SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 22
Downloaden Sie, um offline zu lesen
รายงาน
เรื่อง ด้านคอมพิวเตอร์
ผู้จัดทา
นาย กฤษดา จันทร์ชาวใต้ เลขที่ 14
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/3
เสนอ
อาจารย์ ทรงศักดิ์ โพธ์เอียม
รายงานเล่มนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชาคอมพิวเตอร์ (ง 30204)
ภาคเรียน 2 ปีการศึกษา 2560
โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ กาญจนบุรี
ในพระราชูถัมภ์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯสยามบรมราชกุมารี
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 8
ข
คานา
รายงานฉบับนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชาการศึกษาค้นคว้า เพื่อเป็นประโยชน์แก่นักเรียนโรงเรียนเฉลิม
พระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ กาญจนบุรี ที่จะศึกษาเกี่ยวกับปัญหาการไม่รับประทานอาหารเช้า ซึ่ง
คณะผู้จัดทา จัดทาขึ้นเพื่อศึกษาหาสาเหตุของปัญหาการไม่รับประทานอาหารเช้า และเพื่อศึกษาแนว
ทางแก้ไขปัญหาการไม่รับประทานอาหารเช้าของนักเรียนอย่างถูกต้องเหมาะสมคณะผู้จัดทาหวังเป็นอย่าง
ยิ่งว่าโครงงานเล่มนี้จะเป็นประโยชน์แก่นักเรียนโรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์
กาญจนบุรี หากมีข้อบกพร่องประการใด คณะผู้จัดทาขออภัยไว้ณ โอกาสนี้ด้วย
ผู้จัดทา
นาย กฤษดา จันทร์ชาวใต้
ค
สารบัญ
คานา...........................................................................................................................................................................................................................................ข
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์...........................................................................................................................................................................1
เครื่องคอมพิวเตอร์ในแต่ละยุค........................................................................................................................................................................................7
ประเภทของคอมพิวเตอร์................................................................................................................................................................................................10
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ .....................................................................................................................................................................................14
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ ส่วนอื่นๆ.................................................................................................................................................................15
สรุปเรื่องอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ ......................................................................................................................18
ง
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ความหมายและความเป็นมา
เมื่อพิจารณาศัพท์คาว่า คอมพิวเตอร์ ถ้าแปลกันตรงตัวตามคาภาษาอังกฤษ จะหมายถึงเครื่องคานวณ
ดังนั้นถ้ากล่าวอย่างกว้าง ๆ เครื่องคานวณที่มีส่วนประกอบเป็นเครื่องกลไกหรือเครื่องไฟฟ้า ต่างก็จัดเป็น
คอมพิวเตอร์ได้ทั้งสิ้น ลูกคิดที่เคยใช้กันในร้านค้า ไม้บรรทัด คานวณ (slide rule) ซึ่งถือเป็นเครื่องมือ
ประจาตัววิศวกรในยุคยี่สิบปีก่อน หรือเครื่องคิดเลข ล้วนเป็นคอมพิวเตอร์ได้ทั้งหมด
ในปัจจุบันความหมายของคอมพิวเตอร์จะระบุเฉพาะเจาะจง หมายถึงเครื่องคานวณอิเล็กทรอนิกส์ที่
สามารถทางานคานวณผลและเปรียบเทียบค่าตามชุดคาสั่งด้วยความเร็วสูงอย่างต่อเนื่องและอัตโนมัติ
พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2525 ได้ให้คาจากัดความของคอมพิวเตอร์ไว้ค่อนข้างกะทัดรัดว่า
เครื่องอิเล็กทรอนิกส์แบบอัตโนมัติ ทาหน้าที่เสมือนสมองกล ใช้สาหรับแก้ปัญหาต่าง ๆ ทั้งที่ง่ายและ
ซับซ้อน โดยวิธีทางคณิตศาสตร์
การจาแนกคอมพิวเตอร์ตามลักษณะวิธีการทางานภายในเครื่องคอมพิวเตอร์อาจแบ่งได้เป็นสองประเภท
ใหญ่ ๆ คือ
แอนะล็อกคอมพิวเตอร์ (analog computer) เป็นเครื่องคานวณอิเล็กทรอนิกส์ที่ไม่ได้ใช้ค่าตัวเลขเป็นหลัก
ของการคานวณ แต่จะใช้ค่าระดับแรงดันไฟฟ้าแทน ไม้บรรทัดคานวณ อาจถือเป็นตัวอย่างหนึ่งของแอนะ
ล็อกคอมพิวเตอร์ ที่ใช้ค่าตัวเลขตามแนวความยาวไม้บรรทัดเป็นหลักของการคานวณ โดยไม้บรรทัด
คานวณจะมีขีดตัวเลขกากับอยู่ เมื่อไม้บรรทัดหลายอันมรประกบรวมกัน การคานวณผล เช่น การคูณ จะเป็น
การเลื่อนไม้บรรทัดหนึ่งไปตรงตามตัวเลขของตัวตั้งและตัวคูณของขีดตัวเลขชุดหนึ่ง แล้วไปอ่านผลคูณ
ของขีดตัวเลขอีกชุดหนึ่งแอนะล็อกคอมพิวเตอร์แบบอิเล็กทรอนิกส์จะใช้หลักการทานองเดียวกัน โดย
แรงดันไฟฟ้าจะแทนขีดตัวเลขตามแนวยาวของไม้บรรทัด
แอนะล็อกคอมพิวเตอร์จะมีลักษณะเป็นวงจรอิเล็กทรอนิกส์ที่แยกส่วนทาหน้าที่เป็นตัวกระทาและเป็น
ฟังก์ชันทางคณิตศาสตร์ จึงเหมาะสาหรับงานคานวณทางวิทยาศาสตร์และวิศวกรรมที่อยู่ในรูปของสมการ
คณิตศาสตร์ เช่น การจาลองการบิน การศึกษาการสั่งสะเทือนของตึกเนื่องจากแผ่นดินไหว ข้อมูลตัวแปร
นาเข้าอาจเป็นอุณหภูมิความเร็วหรือความดันอากาศ ซึ่งจะต้องแปลงให้เป็นค่าแรงดันไฟฟ้า เพื่อนาเข้าแอ
นะล็อกคอมพิวเตอร์ผลลัพธ์ที่ได้ออกมาเป็นแรงดันไฟฟ้าแปรกับเวลาซึ่งต้องแปลงกลับไปเป็นค่าของตัว
แปรที่กาลังศึกษา
2
ในปัจจุบันไม่ค่อยพบเห็นแอนะล็อกคอมพิวเตอร์เท่าไรนักเพราะผลการคานวณมีความละเอียดน้อย ทา
ให้มีขีดจากัดใช้ได้กับงานเฉพาะบางอย่างเท่านั้น
ดิจิทัลคอมพิวเตอร์ (digital computer) คอมพิวเตอร์ที่พบเห็นทั่วไปในปัจจุบัน จัดเป็นดิจิทัลคอมพิวเตอร์
แทบทั้งหมด ดิจิทัลคอมพิวเตอร์เป็นเครื่องคานวณอิเล็กทรอนิกส์ที่ใช้งานเกี่ยวกับตัวเลข มีหลักการคานวณ
ที่ไม่ใช่แบบไม้บรรทัดคานวณ แต่เป็นแบบลูกคิด โดยแต่และหลักของลูกคิดคือ หลักหน่วย หลักร้อย และ
สูงขึ้นไปเรื่อย ๆ เป็นระบบเลขฐานสินที่แทนตัวเลขจากศูนย์ถ้าเก้าไปสิบตัวตามระบบตัวเลขที่ใช้ใน
ชีวิตประจาวัน
ค่าตัวเลขของการคานวณในดิจิทัลคอมพิวเตอร์จะแสดงเป็นหลักเช่นเดียวกัน แต่จะเป็นระบบ
เลขฐานสองที่มีสัญลักษณ์ตัวเลขเพียงสองตัว คือเลขศูนย์กับเลขหนึ่งเท่านั้น โดยสัญลักษณ์ตัวเลขทั้งสองตัว
นี้ จะแทนลักษณะการทางานภายในซึ่งเป็นสัญญาณไฟฟ้าที่ต่างกัน การคานวณภายในดิจิทัลคอมพิวเตอร์จะ
เป็นการประมวลผลด้วยระบบเลขฐานสองทั้งหมด ดังนั้นเลขฐานสิบที่เราใช้และคุ้นเคยจะถูกแปลงไปเป็น
ระบบเลขฐานสองเพื่อการคานวณภายในคอมพิวเตอร์ ผลลัพธ์ที่ได้ก็ยังเป็นเลขฐานสองอยู่ ซึ่งคอมพิวเตอร์
จะแปลงเป็นเลขฐานสิบเพื่อแสดงผลให้ผู้ใช้เข้าใจได้ง่าย
จากอดีตสู่ปัจจุบัน
พัฒนาการทางด้านเทคโนโลยีในช่วง 100 ปีที่ผ่านมาได้พัฒนาไปอย่างรวดเร็ว โดยเฉพาะอย่างยิ่ง
เทคโนโลยีทางด้าน คอมพิวเตอร์ เมื่อ 50 ปีที่แล้วมา มีคอมพิวเตอร์ขึ้นใช้งาน ต่อมาเกิดระบบสื่อสาร
โทรคมนาคมสมัยใหม่เกิดขึ้นมากมาย และมีแนวโน้มการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง เราสามารถแบ่งพัฒนาการ
คอมพิวเตอร์จากอดีตสู่ปัจจุบัน สามารถแบ่งเป็นยุคก่อนการใช้ไฟฟ้าอิเล็กทรอนิคส์ และยุคที่เครื่อง
คอมพิวเตอร์เป็นอุปกรณ์ไฟฟ้าอิเล็กทรอนิคส์
เครื่องคานวณในยุคประวัติศาสตร์
เครื่องคานวณเครื่องแรกของโลก ได้แก่ ลูกคิด มีการใช้ลูกคิดในหมู่ชาวจีนมากกว่า 7000 ปี และใช้ใน
อียิปต์โบราณมากกว่า 2500 ปี ลูกคิดของชาวจีนประกอบด้วยลูกปัดร้อยอยู่ในราวเป็นแถวตามแนวตั้ง โดย
แต่ละแถวแบ่งเป็นครึ่งบนและล่าง ครึ่งบนมีลูกปัด 2 ลูก ครึ่งล่างมีลูกปัด 5 ลูก แต่ละแถวแทนหลักของ
ตัวเลข
3
เครื่องคานวณกลไกที่รู้จักกันดี ได้แก่ เครื่องคานวณของปาสคาลเป็นเครื่องที่บวกลบด้วยกลไกเฟืองที่ขบ
ต่อกัน เบลส ปาสคาล (Blaise Pascal) นักคณิตศาสาตร์ชาวฝรั่งเศส ได้ประดิษฐ์ขึ้นในปี พ.ศ. 2185
คอมพิวเตอร์ในยุคเริ่มแรก ได้แก่ เครื่องจักรกลหรือสิ่งประดิษฐ์ขึ้นเพื่อช่วยในการ คานวณ โดยที่ยังไม่มี
การ นาวงจรอิเล็กทรอนิกส์ เข้ามาใช้ประโยชน์ร่วมด้วย ลาดับเครื่องมือขึ้นมามีดังนี้
ในระยะ 5,000 ปีที่ผ่านมา มนุษย์เริ่มรู้จักการใช้นิ้วมือและนิ้วเท้าของตนเพื่อช่วยในการคานวณ และ
พัฒนา มาใช้อุปกรณ์อื่น ๆ เช่น ลูกหิน ใช้เชือกร้อยลูกหินคล้ายลูกคิด
ต่อมาประมาณ 2,600 ปีก่อนคริสตกาล ชาวจีนได้ประดิษฐ์เครื่องมือเพื่อใช้ในการ คานวณขึ้นมาชนิด
หนึ่ง เรียกว่า ลูกคิด ซึ่งถือได้ว่า เป็นอุปกรณ์ใช้ช่วยการคานวณที่เก่าแก่ที่สุดในโลกและคงยังใช้งานมาจนถึง
ปัจจุบัน
พ.ศ. 2158 นักคณิตศาสตร์ชาวสก็อตแลนด์ชื่อ John Napier ได้ประดิษฐ์อุปกรณ์ใช้ ช่วยการคานวณขึ้นมา
เรียกว่า Napier's Bones เป็นอุปกรณ์ที่ลักษณะคล้ายกับตารางสูตรคูณในปัจจุบัน เครื่องมือชนิดนี้ช่วยให้
สามารถ ทาการคูณและหาร ได้ง่ายเหมือนกับทาการบวก หรือลบโดยตรง
พ.ศ 2185 นักคณิตศาสตร์ชาวฝรั่งเศลชื่อ Blaise Pascal ซึ่งในขณะนั้นมีอายุเพียง 19 ปี ได้ออกแบบ
เครื่องมือในการคานวณโดย ใช้หลักการหมุนของฟันเฟืองหนึ่งอันถูกหมุนครบ 1 รอบ ฟันเฟืองอีกอันหนึ่ง
ซึ่งอยู่ ทางด้านซ้ายจะถูกหมุนไปด้วยในเศษ 1 ส่วน 10 รอบ เครื่องมือของปาสคาลนี้ถูกเผยแพร่ออกสู่
สาธารณะชน เมื่อ พ.ศ. 2188 แต่ไม่ประสบความสาเร็จเท่าที่ควรเนื่องจากราคาแพง และเมื่อใช้งานจริงจะ
เกิดเหตุการณ์ที่ฟันเฟืองติดขัดบ่อยๆ ทาให้ผลลัพธ์ที่ได้ไม่ค่อยถูกต้องตรงความเป็นจริง
เครื่องมือของปาสคาล สามารถใช้ได้ดีในการคานวณการบวกและลบ ส่วนการคูณและหารยังไม่ดี
เท่าที่ควร ดังนั้นในปี พ.ศ. 2216 นักปราชญษชาวเยอรมันชื่อ Gottfriend von Leibnitz ได้ปรับปรุงเครื่ง
คานวณของ ปาสคาลให้สามารถทหการคูณและหารได้โดยตรง โดยที่การคูณใช้หลักการบวกกันหลายๆ
ครั้ง และการหาร ก็คือการลบกันหลายๆ ครั้ง แต่เครื่องมือของ Leibnitz ยังคงอาศัยการหมุนวงล้อ ของเครื่อง
เองอัตโนมัติ นับว่า เป็นเครื่องมือที่ช่วยให้การคานวณทางคณิตศาสตร์ที่ดูยุ่งยากกลับเป็นเรื่องที่ง่ายขึ้น
พ.ศ. 2344 นักประดิษฐ์ชาวฝรั่งเศลชื่อ Joseph Marie Jacquard ได้พยายามพัฒนาเครื่องทอผ้าโดยใช้
บัตรเจาะรูในการบันทึกคาสั่ง ควบคุมเครื่องทอผ้าให้ทาตามแบบที่กาหนดไว้และแบบดังกล่าวสามารถ
นามา สร้างซ้าๆ ได้อีกหลายครั้ง ความพยายามของ Jacquard สาเร็จลงใน พ.ศ. 2348 เครื่องทอผ้านี้ถือว่าเป็น
เครื่องทางานตามโปรแกรมคาสั่งเป็นเครื่องแรก
4
พ.ศ. 2373 Chales Babbage ถือกาเนิดที่ประเทศอังกฤษ เมื่อ พ.ศ. 2334 จบการศึกษาทางด้านคณิตศาสตร์
จากมหาวิทยาลัยแคมบริดจ์ และได้รับตาแหน่ง Lucasian Professor ซึ่งเป็นตาแหน่งที่ Isaac Newton เคย
ได้รับมาก่อน ในขณะที่กาลังศึกษาอยู่นั้น Babbage ได้สร้างเครื่อง หาผลต่าง (Difference Engine) ซึ่งเป็น
เครื่องที่ใช้คานวณ และพิมพ์ตารางทางคณิศาสตร์อย่างอัตโนมัติ จนกระทั่งปี พ.ศ. 2373 เขาได้รับความ
ช่วยเหลือจากรัฐบาลอังกฤษเพื่อสร้างเครื่อง Difference Engine ขึ้นมาจริงๆ
แต่ในขณะที่ Babbage ทาการสร้างเครื่อง Difference Engine อยู่นั้น ได้พัฒนาความคิดไปถึง เครื่องมือใน
การคานวนที่มีความสามารถสูงกว่านี้ ซึ่งก็คอืเครื่องที่เรียกว่าเครื่องวิเคราะห์ (Analytical Engine) และได้
ยกเลิกโครงการสร้างเครื่อง Difference Engine ลงแล้วเริ่มต้นงานใหม่ คือ งานสร้างเครื่องวิเคราะห์ ใน
ความคิดของเขา โดยที่เครื่องดังกล่าวประกอบไปด้วยชิ้นส่วนที่สาคัญ 4 ส่วน คือ
ส่วนเก็บข้อมูล เป็นส่วนที่ใช้ในการเก็บข้อมูลนาเข้าและผลลัพธ์ที่ได้จากการคานวณ
ส่วนประมวลผล เป็นส่วนที่ใช้ในการประมวลผลทางคณิตศาสตร์
ส่วนควบคุม เป็นส่วนที่ใช้ในการเคลื่อนย้ายข้อมูลระหว่างส่วนเก็บข้อมูล และส่วนประมวลผล
ส่วนรับข้อมูลเข้าและแสดงผลลัพธ์ เป็นส่วนที่ใช้รับทราบข้อมูลจากภายนอกเครื่องเข้าสู่ส่วนเก็บ และแสดง
ผลลัพธ์ที่ได้จากการคานวณให้ผู้ใช้ได้รับทราบ
เป็นที่น่าสังเกตว่าส่วนประกอบต่างๆ ของเครื่อง Alaytical Engine มีลักษณะใกล้เคียงกับส่วนประกอบ
ของระบบคอมพิวเตอร์ ในปัจจุบัน แต่น่าเสียดายที่เครื่อง Alalytical Engine ของ Babbage นั้นไม่สามารถ
สร้างให้สาเร็จขึ้นมาได้ทั้งนี้เนื่องจากเทคโนโลยี สมัยนั้นไม่สามารถสร้างส่วนประกอบต่างๆ ดังกล่าว และ
อีกประการหนึ่งก็คือ สมัยนั้นไม่มีความจาเป็น ต้องใช้เครื่องที่มีความสามารถสูงขนาดนั้น ดังนั้นรัฐบาล
อังกฤษจึงหยุดให้ความสนับสนุนโครงการของ Babbage ในปี พ.ศ. 2385 ทาให้ไม่มีทุนที่จะทาการวิจัย
ต่อไป สืบเนื่องจากมาจากแนวความคิดของ Analytical Engine เช่นนี้จึงทาให้ Charles Babbage ได้รับการ
ยกย่อง ให้เป็น บิดาของเครื่องคอมพิวเตอร์
พ.ศ. 2385 ชาวอังกฤษ ชื่อ Lady Auqusta Ada Byron ได้ทาการแปลเรื่องราวเกี่ยวกับเครื่อง Anatical
Engine จากภาษาฝรั่งเศลเป็นภาษาอังกฤษ ในระหว่างการแปลทาให้ Lady Ada เข้าใจถึงหลักการทางาน
ของเครื่อง Analytical Engine และได้เขียนรายละเอียดขั้นตอนของคาสั่งให้เครื่องนี้ทาการคานวณที่ยุ่งยาก
ซับซ้อนไว้ในหนังสือทางคณิตศาสตร์เล่มหนึ่ง ซึ่งถือว่าเป็นโปรแกรมคอมพิวเตอร์โปรแกรมแรกของโลก
และจากจุดนี้จึงถือว่า Lady Ada เป็นโปรแกรมเมอร์คนแรกของโลก (มีภาษาที่ใช้เขียนโปรแกรมที่เก่แก่ อยู่
หนึ่งภาษาคือภาษา Ada มาจาก ชื่อของ Lady Ada) นอกจากนี้ Lady Ada ยังค้นพบอีกว่าชุดบัตรเจาะรู ที่
5
บรรจุคาสั่งไว้สามารถนากลับมาทางานซ้าได้ถ้าต้องการ นั่นคือหลักของการทางานวนซ้า หรือเรียกว่า Loop
เครื่องมือที่ใช้ในการคานวณที่ถูกพัฒนาขึ้นในศตวรรษที่ 19 นั้น ทางานกับเลขฐานสิบ (Decimal Number)
แต่เมื่อเริ่มต้นของศตวรรษที่ 20 ระบบคอมพิวเตอร์ได้ถูกพัฒนาขึ้นจึงทาให้มีการเปลี่ยนแปลงมาใช้
เลขฐานสอง (Binary Number) กับระบบคอมพิวเตอร์ ที่เป็นผลสืบเนื่องมาจากหลักของพีชคณิต
พ.ศ. 2397 นักคณิตศาสตร์ชาวอังกฤษ George Boole ได้ใช้หลักพีชคณิตเผยแพร่กฎของ Boolean
Algebra ซึ่งเป็นคณิตศาสตร์ที่ใช้อธิบายเหตุผลของตรรกวิทยาที่ตัวแปรมีค่าได้เพียง "จริง" หรือ "เท็จ"
เท่านั้น (ใช้สภาวะเพียงสองอย่างคือ 0 กับ 1 ร่วมกับเครื่องหมายในเชิงตรรกพื้นฐาน คือ AND, OR และ
NOT)
สิ่งที่ George Boole คิดค้นขึ้น นับว่ามีประโยชน์ต่อระบบคอมพิวเตอร์ในปัจจุบันอย่างยิ่ง เนื่องจากเป็น
การยากที่จะใช้กระแสไฟฟ้า ซึ่งมีเพี่ยง 2 สภาวะ คือ เปิด กับ ปิด ในการแทน เลขฐานสิบซึ่งมีอยู่ถึง 10 ตัว
คือ 0 ถึง 9 แต่เป็นการง่ายกว่าเราแทนด้วยเลขฐานสอง คือ 0 กับ 1 จึงถือว่าสิ่งนี้เป็นรากฐานที่สาคัญของการ
ออกแบบวงจรระบบคอมพิวเตอร์ในปัจจุบัน
พ.ศ. 2423 Dr. Herman Hollerith นักสถิติชาวอเมริกันได้ประดิษฐ์เครื่องประมวลผลทางสถิติซึ่ง ใช้กับ
บัตรเจาะรู เครื่องนี้ได้รับการพัฒนา ให้ดียิ่งขึ้นและมาใช้งานสารวจสามะโนประชากร ของสหรัฐอเมริกา
ในป พ.ศ. 2433 และช่วยให้การสรุปผลสามะโนประชากรเสร็จสิ้นภายในระยะเวลา 2 ปีครึ่ง (โดยก่อนหน้า
นั้นต้องใช้เวลาถึง 7 ปีครึ่ง) เรียกบัตรเจาะรูนี้ว่า บัตรฮอลเลอริธ และชื่ออื่นๆ ที่ใช้เรียกบัตรนี้ ก็คือ บัตร
