 4
years (2016)
• 2100 completed in
2012
• Digital TV in 2013
• 1800/900 in 2015
•Partially Done
(Eventually Done by
NCPO order 44)
20
การดาเนินการของ กสทช. ตามพรบ.และแผนแม่บท (ต่อ)
Frequency Act Master Plan Progress Done/Not Yet
Competition • Measures against anti-
competitive conducts
within 2 years
• Price regulation 2 yrs
Broadcast competition
regulation passed. Price
regulation passed.
• Done
Consumer protection •Regulation within 1
year (Broadcast) and 2
years for telecom
Regulation drafted • Partially Done
USO For Broadcast
• Accessibility and
media literacy plan
within 1 year
• 99% coverage within 5
years
For telecom
• USO plan within 1
year
Telecom USO Plan
completed but no
execution.
Broadcast USO Plan not
finished.
• Not yet
21
ความท้าทายในอนาคต
• ความต้องการคลื่นในอนาคต เพื่อรองรับบริการ 5G และ Internet of Things
• Coverage Bands: 700 MHz band, L-band, sub-700 MHz
• Capacity Bands: C-Band (3.3-3.4 GHz) และย่านความถี่สูงอื่นๆ
• ความไม่แน่นอนขององค์กร กสทช. และการจัดสรรคลื่นความถี่ด้วยวิธีการประมูล
• พรบ.องค์กรจัดสรรคลื่นความถี่ฉบับใหม่
22
ข้อเสนอ
• กาหนดเงื่อนไขการขยายโครงข่าย 900 MHz หรือ coverage band อื่นๆ ให้ครอบคลุมไม่น้อยกว่า
ร้อยละ 90 ของประชากรภายใน 4 ปี เพื่อลดภาระการนาเงินกองทุนมาอุดหนุนการบริการอย่างทั่วถึง
• กสทช. ต้องจัดทา Spectrum Availability Roadmap
• เร่งประมูลคลื่นความถี่ก่อนหมดอายุสัมปทาน
• เร่งรัดการคืนคลื่นความถี่และจัดสรรใหม่ทั้งระบบ
• วางระบบการกากับดูแลบนพื้นฐานของความเป็นองค์กรอิสระ เพื่อส่งเสริมการแข่งขันเสรีอย่างเป็นธรรม
และประโยชน์ของผู้บริโภค
• กากับดูแลราคาให้มีประสิทธิผลโดยนาระบบตะกร้าราคามาใช้อย่างตรงตามหลักปฏิบัติสากล
• กากับดูแลคุณภาพและการคุ้มครองผู้บริโภคด้วยมาตรการที่ได้ผล
23

Weitere ähnliche Inhalte

Empfohlen

2024 State of Marketing Report – by Hubspot
2024 State of Marketing Report – by Hubspot2024 State of Marketing Report – by Hubspot
2024 State of Marketing Report – by HubspotMarius Sescu
 
Everything You Need To Know About ChatGPT
Everything You Need To Know About ChatGPTEverything You Need To Know About ChatGPT
Everything You Need To Know About ChatGPTExpeed Software
 
Product Design Trends in 2024 | Teenage Engineerings
Product Design Trends in 2024 | Teenage EngineeringsProduct Design Trends in 2024 | Teenage Engineerings
Product Design Trends in 2024 | Teenage EngineeringsPixeldarts
 
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental HealthHow Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental HealthThinkNow
 
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdfAI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdfmarketingartwork
 
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024Neil Kimberley
 
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)contently
 
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024Albert Qian
 
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie InsightsSocial Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie InsightsKurio // The Social Media Age(ncy)
 
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024Search Engine Journal
 
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summarySpeakerHub
 
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd Clark Boyd
 
Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next Tessa Mero
 
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search IntentGoogle's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search IntentLily Ray
 
Time Management & Productivity - Best Practices
Time Management & Productivity -  Best PracticesTime Management & Productivity -  Best Practices
Time Management & Productivity - Best PracticesVit Horky
 
The six step guide to practical project management
The six step guide to practical project managementThe six step guide to practical project management
The six step guide to practical project managementMindGenius
 
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...RachelPearson36
 

Empfohlen (20)

2024 State of Marketing Report – by Hubspot
2024 State of Marketing Report – by Hubspot2024 State of Marketing Report – by Hubspot
2024 State of Marketing Report – by Hubspot
 
