SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 4
ใบความรู้เรื่อง การจัดชั้นหนังสือ
รายวิชา การใช้ห้องสมุด 2 (ง 20263)
การจัดเก็บทรัพยากรสารสนเทศ
ความสาคัญของการจัดเก็บทรัพยากรสารสนเทศ
การจัดเก็บทรัพยากรสารสนเทศมีความสาคัญมาก เพราะจะทาให้บรรณารักษ์สามารถจัดเรียงไ
ด้อย่างมีระบบ เพื่อให้ผู้เรียนหยิบได้ง่ายและรวดเร็วประหยัดเวลาในการค้นหา
การจัดเก็บหนังสือตามระบบทศนิยมของดิวอี้
การจัดเก็บหนังสือของห้องสมุดโรงเรียนที่จัดตามระบบทศนิยมของดิวอี้
การจัดเรียงบนชั้นหนังสือตามหมวดหมู่ของหนังสือเรียงหนังสือภาษาไทยก่อนตามด้วยหนังสือ
ภาษาต่างประเทศดังนี้
1. เรียงจากเลขน้อยไปหาเลขมาก จากซ้ายไปขวา โดยดูจากเลขเรียกหนังสือที่สันหนังสือ
ดังตัวอย่าง
2. ถ้าเลขหมู่ตรงกันให้เรียงตามลาดับอักษรตัวแรกของผู้แต่งดังตัวอย่าง
ใบความรู้เรื่อง การจัดชั้นหนังสือ
รายวิชา การใช้ห้องสมุด 2 (ง 20263)
3. ถ้าเลขหมู่ตรงกัน และตัวอักษรตัวแรกของผู้แต่งซ้ากัน ให้เรียงตามเลขประจาตัวผู้แต่ง
และอักษรตัวแรกของชื่อหนังสือ ดังตัวอย่าง
4. ถ้าชื่อเรื่องเดียวกันมีหลายฉบับให้เรียงตามลาดับฉบับ ดังตัวอย่าง
5. ถ้าเป็นหนังสือชุดให้เรียงตามลาดับเล่มที่ หากมีหลายฉบับให้เรียงตามลาดับฉบับด้วย
ดังตัวอย่าง
ใบความรู้เรื่อง การจัดชั้นหนังสือ
รายวิชา การใช้ห้องสมุด 2 (ง 20263)
การจัดเก็บหนังสือตามระบบที่กาหนดขึ้นเองตามความเหมาะสมของห้องสมุดแต่ละแห่ง
การจัดเก็บหนังสือตามระบบที่กาหนดขึ้นเองที่ผู้เรียนควรทราบเพื่อสะดวกในการค้นหา
1. หนังสือแบบเรียน และหนังสืออ้างอิง จัดเก็บหนังสือตามระบบทศนิยมของดิวอี้ ดังตัวอย่าง
2. หนังสือบันเทิงคดี เช่น นวนิยาย เยาวชน เรื่องสั้น จัดเรียงตามลาดับอักษรของผู้แต่ง
ดังตัวอย่าง
ใบความรู้เรื่อง การจัดชั้นหนังสือ
รายวิชา การใช้ห้องสมุด 2 (ง 20263)
หมายเหตุ
1. อ ย่อมาจาก อ้างอิง R ย่อมาจาก Reference
2. น ย่อมาจาก นวนิยาย
3. ย ย่อมาจาก เยาวชน
4. รส ย่อมาจาก เรื่องสั้น
3. หนังสือคู่มือเตรียมสอบ ใช้เทปสีส้มติดที่สันหนังสือ และจัดเก็บตามรายวิชา
4. หนังสืออ่านนอกเวลา ใช้เทปสีม่วงติดสันหนังสือ และจัดเก็บตามชื่อหนังสือ
5. หนังสือที่ได้รางวัลต่าง
ๆ ใช้เทปสีเขียวติดสันหนังสือ และจัดเก็บตามหมวดหมู่ของหนังสือ
6. วารสาร จัดเก็บขึ้นชั้นวารสารเรียงตามลาดับชื่อวารสาร
ที่มา :
การจัดเก็บทรัพยากรสารสนเทศ. (ม.ป.ป.). เข้าถึงได้จาก : http://www.bangkapi.ac.th.
(วันที่คันข้อมูล:20 พฤศจิกายน2558).

