SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 30
Downloaden Sie, um offline zu lesen
ก
รายงาน
เรื่อง หลักการทางาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
จัดทาโดย
นางสาวสุวดี ป้อมสันเทียะ เลขที่ 35
ชั้นมัธยมศึกษาปี่ที่ 5/3
เสนอ
ครู ทรงศักดิ์ โพธิ์เอี่ยม
รายงานเล่มนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชาการงานอาชีพและเทคโนโลยี
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2559
โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ฯ กาญจนบุรี
เขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา กาญจนบุรี เขต 8
ก
คานา
รายงานนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชาคอมพิวเตอร์มีเนื้อหาเกี่ยวกับความหมายและความสาคัญของ
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์เพื่อการศึกษามีการยกตัวอย่างเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา ไว้พอเป็น
สังเขป จัดทาขึ้นเพื่อเป็นแนวทางในการค้นหาความรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อ
การศึกษา โดยคณะผู้จัดทาหวังเป็นอย่างยิ่งว่าผู้ที่สนใจข้อมูลในรายงานนี้ จะได้นาข้อมูลเหล่านี้
ไปศึกษาเพิ่มเติม จากแหล่งความรู้ที่ได้กล่าวไว้หากมีข้อผิดพลาดประการใด คณะผู้จัดทาต้อง
ขออภัยไว้ณ ที่นี้
คณะผู้จัดทา
ข
สารบัญ
บทที่1องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์..........................................................................................................................1
บทที่2หลักการทางาน และบทบาทของระบบ คอมพิวเตอร์.........................................................................................5
บทที่3วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์...........................................................................................................................12
บทที่4บทบาทความสาคัญและผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศ ...........................................................................18
บทที่5ข้อมูลและประมวลผลข้อมูลให้เป็นสารสนเทศ ........................................................................................21
1
บทที่ 1 องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ประกอบด้วยองค์ประกอบสาคัญ 5 ส่วนด้วยกัน คือ
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
ฮาร์ดแวร์ (Hardware)คือลักษณะทางกายของเครื่องคอมพิวเตอร์ ซึ่งหมายถึงตัวเครื่องคอมพิวเตอร์ และ อุปกรณ์
รอบข้าง (peripheral) ที่เกี่ยวข้อง เช่น ฮาร์ดดิสก์ เครื่องพิมพ์ เป็นต้น ฮาร์ดแวร์ประกอบด้วย
- หน่วยรับข้อมูล ( input unit )
- หน่วยประมวลผลกลาง ( central processor unit ) หรือ CPU
- หน่วยความจาหลัก
- หน่วยแสดงผลลัพธ์ (output unit )
- หน่วยเก็บข้อมูลสารอง (secondary storage unit )
หน่วยรับข้อมูล จะเป็นอุปกรณ์ที่ใช้สาหรับข้อมูลต่าง ๆ เข้าสู่คอมพิวเตอร์ จากนั้น หน่วยประมวลผลกลาง จะนาไป