Everything You Need To Know About ChatGPT
Everything You Need To Know About ChatGPTEverything You Need To Know About ChatGPT
Everything You Need To Know About ChatGPT
 
Product Design Trends in 2024 | Teenage Engineerings
Product Design Trends in 2024 | Teenage EngineeringsProduct Design Trends in 2024 | Teenage Engineerings
Product Design Trends in 2024 | Teenage Engineerings
 
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental HealthHow Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
 
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdfAI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
 
Skeleton Culture Code
Skeleton Culture CodeSkeleton Culture Code
Skeleton Culture Code
 
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
 
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
 
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
 
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie InsightsSocial Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
 
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
 
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
 
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
 
Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next
 
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search IntentGoogle's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
 
How to have difficult conversations
How to have difficult conversations How to have difficult conversations
How to have difficult conversations
 
Introduction to Data Science
Introduction to Data ScienceIntroduction to Data Science
Introduction to Data Science
 
Time Management & Productivity - Best Practices
Time Management & Productivity -  Best PracticesTime Management & Productivity -  Best Practices
Time Management & Productivity - Best Practices
 
The six step guide to practical project management
The six step guide to practical project managementThe six step guide to practical project management
The six step guide to practical project management
 
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
 

NBTC Policy Watch Seminar 2016: Spectrum Allocation in Telecommunication

  • 1. เสวนา กสทช. กับ การกากับดูแลกิจการโทรคมนาคม การจัดสรรคลื่นความถี่ ดร. สุพจน์ เธียรวุฒิ 13 พฤษภาคม 2559 งานขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะ NBTC Policy Watch: 5 ปี กสทช. กับอนาคตการสื่อสารไทย
  • 2. ข่าวการประมูลคลื่น 900 MHz 15 ธันวาคม เริ่มแล้ว ประมูล 4จี คลื่น 900MHz เชื่อแข่งเดือด! 18 ธันวาคม เคาะมาราธอน เข้าวันที่ 4 ทะลุ 6.9 หมื่นล้าน ทุบสถิติประมูล 4G คลื่น 900 19 ธันวาคม ล็อกถล่ม! ประมูล 4จี'แจส-ทรู'ซิวคลื่น 900 MHz เงินเข้ารัฐกว่า1.5แสนล. กสทช.แจงสรุปผลประมูล 4G /900 โปร่งใส แข่งขันเสรี 12 มีนาคม ทรูมูฟเอชจ่ายจริงค่า 4 จี “ศุภชัย” ใจป้าให้ใช้คลื่น 900 ฟรีกันซิมดับ 21 มีนาคม 'แจส' ทิ้งคลื่น4จี ไม่จ่าย '7หมื่นล้าน' 2