ไอบีเอ็ม หรือบัตร 80 คอลัมน์ เพราะผู้ผลิตคือ บริษัท IBM
การกาเนิดของเครื่องคอมพิวเตอร์อิเล็กทรอนิกส์
เครื่องมือทั้งหลายที่ถูกประดิษฐ์ขึ้นมาในยุคก่อนนั้นส่วนมากประกอบด้วยฟันเฟือง รอก คาน ซึ่งเป็น
วัสดุ ที่มีขนาดใหญ่ และมีน้าหนักมากทาให้การทางานล่าช้าและผิดพลาดอยู่เสมอ ดังนั้นในยุคต่อมาจึง
พยายาม พัฒนาเครื่องมือ ให้มีขนาดเล็กลง แต่มีประสิทธิภาพสูงขึ้น ดังนี้
พ.ศ. 2480 ศาสตราจารย์Howard Aiken แห่งมหาลัยวิทยาลัยฮาวาร์ด ได้พัฒนาเครื่องคานวณ ตาม
แนวคิด ของ Babbage ร่วมกับวิศวะกรของบริษัท IBM สร้างเครื่องคานวณตามความคิดของ Babbage ได้
สาเร็จ โดยเครื่องดังกล่าวทางานแบบเครื่องจักรกลปนไฟฟ้า และใช้บัตรเจาะรูเป็นสื่อในการนาเข้าข้อมูลสู่
เครื่องเพื่อทาการประมวลผล การพัฒนาดังกล่าวมาเสร็จสิ้นในปี พ.ศ. 2487 โดยเครื่องมือนี้มีชื่อว่า MARK 1
และเนื่องจากเครื่องนี้สาเร็จได้จากการสนับสนุน ด้านการเงินและบุคลากรจากบริษัท IBM ดังนั้นจึงมีอีกชื่อ
6
หนึ่งว่า IBM Automatic Sequence Controlled Calculator และนับเป็นเครื่องคานวณแบบอัตโนมัติเครื่องแรก
ของโลก
พ.ศ. 2486 ซึ่งเป็นช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 ศูนย์วิจัยของกองทัพบกสหรัฐอเมริกามีความจาเป็นที่จะต้อง
คิดค้นเครื่องช่วยคานวณ เพื่อใช้คานวณหาทิศทางและระยะทางในการส่งขีปนาวุธ ซึ่งถ้าใช้เครื่องคานวณที่
มี อยู่ในสมัยนั้นจะต้องใช้เวลาถึง 12 ชั่วโมงในการคานวณ การยิง 1 ครั้ง ดังนั้นกองทัพจึงให้กอง
ทุนอุดหนุนแก่ John W. Mauchly และ Persper Eckert จากหมาวิทยาลัยเพนซิลวาเนีย ในการสร้าง
คอมพิวเตอร์ จากอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ขึ้นมา โดยนาหลอดสุญยากาศ (Vacuum Tube) จานวน 18,000
หลอด มาใช้ในการสร้าง ซึ่งมีข้อดีคือ ทาให้เครื่องมีความเร็ว และมีความถูกต้องแม่นยาในการคานวณมาก
ขึ้น ในด้านของความเร็วนั้น เครื่องจักกลมีความเฉื่อยของการเคลื่อนที่ของชิ้นส่วนประกอบ แต่คอมพิวเตอร์
อิเล็กทรอนิกส์ จะใช้อิเล็กตรอนเป็นตัวคลื่อนที่ ทาให้สามารถส่งข้อมูลด้วยกระแสไฟฟ้าได้ด้วยความเร็ว
ใกล้เคียงกับความเร็วของแสง ส่วนความถูกต้องแม่นยาในการทางานของเครื่องจักรกลอาศัยฟันเฟือง รอก
คาน ในการทางาน ทาให้ทางานได้ช้า และเเกิดความผิดพลดได้ง่าย
พ.ศ. 2489 เครื่องคอมพิวเตอร์ที่ Mauchly และ Eckert คิดค้นขึ้นได้มีชื่อว่า ENIAC ย่อมาจาก (Electronic
Numberical Integrater and Caculator) ประสบความสาเร็จในปี พ.ศ. 2489 ถึงแม้ว่าจะไม่ทันใช้ใน
สงครามโลกครั้งที่สอง แต่ความเร็วในการตานวณของ ENIAC ทาให้วงการคอมพิวเตอร์ขณะนั้น ยอมรับ
ความสามารถของเครื่องคอมพิวเตอร์อิเล็กทรอนิกส์ แต่อย่างไรก็ตาม ENIAC ทางานด้วยไฟฟ้าทั้งหมดทา
ให้ในการทางานแต่ละครั้งจึงทาให้เกิดความร้อนสูงมาก จาเป็นต้องติดตั้งไว้ในห้องที่มีเครือ่งปรับอากาศ
ด้วย นอกจากนี้ ENIAC ยังเก็บได้เฉพาะข้อมูลที่เป็นตัวเลขขนาด 10 หลัก และเก็บได้เพียง 20 จานวน
เท่านั้น ส่วนชุดคาสั่งนั้น ยังไม่สามารถเก็บไว้ในเครื่องได้ การส่งชุดคาสั่งเข้าเครื่องจะต้องใช้วิธีการเดิน
สายไฟสร้างวงจร ถ้ามีการแก้ไขโปรแกรม ก็ต้องมีการเดินสายไฟกันใหม่ ซึ่งใช้เวลาเป็นวัน
ความคิดต่อมาในการพัฒนาเครื่องคอมพิวเตอร์ให้ดีขึ้นก็คือ การค้นหาวิธีการเก็บโปรแกรมไว้ในเครื่อง
เพื่อลดความยุ่งยาก ของขั้นตอนการป้ อนคาสั่งเข้าเครื่อง มีนักคณิตศาสตร์เชื้อสายฮังการเรียนชื่อ Dr.John
Von Neumann ได้พบวิธีการเก็บโปรแกรมไว้ในหน่วยความจาของเครื่องเช่นเดียวกับการเก็บข้อมูลและต่อ
วงจรไฟฟ้า สาหรับการคานวณ และการปฏิบัติการพื้นฐาน ไว้ให้เรียบร้อยภายในเครื่อง แล้วเรียกวงจร
เหล่านี้ด้วยรหัสตัวเลขที่กาหนดไว้เครื่องคอมพิวเตอร์ที่ถูกพัฒนาขึ้นตามแนวความคิดนี้ได้แก่ EVAC
(Electronic Ddiscreate Variable Automatic Computer) ซึ่งสร้างเสร็จใน พ.ศ. 2492 และนามาใช้งานจริงใน
ปี พ.ศ. 2494 และในเวลาใกล้เคียงกัน ที่มหาวิทยาลัยเคมบริดส์ ประเทศอังกฤษ ได้มีการสร้างคอมพิวเตอร์มี
ลักษณะคล้ายกับเครื่อง EVAC และให้ชื่อว่า EDSAC (Electronic Delay Strorage Automatic Caculator
7
เครื่องคอมพิวเตอร์ในแต่ละยุค
คอมพิวเตอร์ยุคที่ 1 (พ.ศ. 2497-2501 begin_of_the_skype_highlighting 2497-2501
end_of_the_skype_highlighting)
คอมพิวเตอร์ในยุคนี้ใช้หลอดสูญญากาศ (Vacuum tube) เป็นวงจรอิเล็กทรอนิกส์ เครื่องยังมีขนาดใหญ่มาก
ใช้กระแสไฟฟ้าจานวนมาก ทาให้เครื่องมีความร้อนสูงจึงมักเกิดข้อผิดพลาดง่าย คอมพิวเตอร์ในยุคนี้ได้แก่
UNIVAC I , IBM 600
คอมพิวเตอร์ยุคที่ 2 (พ.ศ. 2502-2507 begin_of_the_skype_highlighting 2502-2507
end_of_the_skype_highlighting)
คอมพิวเตอร์ยุคนี้ใช้ทรานซิสเตอร์ (Transistor) เป็นวงจรอิเล็กทรอนิกส์ และใช้วงแหวนแม่เหล็กเป็น
หน่วยความจา คอมพิวเตอร์มีขนาดเล็กกว่ายุคแรก ต้นทุนต่ากว่า ใช้กระแสไฟฟ้าและมีความแม่นยามากกว่า
คอมพิวเตอร์ยุคที่ 3 (พ.ศ. 2508-2513 begin_of_the_skype_highlighting 2508-2513
end_of_the_skype_highlighting)
คอมพิวเตอร์ยุคนี้ใช้วงจรไอซี (Integrated Circuit) เป็นสารกึ่งตัวนาที่สามารถบรรจุวงจรทางตรรกะไว้แล้ว
พิมพ์บนแผ่นซิลิกอน(Silicon) เรียกว่า "ชิป"
คอมพิวเตอร์ยุคที่ 4 (พ.ศ. 2514-2523 begin_of_the_skype_highlighting 2514-2523
end_of_the_skype_highlighting)
คอมพิวเตอร์ยุคนี้ใช้วงจร LSI (Large-Scale Integrated Ciruit) เป็นการรวมวงจรไอซีจานวนมากลงในแผ่น
ซิลิกอนชิป 1 แผ่น สามารถบรรจุได้มากกว่า 1 ล้านวงจร ด้วยเทคโนโลยีใหม่นี้ทาให้เกิดแนวคิดในการ
บรรจุวงจรที่สาคัญสาหรับการทางานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์นั่นคือ CPU ลงชิปตัวเดียว เรียกว่า "ไมโคร
โปรเชสเซอร์"
คอมพิวเตอร์ยคุที่ 5 (พ.ศ. 2524-ปัจจุบัน)
คอมพิวเตอร์ยุคนี้ใช้วงจร VLSI (Very Large-Scale Integrated Ciruit) เป็นการพัฒนาไมโครโปรเซสเซอร์
ให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น
ก่อกาเนิด ไมโครโปรเซสเซอร์
8
เมื่อก่อนนั้น Intel เป็นบริษัทผลิตชิปไอซี แห่งหนึ่งที่ไม่ใหญ่โตมากนักเท่าในปัจจุบัน เมื่อปี ค.ศ.1969 ได้
สร้างความสะเทือน ให้กับวงการอิเล็คทรอนิคส์ โดยการออกชิปหน่วยความจา(Memory)ขนาด 1 Kbyte มา
เป็นรายแรก
บริษัทบิสซิคอมพ์(Busicomp) ซึ่งเป็นผู้ผลิตเครื่องคิดเลขของญี่ปุ่ญได้ทาการว่าจ้างให้ Intel ทาการผลิต
ชิปไอซี ที่บิสซิคอมพ์เป็นคนออกแบบเองที่มีจานวน 12 ตัว โครงการนี้ถูกมอบหมายให้นาย M.E. Hoff, Jr.
ซึ่งเข้าตัดสินใจที่จะใช้วิธีการออกแบบชิปแบบใหม่ โดยสร้างชิปที่ให้ถูกโปรแกรมได้ หมายถึงว่า สามารถ
นาเอาชุดคาสั่งของการคานวณไปเก็บไว้ใน หน่วยความจาก่อนแล้วให้ไอซีตัวนี้อ่านเข้ามาแปล ความหมาย
และทางานภายหลัง
ในปี 1971 Intel ได้นาผลิตภัณฑ์ออกสู่ตลาด โดยใช้ชื่อทางการค้าว่า Intel 4004 ในราคา 200 เหรียญ
สหรัฐ และเรียกชิปนี้ว่าเป็น ไมโครโปรเซสเซอร์(Micro Processor) ก็เพราะว่า 4004 นี้เป็น CPU (Central
Processing Unit) ตัวหนึ่ง ซึ่งมีขนาด 4.2 X 3.2 มิลลิเมตร ภายในประกอบด้วย ทรานซิสเตอร์ จานวน 2250
ตัว และเป็น ไมโครโปรเซสเซอร์ขนาด 4 บิต
หลังจาก 1 ปีต่อมา Intel ได้ออก ไมโครโปรเซสเซอร์ ขนาด 8 บิตออกมาโดยใช้ชื่อว่า 8008 มีชุดคาสั่ง 48
คาสั่ง และอ้างหน่วยความจาได้16 Kbyte ซึ่งทาง Intel หวังว่าจะเป็นตัวกระตุ้นตลาดทางด้านชิป
หน่วยความจาได้อีกทางหนึ่ง
เมื่อปี 1973 ทาง Intel ได้ออก ไมโครโปรเซสเซอร์ 8080 ที่มีชุดคาสั่งพื้นฐาน 74 คาสั่งและสามารถอ้าง
หน่วยความจาได้ 64 Kbyte
ไมโครคอมพิวเตอร์ เครื่องแรกของโลก
เมื่อปี 1975 มีนิตยสารต่างประเทศฉบับหนึ่ง ชื่อว่า Popular Electronics ฉบับเดือน มกราคม ได้ลง
บทความ เกี่ยวกับเครื่อง ไมโครโปรเซสเซอร์ เครื่องแรกของโลกที่มีชื่อว่า อัลแตร์ 8800 (Altair) ซึ่งทา
ออกมาเป็นชุดคิท โดยบริษัท MITS (Micro Insumentation And Telemetry Systems) ลักษณะของชุดคิท ก็
คือ จะอยู่ในรูปของอุปกรณ์แต่ละชิ้นโดยให้ คุณนาไปประกอบขึ้นใช้เอง
9
บริษัท MITS ถูกก่อตั้งเมื่อปี 1969 โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อทาตลาดในด้านเครื่องคิดเลข แต่การค้าชลอตัวลง
ประธานบริษัท ชื่อ H. Edword Roberts เห็นการไกล คิดเปิดตลาดใหม่ซึ่งจะขายชุดคิด คอมพิวเตอร์
ประมาณเอาไว้ว่าอาจขาย ได้ในจานวนปีล่ะประมาณ 200-300 ชุด จึงให้ทิมงานออกแบบบและพัฒนาแล้ว
เสร็จก่อนถึงคริสต์มาส ในปี 1974 แต่เพิ่งมา ประกาศตัวในปีถัดไป สาหรับ CPU ที่ใช้คือ 8080 และคาว่า
ไมโครคอมพิวเตอร์ จึงถูกเรียกใช้เป็นครั้งแรกเพื่อชุดคิทคอมพิวเตอร์ชุดนี้
ชุดคิทของ อัลแตร์ นี้ประกอบด้วย ไมโครโปรเซสเซอร์ 8080 ของบริษัท Intel มี เพาเวอร์ซัพพลาย มีแผง
หน้าปัดที่ติดหลอดไฟ เป็นแถวมาให้เพื่อแสดงผล รวมถึงหน่วยความจา 256 Byte ( แหม.. เหมือนของเล่น
เราในสมัยนี้ จังงง ) นอกนั้น ยังมี สล๊อต (Slot) ให้เสียบอุปกร์อื่น ๆ เพิ่มได้ แต่ก็ทาให้ MITS ต้องผิดคาด คือ
ภายใน เดือนเดียว มีจดหมายส่งเข้ามาขอสั่งซื้อเป็นจานวนถึง 4,000 ชุดเลยทีเดียว
ด้วยชิป 8080 นี่เองได้เป็นแรงดลใจให้บริษัท ดิจิตอลรีเสิร์ช (Digital Research) กาเนิดระบบปฏิบัติการ
(Operating System) ที่ชื่อว่า ซีพีเอ็ม(CP/M หรือ Control Program For Microcomputer) ขึ้นมา ในขณะที่
Microsoft ยังเพิ่งออก Microsoft Basic รุ่นแรกเองน่ะ
ถึงยุค Z80 ส่ะที
เมื่อเดือน พฤศจิกายนปี 1974 ได้มี วิศวกรของ Intel บางคนได้ออกมาตั้งบริษัทผลิตชิปเอง โดยมีชื่อว่า
ไซล๊อก (Zilog) เนื่องจาก วิศวกรเหล่านี้ ได้มีส่วนร่ามในการผลิตชิป 8080 ด้วยจึงได้นาเอาเทคโนโลยีการ
ผลิดนี้มาสร้างตัวใหม่ที่ดีกว่า มีชื่อว่า Z80 ยังคงเป็น ชิปขนาด 8 บิต เมื่อได้ออกสู่ตลาดได้รับความนิยมเป็น
อย่างมาก เนื่องจากได้ปรับปรุงข้อบกพร่องต่าง ๆ ที่มีอยู่ใน 8080 จึงทาให้เครื่องคอมพิวเตอร์ หลายต่อหลาย
ยี่ห้อ หันมาใช้ชิป Z80 กัน แม้แต่ซีพีเอ็ม ก็ยังถูกปรับปรุงให้มาใช้กับ Z80 นี้ด้วย *** แม้ในปัจุบันนี้ Z80
ยังคงถูกใช้งาน และนาไปใช้ในการเรียนการสอน ไมโครโปรเซสเซอร์ ด้วย เช่น ชุดคิดหรือ Single Board
Microcomputer ของ ETT, Sila เป็นต้น และ IC ตัวนี้ยังผลิตขาย อยู่ในปัจจุบัน ในราคา ไม่เกิน 100 บาท น่ะ
จะบอกให้)
Computer เครื่องแรกของ IBM
ในปี 1975 ไอพีเอ็ม ได้ออกเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ เครื่องแรกออกมา แต่ทางไอบีเอ็มได้เรียกเครื่องนี้
ว่าเป็น เทอร์มินัลแบบชาญฉลาด ที่สามารถโปรแกรมได้(Intelligent Programmable Terminal) และตั้งชื่อ
รุ่นว่า Model 5100 มีหน่วยความจา 16 Kbyte แล้วยังมีตัวแปลภาษาเบสิก แบบอินเตอร์พรีทเตอร์
(Interpreter) ด้วย และมี ไดรฟ์สาหรับใส่คาร์ทิดจ์เทปในตัว แต่ก็ยังขายไม่ดีเอามาก ๆ เลย เพราะว่าตั้งราคา
ไว้สูงมากถึง 9,000 เหรียญสหัฐ
10
ในปลายปี 1980 บริษัทไอบีเอ็มได้เกิดแผนกเล็ก ๆ ขึ้นมาแผนกหนึ่งเรียกว่า Entry Systems Division
ภายใต้ทีมของคนชื่อว่า ดอน เอสทริดจ์ (Don Estridge) และนักออกแบบอีก 12 คน โดยได้รับมอบหมายให้
พัฒนาเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์เครื่องแรกของไอบีเอ็มโมเด็ล 5100 นั้นเอง โดยนาเอาจุดเด่นของเครื่อง ที่
ขายดีมารวมไว้ในการออกแบบเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ของไอบีเอ็ม และผลิตจาหน่ายได้ภายในปีเดียว
ภายใต้ชื่อว่า ไอบีเอ็มพีซี (IBM PC) ซึ่งถูกเปิดตัวในเดือน สิหาคม ปี 1981 และยอดขายของเครื่องพีซีก็ได้พุ่ง
อย่างรวดเร็ว ทาให้บริษัทอื่น ๆ จับตามอง
กาเนิด แอปเปิ้ล
ในปี 1976 หลังจาก Stephen Wozniak และ Steve Jobs ได้ร่วมกันก่อตั้งบริษัทแอปเปิลคอมพิวเตอร์
(Apple Computer) และได้นาเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ เครื่องแรกที่ประดิษฐ์จากโรงรถออกมาขายโดยใช้
ชื่อว่า Apple I ในราคา 695 เหรียญ บริษัทแอปเปิลได้ผลิตเครื่อง Apple I ออกมาไม่มากนัก ภายในปีเดียวได้
ผลิต Apple II ออกมา และรุ่นนี้เป็นรุ่นเปิดศักราชแห่งวงการไมโครคอมพิวเตอร์ และเป็นการสร้าง
มาตรฐาน ที่ไมโครคอมพิวเตอร์ ที่เกิดมาตามหลังทั้งหมดต้องทาตา
ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์ตาม หลักการประมวลผลจาแนกได้เป็น 3 ประเภท คือ
คอมพิวเตอร์แบบแอนะล็อก (Analog Computer)
หมาย ถึง เครื่องมือประมวลผลข้อมูลที่อาศัยหลักการวัด (Measuring Principle) ทางานโดยใช้ข้อมูลที่มี
การเปลี่ยนแปลงแบบต่อเนื่อง (Continuous Data) แสดงออกมาในลักษณะสัญญาณที่เรียกว่า Analog Signal
เครื่องคอมพิวเตอร์ประเภทนี้มักแสดงผลด้วยสเกลหน้าปัทม์ และเข็มชี้ เช่น การวัดค่าความยาว โดย
เปรียบเทียบกับสเกลบนไม้บรรทัดการวัดค่าความร้อนจากการขยายตัวของปรอท เปรียบเทียบกับสเกลข้าง
หลอดแก้ว
นอกจาก นี้ยังมีตัวอย่างของ Analog Computer ที่ใช้การประมวลผลแบบเป็นขั้นตอน เช่น เครื่องวัดปริมาณ
การใช้น้าด้วยมาตรวัดน้า ที่เปลี่ยนการไหลของน้าให้เป็นตัวเลขแสดงปริมาณ อุปกรณ์วัดความเร็วของ
รถยนต์ในลักษณะเข็มชี้ หรือเครื่องตรวจคลื่ยสมองที่แสดงผลเป็นรูปกราฟ เป็นต้น
11
คอมพิวเตอร์แบบดิจิทัล (Digital Computer)
ซึ่ง ก็คือคอมพิวเตอร์ที่ใช้ในการทางานทั่วๆ ไปนั่นเอง เป็นเครื่องมือประมวลผลข้อมูลที่อาศัยหลักการ
นับทางานกับข้อมูลที่มีลักษณะ การเปลี่ยนแปลงแบบไม่ต่อเนื่อง (Discrete Data) ในลักษณะของ
สัญญาณไฟฟ้า หรือ Digital Signal อาศัยการนับสัญญาณข้อมูลที่เป็นจังหวะด้วยตัวนับ (Counter) ภายใต้
ระบบฐานเวลามาตรฐาน ทาให้ผลลัพธ์เป็นที่น่าเชื่อถือ ทั้งสามารถนับข้อมูลให้ค่าความละเอียดสูง เช่น
แสดงผลลัพธ์เป็นทศนิยมได้หลายตาแหน่ง เป็นต้น เนื่องจาก Digital Computer ต้องอาศัยข้อมูลที่เป็น
สัญญาณไฟฟ้า (มนุษย์สัมผัสไม่ได้) ทาให้ไม่สามารถรับข้อมูลจากแหล่งข้อมูลต้นทางได้โดยตรง จึง
จาเป็นต้องเปลี่ยนข้อมูลต้นทางที่รับเข้า (Analog Signal) เป็นสัญญาณไฟฟ้า (Digital Signal) เสียก่อน เมื่อ
ประมวลผลเรียบร้อยแล้วจึงเปลี่ยนสัญญาณไฟฟ้ากลับไปเป็น Analog Signal เพื่อสื่อความหมายกับมนุษย์
ต่อไป
โดยส่วนประกอบสาคัญ ที่เรียกว่า ตัวเปลี่ยนสัญญาณข้อมูล (Converter) คอยทาหน้าที่ในการเปลี่ยนรูปแบบ
ของสัญญาณข้อมูล ระหว่าง Digital Signal กับ Analog Signal
คอมพิวเตอร์แบบลูกผสม (Hybrid Computer)
เครื่อง ประมวลผลข้อมูลที่อาศัยเทคนิคการทางานแบบผสมผสาน ระหว่าง Analog Computer และ
Digital Computer โดยทั่วไปมักใช้ในงานเฉพาะกิจ โดยเฉพาะงานด้านวิทยาศาสตร์ เช่น เครื่องคอมพิวเตอร์
ในยานอวกาศ ที่ใช้ Analog Computer ควบคุมการหมุนของตัวยาน และใช้ Digital Computer ในการ
คานวณระยะทาง เป็นต้น
การทางานแบบผสมผสาน ของคอมพิวเตอร์ชนิดนี้ ยังคงจาเป็นต้องอาศัยตัวเปลี่ยนสัญญาณ (Converter)
เช่นเดิมประเภท ของคอมพิวเตอร์ตามวัตถุประสงค์ของการใช้งานจาแนกได้เป็น 2 ประเภท คือ
เครื่องคอมพิวเตอร์เพื่องานเฉพาะกิจ (Special Purpose Computer)
หมายถึง เครื่องประมวลผลข้อมูลที่ถูกออกแบบตัวเครื่องและโปรแกรมควบคุมให้ทางานอย่าง ใดอย่าง
หนึ่งเป็นการเฉพาะ (Inflexible) โดยทั่วไปมักใช้ในงานควบคุมหรืองานอุตสาหกรรมที่เน้นการประมวลผล
แบบรวดเร็ว เช่นเครื่องคอมพิวเตอร์ควบคุมสัญญาณไฟจราจร คอมพิวเตอร์ควบคุมลิฟท์หรือคอมพิวเตอร์