ประมวลผล และแสดงผลลัพธ์ที่ได้ออกมากให้ผู้ใช้รับทราบทาง หน่วยแสดงผลลัพธ์
หน่วยความจาหลัก จะทาหน้าที่เสมือนเก็บข้อมูลชั่วคราวที่มีขนาดไม่สูงมากนัก การที่ฮาร์ดแวร์จะทาหน้าที่ได้มี
ประสิทธิภาพนั้น ขึ้นอยู่กับโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่ใช้ ส่วนการทางานได้มากน้อยเพียงใด จะขึ้นอยู่กับหน่วยความจาหลัก
ของเครื่องนั้น ๆ ข้อเสียของหน่วยความจาหลักคือ หากปิดเครื่องคอมพิวเตอร์ที่อยู่ในหน่วยความจาหลักจะหายไป ในขณะ
ที่ข้อมูลอยู่ที่ หน่วยเก็บข้อมูลสารอง จะไม่สูญหายตราบเท่าที่ผู้ใช้ไม่ทาการลบข้อมูลนั้น รวมทั้งหน่วยเก็ยข้อมูลสารองยังมี
ความจุที่สูงมาก จึงเหมาะสาหรับการเก็บข้อมูลที่มีขนาดใหญ่ หรือเก็บข้อมูลไว้ใช้ในภายหลัง ข้อเสียของหน่วยเก็บข้อมูล
สารองคือการเรียกใช้ข้อมูลจะช้ากว่าหน่วยความจาหลักมาก
2
ฮาร์ดแวร์ในระบบไมโครคอมพิวเตอร์
ซอฟต์แวร์ (Software)คอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์ที่ประกอบออกมาจากโรงงานจะยังไม่สามารถทางานใดๆ เนื่องจาก
ต้องมี ซอฟต์แวร์ (Software) ซึ่งเป็นชุดคาสั่งหรือโปรแกรมที่สั่งให้ฮาร์ดแวร์ทางานต่าง ๆ ตามต้องการ โดยชุดคาสั่งหรือ
โปรแกรมนั้นจะเขียนขึ้นมาจาก ภาษาคอมพิวเตอร์ (Programming Language) ภาษาใดภาษาหนึ่ง และมี
โปรแกรมเมอร์ (Programmer) หรือนักเขียนโปรแกรมเป็นผู้ใช้ภาษาคอมพิวเตอร์เหล่านั้นเขียนซอฟต์แวร์ต่าง ๆ ขึ้นมา
ซอฟต์แวร์ สามารถแบ่งออกเป็นสองประเภทใหญ่ๆคือ
- ซอฟต์แวร์ระบบ (System Software )
- ซอฟต์แวร์ประยุกต์ ( Application Software )
ซอฟต์แวร์ระบบ โดยส่วนมากแล้วจะติดตั้งมากับเครื่องคอมพิวเตอร์เนื่องจากซอฟต์แวร์ระบบเป็นส่วนควบคุมทางาน
ต่าง ๆ ของคอมพิวเตอร์ เพื่อให้สามารถเริ่มต้นการทางานอื่น ๆ ที่ผู้ใช้ต้องการได้ต่อไป ส่วน ซอฟต์แวร์ประยุกต์ จะเป็น
ซอฟต์แวร์ที่เน้นในการช่วยการทางานต่าง ๆ ให้กับผู้ใช้ ซึ่งแตกต่างกันไปตามความต้องการของผู้ใช้แต่ละคน
ซอฟต์แวร์ในระบบไมโครคอมพิวเตอร์
บุคลากร (Peopleware)เครื่องคอมพิวเตอร์โดยมากต้องใช้บุคลากรสั่งให้เครื่องทางาน เรียกบุคลากรเหล่านี้ว่า ผู้ใช้
หรือ ยูเซอร์ (user) แต่ก็มีบางชนิดที่สามารถทางานได้เองโดยไม่ต้องใช้ผู้ควบคุม อย่างไรก็ตาม คอมพิวเตอร์ก็ยังคงต้อง
ถูกออกแบบหรือดูแลรักษาโดยมนุษย์เสมอผู้ใช้คอมพิวเตอร์ (computer user) แบ่งได้เป็นหลายระดับ เพราะผู้ใช้
คอมพิวเตอร์บางส่วนก็ทางานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์เท่านั้น แต่บางส่วนก็พยายามศึกษาโปรแกรมประยุกต์ในขั้นที่
สูงขึ้น ทาให้มีความชานาญในการใช้โปรแกรมประยุกต์ต่าง ๆ นิยมเรียกกลุ่มนี้ว่า เพาเวอร์ยูสเซอร์ (power user)
ผู้เชี่ยวชาญทางด้านคอมพิวเตอร์ (computer professional) หมายถึงผู้ที่ได้ศึกษาวิชาการทางด้านคอมพิวเตอร์ ทั้งใน
ระดับกลางและระดับสูง ผู้เชี่ยวชาญทางด้านนี้จะนาความรู้ที่ได้ศึกษามาประยุกต์และพัฒนาใช้งาน และประสิทธิภาพ
ของระบบคอมพิวเตอร์ให้ทางานในขั้นสูงขึ้นไปได้อีก นักเขียนโปรแกรม (programmer) ก็ถือว่าเป็นผู้เชียวชาญทาง