  • 3. ข่าวการประมูลคลื่น 900 MHz 23 มีนาคม นายกฯให้ประมูลใหม่ 'แจส'โยนกสทช.ไม่ผ่อนเงื่อนเวลา 24 มีนาคม เล็งฟ้องแพ่งอาญา-ปั่นหุ้นแจส ประมูลใหม่ มิ.ย.เริ่ม 7.5 หมื่นล้านดีแทคเมิน 4 เมษายน เอไอเอสยอมเซ้งต่อคลื่นแจส 5 เมษายน กสทช.จ่อชงใช้ ม.44 กู้หน้าไร้เงาผู้ประมูล ตัดสิทธิ์ทรูเข้าร่วมประมูล 4จี รอบสอง 6 เมษายน ทีดีอาร์ไอเห็นด้วยเอไอเอสรับช่วงต่อแจส 8 เมษายน วิษณุ คาด เปิดประมูล 4จีใหม่ กลางพ.ค. เคาะ 75,654 ล้านบาท 12 เมษายน งัดม.44-ให้ประมูล 4 จี กาหนด 27 พ.ค. เริ่มที่ 75,654 ล. ยันไม่มีซิมดับ 3
  • 4. คลื่นความถี่กับเทคโนโลยีโทรศัพท์เคลื่อนที่ เทคโนโลยียุค 2G 3G 4G 5G ความเร็วในการ รับส่งข้อมูล > 64 kbps > 2 Mbps >100 Mbps > 1 Gbps ปริมาณคลื่นความถี่ ที่ต้องการ 5 MHz 10 MHz 10s MHz 100s MHz ย่านความถี่ที่ใช้ 850/900/ 1800 MHz 2.1 GHz 1800 MHz + 24-27, 37- 52, 66-76, 81-86 GHz 5
  • 5. อัตราการเข้าถึงบริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ -20 0 20 40 60 80 0% 20% 40% 60% 80% 100% 120% 140% 160% 2003 2004 2005 2006 2007 2008 2009 2010 2011 2012 2013 2014 2015 Mobile Penetration Growth (%) ตั้ง กทช. ปรับเลขหมาย เป็น 10 หลัก ตั้ง กสทช. เริ่มบริการคงสิทธิ เลขหมาย ประมูลคลื่น 2100 MHz ประมูลคลื่น 1800, 900 MHz สิ้นสุดลงทะเบียน พรีเพด ที่มา: ข้อมูลจากเว็บไซต์ สานักงาน กสทช. และประกาศที่เกี่ยวข้อง 6
  • 6. วัตถุประสงค์ของการประมูล กสทช. กาหนดวัตถุประสงค์ของการประมูลเรียงตามลาดับความสาคัญดังต่อไปนี้ 1. เพื่อการจัดสรรคลื่นความถี่อย่างมีประสิทธิภาพและเกิดประโยชน์สูงสุดต่อประชาชนส่วนรวม 2. เพื่อส่งเสริมการแข่งขันในตลาด การปรับปรุงคุณภาพบริการ และการลดต้นทุนในการให้บริการ เพื่อ ประโยชน์ต่อผู้บริโภคโดยรวม 3. เพื่อให้เกิดความโปร่งใสในการประมูล ทั้งนี้เพื่อให้ทุกฝ่ายยอมรับผลของการประมูล 4. เพื่อการพัฒนาตลาดโทรคมนาคมในประเทศ ซึ่งรวมถึงการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน และการให้บริการ 5. การแสวงหารายได้เข้ารัฐ รายได้อันเกิดจากการประมูลซึ่งมีมูลค่าสมเหตุสมผลอันก่อให้เกิดประโยชน์ต่อ รัฐ 7
  • 7. ผลการประมูล ย่านความถี่ ผู้ชนะ ขนาดคลื่นที่ ประมูลได้ ราคาที่ประมูลได้ (ล้านบาท/ MHz) ราคาเริ่มต้น (ล้านบาท/ MHz) 2100 AIS 2x15 MHz 488 450 True 2x15 MHz 450 DTAC 2x15 MHz 450 1800 True 2x15 MHz 1,326 530 AIS 2x15 MHz 1,366 900 True 2x10 MHz 3,815 645 JAS* 2x10 MHz 3,783 8
  • 8. ราคาที่ประมูลได้ 450 530 645 450.00 1,326.00 3,815.00 0 500 1,000 1,500 2,000 2,500 3,000 3,500 4,000 2100 MHz 1800 MHz 900 MHz (MBt/MHz) Spectrum Band ราคาตั้งต้น ผลประมูล 9