ควบคุมระบบอัตโนมัติในรถยนต์เป็นต้น
12
เครื่องคอมพิวเตอร์เพื่องานอเนกประสงค์(General Purpose Computer)
หมายถึง เครื่องประมวลผลข้อมูลที่มีความยืดหยุ่นในการทางาน (Flexible) โดยได้รับการออกแบบให้
สามารถประยุกต์ใช้ในงานประเภทต่างๆ ได้โดยสะดวกโดยระบบจะทางานตามคาสั่งในโปรแกรมที่เขียน
ขึ้นมาและเมื่อผู้ใช้ ต้องการให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทางานอะไรก็เพียงแต่ออกคาสั่งเรียกโปรแกรมที่
เหมาะสมเข้ามาใช้งานโดยเราสามารถเก็บโปรแกรมไว้หลายโปรแกรมในเครื่องเดียว กันได้เช่นในขณะ
หนึ่งเราอาจใช้เครื่องนี้ในงานประมวลผลเกี่ยวกับระบบบัญชีและในขณะ หนึ่งก็สามารถใช้ในการออกเช็ค
เงินเดือนได้เป็นต้น
ประเภทของคอมพิวเตอร์ตาม ความสามารถของระบบ
จาแนกออกได้เป็น 4 ชนิด โดยพิจารณาจาก ความสามารถในการเก็บข้อมูล และ ความเร็วในการ
ประมวลผล เป็นหลัก ดังนี้
ซุปเปอร์คอมพิวเตอร์ (Super Computer)
หมายถึงเครื่องประมวลผลข้อมูลที่มีความ สามารถในการประมวลผลสูงที่สุดโดยทั่วไปสร้างขึ้นเป็นการ
เฉพาะเพื่องานด้าน วิทยาศาสตร์ที่ต้องการการประมวลผลซับซ้อนและต้องการความเร็วสูง เช่น งานวิจัย
ขีปนาวุธ งานโครงการอวกาศสหรัฐ (NASA) งานสื่อสารดาวเทียม หรืองานพยากรณ์อากาศ เป็นต้น
เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ (Mainframe Computer)
หมายถึงเครื่องประมวลผลข้อมูลที่มีส่วน ความจาและความเร็วน้อยลงสามารถใช้ข้อมูลและคาสั่งของ
เครื่องรุ่นอื่นใน ตระกูล (Family) เดียวกันได้โดยไม่ต้องดัดแปลงแก้ไขใดๆ นอกจากนั้นยังสามารถทางาน
ในระบบเครือข่าย (Network) ได้เป็นอย่างดี โดยสามารถเชื่อมต่อไปยังอุปกรณ์ที่เรียกว่า เครื่องปลายทาง
(Terminal) จานวนมากได้สามารถทางานได้พร้อมกันหลายงาน (Multi Tasking) และใช้งานได้พร้อมกัน
หลายคน (Multi User) ปกติเครื่องชนิดนี้นิยมใช้ในธุรกิจขนาดใหญ่มีราคาตั้งแต่สิบล้านบาทไปจนถึง หลาย
ร้อยล้านบาทตัวอย่างของเครื่องเมนเฟรมที่ใช้กันแพร่หลายก็คือ คอมพิวเตอร์ของธนาคารที่เชื่อมต่อไปยังตู้
ATM และสาขาของธนาคารทั่วประเทศนั่นเอง
13
มินิคอมพิวเตอร์ (Mini Computer)
ธุรกิจและหน่วยงานที่มีขนาดเล็กไม่จาเป็น ต้องใช้คอมพิวเตอร์ขนาดเมนเฟรมซึ่งมีราคาแพงผู้ผลิต
คอมพิวเตอร์จึงพัฒนา คอมพิวเตอร์ให้มีขนาดเล็กและมีราคาถูกลง เรียกว่าเครื่องมินิคอมพิวเตอร์โดยมี
ลักษณะพิเศษในการทางานร่วมกับอุปกรณ์ ประกอบรอบข้างที่มีความเร็วสูงได้มีการใช้แผ่นจานแม่เหล็ก
ความจุสูงชนิดแข็ง (Harddisk) ในการเก็บรักษาข้อมูลสามารถอ่านเขียนข้อมูลได้อย่างรวดเร็ว หน่วยงาน
และบริษัทที่ใช้คอมพิวเตอร์ขนาดนี้ ได้แก่ กรม กอง มหาวิทยาลัย ห้างสรรพสินค้า โรงแรม โรงพยาบาล
และโรงงานอุตสาหกรรมต่างๆ
ไมโครคอมพิวเตอร์ (Micro Computer)
หมายถึงเครื่องประมวลผลข้อมูลขนาดเล็กมีส่วนของหน่วยความจาและ ความเร็วในการประมวลผลน้อย
ที่สุดสามารถใช้งานได้ด้วยคนเดียว จึงมักถูกเรียกว่า คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล (Personal Computer : PC)
ปัจจุบัน ไมโครคอมพิวเตอร์มีประสิทธิภาพสูงกว่าในสมัยก่อนมากอาจเท่ากับหรือมากกว่า เครื่องเมนเฟรม
ในยุคก่อน นอกจากนั้นยังราคาถูกลงมากดังนั้นจึงเป็นที่นิยมใช้มาก ทั้งตามหน่วยงานและบริษัทห้างร้าน
ตลอดจนตามโรงเรียนสถานศึกษา และบ้านเรือนบริษัทที่ผลิตไมโครคอมพิวเตอร์ออกจาหน่ายจนประสบ
ความสาเร็จเป็น บริษัทแรก คือบริษัทแอปเปิลคอมพิวเตอร์
เครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ จาแนกออกได้เป็น 2 ประเภทใหญ่ๆ คือ
1. แบบติดตั้งใช้งานอยู่กับที่บนโต๊ะทา งาน (Desktop Computer)
2. แบบเคลื่อนย้ายได้(Portable Computer) สามารถพกพาติดตัวอาศัยพลังงานไฟฟ้าจากแบตเตอรี่จาก
ภายนอก ส่วนใหญ่มักเรียกตามลักษณะของการใช้งานว่า Laptop Computer หรือ Notebook Computer
ลักษณะการทางานของคอมพิวเตอร์
การทางานของคอมพิวเตอร์
ก็เหมือนกับสมองของคนเรา คือ รับข้อมูลมา แล้วนาข้อมูลไปประมวลผล หลังจากนั้นก็จะแสดงผลออกมา
ซึ่งอาจกล่าวได้ว่าทุกส่วนนั้นมีการทางานที่สัมพันธ์กันเป็นกระบวนการ โดยจะมีองค์ประกอบพื้นฐานหลัก
ก็คือ Input Process และ Output ซึ่งมีขั้นตอนการทางานดังนี้
ขั้นตอนที่ 1 : การรับข้อมูลและคาสั่ง (Input)คอมพิวเตอร์จะรับข้อมูลและคาสั่งเข้าเครื่องผ่านทางอุปกรณ์
ชนิดต่างๆ ซึ่งขึ้นอยู่กับชนิดของข้อมูลที่จะป้ อนเข้าไป เช่น ถ้าเป็นการพิมพ์ข้อมูลจะใช้แป้ นพิมพ์
(Keyboard) เพื่อพิมพ์ข้อความหรือโปรแกรมเข้าเครื่อง แต่ถ้าเป็นการสแกนรูปภาพหรือข้อความเข้าไปไว้ใน
14
เครื่องก็จะใช้สแกนเนอร์ (Scanner) หรือถ้าเป็นการเล่นเกมส์ก็จะมีก้านควบคุม (Joystick) สาหรับเคลื่อน
ตาแหน่งของการเล่นบนจอภาพ เป็นต้นขั้นตอนที่ 2 : การประมวลข้อมูล (Process)หลังจากนาข้อมูลเข้า
มาแล้วนั้น เครื่องก็จะนาข้อมูลหรือคาสั่งไปประมวลผล เพื่อให้ได้ผลลัพธ์ตามที่ต้องการขั้นตอนที่ 3 : การ
แสดงผลลัพธ์ (Output)เป็นการนาผลลัพธ์ที่ได้จากการประมวลผลมาแสดงผลให้ทราบ ซึ่งโดยทั่วไปจะ
แสดงผลผ่านทางจอภาพ (Monitor) หรือจะพิมพ์ข้อมูลออกทางกระดาษโดยใช้เครื่องพิมพ์(Printer) เป็นต้น
การทางานของคอมพิวเตอร์
ลักษณะการทางานของเครื่องคอมพิวเตอร์ ประกอบด้วยหน่วย (Units) ที่ทาหน้าที่ต่างกัน 4 หน่วย คือ
1. หน่วยรับข้อมูล (Input Unit) เป็นตัวกลางในการรับข้อมูลผ่านอุปกรณ์ชนิดต่าง ๆ เช่น แป้ นพิมพ์
(Keyboard)และสแกนเนอร์ (Scanner) โดยพิมพ์หรือวาดรูป เข้าไปในเครื่อง
2. หน่วยประมวลผลกลาง (Central Processing Unit : CPU) เป็นส่วนที่สาคัญที่สุดของคอมพิวเตอร์ซึ่งจะ
ควบคุมการทางาน ทั้งหมดของเครื่อง
3. หน่วยความจา (Memory) เป็นส่วนที่ใช้เก็บข้อมูลต่าง ๆ เครื่องไว้ซึ่งมี 2 ชนิดคือ
3.1 ROM (Read Only Memory) เป็นหน่วยความจาหลักที่ทาหน้าที่อ่านข้อมูลเพียงอย่างเดียว
3.2 RAM (Random Access Memory) เป็นหน่วยความจารองที่ทาหน้าที่ในการบันทึกข้อมูลไว้ชั่วคราวซึ่ง
หากเราปิดเครื่องจะทาให้ข้อมูลสูญหายได้
4. หน่วยแสดงผล (Output) เป็นการนาผลลัพธ์ที่ผ่านการดาเนินการตามกรรมวิธีจากหน่วยความจา แสดง
ออกมาในรูปแบบที่อ่านเข้าใจได้ง่าย อาจจะอยู่ในรูป รายงาน ตาราง กราฟ หรือรูปภาพ โดยผ่านอุปกรณ์
แสดงผล เช่น เครื่องพิมพ์หรือจอภาพ เป็นต้น
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
ด้วยความก้าวหน้าของเทคโนโลยีและเป็นยุคสารสนเทศ ไม่ว่าเราจะทาอะไรก็สะดวกสบายไปเสียหมด จะ
ติดตามข่าวสารต่างๆ ก็สะดวกสบายขึ้น การติดต่อสื่อสารก็ง่ายขึ้น ด้วยเทคโนโลยีที่ทันสมัย ทาให้ทุกอย่าง
นั้นสะดวกขึ้นเป็นอย่างมาก แม้กระทั่งการทางานของเราก็ สะดวกขึ้น เพราะปัจจุบันนี้ ในการทางานก็มี
เทคโนโลยีเข้ามาเกี่ยวข้อง ที่เห็นง่ายๆ เลย ก็คือ การนาคอมพิวเตอร์เข้ามาใช้ในหน่วยงาน ไม่ว่าจะเป็น
หน่วยงานราชการหรือหน่วยงานเอกชนล้วนแล้วแต่นาคอมพิวเตอร์เข้ามาเป็นส่วนหนึ่งในการทางานทั้งนั้น
แล้วรู้กันหรือไหมว่า คอมพิวเตอร์ที่เราใช้กันอยู่ทุกวันนั้นมีส่วนประกอบอะไรบ้าง และมีความสาคัญ
15
อย่างไร วันนี้เรามารู้จักกับคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ ที่เราใช้งานกัน
อยู่ดีกว่า
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์หลักๆ
รู้กันมั้ยว่าส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์มีอะไรบ้าง คอมพิวเตอร์นั้นมีส่วนประกอบหลักๆ อยู่4 ส่วน
ด้วยกัน เริ่มจาก
1. โปรเซสเซอร์ (Processor) นั่นก็คือหน่วยประผลกลางหรือที่รู้จักกันในนามของซีพียู (CPU) นั่นเอง หรือ
เรียกว่าซิป ซึ่งส่วนนี้มีความสาคัญมากที่สุดของฮาร์ดแวร์ เพราะว่ามีหน้าที่ในการประมวลผลข้อมูลที่ผู้ใช้
ป้ อนเข้ามา ซึ่งซีพียูนั้นมีรุ่นต่างๆ ออกมาวางขายตามท้องตลาดมากมาย ซึ่งแต่ละรุ่นก็ราคาแตกต่างกัน
ออกไป
2. หน่วยความจา (Memory) หรือ RAM นั่นเอง ซึ่ง RAM นั้นเป็นหน่วยความจาหลักที่จาเป็นในการเก็บ
ข้อมูลต่างๆ หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่าหน่วยความจาสารองนั่นเอง ก็คือจะเก็บข้อมูลชั่วคราว ซึ่ง
หน่วยความจาแรมจะทาหน้าที่เก็บชุดคาสั่งและข้อมูลที่ระบบคอมพิวเตอร์กาลังทางานอยู่ด้วย
3. ส่วนอินพุต/เอาต์พุต (Input/Output) ก็คืออุปกรณ์ที่ทาให้คอมพิวเตอร์สามารถสัมผัสและรับรู้สิ่งต่าง ๆ
เช่น เครื่องอ่านบัตร คีย์บอร์ด เมาส์ สแกนเนอร์ และอุปกรณ์ Output ก็ได้แก่พวก เครื่องพิมพ์ จอภาพ
4. สื่อจัดเก็บข้อมูล (Storage) นั่นก็คือสื่อที่ใช้ในการจัดเก็บข้อมูล เช่น ฮาร์ดดิสก์ ที่ใช้ในการเก็บข้อมูล
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ ส่วนอื่นๆ
จอภาพ หรือ monitor เป็นอุปกรณ์การแสดงผลที่สาคัญที่สุด จะเป็นส่วนที่ติดต่อกับผู้ใช้โดยตรง เพราะเรา
สามารถมองเห็นข้อมูลที่ที่แสดงผลได้โดยผ่านจอภาพของเรา จอภาพของคอมพิวเตอร์มีอยู่ด้วยกัน 2 แบบ
คือจอแบบซีอาร์ที และจอแบบแอลซีดี ซึ่งจอภาพ 2 แบบนี้มีลักษณะที่แตกต่างกันในเรื่องของรูปแบบ นั้นก็
คือจอแบบซีอาร์ที (CRT) ส่วนใหญ่เป็นจอภาพที่นิยมใช้สาหรับคอมพิวเตอร์ตั้งโต๊ะ มีขนาดใหญ่คล้าย
โทรทัศน์ เมื่อก่อนได้รับความนิยมเป็นอย่างมาก แต่เมื่อจอภาพแบบแอลซีดี (LCD) เข้ามาแทน จอภาพแบบ
ซีอาร์ทีก็เริ่มมีน้อยลงจนในปัจจุบันนี้เราแทบไม่เห็นร้านขายคอมพิวเตอร์มีจอแบบนี้วางขายอีกแล้ว ส่วน
จอภาพแบบแอลซีดีนั้นมีทั้งแบบที่ใช้กับคอมพิวเตอร์ตั้งโต๊ะและในแบบของโน๊ตบุ๊ค เนื่องจากเป็นจอภาพที่
มีขนาดรูปร่างที่บางทาให้สะดวกสาหรับการพกพาไปไหนมาไหน แต่จอภาพแบบแอลซีดีนี้ก็มีราคาที่แพง
กว่าจอภาพแบบซีอาร์ที
16
เคส (case) คือ กล่องหรือโครงสร้างสาหรับเก็บประกอบอุปกรณ์ต่างๆ คอมพิวเตอร์ไว้ภายในนั้น ซึ่งขนาด
ของเคสก็จะแตกต่างกันออกไป แล้วแต่การใช้งานหรือความเหมาะสมในการใช้งานของแต่ละคนรวมทั้ง
สถานที่เก็บอุปกรณ์เหล่านั้นด้วยว่ามีขนาดพื้นที่มากน้อยเพียงใด และในตัวเคสก็จะมีในส่วนของพาวเวอร์
ซัพพลายติดมาด้วย
พาวเวอร์ซัพพลาย (Power Supply) เป็นอุปกรณ์ที่ทาหน้าที่ในการจ่ายกระแสไฟฟ้าให้กับชิ้นส่วนอุปกรณ์
คอมพิวเตอร์ ซึ่งถ้าคอมพิวเตอร์มีอุปกรณ์ต่อพวงเยอะๆ เช่น ฮาร์ดดิสก์ ซีดีรอมไดรฟ์ ดีวีดีไดรฟ์ก็ควรเลือก
พาวเวอร์ซัพพลายที่มีจานวนวัตต์สูง เพื่อให้สามารถ จ่ายกระแสไฟได้เพียงพอต่ออุปกรณ์คอมพิวเตอร์
คีย์บอร์ดหรือแป้นพิมพ์(Keyboard) เป็นอุปกรณ์พื้นฐานที่คอมพิวเตอร์ทุกเครื่องจะต้องมี เนื่องจากตัว
คีย์บอร์ดใช้สาหรับการพิมพ์หรือป้ อมข้อมูลต่างลงไปในเครื่องคอมพิวเตอร์ ในตัวคีย์บอร์ดจะมีทั้งที่เป็น
ตัวอักษรที่เป็นภาษาหลักของแต่ละประเทศรวมทั้งภาษาหลักอย่างภาษาอังกฤษอยู่ด้วย และยังมีข้อมูลทั้งตัว
เลขและฟังก์ชันต่างๆ ที่จาเป็นสาหรับการใช้งานและอื่นๆ อีก เพื่อใช้สาหรับลงข้อมูลในตัวเครื่องของเรา
โดยส่วนใหญ่แล้วคีย์บอร์ดมีลักษณะที่เป็นสี่เหลี่ยมผืนผ้าหรือมีลักษณะที่ใกล้เคียงกัน แต่ในปัจจุบันก็อาจมี
ลักษณะที่แตกต่างกันออกไป แล้วแต่ความคิดสร้างสรรค์ของคนออกแบบนั้นเอง
ฮาร์ดดิสก์ (Harddisk) เป็นอุปกรณ์ที่ใช้สาหรับบันทึกข้อมูลหรือเก็บข้อมูลของคอมพิวเตอร์ และเป็น
อุปกรณ์ที่ติดมาพร้อมกันกับตัวเครื่องคอมพิวเตอร์ ซึ่งตัวฮาร์ดดิสก์จะมีลักษณะเป็นรูปสี่เหลี่ยมและมี
แผงวงจรสาหรับควบคุมการทางานอยู่ด้านล่างและช่องสาหรับเสียบสายไฟเลี้ยงและสายสัญญาณต่างๆ โดย
ที่ส่วนประกอบภายในจะปิดไว้อย่างมิดชิดเพื่อป้ องกันอันตรายที่จะเกิดขึ้น
เมนบอร์ด (Main board) เป็นแผ่นวงจรไฟฟ้าแผ่นใหญ่ที่รวมเอาชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์ที่สาคัญๆ ไว้ด้วยกัน
ซึ่งเป็นส่วนที่ควบคุม การทางานของ อุปกรณ์ต่างๆ ภายในพีชีทั้งหมด
ซีพียู(CPU) มีหน้าที่ในการประมวลผลหรือเรียกว่าโปรเซสเซอร์หรือชิป เป็นอุปกรณ์ที่มีความสาคัญมาก
เนื่องจากมีหน้าที่ในการประมวลผลจากการป้อนข้อมูลลงไป
การ์ดแสดงผล (Display Card) หลักการทางานพื้นฐานของการ์ดแสดงผลจะเริ่มต้นขึ้น เมื่อโปรแกรมต่างๆ
ส่งข้อมูลมาประมวลผลที่ ซีพียูเมื่อซีพียูประมวลผล เสร็จแล้ว ก็จะส่งข้อมูลที่จะนามาแสดงผลบนจอภาพมา
ที่การ์ดแสดงผล จากนั้น การ์ดแสดงผล ก็จะส่งข้อมูลนี้มาที่จอภาพ ตามข้อมูลที่ได้รับมา การ์ดแสดงผลรุ่น
ใหม่ๆ ที่ออกมาส่วนใหญ่ ก็จะมีวงจร ในการเร่งความเร็วการแสดงผลภาพสามมิติ และมีหน่วยความจามา
ให้มากพอสมควร
17
โดยที่การ์ดบางรุ่นสามารถประมวลผลได้ในตัวการ์ด ซึ่งจะช่วยแบ่งเบาภาระการประมวลผลให้ซีพียู จึงทา
ให้การทางานของคอมพิวเตอร์นั้นเร็วขึ้นด้วย ซึ่งตัวการ์ดแสดงผลนั้นจะมีหน่วยความจาในตัวของมันเอง ถ้า
ตัวการ์ดมีหน่วยความจามาก ก็จะรับข้อมูลจากซีพียูได้มากขึ้น ซึ่งจะช่วยให้การแสดงผลบนจอภาพมี
ความเร็วสูงขึ้นด้วย
เมาส์ (Mouse) จะเป็นอุปกรณ์ที่ให้ความรู้สึกที่ดีต่อการใช้งาน ช่วยให้การใช้งานง่ายขึ้นด้วยการใช้เมาส์
เลื่อนตัวชี้ไปยังตาแหน่งต่าง ๆ บนจอภาพ หรือเรียกง่ายๆ ว่าตัวชี้ตาแหน่งนั่นเอง ในขณะที่สายตาจับอยู่ที่
จอภาพก็สามารถใช้มือลากเมาส์ไปมาได้ระยะทางและทิศตจะสัมพันธ์และเป็นไปในแนวทางเดียวกับการ
เลื่อนเมาส์
เมาส์แบ่งได้เป็นสองแบบคือ แบบทางกลและแบบใช้แสง แบบทางกลเป็นแบบที่ใช้ลูกกลิ้งกลม ที่มีน้าหนัก
และแรงเสียดทานพอดี เมื่อเลื่อนเมาส์ไปในทิศทางใดจะทาให้ลูกกลิ้งเคลื่อนไปมาในทิศทางนั้น แต่ใน
ปัจจุบันเมาส์แบบลูกกลิ้งไม่ค่อยนิยมนามาใช้กันแล้ว
แรม (RAM)
เป็นหน่วยความจาของระบบ มีหน้าที่รับข้อมูลเพื่อส่งไปให้ CPU ประมวลผล แรมเป็นหน่วยความจาหลัก
ของระบบคอมพิวเตอร์ ซึ่งจะเก็บข้อมูลเมื่อมีกระแสไฟหล่อเลี้ยงเท่านั้น โดยถ้าเกิดไฟฟ้ ากระพริบหรือดับ
ข้อมูลที่ถูกบันทึกไว้ในหน่วยความจาจะหายไปทันที
CD Drive / DVD Drive / CD-RW Drive / DVD-RW Drive เป็นไดรฟ์ สาหรับอ่านข้อมูลจากแผ่นซีดีรอม
หรือดีวีดีรอม ซึ่งถ้าหากต้องการบันทึกข้อมูลลงบนแผ่นจะต้องใช้ไดรฟ์ที่สามารถเขียนแผ่นได้
เมื่อไดรฟ์ซีดีรอมเริ่มทางานมอเตอร์จะเริ่มหมุนด้วยความเร็ว หลายค่า ทั้งนี้เพื่อให้อัตราเร็วในการอ่านข้อมูล
จากซีดีรอมคงที่สม่าเสมอทุกเซ็กเตอร์ ไม่ว่าจะเป็นเซ็กเตอร์ ที่อยู่รอบนอกหรือวงในก็ตาม จากนั้นแสง
เลเซอร์จะฉายลงซีดีรอม โดยลาแสงจะถูกโฟกัสด้วยเลนส์ที่เคลื่อนตาแหน่งได้โดยการทางานของขดลวด
ลาแสงเลเซอร์จะทะลุผ่านไปที่ซีดีรอมแล้วถูกสะท้อนกลับ
CD-ROM / DVD-ROM ภายในซีดีรอม หรือดีวีดีรอมจะแบ่งเป็นแทร็กและเซ็กเตอร์เหมือนกับแผ่นดิสก์ แต่
เซ็กเตอร์ในซีดีรอม หรือดีวีดีรอมจะมีขนาดเท่ากัน ทุกเซ็กเตอร์ ทาให้สามารถเก็บข้อมูลได้มากขึ้น
18
สรุปเรื่องอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
เราจะเห็นว่าส่วนประกอบหรืออุปกรณ์หลักๆ ของคอมพิวเตอร์นั้นแต่ละส่วนก็มีความแตกต่างกันไป และ
วิธีการดูแลรักษาก็แตกต่างกันออกไป ฉะนั้นเมื่อเราใช้งานอุปกรณ์ต่างๆ เหล่านี้ก็ควรศึกษารายละเอียด
ต่างๆ ให้รอบคอบ การใช้งานอย่างถูกวิธีก็จะช่วยให้อุปกรณ์ต่างๆ เหล่านี้อยู่กับเราไปนานแสนนานเลย
ทีเดียว
ส่วนใครที่พอจะมีความรู้เกี่ยวกับเรื่องคอมพิวเตอร์อยู่บ้าง ก็ควรที่จะถอดอุปกรณ์คอมพิวเตอร์มาเช็ดถู เป็น
การทาความสะอาดอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ของเราเพื่อเป็นการเพิ่มประสิทธิภาพในการใช้งานมากยิ่งขึ้น แต่ถ้า
ไม่มีความรู้ในเรื่องนี้ก็ไม่ควรทาเด็ดขาดเพราะอาจจะทาให้เกิดอันตรายและเกิดความเสียหายได้(เสือสาน,
2543)