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

ส่วนประกอบของรายงานและโครงงานม.4 60
ส่วนประกอบของรายงานและโครงงานม.4 60ส่วนประกอบของรายงานและโครงงานม.4 60
ส่วนประกอบของรายงานและโครงงานม.4 60
Supaporn Khiewwan
 
Powerpoint drnip new
Powerpoint drnip newPowerpoint drnip new
Powerpoint drnip new
007meena
 
การเขียนอ้างอิงอย่างง่าย
การเขียนอ้างอิงอย่างง่ายการเขียนอ้างอิงอย่างง่าย
การเขียนอ้างอิงอย่างง่าย
noukae
 
หน่วยที่ 3 การสร้างตาราง
หน่วยที่ 3 การสร้างตารางหน่วยที่ 3 การสร้างตาราง
หน่วยที่ 3 การสร้างตาราง
kruthanyaporn
 
หน่วยที่ 3 เรื่อง 1 สาระการเรียนรู้
หน่วยที่ 3 เรื่อง 1 สาระการเรียนรู้หน่วยที่ 3 เรื่อง 1 สาระการเรียนรู้
หน่วยที่ 3 เรื่อง 1 สาระการเรียนรู้
sutham com
 
การจัดการข้อมูลและการแทนข้อมูล
การจัดการข้อมูลและการแทนข้อมูลการจัดการข้อมูลและการแทนข้อมูล
การจัดการข้อมูลและการแทนข้อมูล
Kru Jhair
 

Was ist angesagt? (17)

ส่วนประกอบของรายงานและโครงงานม.4 60
ส่วนประกอบของรายงานและโครงงานม.4 60ส่วนประกอบของรายงานและโครงงานม.4 60
ส่วนประกอบของรายงานและโครงงานม.4 60
 
การเขียนรายการอ้างอิง ม.4 2560
การเขียนรายการอ้างอิง ม.4 2560การเขียนรายการอ้างอิง ม.4 2560
การเขียนรายการอ้างอิง ม.4 2560
 
ส่วนประกอบหนังสือวารสารและหนังสือพิมพ์
ส่วนประกอบหนังสือวารสารและหนังสือพิมพ์ส่วนประกอบหนังสือวารสารและหนังสือพิมพ์
ส่วนประกอบหนังสือวารสารและหนังสือพิมพ์
 
หนังสือ
หนังสือหนังสือ
หนังสือ
 
Psomboon
PsomboonPsomboon
Psomboon
 
Search
SearchSearch
Search
 
Powerpoint drnip new
Powerpoint drnip newPowerpoint drnip new
Powerpoint drnip new
 
ระเบียบงานสารบรรณ
ระเบียบงานสารบรรณระเบียบงานสารบรรณ
ระเบียบงานสารบรรณ
 
เเหล่งการเรียนรู้ที่ 3 การเเก้ไขเอกสาร
เเหล่งการเรียนรู้ที่ 3 การเเก้ไขเอกสารเเหล่งการเรียนรู้ที่ 3 การเเก้ไขเอกสาร
เเหล่งการเรียนรู้ที่ 3 การเเก้ไขเอกสาร
 
การเขียนอ้างอิงอย่างง่าย
การเขียนอ้างอิงอย่างง่ายการเขียนอ้างอิงอย่างง่าย
การเขียนอ้างอิงอย่างง่าย
 
การเขียนเรียงความ
การเขียนเรียงความการเขียนเรียงความ
การเขียนเรียงความ
 
หน่วยที่ 3 การสร้างตาราง
หน่วยที่ 3 การสร้างตารางหน่วยที่ 3 การสร้างตาราง
หน่วยที่ 3 การสร้างตาราง
 
หน่วยที่ 3 เรื่อง 1 สาระการเรียนรู้
หน่วยที่ 3 เรื่อง 1 สาระการเรียนรู้หน่วยที่ 3 เรื่อง 1 สาระการเรียนรู้
หน่วยที่ 3 เรื่อง 1 สาระการเรียนรู้
 
วารสารและหนังสือพิมพ์และส่วนประกอบ
วารสารและหนังสือพิมพ์และส่วนประกอบวารสารและหนังสือพิมพ์และส่วนประกอบ
วารสารและหนังสือพิมพ์และส่วนประกอบ
 
การร างและเข ยนเอกสารราชการ ส_ง
การร างและเข ยนเอกสารราชการ ส_งการร างและเข ยนเอกสารราชการ ส_ง
การร างและเข ยนเอกสารราชการ ส_ง
 
การจัดการข้อมูลและการแทนข้อมูล
การจัดการข้อมูลและการแทนข้อมูลการจัดการข้อมูลและการแทนข้อมูล
การจัดการข้อมูลและการแทนข้อมูล
 