  • 9. คลื่นความถี่ของผู้ให้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ ผู้ให้บริการ Coverage Band Capacity Band คลื่นความถี่รวม (MHz) 850 900 1800 2100 2300 AIS - (17.5) 15 15 - 30 DTAC 10 - 25 15 - 50 TRUE 15 10 15 15 - 55 CAT 15 - 20 - - 35 TOT - - - 15 64 79 10
  • 10. ผลต่อการแข่งขัน • การประมูลคลื่นทั้งสามรอบ ไม่มีผู้ให้บริการรายใหม่เกิดขึ้น • มีการแข่งขันราคาในช่วงระยะเวลาสั้นๆ หลังการประมูลคลื่น 900 MHz สิ้นสุด • การแข่งขันโดยมุ่งเน้นความได้เปรียบจากการถือครองทรัพยากรคลื่นความถี่ยังคงดาเนินต่อไป 11
  • 11. ผลต่อผู้บริโภค: ด้านราคา • เดิม กทช. ออกประกาศ กทช. เรื่อง อัตราขั้นสูงของค่าบริการและการเรียกเก็บเงินค่าบริการล่วงหน้าใน กิจการโทรคมนาคม พ.ศ. 2549 ระบุ • ผู้รับใบอนุญาต หมายถึง ผู้รับใบอนุญาต ตาม กม.ประกอบกิจการโทรคมนาคม • 3 เมษายน 2555 กสทช. ออกประกาศ กสทช. เรื่อง อัตราขั้นสูงของค่าบริการโทรคมนาคมสาหรับบริการ โทรศัพท์เคลื่อนที่ประเภทเสียงภายในประเทศ พ.ศ. 2555 ระบุ • ผู้รับใบอนุญาต หมายถึง ผู้รับใบอนุญาต แบบที่ 3 รวมผู้รับสัมปทาน ที่ให้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ประเภทเสียง ภายในประเทศ ย่านความถี่ 800, 900 และ 1,800 MHz และ เป็นผู้มีอานาจเหนือตลาดอย่างมีนัยสาคัญ ตามประกาศ กทช. • ให้เรียกเก็บได้ไม่เกิน อัตรา 99 สตางค์ต่อนาที • ผลคือ การให้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ ย่านความถี่ 2100 MHz จึงไม่อยู่ภายใต้การกากับดูแลราคา 12
  • 12. ผลต่อผู้บริโภค: ด้านราคา (ต่อ) • เดิม กทช. ออกคาสั่ง กทช. ที่ 32/2553 กาหนดให้ผู้มีอานาจเหนือตลาดอย่างมีนัยสาคัญในบริการ โทรศัพท์เคลื่อนที่ คือ AIS และ DTAC • 22 กันยายน 2558 กสทช. ออกคาสั่ง กสทช. ที่ 76.01/2558 ปรากฎว่า ไม่มีผู้มีอานาจเหนือตลาดอย่างมี นัยสาคัญแม้แต่รายเดียว ในตลาดบริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ • จึงไม่มีผู้รับใบอนุญาตบริการโทรศัพท์เคลื่อนที่รายใดอยู่ภายใต้การกากับดูแลราคาตามประกาศอัตราขั้นสูง พ.ศ. 2555 • มติที่ประชุมคณะกรรมการกิจการโทรคมนาคม (กทค.) (31/2558 และ 1/2559) เรื่องหลักเกณฑ์และวิธีการ คานวณอัตราค่าบริการเฉลี่ยโทรศัพท์เคลื่อนที่ ให้คานวณอัตราค่าบริการเฉลี่ยโดยการนาค่าบริการในทุกรายการ ส่งเสริมการขายมาหาค่าเฉลี่ย • กสทช. กาหนดเงื่อนไขใบอนุญาต ต้องจัดให้มีรายการส่งเสริมการขายอย่างน้อยหนึ่งรายการที่มีค่าบริการต่ากว่า ค่าบริการเฉลี่ยของบริการ ย่าน 2.1 GHz 13
  • 13. ผลต่อผู้บริโภค: ด้านการบริการอย่างทั่วถึง • โครงข่ายในระบบ 2G ครอบคลุมร้อยละ 93 ของประชากร • แผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศ IT2020 กาหนดเป้าหมายให้ Broadband Internet ครอบคลุม ร้อยละ 95 ของประชากร และประชาชนร้อยละ 75 เข้าถึงอินเทอร์เน็ตภายในปี 2020 • แผน DE ตั้งเป้าหมายให้ประชาชนร้อยละ 75 มีทักษะการใช้เทคโนโลยีดิจิทัลอย่างสร้างสรรค์ภายใน 5 ปี • กสทช. กาหนดเงื่อนไขใบอนุญาตประกอบกิจการโทรศัพท์เคลื่อนที่ • 2100 MHz ให้สร้างโครงข่ายครอบคลุมประชากร 50% ภายใน 2 ปี และ 80% ภายใน 4 ปี • 1800 MHz ให้สร้างโครงข่ายครอบคลุมประชากร 40% ภายใน 4 ปี และ 50% ภายใน 8 ปี • 900 MHz ให้สร้างโครงข่ายครอบคลุมประชากร 50% ภายใน 4 ปี และ 80% ภายใน 8 ปี 14