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

โครงงานคณิตบทที่ 1
โครงงานคณิตบทที่ 1โครงงานคณิตบทที่ 1
โครงงานคณิตบทที่ 1Jutarat Bussadee
 
โครงงานยาเสพติด
โครงงานยาเสพติดโครงงานยาเสพติด
โครงงานยาเสพติดพัน พัน
 
เรื่องปัญหาขยะภายในโลก
เรื่องปัญหาขยะภายในโลกเรื่องปัญหาขยะภายในโลก
เรื่องปัญหาขยะภายในโลกพัน พัน
 
ปัญหาน้ำเน่าเสีย
ปัญหาน้ำเน่าเสียปัญหาน้ำเน่าเสีย
ปัญหาน้ำเน่าเสียพัน พัน
 
รายงานอินเทอร์เน็ต
รายงานอินเทอร์เน็ตรายงานอินเทอร์เน็ต
รายงานอินเทอร์เน็ตSarocha Makranit
 
โครงงานคณิตศาสตร์
โครงงานคณิตศาสตร์โครงงานคณิตศาสตร์
โครงงานคณิตศาสตร์Tanakorn Pansupa
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Sarocha Makranit
 
โครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้าน
โครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้านโครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้าน
โครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้านChok Ke
 
สารบัญโครงงานคอม
สารบัญโครงงานคอมสารบัญโครงงานคอม
สารบัญโครงงานคอมkand-2539
 
โครงงานคณิตศาสตร์
โครงงานคณิตศาสตร์โครงงานคณิตศาสตร์
โครงงานคณิตศาสตร์Nomjeab Nook
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10Aon Narinchoti
 
ความพึงพอใจและพฤติกรรมในการบริโภคผลิตภัณฑ์เสริมอาหารเพือความงาม
ความพึงพอใจและพฤติกรรมในการบริโภคผลิตภัณฑ์เสริมอาหารเพือความงามความพึงพอใจและพฤติกรรมในการบริโภคผลิตภัณฑ์เสริมอาหารเพือความงาม
ความพึงพอใจและพฤติกรรมในการบริโภคผลิตภัณฑ์เสริมอาหารเพือความงามUtai Sukviwatsirikul
 
ห้องสีขาว 1.1
ห้องสีขาว 1.1ห้องสีขาว 1.1
ห้องสีขาว 1.1peter dontoom
 
บทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศ
บทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศบทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศ
บทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศSrion Janeprapapong
 
การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม.3
การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม.3การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม.3
การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม.3Servamp Ash
 
เด็กไม่ส่งการบ้าน
เด็กไม่ส่งการบ้านเด็กไม่ส่งการบ้าน
เด็กไม่ส่งการบ้านaapiaa
 

Was ist angesagt? (20)

โครงงานคณิตบทที่ 1
โครงงานคณิตบทที่ 1โครงงานคณิตบทที่ 1
โครงงานคณิตบทที่ 1
 
โครงงานยาเสพติด
โครงงานยาเสพติดโครงงานยาเสพติด
โครงงานยาเสพติด
 
เรื่องปัญหาขยะภายในโลก
เรื่องปัญหาขยะภายในโลกเรื่องปัญหาขยะภายในโลก
เรื่องปัญหาขยะภายในโลก
 
ปัญหาน้ำเน่าเสีย
ปัญหาน้ำเน่าเสียปัญหาน้ำเน่าเสีย
ปัญหาน้ำเน่าเสีย
 
แบบประเมินโครงการ
แบบประเมินโครงการ แบบประเมินโครงการ
แบบประเมินโครงการ
 
รายงานอินเทอร์เน็ต
รายงานอินเทอร์เน็ตรายงานอินเทอร์เน็ต
รายงานอินเทอร์เน็ต
 
โครงงานคณิตศาสตร์
โครงงานคณิตศาสตร์โครงงานคณิตศาสตร์
โครงงานคณิตศาสตร์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้าน
โครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้านโครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้าน
โครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้าน
 
สารบัญโครงงานคอม
สารบัญโครงงานคอมสารบัญโครงงานคอม
สารบัญโครงงานคอม
 
โครงงานคณิตศาสตร์
โครงงานคณิตศาสตร์โครงงานคณิตศาสตร์
โครงงานคณิตศาสตร์
 
วิทย์ ป.2
วิทย์ ป.2วิทย์ ป.2
วิทย์ ป.2
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
 
ความพึงพอใจและพฤติกรรมในการบริโภคผลิตภัณฑ์เสริมอาหารเพือความงาม
ความพึงพอใจและพฤติกรรมในการบริโภคผลิตภัณฑ์เสริมอาหารเพือความงามความพึงพอใจและพฤติกรรมในการบริโภคผลิตภัณฑ์เสริมอาหารเพือความงาม
ความพึงพอใจและพฤติกรรมในการบริโภคผลิตภัณฑ์เสริมอาหารเพือความงาม
 
ห้องสีขาว 1.1
ห้องสีขาว 1.1ห้องสีขาว 1.1
ห้องสีขาว 1.1
 
บทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศ
บทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศบทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศ
บทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศ
 
อจท. แผน 1 1 สุขศึกษาฯ ป.5
อจท. แผน 1 1 สุขศึกษาฯ ป.5อจท. แผน 1 1 สุขศึกษาฯ ป.5
อจท. แผน 1 1 สุขศึกษาฯ ป.5
 
ใบความรู้ ขุนช้างขุนแผน
ใบความรู้  ขุนช้างขุนแผนใบความรู้  ขุนช้างขุนแผน
ใบความรู้ ขุนช้างขุนแผน
 
การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม.3
การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม.3การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม.3
การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม.3
 
เด็กไม่ส่งการบ้าน
เด็กไม่ส่งการบ้านเด็กไม่ส่งการบ้าน
เด็กไม่ส่งการบ้าน
 

Andere mochten auch

ใบงานเรื่องราคา
ใบงานเรื่องราคาใบงานเรื่องราคา
ใบงานเรื่องราคาพัน พัน
 
จังหวัดในประเทศไทย
จังหวัดในประเทศไทยจังหวัดในประเทศไทย
จังหวัดในประเทศไทยพัน พัน
 
เรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซีเรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซีพัน พัน
 
บทที่ 3 ปรากฏการณ์ทางธรณีวิทยา
บทที่ 3 ปรากฏการณ์ทางธรณีวิทยาบทที่ 3 ปรากฏการณ์ทางธรณีวิทยา
บทที่ 3 ปรากฏการณ์ทางธรณีวิทยาTa Lattapol
 
เรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการเรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการพัน พัน
 
สื่อการสอนเรื่องโลกและการเปลี่ยนแปลง
สื่อการสอนเรื่องโลกและการเปลี่ยนแปลงสื่อการสอนเรื่องโลกและการเปลี่ยนแปลง
สื่อการสอนเรื่องโลกและการเปลี่ยนแปลงพัน พัน
 