Web opac
Web opacWeb opac
Web opac
 

Andere mochten auch

การสำรวจและรวบรวม Internet Reference Resources
การสำรวจและรวบรวม Internet Reference Resourcesการสำรวจและรวบรวม Internet Reference Resources
การสำรวจและรวบรวม Internet Reference Resources
Srion Janeprapapong
 
บทที่ 3 ฐานข้อมูลและการค้นคืน
บทที่ 3 ฐานข้อมูลและการค้นคืนบทที่ 3 ฐานข้อมูลและการค้นคืน
บทที่ 3 ฐานข้อมูลและการค้นคืน
Srion Janeprapapong
 
วิธีการสืบค้นและเทคนิคการค้นคืน
วิธีการสืบค้นและเทคนิคการค้นคืนวิธีการสืบค้นและเทคนิคการค้นคืน
วิธีการสืบค้นและเทคนิคการค้นคืน
Srion Janeprapapong
 
เกณฑ์การประเมินค่า Reference resources
เกณฑ์การประเมินค่า Reference resourcesเกณฑ์การประเมินค่า Reference resources
เกณฑ์การประเมินค่า Reference resources
Srion Janeprapapong
 
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
Srion Janeprapapong
 
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานเกี่ยวกับการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานเกี่ยวกับการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศบทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานเกี่ยวกับการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานเกี่ยวกับการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ
Srion Janeprapapong
 
การค้นหาสารสนเทศจาก WWW
การค้นหาสารสนเทศจาก WWWการค้นหาสารสนเทศจาก WWW
การค้นหาสารสนเทศจาก WWW
Srion Janeprapapong
 
บทที่ 1 สารสนเทศกับการเรียนรู้
บทที่ 1 สารสนเทศกับการเรียนรู้บทที่ 1 สารสนเทศกับการเรียนรู้
บทที่ 1 สารสนเทศกับการเรียนรู้
Srion Janeprapapong
 

Andere mochten auch (20)

การค้นหาสารสนเทศจาก WWW
การค้นหาสารสนเทศจาก WWWการค้นหาสารสนเทศจาก WWW
การค้นหาสารสนเทศจาก WWW
 
การสำรวจและรวบรวม Internet Reference Resources
การสำรวจและรวบรวม Internet Reference Resourcesการสำรวจและรวบรวม Internet Reference Resources
การสำรวจและรวบรวม Internet Reference Resources
 
บทที่ 3 ฐานข้อมูลและการค้นคืน
บทที่ 3 ฐานข้อมูลและการค้นคืนบทที่ 3 ฐานข้อมูลและการค้นคืน
บทที่ 3 ฐานข้อมูลและการค้นคืน
 
วิธีการสืบค้นและเทคนิคการค้นคืน
วิธีการสืบค้นและเทคนิคการค้นคืนวิธีการสืบค้นและเทคนิคการค้นคืน
วิธีการสืบค้นและเทคนิคการค้นคืน
 
หน่วยที่ 3 การวิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศ
หน่วยที่ 3  การวิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศหน่วยที่ 3  การวิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศ
หน่วยที่ 3 การวิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศ
 
เกณฑ์การประเมินค่า Reference resources
เกณฑ์การประเมินค่า Reference resourcesเกณฑ์การประเมินค่า Reference resources
เกณฑ์การประเมินค่า Reference resources
 
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนทศ
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนทศบทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนทศ
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนทศ
 
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
 
หน่วยที่ 4 การเลือกแหล่งสารสนเทศและทรัพยากรสารสนเทศ
หน่วยที่  4 การเลือกแหล่งสารสนเทศและทรัพยากรสารสนเทศหน่วยที่  4 การเลือกแหล่งสารสนเทศและทรัพยากรสารสนเทศ
หน่วยที่ 4 การเลือกแหล่งสารสนเทศและทรัพยากรสารสนเทศ
 
หน่วยที่ 3 การจัดเก็บทรัพยากรสารสนเทศ
หน่วยที่ 3 การจัดเก็บทรัพยากรสารสนเทศหน่วยที่ 3 การจัดเก็บทรัพยากรสารสนเทศ
หน่วยที่ 3 การจัดเก็บทรัพยากรสารสนเทศ
 
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานเกี่ยวกับการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานเกี่ยวกับการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศบทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานเกี่ยวกับการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานเกี่ยวกับการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ
 