  • 14. ความเคลื่อนไหวของผู้มีส่วนได้เสีย ผู้มีส่วนได้เสีย 2100 MHz 1800 MHz 900 MHz /1 900 MHz /2 รัฐบาล - - - • ให้เร่งจัดประมูลใน เดือนพฤษภาคม 59 • ให้ทรูเข้าประมูล กสทช. กาหนดวิธีการประมูลที่ โปร่งใส สร้างการยอมรับ กาหนดเงินประกันการ ประมูลให้ต่าและผ่อนชาระ เงินประมูลพื่อให้มีผู้สนใจ เข้าประมูล • มีผู้ให้บริการรายใหม่ เพิ่มการแข่งขัน • เป็นความสาเร็จที่ได้ เงินเข้ารัฐจานวนมาก • เริ่มที่ราคาเดิม • ไม่ให้ทรูเข้าประมูล • เพิ่มเงินประกันการ ประมูล ผู้ให้บริการ • ผู้ให้บริการเดิม 3 ราย ใหญ่เข้าร่วมประมูล • JAS เข้าร่วมประมูล ครั้งแรก • JAS เป็นผู้ชนะการ ประมูล แต่ผิดนัดชาระ • DTAC จะไม่เข้า ประมูล นักวิชาการ • ราคาเริ่มต้นต่าเกินไป • ไม่มีการแข่งขันในการ ประมูลอย่างแท้จริง • ให้ลดราคาค่าบริการ ลง • ควรแยกจัดประมูล 1800 กับ 900 • ราคาประมูลที่สูง ไม่ทา ให้ราคาค่าบริการสูง ตามไปด้วย ราคาประมูลสูงแต่ยังไม่สูง เกินไป • ควรเริ่มประมูลที่ราคา ต่ากว่าเดิม • ควรใช้ ม.44 ยกคลื่น ให้เอไอเอสไปโดยไม่ ต้องประมูล 15
  • 15. ประเมินผลการจัดประมูล วัตถุประสงค์ 2100 MHz 1800 MHz 900 MHz /1 900 MHz /2 1. การจัดสรรคลื่น ⃝ ⃝ X 2. การแข่งขัน X X X 3. ความโปร่งใส ⃝ ⃝ ⃝ 4. พัฒนาตลาด ⃝ ⃝ ⃝ 5. รายได้รัฐ X ⃝ ∆ 16 ⃝ บรรลุวัตถุประสงค์ส่วนใหญ่ ∆ บรรลุวัตถุประสงค์บางส่วน X ยังไม่บรรลุวัตถุประสงค์
  • 16. สรุปการประมูลที่ผ่านมา... • ไม่มีเป้าหมายชัดเจน • Policy Flip Flop • ไม่ได้เพิ่มระดับการแข่งขัน • ยังรักษาสมดุลของการแข่งขันโดยผู้ประกอบการรายเดิม ไม่ได้เพิ่มผู้ให้บริการรายใหม่ • ไม่มีการ set aside คลื่นความถี่สาหรับผู้ให้บริการรายใหม่ MVNO ไม่เกิดขึ้น • ไม่ได้กากับดูแลการลดราคาให้ผู้บริโภคอย่างแท้จริง • อัตราค่าบริการเฉลี่ยไม่มีผลในการลดราคาจริง • ยังไม่มีการกากับราคาบริการสื่อสารข้อมูล • บริการยังไม่ทั่วถึง • กาหนดเงื่อนไขใบอนุญาตน้อยกว่าความเป็นจริง • ยังไม่ได้ใช้ประโยชน์จากกองทุน USO ให้เกิดผลอย่างจริงจัง 17
  • 17. สรุปการประมูลที่ผ่านมา... • ไม่มีเป้าหมายชัดเจน • Policy Flip Flop • ไม่ได้เพิ่มระดับการแข่งขัน • ยังรักษาสมดุลของการแข่งขันโดยผู้ประกอบการรายเดิม ไม่ได้เพิ่มผู้ให้บริการรายใหม่ • ไม่มีการ set aside คลื่นความถี่สาหรับผู้ให้บริการรายใหม่ MVNO ไม่เกิดขึ้น • ไม่ได้กากับดูแลการลดราคาให้ผู้บริโภคอย่างแท้จริง • อัตราค่าบริการเฉลี่ยไม่มีผลในการลดราคาจริง • ยังไม่มีการกากับราคาบริการสื่อสารข้อมูล • บริการยังไม่ทั่วถึง • กาหนดเงื่อนไขใบอนุญาตน้อยกว่าความเป็นจริง • ยังไม่ได้ใช้ประโยชน์จากกองทุน USO ให้เกิดผลอย่างจริงจัง 18