ใบงาน วัฎจักรหิน
ใบงาน วัฎจักรหินใบงาน วัฎจักรหิน
ใบงาน วัฎจักรหินOrawan Sripho
 
สรุป วิชาโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ
สรุป วิชาโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศสรุป วิชาโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ
สรุป วิชาโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศสิปป์แสง สุขผล
 

Andere mochten auch (10)

ใบงานเรื่องราคา
ใบงานเรื่องราคาใบงานเรื่องราคา
ใบงานเรื่องราคา
 
จังหวัดในประเทศไทย
จังหวัดในประเทศไทยจังหวัดในประเทศไทย
จังหวัดในประเทศไทย
 
เรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซีเรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซี
 
ยาเสพติด
ยาเสพติดยาเสพติด
ยาเสพติด
 
คำซ้อน
คำซ้อนคำซ้อน
คำซ้อน
 
บทที่ 3 ปรากฏการณ์ทางธรณีวิทยา
บทที่ 3 ปรากฏการณ์ทางธรณีวิทยาบทที่ 3 ปรากฏการณ์ทางธรณีวิทยา
บทที่ 3 ปรากฏการณ์ทางธรณีวิทยา
 
เรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการเรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการ
 
สื่อการสอนเรื่องโลกและการเปลี่ยนแปลง
สื่อการสอนเรื่องโลกและการเปลี่ยนแปลงสื่อการสอนเรื่องโลกและการเปลี่ยนแปลง
สื่อการสอนเรื่องโลกและการเปลี่ยนแปลง
 
ใบงาน วัฎจักรหิน
ใบงาน วัฎจักรหินใบงาน วัฎจักรหิน
ใบงาน วัฎจักรหิน
 
สรุป วิชาโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ
สรุป วิชาโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศสรุป วิชาโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ
สรุป วิชาโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ
 

Ähnlich wie ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์

เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริรัลกาลที่9
โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริรัลกาลที่9โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริรัลกาลที่9
โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริรัลกาลที่9Pai Chensuriyakun
 
รายงานคอมพิวเตอร์
รายงานคอมพิวเตอร์รายงานคอมพิวเตอร์
รายงานคอมพิวเตอร์pennapa kota
 
เรื่องปัญหาน้ำท่วม
เรื่องปัญหาน้ำท่วมเรื่องปัญหาน้ำท่วม
เรื่องปัญหาน้ำท่วมพัน พัน
 
รายงานคอมพิวเตอร์
รายงานคอมพิวเตอร์รายงานคอมพิวเตอร์
รายงานคอมพิวเตอร์รถไฟ 'ฟ้า'
 
รายงานคอมพิวเตอร์
รายงานคอมพิวเตอร์รายงานคอมพิวเตอร์
รายงานคอมพิวเตอร์jenjira jangjit
 
รูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
รูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดีรูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
รูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดีอาภัสรา ยิ่งคำแหง
 

Ähnlich wie ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ (20)

เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
 
V 267
V 267V 267
V 267
 
โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริรัลกาลที่9
โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริรัลกาลที่9โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริรัลกาลที่9
โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริรัลกาลที่9
 
รายงานคอมพิวเตอร์
รายงานคอมพิวเตอร์รายงานคอมพิวเตอร์
รายงานคอมพิวเตอร์
 
01 เซต บทนำ
01 เซต บทนำ01 เซต บทนำ
01 เซต บทนำ
 
V250
V250V250
V250
 
V250
V250V250
V250
 
13 จำนวนจริง บทนำ
13 จำนวนจริง บทนำ13 จำนวนจริง บทนำ
13 จำนวนจริง บทนำ
 
V 293
V 293V 293
V 293
 
เรื่องปัญหาน้ำท่วม
เรื่องปัญหาน้ำท่วมเรื่องปัญหาน้ำท่วม
เรื่องปัญหาน้ำท่วม
 
43 ตรีโกณมิติ บทนำ
43 ตรีโกณมิติ บทนำ43 ตรีโกณมิติ บทนำ
43 ตรีโกณมิติ บทนำ
 
รายงานคอมพิวเตอร์
รายงานคอมพิวเตอร์รายงานคอมพิวเตอร์
รายงานคอมพิวเตอร์
 
รายงานคอมพิวเตอร์
รายงานคอมพิวเตอร์รายงานคอมพิวเตอร์
รายงานคอมพิวเตอร์
 
Cas12 1
Cas12 1Cas12 1
Cas12 1
 
V 289
V 289V 289
V 289
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
V 277
V 277V 277
V 277
 
รูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
รูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดีรูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
รูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
 
Solarstystempp
SolarstystemppSolarstystempp
Solarstystempp
 
26 ทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น บทนำ
26 ทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น บทนำ26 ทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น บทนำ
26 ทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น บทนำ
 

Mehr von พัน พัน

การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษรการเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษรพัน พัน
 
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัยระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัยพัน พัน
 
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศเรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศพัน พัน
 
ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นพัน พัน
 
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นพัน พัน
 
เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้พัน พัน
 
เรื่องปัญหาภาวะโลกร้อน
เรื่องปัญหาภาวะโลกร้อนเรื่องปัญหาภาวะโลกร้อน
เรื่องปัญหาภาวะโลกร้อนพัน พัน
 
ปัญหาการข่มขืน
ปัญหาการข่มขืนปัญหาการข่มขืน
ปัญหาการข่มขืนพัน พัน
 
เรื่องปัญหายาเสพติด
เรื่องปัญหายาเสพติดเรื่องปัญหายาเสพติด
เรื่องปัญหายาเสพติดพัน พัน
 
ปัญหาการศึกษา
ปัญหาการศึกษาปัญหาการศึกษา
ปัญหาการศึกษาพัน พัน
 
เรื่องปัญหาท้องในวัยเรียน
เรื่องปัญหาท้องในวัยเรียนเรื่องปัญหาท้องในวัยเรียน
เรื่องปัญหาท้องในวัยเรียนพัน พัน
 

Mehr von พัน พัน (20)

การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษรการเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
 
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์
 
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัยระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
 
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศเรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
การปริ้น
การปริ้นการปริ้น
การปริ้น
 
Office
OfficeOffice
Office
 
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
 
การลักขโมย
การลักขโมยการลักขโมย
การลักขโมย
 
เรื่องปัญหาภาวะโลกร้อน
เรื่องปัญหาภาวะโลกร้อนเรื่องปัญหาภาวะโลกร้อน
เรื่องปัญหาภาวะโลกร้อน
 
ปัญหาการข่มขืน
ปัญหาการข่มขืนปัญหาการข่มขืน
ปัญหาการข่มขืน
 
เรื่องปัญหายาเสพติด
เรื่องปัญหายาเสพติดเรื่องปัญหายาเสพติด
เรื่องปัญหายาเสพติด
 
ปัญหาการศึกษา
ปัญหาการศึกษาปัญหาการศึกษา
ปัญหาการศึกษา
 
เรื่องปัญหาท้องในวัยเรียน
เรื่องปัญหาท้องในวัยเรียนเรื่องปัญหาท้องในวัยเรียน
เรื่องปัญหาท้องในวัยเรียน
 

ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์

  • 1. รายงาน เรื่อง ด้านคอมพิวเตอร์ ผู้จัดทา นาย กฤษดา จันทร์ชาวใต้ เลขที่ 14 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/3 เสนอ อาจารย์ ทรงศักดิ์ โพธ์เอียม รายงานเล่มนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชาคอมพิวเตอร์ (ง 30204) ภาคเรียน 2 ปีการศึกษา 2560 โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ กาญจนบุรี ในพระราชูถัมภ์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯสยามบรมราชกุมารี สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 8
  • 2. ข คานา รายงานฉบับนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชาการศึกษาค้นคว้า เพื่อเป็นประโยชน์แก่นักเรียนโรงเรียนเฉลิม พระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ กาญจนบุรี ที่จะศึกษาเกี่ยวกับปัญหาการไม่รับประทานอาหารเช้า ซึ่ง คณะผู้จัดทา จัดทาขึ้นเพื่อศึกษาหาสาเหตุของปัญหาการไม่รับประทานอาหารเช้า และเพื่อศึกษาแนว ทางแก้ไขปัญหาการไม่รับประทานอาหารเช้าของนักเรียนอย่างถูกต้องเหมาะสมคณะผู้จัดทาหวังเป็นอย่าง ยิ่งว่าโครงงานเล่มนี้จะเป็นประโยชน์แก่นักเรียนโรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ กาญจนบุรี หากมีข้อบกพร่องประการใด คณะผู้จัดทาขออภัยไว้ณ โอกาสนี้ด้วย ผู้จัดทา นาย กฤษดา จันทร์ชาวใต้
  • 3. ค สารบัญ คานา...........................................................................................................................................................................................................................................ข ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์...........................................................................................................................................................................1 เครื่องคอมพิวเตอร์ในแต่ละยุค........................................................................................................................................................................................7 ประเภทของคอมพิวเตอร์................................................................................................................................................................................................10 ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ .....................................................................................................................................................................................14 ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ ส่วนอื่นๆ.................................................................................................................................................................15 สรุปเรื่องอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ ......................................................................................................................18
  • 4.
  • 5. ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ ความหมายและความเป็นมา เมื่อพิจารณาศัพท์คาว่า คอมพิวเตอร์ ถ้าแปลกันตรงตัวตามคาภาษาอังกฤษ จะหมายถึงเครื่องคานวณ ดังนั้นถ้ากล่าวอย่างกว้าง ๆ เครื่องคานวณที่มีส่วนประกอบเป็นเครื่องกลไกหรือเครื่องไฟฟ้า ต่างก็จัดเป็น คอมพิวเตอร์ได้ทั้งสิ้น ลูกคิดที่เคยใช้กันในร้านค้า ไม้บรรทัด คานวณ (slide rule) ซึ่งถือเป็นเครื่องมือ ประจาตัววิศวกรในยุคยี่สิบปีก่อน หรือเครื่องคิดเลข ล้วนเป็นคอมพิวเตอร์ได้ทั้งหมด ในปัจจุบันความหมายของคอมพิวเตอร์จะระบุเฉพาะเจาะจง หมายถึงเครื่องคานวณอิเล็กทรอนิกส์ที่ สามารถทางานคานวณผลและเปรียบเทียบค่าตามชุดคาสั่งด้วยความเร็วสูงอย่างต่อเนื่องและอัตโนมัติ พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2525 ได้ให้คาจากัดความของคอมพิวเตอร์ไว้ค่อนข้างกะทัดรัดว่า เครื่องอิเล็กทรอนิกส์แบบอัตโนมัติ ทาหน้าที่เสมือนสมองกล ใช้สาหรับแก้ปัญหาต่าง ๆ ทั้งที่ง่ายและ ซับซ้อน โดยวิธีทางคณิตศาสตร์ การจาแนกคอมพิวเตอร์ตามลักษณะวิธีการทางานภายในเครื่องคอมพิวเตอร์อาจแบ่งได้เป็นสองประเภท ใหญ่ ๆ คือ แอนะล็อกคอมพิวเตอร์ (analog computer) เป็นเครื่องคานวณอิเล็กทรอนิกส์ที่ไม่ได้ใช้ค่าตัวเลขเป็นหลัก ของการคานวณ แต่จะใช้ค่าระดับแรงดันไฟฟ้าแทน ไม้บรรทัดคานวณ อาจถือเป็นตัวอย่างหนึ่งของแอนะ ล็อกคอมพิวเตอร์ ที่ใช้ค่าตัวเลขตามแนวความยาวไม้บรรทัดเป็นหลักของการคานวณ โดยไม้บรรทัด คานวณจะมีขีดตัวเลขกากับอยู่ เมื่อไม้บรรทัดหลายอันมรประกบรวมกัน การคานวณผล เช่น การคูณ จะเป็น การเลื่อนไม้บรรทัดหนึ่งไปตรงตามตัวเลขของตัวตั้งและตัวคูณของขีดตัวเลขชุดหนึ่ง แล้วไปอ่านผลคูณ ของขีดตัวเลขอีกชุดหนึ่งแอนะล็อกคอมพิวเตอร์แบบอิเล็กทรอนิกส์จะใช้หลักการทานองเดียวกัน โดย แรงดันไฟฟ้าจะแทนขีดตัวเลขตามแนวยาวของไม้บรรทัด แอนะล็อกคอมพิวเตอร์จะมีลักษณะเป็นวงจรอิเล็กทรอนิกส์ที่แยกส่วนทาหน้าที่เป็นตัวกระทาและเป็น ฟังก์ชันทางคณิตศาสตร์ จึงเหมาะสาหรับงานคานวณทางวิทยาศาสตร์และวิศวกรรมที่อยู่ในรูปของสมการ คณิตศาสตร์ เช่น การจาลองการบิน การศึกษาการสั่งสะเทือนของตึกเนื่องจากแผ่นดินไหว ข้อมูลตัวแปร นาเข้าอาจเป็นอุณหภูมิความเร็วหรือความดันอากาศ ซึ่งจะต้องแปลงให้เป็นค่าแรงดันไฟฟ้า เพื่อนาเข้าแอ นะล็อกคอมพิวเตอร์ผลลัพธ์ที่ได้ออกมาเป็นแรงดันไฟฟ้าแปรกับเวลาซึ่งต้องแปลงกลับไปเป็นค่าของตัว แปรที่กาลังศึกษา
  • 6. 2 ในปัจจุบันไม่ค่อยพบเห็นแอนะล็อกคอมพิวเตอร์เท่าไรนักเพราะผลการคานวณมีความละเอียดน้อย ทา ให้มีขีดจากัดใช้ได้กับงานเฉพาะบางอย่างเท่านั้น ดิจิทัลคอมพิวเตอร์ (digital computer) คอมพิวเตอร์ที่พบเห็นทั่วไปในปัจจุบัน จัดเป็นดิจิทัลคอมพิวเตอร์ แทบทั้งหมด ดิจิทัลคอมพิวเตอร์เป็นเครื่องคานวณอิเล็กทรอนิกส์ที่ใช้งานเกี่ยวกับตัวเลข มีหลักการคานวณ ที่ไม่ใช่แบบไม้บรรทัดคานวณ แต่เป็นแบบลูกคิด โดยแต่และหลักของลูกคิดคือ หลักหน่วย หลักร้อย และ สูงขึ้นไปเรื่อย ๆ เป็นระบบเลขฐานสินที่แทนตัวเลขจากศูนย์ถ้าเก้าไปสิบตัวตามระบบตัวเลขที่ใช้ใน ชีวิตประจาวัน ค่าตัวเลขของการคานวณในดิจิทัลคอมพิวเตอร์จะแสดงเป็นหลักเช่นเดียวกัน แต่จะเป็นระบบ เลขฐานสองที่มีสัญลักษณ์ตัวเลขเพียงสองตัว คือเลขศูนย์กับเลขหนึ่งเท่านั้น โดยสัญลักษณ์ตัวเลขทั้งสองตัว นี้ จะแทนลักษณะการทางานภายในซึ่งเป็นสัญญาณไฟฟ้าที่ต่างกัน การคานวณภายในดิจิทัลคอมพิวเตอร์จะ เป็นการประมวลผลด้วยระบบเลขฐานสองทั้งหมด ดังนั้นเลขฐานสิบที่เราใช้และคุ้นเคยจะถูกแปลงไปเป็น ระบบเลขฐานสองเพื่อการคานวณภายในคอมพิวเตอร์ ผลลัพธ์ที่ได้ก็ยังเป็นเลขฐานสองอยู่ ซึ่งคอมพิวเตอร์ จะแปลงเป็นเลขฐานสิบเพื่อแสดงผลให้ผู้ใช้เข้าใจได้ง่าย จากอดีตสู่ปัจจุบัน พัฒนาการทางด้านเทคโนโลยีในช่วง 100 ปีที่ผ่านมาได้พัฒนาไปอย่างรวดเร็ว โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เทคโนโลยีทางด้าน คอมพิวเตอร์ เมื่อ 50 ปีที่แล้วมา มีคอมพิวเตอร์ขึ้นใช้งาน ต่อมาเกิดระบบสื่อสาร โทรคมนาคมสมัยใหม่เกิดขึ้นมากมาย และมีแนวโน้มการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง เราสามารถแบ่งพัฒนาการ คอมพิวเตอร์จากอดีตสู่ปัจจุบัน สามารถแบ่งเป็นยุคก่อนการใช้ไฟฟ้าอิเล็กทรอนิคส์ และยุคที่เครื่อง คอมพิวเตอร์เป็นอุปกรณ์ไฟฟ้าอิเล็กทรอนิคส์ เครื่องคานวณในยุคประวัติศาสตร์ เครื่องคานวณเครื่องแรกของโลก ได้แก่ ลูกคิด มีการใช้ลูกคิดในหมู่ชาวจีนมากกว่า 7000 ปี และใช้ใน อียิปต์โบราณมากกว่า 2500 ปี ลูกคิดของชาวจีนประกอบด้วยลูกปัดร้อยอยู่ในราวเป็นแถวตามแนวตั้ง โดย แต่ละแถวแบ่งเป็นครึ่งบนและล่าง ครึ่งบนมีลูกปัด 2 ลูก ครึ่งล่างมีลูกปัด 5 ลูก แต่ละแถวแทนหลักของ ตัวเลข
  • 7. 3 เครื่องคานวณกลไกที่รู้จักกันดี ได้แก่ เครื่องคานวณของปาสคาลเป็นเครื่องที่บวกลบด้วยกลไกเฟืองที่ขบ ต่อกัน เบลส ปาสคาล (Blaise Pascal) นักคณิตศาสาตร์ชาวฝรั่งเศส ได้ประดิษฐ์ขึ้นในปี พ.ศ. 2185 คอมพิวเตอร์ในยุคเริ่มแรก ได้แก่ เครื่องจักรกลหรือสิ่งประดิษฐ์ขึ้นเพื่อช่วยในการ คานวณ โดยที่ยังไม่มี การ นาวงจรอิเล็กทรอนิกส์ เข้ามาใช้ประโยชน์ร่วมด้วย ลาดับเครื่องมือขึ้นมามีดังนี้ ในระยะ 5,000 ปีที่ผ่านมา มนุษย์เริ่มรู้จักการใช้นิ้วมือและนิ้วเท้าของตนเพื่อช่วยในการคานวณ และ พัฒนา มาใช้อุปกรณ์อื่น ๆ เช่น ลูกหิน ใช้เชือกร้อยลูกหินคล้ายลูกคิด ต่อมาประมาณ 2,600 ปีก่อนคริสตกาล ชาวจีนได้ประดิษฐ์เครื่องมือเพื่อใช้ในการ คานวณขึ้นมาชนิด หนึ่ง เรียกว่า ลูกคิด ซึ่งถือได้ว่า เป็นอุปกรณ์ใช้ช่วยการคานวณที่เก่าแก่ที่สุดในโลกและคงยังใช้งานมาจนถึง ปัจจุบัน พ.ศ. 2158 นักคณิตศาสตร์ชาวสก็อตแลนด์ชื่อ John Napier ได้ประดิษฐ์อุปกรณ์ใช้ ช่วยการคานวณขึ้นมา เรียกว่า Napier's Bones เป็นอุปกรณ์ที่ลักษณะคล้ายกับตารางสูตรคูณในปัจจุบัน เครื่องมือชนิดนี้ช่วยให้ สามารถ ทาการคูณและหาร ได้ง่ายเหมือนกับทาการบวก หรือลบโดยตรง พ.ศ 2185 นักคณิตศาสตร์ชาวฝรั่งเศลชื่อ Blaise Pascal ซึ่งในขณะนั้นมีอายุเพียง 19 ปี ได้ออกแบบ เครื่องมือในการคานวณโดย ใช้หลักการหมุนของฟันเฟืองหนึ่งอันถูกหมุนครบ 1 รอบ ฟันเฟืองอีกอันหนึ่ง ซึ่งอยู่ ทางด้านซ้ายจะถูกหมุนไปด้วยในเศษ 1 ส่วน 10 รอบ เครื่องมือของปาสคาลนี้ถูกเผยแพร่ออกสู่ สาธารณะชน เมื่อ พ.ศ. 2188 แต่ไม่ประสบความสาเร็จเท่าที่ควรเนื่องจากราคาแพง และเมื่อใช้งานจริงจะ เกิดเหตุการณ์ที่ฟันเฟืองติดขัดบ่อยๆ ทาให้ผลลัพธ์ที่ได้ไม่ค่อยถูกต้องตรงความเป็นจริง เครื่องมือของปาสคาล สามารถใช้ได้ดีในการคานวณการบวกและลบ ส่วนการคูณและหารยังไม่ดี เท่าที่ควร ดังนั้นในปี พ.ศ. 2216 นักปราชญษชาวเยอรมันชื่อ Gottfriend von Leibnitz ได้ปรับปรุงเครื่ง คานวณของ ปาสคาลให้สามารถทหการคูณและหารได้โดยตรง โดยที่การคูณใช้หลักการบวกกันหลายๆ ครั้ง และการหาร ก็คือการลบกันหลายๆ ครั้ง แต่เครื่องมือของ Leibnitz ยังคงอาศัยการหมุนวงล้อ ของเครื่อง เองอัตโนมัติ นับว่า เป็นเครื่องมือที่ช่วยให้การคานวณทางคณิตศาสตร์ที่ดูยุ่งยากกลับเป็นเรื่องที่ง่ายขึ้น พ.ศ. 2344 นักประดิษฐ์ชาวฝรั่งเศลชื่อ Joseph Marie Jacquard ได้พยายามพัฒนาเครื่องทอผ้าโดยใช้ บัตรเจาะรูในการบันทึกคาสั่ง ควบคุมเครื่องทอผ้าให้ทาตามแบบที่กาหนดไว้และแบบดังกล่าวสามารถ นามา สร้างซ้าๆ ได้อีกหลายครั้ง ความพยายามของ Jacquard สาเร็จลงใน พ.ศ. 2348 เครื่องทอผ้านี้ถือว่าเป็น เครื่องทางานตามโปรแกรมคาสั่งเป็นเครื่องแรก
  • 8. 4 พ.ศ. 2373 Chales Babbage ถือกาเนิดที่ประเทศอังกฤษ เมื่อ พ.ศ. 2334 จบการศึกษาทางด้านคณิตศาสตร์ จากมหาวิทยาลัยแคมบริดจ์ และได้รับตาแหน่ง Lucasian Professor ซึ่งเป็นตาแหน่งที่ Isaac Newton เคย ได้รับมาก่อน ในขณะที่กาลังศึกษาอยู่นั้น Babbage ได้สร้างเครื่อง หาผลต่าง (Difference Engine) ซึ่งเป็น เครื่องที่ใช้คานวณ และพิมพ์ตารางทางคณิศาสตร์อย่างอัตโนมัติ จนกระทั่งปี พ.ศ. 2373 เขาได้รับความ ช่วยเหลือจากรัฐบาลอังกฤษเพื่อสร้างเครื่อง Difference Engine ขึ้นมาจริงๆ แต่ในขณะที่ Babbage ทาการสร้างเครื่อง Difference Engine อยู่นั้น ได้พัฒนาความคิดไปถึง เครื่องมือใน การคานวนที่มีความสามารถสูงกว่านี้ ซึ่งก็คอืเครื่องที่เรียกว่าเครื่องวิเคราะห์ (Analytical Engine) และได้ ยกเลิกโครงการสร้างเครื่อง Difference Engine ลงแล้วเริ่มต้นงานใหม่ คือ งานสร้างเครื่องวิเคราะห์ ใน ความคิดของเขา โดยที่เครื่องดังกล่าวประกอบไปด้วยชิ้นส่วนที่สาคัญ 4 ส่วน คือ ส่วนเก็บข้อมูล เป็นส่วนที่ใช้ในการเก็บข้อมูลนาเข้าและผลลัพธ์ที่ได้จากการคานวณ ส่วนประมวลผล เป็นส่วนที่ใช้ในการประมวลผลทางคณิตศาสตร์ ส่วนควบคุม เป็นส่วนที่ใช้ในการเคลื่อนย้ายข้อมูลระหว่างส่วนเก็บข้อมูล และส่วนประมวลผล ส่วนรับข้อมูลเข้าและแสดงผลลัพธ์ เป็นส่วนที่ใช้รับทราบข้อมูลจากภายนอกเครื่องเข้าสู่ส่วนเก็บ และแสดง ผลลัพธ์ที่ได้จากการคานวณให้ผู้ใช้ได้รับทราบ เป็นที่น่าสังเกตว่าส่วนประกอบต่างๆ ของเครื่อง Alaytical Engine มีลักษณะใกล้เคียงกับส่วนประกอบ ของระบบคอมพิวเตอร์ ในปัจจุบัน แต่น่าเสียดายที่เครื่อง Alalytical Engine ของ Babbage นั้นไม่สามารถ สร้างให้สาเร็จขึ้นมาได้ทั้งนี้เนื่องจากเทคโนโลยี สมัยนั้นไม่สามารถสร้างส่วนประกอบต่างๆ ดังกล่าว และ อีกประการหนึ่งก็คือ สมัยนั้นไม่มีความจาเป็น ต้องใช้เครื่องที่มีความสามารถสูงขนาดนั้น ดังนั้นรัฐบาล อังกฤษจึงหยุดให้ความสนับสนุนโครงการของ Babbage ในปี พ.ศ. 2385 ทาให้ไม่มีทุนที่จะทาการวิจัย ต่อไป สืบเนื่องจากมาจากแนวความคิดของ Analytical Engine เช่นนี้จึงทาให้ Charles Babbage ได้รับการ ยกย่อง ให้เป็น บิดาของเครื่องคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2385 ชาวอังกฤษ ชื่อ Lady Auqusta Ada Byron ได้ทาการแปลเรื่องราวเกี่ยวกับเครื่อง Anatical Engine จากภาษาฝรั่งเศลเป็นภาษาอังกฤษ ในระหว่างการแปลทาให้ Lady Ada เข้าใจถึงหลักการทางาน ของเครื่อง Analytical Engine และได้เขียนรายละเอียดขั้นตอนของคาสั่งให้เครื่องนี้ทาการคานวณที่ยุ่งยาก ซับซ้อนไว้ในหนังสือทางคณิตศาสตร์เล่มหนึ่ง ซึ่งถือว่าเป็นโปรแกรมคอมพิวเตอร์โปรแกรมแรกของโลก และจากจุดนี้จึงถือว่า Lady Ada เป็นโปรแกรมเมอร์คนแรกของโลก (มีภาษาที่ใช้เขียนโปรแกรมที่เก่แก่ อยู่ หนึ่งภาษาคือภาษา Ada มาจาก ชื่อของ Lady Ada) นอกจากนี้ Lady Ada ยังค้นพบอีกว่าชุดบัตรเจาะรู ที่
  • 9. 5 บรรจุคาสั่งไว้สามารถนากลับมาทางานซ้าได้ถ้าต้องการ นั่นคือหลักของการทางานวนซ้า หรือเรียกว่า Loop เครื่องมือที่ใช้ในการคานวณที่ถูกพัฒนาขึ้นในศตวรรษที่ 19 นั้น ทางานกับเลขฐานสิบ (Decimal Number) แต่เมื่อเริ่มต้นของศตวรรษที่ 20 ระบบคอมพิวเตอร์ได้ถูกพัฒนาขึ้นจึงทาให้มีการเปลี่ยนแปลงมาใช้ เลขฐานสอง (Binary Number) กับระบบคอมพิวเตอร์ ที่เป็นผลสืบเนื่องมาจากหลักของพีชคณิต พ.ศ. 2397 นักคณิตศาสตร์ชาวอังกฤษ George Boole ได้ใช้หลักพีชคณิตเผยแพร่กฎของ Boolean Algebra ซึ่งเป็นคณิตศาสตร์ที่ใช้อธิบายเหตุผลของตรรกวิทยาที่ตัวแปรมีค่าได้เพียง "จริง" หรือ "เท็จ" เท่านั้น (ใช้สภาวะเพียงสองอย่างคือ 0 กับ 1 ร่วมกับเครื่องหมายในเชิงตรรกพื้นฐาน คือ AND, OR และ NOT) สิ่งที่ George Boole คิดค้นขึ้น นับว่ามีประโยชน์ต่อระบบคอมพิวเตอร์ในปัจจุบันอย่างยิ่ง เนื่องจากเป็น การยากที่จะใช้กระแสไฟฟ้า ซึ่งมีเพี่ยง 2 สภาวะ คือ เปิด กับ ปิด ในการแทน เลขฐานสิบซึ่งมีอยู่ถึง 10 ตัว คือ 0 ถึง 9 แต่เป็นการง่ายกว่าเราแทนด้วยเลขฐานสอง คือ 0 กับ 1 จึงถือว่าสิ่งนี้เป็นรากฐานที่สาคัญของการ ออกแบบวงจรระบบคอมพิวเตอร์ในปัจจุบัน พ.ศ. 2423 Dr. Herman Hollerith นักสถิติชาวอเมริกันได้ประดิษฐ์เครื่องประมวลผลทางสถิติซึ่ง ใช้กับ บัตรเจาะรู เครื่องนี้ได้รับการพัฒนา ให้ดียิ่งขึ้นและมาใช้งานสารวจสามะโนประชากร ของสหรัฐอเมริกา ในป พ.ศ. 2433 และช่วยให้การสรุปผลสามะโนประชากรเสร็จสิ้นภายในระยะเวลา 2 ปีครึ่ง (โดยก่อนหน้า นั้นต้องใช้เวลาถึง 7 ปีครึ่ง) เรียกบัตรเจาะรูนี้ว่า บัตรฮอลเลอริธ และชื่ออื่นๆ ที่ใช้เรียกบัตรนี้ ก็คือ บัตร ไอบีเอ็ม หรือบัตร 80 คอลัมน์ เพราะผู้ผลิตคือ บริษัท IBM การกาเนิดของเครื่องคอมพิวเตอร์อิเล็กทรอนิกส์ เครื่องมือทั้งหลายที่ถูกประดิษฐ์ขึ้นมาในยุคก่อนนั้นส่วนมากประกอบด้วยฟันเฟือง รอก คาน ซึ่งเป็น วัสดุ ที่มีขนาดใหญ่ และมีน้าหนักมากทาให้การทางานล่าช้าและผิดพลาดอยู่เสมอ ดังนั้นในยุคต่อมาจึง พยายาม พัฒนาเครื่องมือ ให้มีขนาดเล็กลง แต่มีประสิทธิภาพสูงขึ้น ดังนี้ พ.ศ. 2480 ศาสตราจารย์Howard Aiken แห่งมหาลัยวิทยาลัยฮาวาร์ด ได้พัฒนาเครื่องคานวณ ตาม แนวคิด ของ Babbage ร่วมกับวิศวะกรของบริษัท IBM สร้างเครื่องคานวณตามความคิดของ Babbage ได้ สาเร็จ โดยเครื่องดังกล่าวทางานแบบเครื่องจักรกลปนไฟฟ้า และใช้บัตรเจาะรูเป็นสื่อในการนาเข้าข้อมูลสู่ เครื่องเพื่อทาการประมวลผล การพัฒนาดังกล่าวมาเสร็จสิ้นในปี พ.ศ. 2487 โดยเครื่องมือนี้มีชื่อว่า MARK 1 และเนื่องจากเครื่องนี้สาเร็จได้จากการสนับสนุน ด้านการเงินและบุคลากรจากบริษัท IBM ดังนั้นจึงมีอีกชื่อ