หน่วยที่ 2 การรู้สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษา
หน่วยที่ 2 การรู้สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษาหน่วยที่ 2 การรู้สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษา
หน่วยที่ 2 การรู้สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษา
 
หน่วยที่ 1 สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษา
หน่วยที่ 1 สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษาหน่วยที่ 1 สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษา
หน่วยที่ 1 สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษา
 
Reference resources
Reference resources Reference resources
Reference resources
 
ทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิงที่ให้คำตอบทันที (Ready-Reference Resources)
ทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิงที่ให้คำตอบทันที (Ready-Reference Resources)ทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิงที่ให้คำตอบทันที (Ready-Reference Resources)
ทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิงที่ให้คำตอบทันที (Ready-Reference Resources)
 
Dspace
DspaceDspace
Dspace
 
การค้นหาสารสนเทศจาก WWW
การค้นหาสารสนเทศจาก WWWการค้นหาสารสนเทศจาก WWW
การค้นหาสารสนเทศจาก WWW
 
ความสัมพันธ์ระหว่างหลักสูตรสาขาวิชาสารสนเทศศึกษากระบวนการการทำงานในห้องสมุด ห...
ความสัมพันธ์ระหว่างหลักสูตรสาขาวิชาสารสนเทศศึกษากระบวนการการทำงานในห้องสมุด ห...ความสัมพันธ์ระหว่างหลักสูตรสาขาวิชาสารสนเทศศึกษากระบวนการการทำงานในห้องสมุด ห...
ความสัมพันธ์ระหว่างหลักสูตรสาขาวิชาสารสนเทศศึกษากระบวนการการทำงานในห้องสมุด ห...
 
บทที่ 1 สารสนเทศกับการเรียนรู้
บทที่ 1 สารสนเทศกับการเรียนรู้บทที่ 1 สารสนเทศกับการเรียนรู้
บทที่ 1 สารสนเทศกับการเรียนรู้
 
สารานุกรม
สารานุกรมสารานุกรม
สารานุกรม
 

Mehr von Supaporn Khiewwan

เฉลยแบบฝึกวิเคราะห์หมวดหมู่.Docx
เฉลยแบบฝึกวิเคราะห์หมวดหมู่.Docxเฉลยแบบฝึกวิเคราะห์หมวดหมู่.Docx
เฉลยแบบฝึกวิเคราะห์หมวดหมู่.Docx
Supaporn Khiewwan
 
เฉลยเลขเรียกหนังสือ
เฉลยเลขเรียกหนังสือเฉลยเลขเรียกหนังสือ
เฉลยเลขเรียกหนังสือ
Supaporn Khiewwan
 
ใบงานเลขเรียกหนังสือ
ใบงานเลขเรียกหนังสือใบงานเลขเรียกหนังสือ
ใบงานเลขเรียกหนังสือ
Supaporn Khiewwan
 
แบบฝึกวิเคราะห์หมวดหมู่
แบบฝึกวิเคราะห์หมวดหมู่แบบฝึกวิเคราะห์หมวดหมู่
แบบฝึกวิเคราะห์หมวดหมู่
Supaporn Khiewwan
 
เฉลยแบบฝึกหัดทรัพยากรสารสนเทศ
เฉลยแบบฝึกหัดทรัพยากรสารสนเทศเฉลยแบบฝึกหัดทรัพยากรสารสนเทศ
เฉลยแบบฝึกหัดทรัพยากรสารสนเทศ
Supaporn Khiewwan
 
แบบฝึกหัดทรัพยากรสารสนเทศ
แบบฝึกหัดทรัพยากรสารสนเทศแบบฝึกหัดทรัพยากรสารสนเทศ
แบบฝึกหัดทรัพยากรสารสนเทศ
Supaporn Khiewwan
 

Mehr von Supaporn Khiewwan (20)

แบบฝึกหัดการการเขียนบรรณานุกรม
แบบฝึกหัดการการเขียนบรรณานุกรมแบบฝึกหัดการการเขียนบรรณานุกรม
แบบฝึกหัดการการเขียนบรรณานุกรม
 
การจัดเก็บและค้นคืน
การจัดเก็บและค้นคืนการจัดเก็บและค้นคืน
การจัดเก็บและค้นคืน
 
เฉลยแบบฝึกหัดทรัพยากรสารนิเทศ ม.4 2560
เฉลยแบบฝึกหัดทรัพยากรสารนิเทศ ม.4 2560เฉลยแบบฝึกหัดทรัพยากรสารนิเทศ ม.4 2560
เฉลยแบบฝึกหัดทรัพยากรสารนิเทศ ม.4 2560
 