คอมพิวเตอร์เช่นกัน เพราะสามารถสร้างโปรแกรมใหม่ ๆ ได้ และเป็นเส้นทางหนึ่งที่จะนาไปสู่การเป็นผู้เชี่ยวชาญทาง
คอมพิวเตอร์ต่อไปบุคลากรก็เป็นส่วนหนึ่งของระบบคอมพิวเตอร์ เพราะมีความเกี่ยวข้องกับระบบคอมพิวเตอร์ ตั้งแต่การ
พัฒนาเครื่องคอมพิวเตอร์ ตลอดจนถึงการนาคอมพิวเตอร์มาใช้งานต่าง ๆ ซึ่งสามารถสรุปลักษณะงานได้ดังนี้
3
- การดาเนินงานและเครื่องอุปกรณ์ต่าง ๆ เช่น การบันทึกข้อมูลลงสื่อ หรือส่งข้อมูลเข้าประมวล หรือควบคุมการ
ทางานของระบบคอมพิวเตอร์ เช่น เจ้าหน้าที่บันทึกข้อมูล (Data Entry Operator) เป็นต้น
- การพัฒนาและบารุงรักษาโปรแกรม เช่น เจ้าหน้าที่พัฒนาโปรแกรมประยุกต์ (Application Programmer)
เจ้าหน้าที่พัฒนาโปรแกรม (System Programmer) เป็นต้น
- การวิเคราะห์และออกแบบระบบงานที่ใช้คอมพิวเตอร์ประมวลผล เช่น เจ้าหน้าที่วิเคราะห์และออกแบบ
ระบบงาน (System Analyst and Administrator) วิศวกรระบบ (System Engineer) เจ้าหน้าที่จัดการฐานข้อมูล
(Database Adminstrator) เป็นต้น
- การพัฒนาและบารุงรักษาระบบทางฮาร์ดแวร์ เช่น เจ้าหน้าที่ควบคุมการทางานระบบคอมพิวเตอร์ (Computer
Operator) เป็นต้น
- การบริหารในหน่วยประมวลผลข้อมูล เช่น ผู้บริหารศูนย์ประมวลผลข้อมูลด้วยคอมพิวเตอร์ (EDP Manager)
เป็นต้น
ข้อมูลและสารสนเทศ (Data / Information)ในการทางานต่าง ๆ จะต้องมีข้อมูลเกิดขึ้นตลอดเวลา ข้อมูลที่
เกี่ยวข้องกับงานที่ถูกเก็บรวบรวมมาประมวลผล เพื่อให้ได้สารสนเทศที่เป็นประโยชน์ต่อผู้ใช้ ซึ้งในปัจจุบันมีการนาเอา
ระบบคอมพิวเตอร์มาเป็นข้อมูลในการดัดแปลงข้อมูลให้ได้ประสิทธิภาพโดยแตกต่างๆระหว่าง ข้อมูล และ สารสนเทศ คือ
ข้อมูล คือ ได้จากการสารวจจริง แต่ สารสนเทศ คือ ได้จากข้อมูลไม่ผ่านกระบวนการหนึ่งก่อน
สารสนเทศเป็นสิ่งที่ผู้บริหารนาไปใช้ช่วยในการตัดสินใจ โดยที่สารสนเทศที่มีประโยชน์นั้นจะมีคุณสมบัติ ดังตาราง
มีความสัมพันธ์กัน (relevant) สามารถนามาประยุกต์ใช้ได้อย่างเหมาะสมกับสถานการณ์ปัจจุบัน
มีความทันสมัย (timely) ต้องมีความทันสมัยและพร้อมที่จะใช้งานได้ทันทีเมื่อต้องการ
มีความถูกต้องแม่นยา (accurate) เมื่อป้ อนข้อมูลเข้าสู่คอมพิวเตอร์และผลลัพธ์ที่ได้จะต้องถูกต้องในทุกส่วน
มีความกระชับรัดกุม (concise) ข้อมูลจะต้องถูกย่นให้มีความยาวที่พอเหมาะ
มีความสมบูรณ์ในตัวเอง (complete) ต้องรวบรวมข้อมูลที่สาคัญไว้อย่างครบถ้วน
4
คุณสมบัติของสารสนเทศที่มีประโยชน์
การเปลี่ยนรูปจากข้อมูลสู่สารสนเทศ
กระบวนการทางาน (Procedure)
กระบวนการทางานหรือโพรซีเยอร์ หมายถึง ขั้นตอนที่ผู้ใช้จะต้องทาตาม เพื่อให้ได้งานเฉพาะอย่างจากคอมพิวเตอร์
ซึ่งผู้ใช้คอมพิวเตอร์ทุกคนต้องรู้การทางานพื้นฐานของเครื่องคอมพิวเตอร์ เพื่อที่จะสามารถใช้งานได้อย่างถูกต้อง
ตัวอย่างเช่น การใช้เครื่อง ฝาก-ถอนเงินอัตโนมัติ ถ้าต้องการถอนเงินจะต้องผ่านกระบวนการต่าง ๆ ดังนี้
1 จอภาพแสดงข้อความเตรียมพร้อมที่จะทางาน
2 สอดบัตร และพิมพ์รหัสผู้ใช้
3 เลือกรายการ
4 ใส่จานวนเงินที่ต้องการ
5 รับเงิน
6 รับใบบันทึกรายการ และบัตร