  • 18. สรุปการจัดสรรคลื่นความถี่ • ไม่ทันการ • ไม่ทันต่อการเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยี 3G, 4G • ไม่ทันต่อการเปลี่ยนแปลงของตลาด ไม่ประมูลก่อนสัมปทานสิ้นสุด • ไม่สมดุลต่อผู้มีส่วนได้เสีย • เน้นประโยชน์ของผู้ให้บริการเดิมเป็นหลัก ไม่มีการ set aside • ผู้บริโภคยังไม่ได้ประโยชน์จากการแข่งขัน และได้รับผลกระทบในช่วงเปลี่ยนผ่านหลังสัมปทานสิ้นสุด • ไม่มีการเตรียมความพร้อมสาหรับอนาคต • ยังติดกับการแก้ปัญหาจากอดีตซึ่งยังไม่สาเร็จ เช่น กรณีสิ้นสุดสัญญาสัมปทาน • ไม่มี spectrum availability roadmap • ยังไม่พร้อมรองรับอนาคต 5G, IoT • ไม่สร้างระบบที่เข้มแข็ง • พึ่งมาตรการชั่วคราวที่ขัดกับหลักการความเป็นองค์กรอิสระและแนวทางที่ดาเนินการมาทั้งหมด 19
  • 19. การดาเนินการของ กสทช. ตามพรบ.และแผนแม่บท Frequency Act Master Plan Progress Done/Not Yet Return of spectrum •Up to 5, 10, 15 years for radio, TV and telecom •Definite timeframe within 2 years •Regulation passed •Not yet Issuance of new license • Non-spectrum license within 1 year • Spectrum license within 3 years •Regulation in effect • 3 3G licenses issued in 2012 •24 DTTV licenses in 2013 • 3 licenses in 2015-16 •Done Allocation of new spectrum •For government, etc. within 3 years •For civic use within 4 years (2016) • 2100 completed in 2012 • Digital TV in 2013 • 1800/900 in 2015 •Partially Done (Eventually Done by NCPO order 44) 20
  • 20. การดาเนินการของ กสทช. ตามพรบ.และแผนแม่บท (ต่อ) Frequency Act Master Plan Progress Done/Not Yet Competition • Measures against anti- competitive conducts within 2 years • Price regulation 2 yrs Broadcast competition regulation passed. Price regulation passed. • Done Consumer protection •Regulation within 1 year (Broadcast) and 2 years for telecom Regulation drafted • Partially Done USO For Broadcast • Accessibility and media literacy plan within 1 year • 99% coverage within 5 years For telecom • USO plan within 1 year Telecom USO Plan completed but no execution. Broadcast USO Plan not finished. • Not yet 21
  • 21. ความท้าทายในอนาคต • ความต้องการคลื่นในอนาคต เพื่อรองรับบริการ 5G และ Internet of Things • Coverage Bands: 700 MHz band, L-band, sub-700 MHz • Capacity Bands: C-Band (3.3-3.4 GHz) และย่านความถี่สูงอื่นๆ • ความไม่แน่นอนขององค์กร กสทช. และการจัดสรรคลื่นความถี่ด้วยวิธีการประมูล • พรบ.องค์กรจัดสรรคลื่นความถี่ฉบับใหม่ 22
  • 22. ข้อเสนอ • กาหนดเงื่อนไขการขยายโครงข่าย 900 MHz หรือ coverage band อื่นๆ ให้ครอบคลุมไม่น้อยกว่า ร้อยละ 90 ของประชากรภายใน 4 ปี เพื่อลดภาระการนาเงินกองทุนมาอุดหนุนการบริการอย่างทั่วถึง • กสทช. ต้องจัดทา Spectrum Availability Roadmap • เร่งประมูลคลื่นความถี่ก่อนหมดอายุสัมปทาน • เร่งรัดการคืนคลื่นความถี่และจัดสรรใหม่ทั้งระบบ • วางระบบการกากับดูแลบนพื้นฐานของความเป็นองค์กรอิสระ เพื่อส่งเสริมการแข่งขันเสรีอย่างเป็นธรรม และประโยชน์ของผู้บริโภค • กากับดูแลราคาให้มีประสิทธิผลโดยนาระบบตะกร้าราคามาใช้อย่างตรงตามหลักปฏิบัติสากล • กากับดูแลคุณภาพและการคุ้มครองผู้บริโภคด้วยมาตรการที่ได้ผล 23