เฉลยแบบฝึกหัด เรื่อง ส่วนประกอบของสื่อสิ่งพิมพ์
เฉลยแบบฝึกหัด เรื่อง ส่วนประกอบของสื่อสิ่งพิมพ์เฉลยแบบฝึกหัด เรื่อง ส่วนประกอบของสื่อสิ่งพิมพ์
เฉลยแบบฝึกหัด เรื่อง ส่วนประกอบของสื่อสิ่งพิมพ์
 
แบบฝึกหัดทรัพยากรสารสนเทศ
แบบฝึกหัดทรัพยากรสารสนเทศ แบบฝึกหัดทรัพยากรสารสนเทศ
แบบฝึกหัดทรัพยากรสารสนเทศ
 
ส่วนประกอบของสื่อสิ่งพิมพ์
ส่วนประกอบของสื่อสิ่งพิมพ์ส่วนประกอบของสื่อสิ่งพิมพ์
ส่วนประกอบของสื่อสิ่งพิมพ์
 
แบบฝึกหัด เรื่อง ส่วนประกอบของสื่อสิ่งพิมพ์
แบบฝึกหัด เรื่อง ส่วนประกอบของสื่อสิ่งพิมพ์แบบฝึกหัด เรื่อง ส่วนประกอบของสื่อสิ่งพิมพ์
แบบฝึกหัด เรื่อง ส่วนประกอบของสื่อสิ่งพิมพ์
 
ใบความรู้ เรื่องอ้างอิง
ใบความรู้ เรื่องอ้างอิงใบความรู้ เรื่องอ้างอิง
ใบความรู้ เรื่องอ้างอิง
 
คำถามอ้างอิง 59
คำถามอ้างอิง 59คำถามอ้างอิง 59
คำถามอ้างอิง 59
 
เฉลยแบบฝึกวิเคราะห์หมวดหมู่.Docx
เฉลยแบบฝึกวิเคราะห์หมวดหมู่.Docxเฉลยแบบฝึกวิเคราะห์หมวดหมู่.Docx
เฉลยแบบฝึกวิเคราะห์หมวดหมู่.Docx
 
หลักการดูข้อมูลทางบรรณานุกรม
หลักการดูข้อมูลทางบรรณานุกรมหลักการดูข้อมูลทางบรรณานุกรม
หลักการดูข้อมูลทางบรรณานุกรม
 
หลักการลงรายการทางบรรณานุกรม.ppt
หลักการลงรายการทางบรรณานุกรม.pptหลักการลงรายการทางบรรณานุกรม.ppt
หลักการลงรายการทางบรรณานุกรม.ppt
 
เฉลยเลขเรียกหนังสือ
เฉลยเลขเรียกหนังสือเฉลยเลขเรียกหนังสือ
เฉลยเลขเรียกหนังสือ
 
เลขเรียกหนังสือ.Ppt
เลขเรียกหนังสือ.Pptเลขเรียกหนังสือ.Ppt
เลขเรียกหนังสือ.Ppt
 
ใบงานเลขเรียกหนังสือ
ใบงานเลขเรียกหนังสือใบงานเลขเรียกหนังสือ
ใบงานเลขเรียกหนังสือ
 
แบบฝึกวิเคราะห์หมวดหมู่
แบบฝึกวิเคราะห์หมวดหมู่แบบฝึกวิเคราะห์หมวดหมู่
แบบฝึกวิเคราะห์หมวดหมู่
 
หมวดหมู่ทศนิยมดิวอี้
หมวดหมู่ทศนิยมดิวอี้หมวดหมู่ทศนิยมดิวอี้
หมวดหมู่ทศนิยมดิวอี้
 
ทรัพยากรสารนิเทศ
ทรัพยากรสารนิเทศทรัพยากรสารนิเทศ
ทรัพยากรสารนิเทศ
 
เฉลยแบบฝึกหัดทรัพยากรสารสนเทศ
เฉลยแบบฝึกหัดทรัพยากรสารสนเทศเฉลยแบบฝึกหัดทรัพยากรสารสนเทศ
เฉลยแบบฝึกหัดทรัพยากรสารสนเทศ
 
แบบฝึกหัดทรัพยากรสารสนเทศ
แบบฝึกหัดทรัพยากรสารสนเทศแบบฝึกหัดทรัพยากรสารสนเทศ
แบบฝึกหัดทรัพยากรสารสนเทศ
 