  • 10. 6 หนึ่งว่า IBM Automatic Sequence Controlled Calculator และนับเป็นเครื่องคานวณแบบอัตโนมัติเครื่องแรก ของโลก พ.ศ. 2486 ซึ่งเป็นช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 ศูนย์วิจัยของกองทัพบกสหรัฐอเมริกามีความจาเป็นที่จะต้อง คิดค้นเครื่องช่วยคานวณ เพื่อใช้คานวณหาทิศทางและระยะทางในการส่งขีปนาวุธ ซึ่งถ้าใช้เครื่องคานวณที่ มี อยู่ในสมัยนั้นจะต้องใช้เวลาถึง 12 ชั่วโมงในการคานวณ การยิง 1 ครั้ง ดังนั้นกองทัพจึงให้กอง ทุนอุดหนุนแก่ John W. Mauchly และ Persper Eckert จากหมาวิทยาลัยเพนซิลวาเนีย ในการสร้าง คอมพิวเตอร์ จากอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ขึ้นมา โดยนาหลอดสุญยากาศ (Vacuum Tube) จานวน 18,000 หลอด มาใช้ในการสร้าง ซึ่งมีข้อดีคือ ทาให้เครื่องมีความเร็ว และมีความถูกต้องแม่นยาในการคานวณมาก ขึ้น ในด้านของความเร็วนั้น เครื่องจักกลมีความเฉื่อยของการเคลื่อนที่ของชิ้นส่วนประกอบ แต่คอมพิวเตอร์ อิเล็กทรอนิกส์ จะใช้อิเล็กตรอนเป็นตัวคลื่อนที่ ทาให้สามารถส่งข้อมูลด้วยกระแสไฟฟ้าได้ด้วยความเร็ว ใกล้เคียงกับความเร็วของแสง ส่วนความถูกต้องแม่นยาในการทางานของเครื่องจักรกลอาศัยฟันเฟือง รอก คาน ในการทางาน ทาให้ทางานได้ช้า และเเกิดความผิดพลดได้ง่าย พ.ศ. 2489 เครื่องคอมพิวเตอร์ที่ Mauchly และ Eckert คิดค้นขึ้นได้มีชื่อว่า ENIAC ย่อมาจาก (Electronic Numberical Integrater and Caculator) ประสบความสาเร็จในปี พ.ศ. 2489 ถึงแม้ว่าจะไม่ทันใช้ใน สงครามโลกครั้งที่สอง แต่ความเร็วในการตานวณของ ENIAC ทาให้วงการคอมพิวเตอร์ขณะนั้น ยอมรับ ความสามารถของเครื่องคอมพิวเตอร์อิเล็กทรอนิกส์ แต่อย่างไรก็ตาม ENIAC ทางานด้วยไฟฟ้าทั้งหมดทา ให้ในการทางานแต่ละครั้งจึงทาให้เกิดความร้อนสูงมาก จาเป็นต้องติดตั้งไว้ในห้องที่มีเครือ่งปรับอากาศ ด้วย นอกจากนี้ ENIAC ยังเก็บได้เฉพาะข้อมูลที่เป็นตัวเลขขนาด 10 หลัก และเก็บได้เพียง 20 จานวน เท่านั้น ส่วนชุดคาสั่งนั้น ยังไม่สามารถเก็บไว้ในเครื่องได้ การส่งชุดคาสั่งเข้าเครื่องจะต้องใช้วิธีการเดิน สายไฟสร้างวงจร ถ้ามีการแก้ไขโปรแกรม ก็ต้องมีการเดินสายไฟกันใหม่ ซึ่งใช้เวลาเป็นวัน ความคิดต่อมาในการพัฒนาเครื่องคอมพิวเตอร์ให้ดีขึ้นก็คือ การค้นหาวิธีการเก็บโปรแกรมไว้ในเครื่อง เพื่อลดความยุ่งยาก ของขั้นตอนการป้ อนคาสั่งเข้าเครื่อง มีนักคณิตศาสตร์เชื้อสายฮังการเรียนชื่อ Dr.John Von Neumann ได้พบวิธีการเก็บโปรแกรมไว้ในหน่วยความจาของเครื่องเช่นเดียวกับการเก็บข้อมูลและต่อ วงจรไฟฟ้า สาหรับการคานวณ และการปฏิบัติการพื้นฐาน ไว้ให้เรียบร้อยภายในเครื่อง แล้วเรียกวงจร เหล่านี้ด้วยรหัสตัวเลขที่กาหนดไว้เครื่องคอมพิวเตอร์ที่ถูกพัฒนาขึ้นตามแนวความคิดนี้ได้แก่ EVAC (Electronic Ddiscreate Variable Automatic Computer) ซึ่งสร้างเสร็จใน พ.ศ. 2492 และนามาใช้งานจริงใน ปี พ.ศ. 2494 และในเวลาใกล้เคียงกัน ที่มหาวิทยาลัยเคมบริดส์ ประเทศอังกฤษ ได้มีการสร้างคอมพิวเตอร์มี ลักษณะคล้ายกับเครื่อง EVAC และให้ชื่อว่า EDSAC (Electronic Delay Strorage Automatic Caculator
  • 11. 7 เครื่องคอมพิวเตอร์ในแต่ละยุค คอมพิวเตอร์ยุคที่ 1 (พ.ศ. 2497-2501 begin_of_the_skype_highlighting 2497-2501 end_of_the_skype_highlighting) คอมพิวเตอร์ในยุคนี้ใช้หลอดสูญญากาศ (Vacuum tube) เป็นวงจรอิเล็กทรอนิกส์ เครื่องยังมีขนาดใหญ่มาก ใช้กระแสไฟฟ้าจานวนมาก ทาให้เครื่องมีความร้อนสูงจึงมักเกิดข้อผิดพลาดง่าย คอมพิวเตอร์ในยุคนี้ได้แก่ UNIVAC I , IBM 600 คอมพิวเตอร์ยุคที่ 2 (พ.ศ. 2502-2507 begin_of_the_skype_highlighting 2502-2507 end_of_the_skype_highlighting) คอมพิวเตอร์ยุคนี้ใช้ทรานซิสเตอร์ (Transistor) เป็นวงจรอิเล็กทรอนิกส์ และใช้วงแหวนแม่เหล็กเป็น หน่วยความจา คอมพิวเตอร์มีขนาดเล็กกว่ายุคแรก ต้นทุนต่ากว่า ใช้กระแสไฟฟ้าและมีความแม่นยามากกว่า คอมพิวเตอร์ยุคที่ 3 (พ.ศ. 2508-2513 begin_of_the_skype_highlighting 2508-2513 end_of_the_skype_highlighting) คอมพิวเตอร์ยุคนี้ใช้วงจรไอซี (Integrated Circuit) เป็นสารกึ่งตัวนาที่สามารถบรรจุวงจรทางตรรกะไว้แล้ว พิมพ์บนแผ่นซิลิกอน(Silicon) เรียกว่า "ชิป" คอมพิวเตอร์ยุคที่ 4 (พ.ศ. 2514-2523 begin_of_the_skype_highlighting 2514-2523 end_of_the_skype_highlighting) คอมพิวเตอร์ยุคนี้ใช้วงจร LSI (Large-Scale Integrated Ciruit) เป็นการรวมวงจรไอซีจานวนมากลงในแผ่น ซิลิกอนชิป 1 แผ่น สามารถบรรจุได้มากกว่า 1 ล้านวงจร ด้วยเทคโนโลยีใหม่นี้ทาให้เกิดแนวคิดในการ บรรจุวงจรที่สาคัญสาหรับการทางานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์นั่นคือ CPU ลงชิปตัวเดียว เรียกว่า "ไมโคร โปรเชสเซอร์" คอมพิวเตอร์ยคุที่ 5 (พ.ศ. 2524-ปัจจุบัน) คอมพิวเตอร์ยุคนี้ใช้วงจร VLSI (Very Large-Scale Integrated Ciruit) เป็นการพัฒนาไมโครโปรเซสเซอร์ ให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น ก่อกาเนิด ไมโครโปรเซสเซอร์
  • 12. 8 เมื่อก่อนนั้น Intel เป็นบริษัทผลิตชิปไอซี แห่งหนึ่งที่ไม่ใหญ่โตมากนักเท่าในปัจจุบัน เมื่อปี ค.ศ.1969 ได้ สร้างความสะเทือน ให้กับวงการอิเล็คทรอนิคส์ โดยการออกชิปหน่วยความจา(Memory)ขนาด 1 Kbyte มา เป็นรายแรก บริษัทบิสซิคอมพ์(Busicomp) ซึ่งเป็นผู้ผลิตเครื่องคิดเลขของญี่ปุ่ญได้ทาการว่าจ้างให้ Intel ทาการผลิต ชิปไอซี ที่บิสซิคอมพ์เป็นคนออกแบบเองที่มีจานวน 12 ตัว โครงการนี้ถูกมอบหมายให้นาย M.E. Hoff, Jr. ซึ่งเข้าตัดสินใจที่จะใช้วิธีการออกแบบชิปแบบใหม่ โดยสร้างชิปที่ให้ถูกโปรแกรมได้ หมายถึงว่า สามารถ นาเอาชุดคาสั่งของการคานวณไปเก็บไว้ใน หน่วยความจาก่อนแล้วให้ไอซีตัวนี้อ่านเข้ามาแปล ความหมาย และทางานภายหลัง ในปี 1971 Intel ได้นาผลิตภัณฑ์ออกสู่ตลาด โดยใช้ชื่อทางการค้าว่า Intel 4004 ในราคา 200 เหรียญ สหรัฐ และเรียกชิปนี้ว่าเป็น ไมโครโปรเซสเซอร์(Micro Processor) ก็เพราะว่า 4004 นี้เป็น CPU (Central Processing Unit) ตัวหนึ่ง ซึ่งมีขนาด 4.2 X 3.2 มิลลิเมตร ภายในประกอบด้วย ทรานซิสเตอร์ จานวน 2250 ตัว และเป็น ไมโครโปรเซสเซอร์ขนาด 4 บิต หลังจาก 1 ปีต่อมา Intel ได้ออก ไมโครโปรเซสเซอร์ ขนาด 8 บิตออกมาโดยใช้ชื่อว่า 8008 มีชุดคาสั่ง 48 คาสั่ง และอ้างหน่วยความจาได้16 Kbyte ซึ่งทาง Intel หวังว่าจะเป็นตัวกระตุ้นตลาดทางด้านชิป หน่วยความจาได้อีกทางหนึ่ง เมื่อปี 1973 ทาง Intel ได้ออก ไมโครโปรเซสเซอร์ 8080 ที่มีชุดคาสั่งพื้นฐาน 74 คาสั่งและสามารถอ้าง หน่วยความจาได้ 64 Kbyte ไมโครคอมพิวเตอร์ เครื่องแรกของโลก เมื่อปี 1975 มีนิตยสารต่างประเทศฉบับหนึ่ง ชื่อว่า Popular Electronics ฉบับเดือน มกราคม ได้ลง บทความ เกี่ยวกับเครื่อง ไมโครโปรเซสเซอร์ เครื่องแรกของโลกที่มีชื่อว่า อัลแตร์ 8800 (Altair) ซึ่งทา ออกมาเป็นชุดคิท โดยบริษัท MITS (Micro Insumentation And Telemetry Systems) ลักษณะของชุดคิท ก็ คือ จะอยู่ในรูปของอุปกรณ์แต่ละชิ้นโดยให้ คุณนาไปประกอบขึ้นใช้เอง
  • 13. 9 บริษัท MITS ถูกก่อตั้งเมื่อปี 1969 โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อทาตลาดในด้านเครื่องคิดเลข แต่การค้าชลอตัวลง ประธานบริษัท ชื่อ H. Edword Roberts เห็นการไกล คิดเปิดตลาดใหม่ซึ่งจะขายชุดคิด คอมพิวเตอร์ ประมาณเอาไว้ว่าอาจขาย ได้ในจานวนปีล่ะประมาณ 200-300 ชุด จึงให้ทิมงานออกแบบบและพัฒนาแล้ว เสร็จก่อนถึงคริสต์มาส ในปี 1974 แต่เพิ่งมา ประกาศตัวในปีถัดไป สาหรับ CPU ที่ใช้คือ 8080 และคาว่า ไมโครคอมพิวเตอร์ จึงถูกเรียกใช้เป็นครั้งแรกเพื่อชุดคิทคอมพิวเตอร์ชุดนี้ ชุดคิทของ อัลแตร์ นี้ประกอบด้วย ไมโครโปรเซสเซอร์ 8080 ของบริษัท Intel มี เพาเวอร์ซัพพลาย มีแผง หน้าปัดที่ติดหลอดไฟ เป็นแถวมาให้เพื่อแสดงผล รวมถึงหน่วยความจา 256 Byte ( แหม.. เหมือนของเล่น เราในสมัยนี้ จังงง ) นอกนั้น ยังมี สล๊อต (Slot) ให้เสียบอุปกร์อื่น ๆ เพิ่มได้ แต่ก็ทาให้ MITS ต้องผิดคาด คือ ภายใน เดือนเดียว มีจดหมายส่งเข้ามาขอสั่งซื้อเป็นจานวนถึง 4,000 ชุดเลยทีเดียว ด้วยชิป 8080 นี่เองได้เป็นแรงดลใจให้บริษัท ดิจิตอลรีเสิร์ช (Digital Research) กาเนิดระบบปฏิบัติการ (Operating System) ที่ชื่อว่า ซีพีเอ็ม(CP/M หรือ Control Program For Microcomputer) ขึ้นมา ในขณะที่ Microsoft ยังเพิ่งออก Microsoft Basic รุ่นแรกเองน่ะ ถึงยุค Z80 ส่ะที เมื่อเดือน พฤศจิกายนปี 1974 ได้มี วิศวกรของ Intel บางคนได้ออกมาตั้งบริษัทผลิตชิปเอง โดยมีชื่อว่า ไซล๊อก (Zilog) เนื่องจาก วิศวกรเหล่านี้ ได้มีส่วนร่ามในการผลิตชิป 8080 ด้วยจึงได้นาเอาเทคโนโลยีการ ผลิดนี้มาสร้างตัวใหม่ที่ดีกว่า มีชื่อว่า Z80 ยังคงเป็น ชิปขนาด 8 บิต เมื่อได้ออกสู่ตลาดได้รับความนิยมเป็น อย่างมาก เนื่องจากได้ปรับปรุงข้อบกพร่องต่าง ๆ ที่มีอยู่ใน 8080 จึงทาให้เครื่องคอมพิวเตอร์ หลายต่อหลาย ยี่ห้อ หันมาใช้ชิป Z80 กัน แม้แต่ซีพีเอ็ม ก็ยังถูกปรับปรุงให้มาใช้กับ Z80 นี้ด้วย *** แม้ในปัจุบันนี้ Z80 ยังคงถูกใช้งาน และนาไปใช้ในการเรียนการสอน ไมโครโปรเซสเซอร์ ด้วย เช่น ชุดคิดหรือ Single Board Microcomputer ของ ETT, Sila เป็นต้น และ IC ตัวนี้ยังผลิตขาย อยู่ในปัจจุบัน ในราคา ไม่เกิน 100 บาท น่ะ จะบอกให้) Computer เครื่องแรกของ IBM ในปี 1975 ไอพีเอ็ม ได้ออกเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ เครื่องแรกออกมา แต่ทางไอบีเอ็มได้เรียกเครื่องนี้ ว่าเป็น เทอร์มินัลแบบชาญฉลาด ที่สามารถโปรแกรมได้(Intelligent Programmable Terminal) และตั้งชื่อ รุ่นว่า Model 5100 มีหน่วยความจา 16 Kbyte แล้วยังมีตัวแปลภาษาเบสิก แบบอินเตอร์พรีทเตอร์ (Interpreter) ด้วย และมี ไดรฟ์สาหรับใส่คาร์ทิดจ์เทปในตัว แต่ก็ยังขายไม่ดีเอามาก ๆ เลย เพราะว่าตั้งราคา ไว้สูงมากถึง 9,000 เหรียญสหัฐ
  • 14. 10 ในปลายปี 1980 บริษัทไอบีเอ็มได้เกิดแผนกเล็ก ๆ ขึ้นมาแผนกหนึ่งเรียกว่า Entry Systems Division ภายใต้ทีมของคนชื่อว่า ดอน เอสทริดจ์ (Don Estridge) และนักออกแบบอีก 12 คน โดยได้รับมอบหมายให้ พัฒนาเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์เครื่องแรกของไอบีเอ็มโมเด็ล 5100 นั้นเอง โดยนาเอาจุดเด่นของเครื่อง ที่ ขายดีมารวมไว้ในการออกแบบเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ของไอบีเอ็ม และผลิตจาหน่ายได้ภายในปีเดียว ภายใต้ชื่อว่า ไอบีเอ็มพีซี (IBM PC) ซึ่งถูกเปิดตัวในเดือน สิหาคม ปี 1981 และยอดขายของเครื่องพีซีก็ได้พุ่ง อย่างรวดเร็ว ทาให้บริษัทอื่น ๆ จับตามอง กาเนิด แอปเปิ้ล ในปี 1976 หลังจาก Stephen Wozniak และ Steve Jobs ได้ร่วมกันก่อตั้งบริษัทแอปเปิลคอมพิวเตอร์ (Apple Computer) และได้นาเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ เครื่องแรกที่ประดิษฐ์จากโรงรถออกมาขายโดยใช้ ชื่อว่า Apple I ในราคา 695 เหรียญ บริษัทแอปเปิลได้ผลิตเครื่อง Apple I ออกมาไม่มากนัก ภายในปีเดียวได้ ผลิต Apple II ออกมา และรุ่นนี้เป็นรุ่นเปิดศักราชแห่งวงการไมโครคอมพิวเตอร์ และเป็นการสร้าง มาตรฐาน ที่ไมโครคอมพิวเตอร์ ที่เกิดมาตามหลังทั้งหมดต้องทาตา ประเภทของคอมพิวเตอร์ ประเภทของคอมพิวเตอร์ตาม หลักการประมวลผลจาแนกได้เป็น 3 ประเภท คือ คอมพิวเตอร์แบบแอนะล็อก (Analog Computer) หมาย ถึง เครื่องมือประมวลผลข้อมูลที่อาศัยหลักการวัด (Measuring Principle) ทางานโดยใช้ข้อมูลที่มี การเปลี่ยนแปลงแบบต่อเนื่อง (Continuous Data) แสดงออกมาในลักษณะสัญญาณที่เรียกว่า Analog Signal เครื่องคอมพิวเตอร์ประเภทนี้มักแสดงผลด้วยสเกลหน้าปัทม์ และเข็มชี้ เช่น การวัดค่าความยาว โดย เปรียบเทียบกับสเกลบนไม้บรรทัดการวัดค่าความร้อนจากการขยายตัวของปรอท เปรียบเทียบกับสเกลข้าง หลอดแก้ว นอกจาก นี้ยังมีตัวอย่างของ Analog Computer ที่ใช้การประมวลผลแบบเป็นขั้นตอน เช่น เครื่องวัดปริมาณ การใช้น้าด้วยมาตรวัดน้า ที่เปลี่ยนการไหลของน้าให้เป็นตัวเลขแสดงปริมาณ อุปกรณ์วัดความเร็วของ รถยนต์ในลักษณะเข็มชี้ หรือเครื่องตรวจคลื่ยสมองที่แสดงผลเป็นรูปกราฟ เป็นต้น
  • 15. 11 คอมพิวเตอร์แบบดิจิทัล (Digital Computer) ซึ่ง ก็คือคอมพิวเตอร์ที่ใช้ในการทางานทั่วๆ ไปนั่นเอง เป็นเครื่องมือประมวลผลข้อมูลที่อาศัยหลักการ นับทางานกับข้อมูลที่มีลักษณะ การเปลี่ยนแปลงแบบไม่ต่อเนื่อง (Discrete Data) ในลักษณะของ สัญญาณไฟฟ้า หรือ Digital Signal อาศัยการนับสัญญาณข้อมูลที่เป็นจังหวะด้วยตัวนับ (Counter) ภายใต้ ระบบฐานเวลามาตรฐาน ทาให้ผลลัพธ์เป็นที่น่าเชื่อถือ ทั้งสามารถนับข้อมูลให้ค่าความละเอียดสูง เช่น แสดงผลลัพธ์เป็นทศนิยมได้หลายตาแหน่ง เป็นต้น เนื่องจาก Digital Computer ต้องอาศัยข้อมูลที่เป็น สัญญาณไฟฟ้า (มนุษย์สัมผัสไม่ได้) ทาให้ไม่สามารถรับข้อมูลจากแหล่งข้อมูลต้นทางได้โดยตรง จึง จาเป็นต้องเปลี่ยนข้อมูลต้นทางที่รับเข้า (Analog Signal) เป็นสัญญาณไฟฟ้า (Digital Signal) เสียก่อน เมื่อ ประมวลผลเรียบร้อยแล้วจึงเปลี่ยนสัญญาณไฟฟ้ากลับไปเป็น Analog Signal เพื่อสื่อความหมายกับมนุษย์ ต่อไป โดยส่วนประกอบสาคัญ ที่เรียกว่า ตัวเปลี่ยนสัญญาณข้อมูล (Converter) คอยทาหน้าที่ในการเปลี่ยนรูปแบบ ของสัญญาณข้อมูล ระหว่าง Digital Signal กับ Analog Signal คอมพิวเตอร์แบบลูกผสม (Hybrid Computer) เครื่อง ประมวลผลข้อมูลที่อาศัยเทคนิคการทางานแบบผสมผสาน ระหว่าง Analog Computer และ Digital Computer โดยทั่วไปมักใช้ในงานเฉพาะกิจ โดยเฉพาะงานด้านวิทยาศาสตร์ เช่น เครื่องคอมพิวเตอร์ ในยานอวกาศ ที่ใช้ Analog Computer ควบคุมการหมุนของตัวยาน และใช้ Digital Computer ในการ คานวณระยะทาง เป็นต้น การทางานแบบผสมผสาน ของคอมพิวเตอร์ชนิดนี้ ยังคงจาเป็นต้องอาศัยตัวเปลี่ยนสัญญาณ (Converter) เช่นเดิมประเภท ของคอมพิวเตอร์ตามวัตถุประสงค์ของการใช้งานจาแนกได้เป็น 2 ประเภท คือ เครื่องคอมพิวเตอร์เพื่องานเฉพาะกิจ (Special Purpose Computer) หมายถึง เครื่องประมวลผลข้อมูลที่ถูกออกแบบตัวเครื่องและโปรแกรมควบคุมให้ทางานอย่าง ใดอย่าง หนึ่งเป็นการเฉพาะ (Inflexible) โดยทั่วไปมักใช้ในงานควบคุมหรืองานอุตสาหกรรมที่เน้นการประมวลผล แบบรวดเร็ว เช่นเครื่องคอมพิวเตอร์ควบคุมสัญญาณไฟจราจร คอมพิวเตอร์ควบคุมลิฟท์หรือคอมพิวเตอร์ ควบคุมระบบอัตโนมัติในรถยนต์เป็นต้น