การจัดเก็บทรัพยากรสารสนเทศ

  • 1. ใบความรู้เรื่อง การจัดชั้นหนังสือ รายวิชา การใช้ห้องสมุด 2 (ง 20263) การจัดเก็บทรัพยากรสารสนเทศ ความสาคัญของการจัดเก็บทรัพยากรสารสนเทศ การจัดเก็บทรัพยากรสารสนเทศมีความสาคัญมาก เพราะจะทาให้บรรณารักษ์สามารถจัดเรียงไ ด้อย่างมีระบบ เพื่อให้ผู้เรียนหยิบได้ง่ายและรวดเร็วประหยัดเวลาในการค้นหา การจัดเก็บหนังสือตามระบบทศนิยมของดิวอี้ การจัดเก็บหนังสือของห้องสมุดโรงเรียนที่จัดตามระบบทศนิยมของดิวอี้ การจัดเรียงบนชั้นหนังสือตามหมวดหมู่ของหนังสือเรียงหนังสือภาษาไทยก่อนตามด้วยหนังสือ ภาษาต่างประเทศดังนี้ 1. เรียงจากเลขน้อยไปหาเลขมาก จากซ้ายไปขวา โดยดูจากเลขเรียกหนังสือที่สันหนังสือ ดังตัวอย่าง 2. ถ้าเลขหมู่ตรงกันให้เรียงตามลาดับอักษรตัวแรกของผู้แต่งดังตัวอย่าง
  • 2. ใบความรู้เรื่อง การจัดชั้นหนังสือ รายวิชา การใช้ห้องสมุด 2 (ง 20263) 3. ถ้าเลขหมู่ตรงกัน และตัวอักษรตัวแรกของผู้แต่งซ้ากัน ให้เรียงตามเลขประจาตัวผู้แต่ง และอักษรตัวแรกของชื่อหนังสือ ดังตัวอย่าง 4. ถ้าชื่อเรื่องเดียวกันมีหลายฉบับให้เรียงตามลาดับฉบับ ดังตัวอย่าง 5. ถ้าเป็นหนังสือชุดให้เรียงตามลาดับเล่มที่ หากมีหลายฉบับให้เรียงตามลาดับฉบับด้วย ดังตัวอย่าง
  • 3. ใบความรู้เรื่อง การจัดชั้นหนังสือ รายวิชา การใช้ห้องสมุด 2 (ง 20263) การจัดเก็บหนังสือตามระบบที่กาหนดขึ้นเองตามความเหมาะสมของห้องสมุดแต่ละแห่ง การจัดเก็บหนังสือตามระบบที่กาหนดขึ้นเองที่ผู้เรียนควรทราบเพื่อสะดวกในการค้นหา 1. หนังสือแบบเรียน และหนังสืออ้างอิง จัดเก็บหนังสือตามระบบทศนิยมของดิวอี้ ดังตัวอย่าง 2. หนังสือบันเทิงคดี เช่น นวนิยาย เยาวชน เรื่องสั้น จัดเรียงตามลาดับอักษรของผู้แต่ง ดังตัวอย่าง
  • 4. ใบความรู้เรื่อง การจัดชั้นหนังสือ รายวิชา การใช้ห้องสมุด 2 (ง 20263) หมายเหตุ 1. อ ย่อมาจาก อ้างอิง R ย่อมาจาก Reference 2. น ย่อมาจาก นวนิยาย 3. ย ย่อมาจาก เยาวชน 4. รส ย่อมาจาก เรื่องสั้น 3. หนังสือคู่มือเตรียมสอบ ใช้เทปสีส้มติดที่สันหนังสือ และจัดเก็บตามรายวิชา 4. หนังสืออ่านนอกเวลา ใช้เทปสีม่วงติดสันหนังสือ และจัดเก็บตามชื่อหนังสือ 5. หนังสือที่ได้รางวัลต่าง ๆ ใช้เทปสีเขียวติดสันหนังสือ และจัดเก็บตามหมวดหมู่ของหนังสือ 6. วารสาร จัดเก็บขึ้นชั้นวารสารเรียงตามลาดับชื่อวารสาร ที่มา : การจัดเก็บทรัพยากรสารสนเทศ. (ม.ป.ป.). เข้าถึงได้จาก : http://www.bangkapi.ac.th. (วันที่คันข้อมูล:20 พฤศจิกายน2558).