  • 16. 12 เครื่องคอมพิวเตอร์เพื่องานอเนกประสงค์(General Purpose Computer) หมายถึง เครื่องประมวลผลข้อมูลที่มีความยืดหยุ่นในการทางาน (Flexible) โดยได้รับการออกแบบให้ สามารถประยุกต์ใช้ในงานประเภทต่างๆ ได้โดยสะดวกโดยระบบจะทางานตามคาสั่งในโปรแกรมที่เขียน ขึ้นมาและเมื่อผู้ใช้ ต้องการให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทางานอะไรก็เพียงแต่ออกคาสั่งเรียกโปรแกรมที่ เหมาะสมเข้ามาใช้งานโดยเราสามารถเก็บโปรแกรมไว้หลายโปรแกรมในเครื่องเดียว กันได้เช่นในขณะ หนึ่งเราอาจใช้เครื่องนี้ในงานประมวลผลเกี่ยวกับระบบบัญชีและในขณะ หนึ่งก็สามารถใช้ในการออกเช็ค เงินเดือนได้เป็นต้น ประเภทของคอมพิวเตอร์ตาม ความสามารถของระบบ จาแนกออกได้เป็น 4 ชนิด โดยพิจารณาจาก ความสามารถในการเก็บข้อมูล และ ความเร็วในการ ประมวลผล เป็นหลัก ดังนี้ ซุปเปอร์คอมพิวเตอร์ (Super Computer) หมายถึงเครื่องประมวลผลข้อมูลที่มีความ สามารถในการประมวลผลสูงที่สุดโดยทั่วไปสร้างขึ้นเป็นการ เฉพาะเพื่องานด้าน วิทยาศาสตร์ที่ต้องการการประมวลผลซับซ้อนและต้องการความเร็วสูง เช่น งานวิจัย ขีปนาวุธ งานโครงการอวกาศสหรัฐ (NASA) งานสื่อสารดาวเทียม หรืองานพยากรณ์อากาศ เป็นต้น เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ (Mainframe Computer) หมายถึงเครื่องประมวลผลข้อมูลที่มีส่วน ความจาและความเร็วน้อยลงสามารถใช้ข้อมูลและคาสั่งของ เครื่องรุ่นอื่นใน ตระกูล (Family) เดียวกันได้โดยไม่ต้องดัดแปลงแก้ไขใดๆ นอกจากนั้นยังสามารถทางาน ในระบบเครือข่าย (Network) ได้เป็นอย่างดี โดยสามารถเชื่อมต่อไปยังอุปกรณ์ที่เรียกว่า เครื่องปลายทาง (Terminal) จานวนมากได้สามารถทางานได้พร้อมกันหลายงาน (Multi Tasking) และใช้งานได้พร้อมกัน หลายคน (Multi User) ปกติเครื่องชนิดนี้นิยมใช้ในธุรกิจขนาดใหญ่มีราคาตั้งแต่สิบล้านบาทไปจนถึง หลาย ร้อยล้านบาทตัวอย่างของเครื่องเมนเฟรมที่ใช้กันแพร่หลายก็คือ คอมพิวเตอร์ของธนาคารที่เชื่อมต่อไปยังตู้ ATM และสาขาของธนาคารทั่วประเทศนั่นเอง
  • 17. 13 มินิคอมพิวเตอร์ (Mini Computer) ธุรกิจและหน่วยงานที่มีขนาดเล็กไม่จาเป็น ต้องใช้คอมพิวเตอร์ขนาดเมนเฟรมซึ่งมีราคาแพงผู้ผลิต คอมพิวเตอร์จึงพัฒนา คอมพิวเตอร์ให้มีขนาดเล็กและมีราคาถูกลง เรียกว่าเครื่องมินิคอมพิวเตอร์โดยมี ลักษณะพิเศษในการทางานร่วมกับอุปกรณ์ ประกอบรอบข้างที่มีความเร็วสูงได้มีการใช้แผ่นจานแม่เหล็ก ความจุสูงชนิดแข็ง (Harddisk) ในการเก็บรักษาข้อมูลสามารถอ่านเขียนข้อมูลได้อย่างรวดเร็ว หน่วยงาน และบริษัทที่ใช้คอมพิวเตอร์ขนาดนี้ ได้แก่ กรม กอง มหาวิทยาลัย ห้างสรรพสินค้า โรงแรม โรงพยาบาล และโรงงานอุตสาหกรรมต่างๆ ไมโครคอมพิวเตอร์ (Micro Computer) หมายถึงเครื่องประมวลผลข้อมูลขนาดเล็กมีส่วนของหน่วยความจาและ ความเร็วในการประมวลผลน้อย ที่สุดสามารถใช้งานได้ด้วยคนเดียว จึงมักถูกเรียกว่า คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล (Personal Computer : PC) ปัจจุบัน ไมโครคอมพิวเตอร์มีประสิทธิภาพสูงกว่าในสมัยก่อนมากอาจเท่ากับหรือมากกว่า เครื่องเมนเฟรม ในยุคก่อน นอกจากนั้นยังราคาถูกลงมากดังนั้นจึงเป็นที่นิยมใช้มาก ทั้งตามหน่วยงานและบริษัทห้างร้าน ตลอดจนตามโรงเรียนสถานศึกษา และบ้านเรือนบริษัทที่ผลิตไมโครคอมพิวเตอร์ออกจาหน่ายจนประสบ ความสาเร็จเป็น บริษัทแรก คือบริษัทแอปเปิลคอมพิวเตอร์ เครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ จาแนกออกได้เป็น 2 ประเภทใหญ่ๆ คือ 1. แบบติดตั้งใช้งานอยู่กับที่บนโต๊ะทา งาน (Desktop Computer) 2. แบบเคลื่อนย้ายได้(Portable Computer) สามารถพกพาติดตัวอาศัยพลังงานไฟฟ้าจากแบตเตอรี่จาก ภายนอก ส่วนใหญ่มักเรียกตามลักษณะของการใช้งานว่า Laptop Computer หรือ Notebook Computer ลักษณะการทางานของคอมพิวเตอร์ การทางานของคอมพิวเตอร์ ก็เหมือนกับสมองของคนเรา คือ รับข้อมูลมา แล้วนาข้อมูลไปประมวลผล หลังจากนั้นก็จะแสดงผลออกมา ซึ่งอาจกล่าวได้ว่าทุกส่วนนั้นมีการทางานที่สัมพันธ์กันเป็นกระบวนการ โดยจะมีองค์ประกอบพื้นฐานหลัก ก็คือ Input Process และ Output ซึ่งมีขั้นตอนการทางานดังนี้ ขั้นตอนที่ 1 : การรับข้อมูลและคาสั่ง (Input)คอมพิวเตอร์จะรับข้อมูลและคาสั่งเข้าเครื่องผ่านทางอุปกรณ์ ชนิดต่างๆ ซึ่งขึ้นอยู่กับชนิดของข้อมูลที่จะป้ อนเข้าไป เช่น ถ้าเป็นการพิมพ์ข้อมูลจะใช้แป้ นพิมพ์ (Keyboard) เพื่อพิมพ์ข้อความหรือโปรแกรมเข้าเครื่อง แต่ถ้าเป็นการสแกนรูปภาพหรือข้อความเข้าไปไว้ใน
  • 18. 14 เครื่องก็จะใช้สแกนเนอร์ (Scanner) หรือถ้าเป็นการเล่นเกมส์ก็จะมีก้านควบคุม (Joystick) สาหรับเคลื่อน ตาแหน่งของการเล่นบนจอภาพ เป็นต้นขั้นตอนที่ 2 : การประมวลข้อมูล (Process)หลังจากนาข้อมูลเข้า มาแล้วนั้น เครื่องก็จะนาข้อมูลหรือคาสั่งไปประมวลผล เพื่อให้ได้ผลลัพธ์ตามที่ต้องการขั้นตอนที่ 3 : การ แสดงผลลัพธ์ (Output)เป็นการนาผลลัพธ์ที่ได้จากการประมวลผลมาแสดงผลให้ทราบ ซึ่งโดยทั่วไปจะ แสดงผลผ่านทางจอภาพ (Monitor) หรือจะพิมพ์ข้อมูลออกทางกระดาษโดยใช้เครื่องพิมพ์(Printer) เป็นต้น การทางานของคอมพิวเตอร์ ลักษณะการทางานของเครื่องคอมพิวเตอร์ ประกอบด้วยหน่วย (Units) ที่ทาหน้าที่ต่างกัน 4 หน่วย คือ 1. หน่วยรับข้อมูล (Input Unit) เป็นตัวกลางในการรับข้อมูลผ่านอุปกรณ์ชนิดต่าง ๆ เช่น แป้ นพิมพ์ (Keyboard)และสแกนเนอร์ (Scanner) โดยพิมพ์หรือวาดรูป เข้าไปในเครื่อง 2. หน่วยประมวลผลกลาง (Central Processing Unit : CPU) เป็นส่วนที่สาคัญที่สุดของคอมพิวเตอร์ซึ่งจะ ควบคุมการทางาน ทั้งหมดของเครื่อง 3. หน่วยความจา (Memory) เป็นส่วนที่ใช้เก็บข้อมูลต่าง ๆ เครื่องไว้ซึ่งมี 2 ชนิดคือ 3.1 ROM (Read Only Memory) เป็นหน่วยความจาหลักที่ทาหน้าที่อ่านข้อมูลเพียงอย่างเดียว 3.2 RAM (Random Access Memory) เป็นหน่วยความจารองที่ทาหน้าที่ในการบันทึกข้อมูลไว้ชั่วคราวซึ่ง หากเราปิดเครื่องจะทาให้ข้อมูลสูญหายได้ 4. หน่วยแสดงผล (Output) เป็นการนาผลลัพธ์ที่ผ่านการดาเนินการตามกรรมวิธีจากหน่วยความจา แสดง ออกมาในรูปแบบที่อ่านเข้าใจได้ง่าย อาจจะอยู่ในรูป รายงาน ตาราง กราฟ หรือรูปภาพ โดยผ่านอุปกรณ์ แสดงผล เช่น เครื่องพิมพ์หรือจอภาพ เป็นต้น ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ ด้วยความก้าวหน้าของเทคโนโลยีและเป็นยุคสารสนเทศ ไม่ว่าเราจะทาอะไรก็สะดวกสบายไปเสียหมด จะ ติดตามข่าวสารต่างๆ ก็สะดวกสบายขึ้น การติดต่อสื่อสารก็ง่ายขึ้น ด้วยเทคโนโลยีที่ทันสมัย ทาให้ทุกอย่าง นั้นสะดวกขึ้นเป็นอย่างมาก แม้กระทั่งการทางานของเราก็ สะดวกขึ้น เพราะปัจจุบันนี้ ในการทางานก็มี เทคโนโลยีเข้ามาเกี่ยวข้อง ที่เห็นง่ายๆ เลย ก็คือ การนาคอมพิวเตอร์เข้ามาใช้ในหน่วยงาน ไม่ว่าจะเป็น หน่วยงานราชการหรือหน่วยงานเอกชนล้วนแล้วแต่นาคอมพิวเตอร์เข้ามาเป็นส่วนหนึ่งในการทางานทั้งนั้น แล้วรู้กันหรือไหมว่า คอมพิวเตอร์ที่เราใช้กันอยู่ทุกวันนั้นมีส่วนประกอบอะไรบ้าง และมีความสาคัญ
  • 19. 15 อย่างไร วันนี้เรามารู้จักกับคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ ที่เราใช้งานกัน อยู่ดีกว่า อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์หลักๆ รู้กันมั้ยว่าส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์มีอะไรบ้าง คอมพิวเตอร์นั้นมีส่วนประกอบหลักๆ อยู่4 ส่วน ด้วยกัน เริ่มจาก 1. โปรเซสเซอร์ (Processor) นั่นก็คือหน่วยประผลกลางหรือที่รู้จักกันในนามของซีพียู (CPU) นั่นเอง หรือ เรียกว่าซิป ซึ่งส่วนนี้มีความสาคัญมากที่สุดของฮาร์ดแวร์ เพราะว่ามีหน้าที่ในการประมวลผลข้อมูลที่ผู้ใช้ ป้ อนเข้ามา ซึ่งซีพียูนั้นมีรุ่นต่างๆ ออกมาวางขายตามท้องตลาดมากมาย ซึ่งแต่ละรุ่นก็ราคาแตกต่างกัน ออกไป 2. หน่วยความจา (Memory) หรือ RAM นั่นเอง ซึ่ง RAM นั้นเป็นหน่วยความจาหลักที่จาเป็นในการเก็บ ข้อมูลต่างๆ หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่าหน่วยความจาสารองนั่นเอง ก็คือจะเก็บข้อมูลชั่วคราว ซึ่ง หน่วยความจาแรมจะทาหน้าที่เก็บชุดคาสั่งและข้อมูลที่ระบบคอมพิวเตอร์กาลังทางานอยู่ด้วย 3. ส่วนอินพุต/เอาต์พุต (Input/Output) ก็คืออุปกรณ์ที่ทาให้คอมพิวเตอร์สามารถสัมผัสและรับรู้สิ่งต่าง ๆ เช่น เครื่องอ่านบัตร คีย์บอร์ด เมาส์ สแกนเนอร์ และอุปกรณ์ Output ก็ได้แก่พวก เครื่องพิมพ์ จอภาพ 4. สื่อจัดเก็บข้อมูล (Storage) นั่นก็คือสื่อที่ใช้ในการจัดเก็บข้อมูล เช่น ฮาร์ดดิสก์ ที่ใช้ในการเก็บข้อมูล อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ ส่วนอื่นๆ จอภาพ หรือ monitor เป็นอุปกรณ์การแสดงผลที่สาคัญที่สุด จะเป็นส่วนที่ติดต่อกับผู้ใช้โดยตรง เพราะเรา สามารถมองเห็นข้อมูลที่ที่แสดงผลได้โดยผ่านจอภาพของเรา จอภาพของคอมพิวเตอร์มีอยู่ด้วยกัน 2 แบบ คือจอแบบซีอาร์ที และจอแบบแอลซีดี ซึ่งจอภาพ 2 แบบนี้มีลักษณะที่แตกต่างกันในเรื่องของรูปแบบ นั้นก็ คือจอแบบซีอาร์ที (CRT) ส่วนใหญ่เป็นจอภาพที่นิยมใช้สาหรับคอมพิวเตอร์ตั้งโต๊ะ มีขนาดใหญ่คล้าย โทรทัศน์ เมื่อก่อนได้รับความนิยมเป็นอย่างมาก แต่เมื่อจอภาพแบบแอลซีดี (LCD) เข้ามาแทน จอภาพแบบ ซีอาร์ทีก็เริ่มมีน้อยลงจนในปัจจุบันนี้เราแทบไม่เห็นร้านขายคอมพิวเตอร์มีจอแบบนี้วางขายอีกแล้ว ส่วน จอภาพแบบแอลซีดีนั้นมีทั้งแบบที่ใช้กับคอมพิวเตอร์ตั้งโต๊ะและในแบบของโน๊ตบุ๊ค เนื่องจากเป็นจอภาพที่ มีขนาดรูปร่างที่บางทาให้สะดวกสาหรับการพกพาไปไหนมาไหน แต่จอภาพแบบแอลซีดีนี้ก็มีราคาที่แพง กว่าจอภาพแบบซีอาร์ที
  • 20. 16 เคส (case) คือ กล่องหรือโครงสร้างสาหรับเก็บประกอบอุปกรณ์ต่างๆ คอมพิวเตอร์ไว้ภายในนั้น ซึ่งขนาด ของเคสก็จะแตกต่างกันออกไป แล้วแต่การใช้งานหรือความเหมาะสมในการใช้งานของแต่ละคนรวมทั้ง สถานที่เก็บอุปกรณ์เหล่านั้นด้วยว่ามีขนาดพื้นที่มากน้อยเพียงใด และในตัวเคสก็จะมีในส่วนของพาวเวอร์ ซัพพลายติดมาด้วย พาวเวอร์ซัพพลาย (Power Supply) เป็นอุปกรณ์ที่ทาหน้าที่ในการจ่ายกระแสไฟฟ้าให้กับชิ้นส่วนอุปกรณ์ คอมพิวเตอร์ ซึ่งถ้าคอมพิวเตอร์มีอุปกรณ์ต่อพวงเยอะๆ เช่น ฮาร์ดดิสก์ ซีดีรอมไดรฟ์ ดีวีดีไดรฟ์ก็ควรเลือก พาวเวอร์ซัพพลายที่มีจานวนวัตต์สูง เพื่อให้สามารถ จ่ายกระแสไฟได้เพียงพอต่ออุปกรณ์คอมพิวเตอร์ คีย์บอร์ดหรือแป้นพิมพ์(Keyboard) เป็นอุปกรณ์พื้นฐานที่คอมพิวเตอร์ทุกเครื่องจะต้องมี เนื่องจากตัว คีย์บอร์ดใช้สาหรับการพิมพ์หรือป้ อมข้อมูลต่างลงไปในเครื่องคอมพิวเตอร์ ในตัวคีย์บอร์ดจะมีทั้งที่เป็น ตัวอักษรที่เป็นภาษาหลักของแต่ละประเทศรวมทั้งภาษาหลักอย่างภาษาอังกฤษอยู่ด้วย และยังมีข้อมูลทั้งตัว เลขและฟังก์ชันต่างๆ ที่จาเป็นสาหรับการใช้งานและอื่นๆ อีก เพื่อใช้สาหรับลงข้อมูลในตัวเครื่องของเรา โดยส่วนใหญ่แล้วคีย์บอร์ดมีลักษณะที่เป็นสี่เหลี่ยมผืนผ้าหรือมีลักษณะที่ใกล้เคียงกัน แต่ในปัจจุบันก็อาจมี ลักษณะที่แตกต่างกันออกไป แล้วแต่ความคิดสร้างสรรค์ของคนออกแบบนั้นเอง ฮาร์ดดิสก์ (Harddisk) เป็นอุปกรณ์ที่ใช้สาหรับบันทึกข้อมูลหรือเก็บข้อมูลของคอมพิวเตอร์ และเป็น อุปกรณ์ที่ติดมาพร้อมกันกับตัวเครื่องคอมพิวเตอร์ ซึ่งตัวฮาร์ดดิสก์จะมีลักษณะเป็นรูปสี่เหลี่ยมและมี แผงวงจรสาหรับควบคุมการทางานอยู่ด้านล่างและช่องสาหรับเสียบสายไฟเลี้ยงและสายสัญญาณต่างๆ โดย ที่ส่วนประกอบภายในจะปิดไว้อย่างมิดชิดเพื่อป้ องกันอันตรายที่จะเกิดขึ้น เมนบอร์ด (Main board) เป็นแผ่นวงจรไฟฟ้าแผ่นใหญ่ที่รวมเอาชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์ที่สาคัญๆ ไว้ด้วยกัน ซึ่งเป็นส่วนที่ควบคุม การทางานของ อุปกรณ์ต่างๆ ภายในพีชีทั้งหมด ซีพียู(CPU) มีหน้าที่ในการประมวลผลหรือเรียกว่าโปรเซสเซอร์หรือชิป เป็นอุปกรณ์ที่มีความสาคัญมาก เนื่องจากมีหน้าที่ในการประมวลผลจากการป้อนข้อมูลลงไป การ์ดแสดงผล (Display Card) หลักการทางานพื้นฐานของการ์ดแสดงผลจะเริ่มต้นขึ้น เมื่อโปรแกรมต่างๆ ส่งข้อมูลมาประมวลผลที่ ซีพียูเมื่อซีพียูประมวลผล เสร็จแล้ว ก็จะส่งข้อมูลที่จะนามาแสดงผลบนจอภาพมา ที่การ์ดแสดงผล จากนั้น การ์ดแสดงผล ก็จะส่งข้อมูลนี้มาที่จอภาพ ตามข้อมูลที่ได้รับมา การ์ดแสดงผลรุ่น ใหม่ๆ ที่ออกมาส่วนใหญ่ ก็จะมีวงจร ในการเร่งความเร็วการแสดงผลภาพสามมิติ และมีหน่วยความจามา ให้มากพอสมควร
  • 21. 17 โดยที่การ์ดบางรุ่นสามารถประมวลผลได้ในตัวการ์ด ซึ่งจะช่วยแบ่งเบาภาระการประมวลผลให้ซีพียู จึงทา ให้การทางานของคอมพิวเตอร์นั้นเร็วขึ้นด้วย ซึ่งตัวการ์ดแสดงผลนั้นจะมีหน่วยความจาในตัวของมันเอง ถ้า ตัวการ์ดมีหน่วยความจามาก ก็จะรับข้อมูลจากซีพียูได้มากขึ้น ซึ่งจะช่วยให้การแสดงผลบนจอภาพมี ความเร็วสูงขึ้นด้วย เมาส์ (Mouse) จะเป็นอุปกรณ์ที่ให้ความรู้สึกที่ดีต่อการใช้งาน ช่วยให้การใช้งานง่ายขึ้นด้วยการใช้เมาส์ เลื่อนตัวชี้ไปยังตาแหน่งต่าง ๆ บนจอภาพ หรือเรียกง่ายๆ ว่าตัวชี้ตาแหน่งนั่นเอง ในขณะที่สายตาจับอยู่ที่ จอภาพก็สามารถใช้มือลากเมาส์ไปมาได้ระยะทางและทิศตจะสัมพันธ์และเป็นไปในแนวทางเดียวกับการ เลื่อนเมาส์ เมาส์แบ่งได้เป็นสองแบบคือ แบบทางกลและแบบใช้แสง แบบทางกลเป็นแบบที่ใช้ลูกกลิ้งกลม ที่มีน้าหนัก และแรงเสียดทานพอดี เมื่อเลื่อนเมาส์ไปในทิศทางใดจะทาให้ลูกกลิ้งเคลื่อนไปมาในทิศทางนั้น แต่ใน ปัจจุบันเมาส์แบบลูกกลิ้งไม่ค่อยนิยมนามาใช้กันแล้ว แรม (RAM) เป็นหน่วยความจาของระบบ มีหน้าที่รับข้อมูลเพื่อส่งไปให้ CPU ประมวลผล แรมเป็นหน่วยความจาหลัก ของระบบคอมพิวเตอร์ ซึ่งจะเก็บข้อมูลเมื่อมีกระแสไฟหล่อเลี้ยงเท่านั้น โดยถ้าเกิดไฟฟ้ ากระพริบหรือดับ ข้อมูลที่ถูกบันทึกไว้ในหน่วยความจาจะหายไปทันที CD Drive / DVD Drive / CD-RW Drive / DVD-RW Drive เป็นไดรฟ์ สาหรับอ่านข้อมูลจากแผ่นซีดีรอม หรือดีวีดีรอม ซึ่งถ้าหากต้องการบันทึกข้อมูลลงบนแผ่นจะต้องใช้ไดรฟ์ที่สามารถเขียนแผ่นได้ เมื่อไดรฟ์ซีดีรอมเริ่มทางานมอเตอร์จะเริ่มหมุนด้วยความเร็ว หลายค่า ทั้งนี้เพื่อให้อัตราเร็วในการอ่านข้อมูล จากซีดีรอมคงที่สม่าเสมอทุกเซ็กเตอร์ ไม่ว่าจะเป็นเซ็กเตอร์ ที่อยู่รอบนอกหรือวงในก็ตาม จากนั้นแสง เลเซอร์จะฉายลงซีดีรอม โดยลาแสงจะถูกโฟกัสด้วยเลนส์ที่เคลื่อนตาแหน่งได้โดยการทางานของขดลวด ลาแสงเลเซอร์จะทะลุผ่านไปที่ซีดีรอมแล้วถูกสะท้อนกลับ CD-ROM / DVD-ROM ภายในซีดีรอม หรือดีวีดีรอมจะแบ่งเป็นแทร็กและเซ็กเตอร์เหมือนกับแผ่นดิสก์ แต่ เซ็กเตอร์ในซีดีรอม หรือดีวีดีรอมจะมีขนาดเท่ากัน ทุกเซ็กเตอร์ ทาให้สามารถเก็บข้อมูลได้มากขึ้น
  • 22. 18 สรุปเรื่องอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ เราจะเห็นว่าส่วนประกอบหรืออุปกรณ์หลักๆ ของคอมพิวเตอร์นั้นแต่ละส่วนก็มีความแตกต่างกันไป และ วิธีการดูแลรักษาก็แตกต่างกันออกไป ฉะนั้นเมื่อเราใช้งานอุปกรณ์ต่างๆ เหล่านี้ก็ควรศึกษารายละเอียด ต่างๆ ให้รอบคอบ การใช้งานอย่างถูกวิธีก็จะช่วยให้อุปกรณ์ต่างๆ เหล่านี้อยู่กับเราไปนานแสนนานเลย ทีเดียว ส่วนใครที่พอจะมีความรู้เกี่ยวกับเรื่องคอมพิวเตอร์อยู่บ้าง ก็ควรที่จะถอดอุปกรณ์คอมพิวเตอร์มาเช็ดถู เป็น การทาความสะอาดอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ของเราเพื่อเป็นการเพิ่มประสิทธิภาพในการใช้งานมากยิ่งขึ้น แต่ถ้า ไม่มีความรู้ในเรื่องนี้ก็ไม่ควรทาเด็ดขาดเพราะอาจจะทาให้เกิดอันตรายและเกิดความเสียหายได้(เสือสาน, 2543)