การใช้คอมพิวเตอร์ปฏิบัติงานในส่วนต่าง ๆ นั้นมักจะมีขั้นตอนที่สลับซับซ้อน และเกี่ยวข้องกับช่วงเวลาต่าง ๆ ในการ
ปฏิบัติงานด้วย จึงต้องมีคู่มือการปฏิบัติงานที่ชัดเจน เช่น คู่มือสาหรับผู้ควบคุมเครื่อง (Operation Manual) คู่มือ
สาหรับผู้ใช้ (User Manual) เป็นต้น
5
บทที่ 2 หลักการทางาน และบทบาทของระบบ คอมพิวเตอร์
การทางานของคอมพิวเตอร์
การทางานของคอมพิวเตอร์
หน่วยรับเข้า
หน่วยรับข้อมูล หรือ หน่วยนาเข้าข้อมูล
เป็นหน่วยเริ่มต้นในการทางานของคอมพิวเตอร์ เพราะ มีหน้าที่ในการนาข้อมูลหรือคาสั่งต่าง ๆ เข้าไปในระบบ
การทางานของคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์รับข้อมูลของหน่วยรับข้อมูล มีหลายชนิด เช่น แป้ นพิมพ์ เมาส์ เครื่องสแกน จอยสติก
จอสัมผัส แต่ทุกชนิดทาหน้าที่ รับข้อมูลหรือคาสั่ง เข้าสู่ระบบการทางานของคอมพิวเตอร์ เหมือนกัน อุปกรณ์ของหน่วยรับ
ข้อมูล แต่ละชนิดมีวิธีการนาเข้าข้อมูล หรือรับคาสั่ง ตลอดจนลักษณะของรูปแบบข้อมูลที่นาเข้าต่างกัน หน้าที่สาคัญ คือ
เป็นอุปกรณ์ ที่รับข้อมูล หรือคาสั่ง เข้าสู่ระบบการทางานของคอมพิวเตอร์ หน่วยรับข้อมูล จึงเป็นหน่วยทางานที่ช่วยให้
มนุษย์ สามารถติดต่อ สั่งงาน เครื่องคอมพิวเตอร์ได้
6
หน่วยประมวลผลกลาง
หน่วยประมวลผล
นิยมเรียกว่า ซีพียู ซึ่งย่อมาจาก Central Processing Unit : CPU บางครั้งเรียกว่า โปรเซสเชอร์
มีหน่วยการทางานที่สาคัญ 2 ส่วน คือ
♦ หน่วยคานวณและตรรกะ หน่วยคานวณและตรรกะ ทาหน้าที่ใน การคิดคานวณทางคณิตศาสตร์
และเปรียบเทียบทางตรรกะของข้อมูล
♦ หน่วยควบคุม หน่วยควบคุม ทาหน้าที่ประสานงาน และ ควบคุม การทางานของคอมพิวเตอร์ โดยจะทางานประสานกับ
หน่วยความจาหลัก และหน่วยคานวณและตรรกะ
หน่วยความจาหลัก
หน่วยความจาหลัก
มีหน้าที่ เก็บข้อมูลต่าง ๆ ตลอดจนโปรแกรมต่าง ๆ ขณะที่เครื่องคอมพิวเตอร์ทางานอยู่ เท่านั้น ถ้าปิดเครื่อง
คอมพิวเตอร์ ข้อมูลหรือซอฟแวร์ที่เก็บไว้ ในหน่วยความจาหลักจะหายหมด
หน่วยคามจาหลักที่ใช้กับคอมพิวเตอร์แบ่งได้เป็น
1. แรม (Random Access Memory : RAM)
2. รอม (Read Only Memory : ROM)
7
แรม
แรม (RAM)
เป็นหน่วยความจา ที่เก็บข้อมูลไว้ได้ ถ้ามีกระแสไฟฟ้ าแรม จะเก็บข้อมูล ต่าง ๆ ในขณะที่คอมพิวเตอร์ทางาน
ดังนั้น แรมต้องอาศัยกระแสไฟฟ้ า ในการทางาน หากไฟฟ้ าดับหรือปิดคอมพิวเตอร์ข้อมูลที่เก็บไว้จะสูญหายทันที
รอม
รอม (ROM)
เป็นหน่วยความจาที่บรรจุโปรแกรมสาคัญบางอย่างไว้ รอม สามารถอ่านข้อมูลได้อย่างเดียว
ข้อมูลหรือโปรแกรมที่อยู่ในรอม จะอยู่อย่างถาวร แม้ว่าจะปิดคอมพิวเตอร์ข้อมูล หรือ โปรแกรมก็จะไม่ถูกลบ
8
หน่วยความจารอง
หน่วยความจารอง
มีหน้าที่ในการเก็บข้อมูลหรือโปรแกรม เหมือนกับ หน่วยความจาหลัก แต่ต่างจากหน่วยความจาหลัก คือ
หน่วยความจารอง สามารถจัดเก็บข้อมูล และโปรแกรมไว้ใช้ในภายหลังได้ แม้จะปิดเครื่องคอมพิวเตอร์ ข้อมูลและ
โปรแกรมที่เก็บไว้ ไม่สูญหายหรือถูกลบทิ้ง
นอกจากนี้หน่วยความจารอง สามารถเพิ่มขนาดความจุได้ เนื่องจากหน่วยความจาหลักจะมีขนาดความจุจากัด
หน่วยความจารอง สามารถเพิ่มขนาดความจุได้
หน่วยประมวลผลจะเรียกใช้ข้อมูลที่เก็บไว้ในหน่วยความจารอง ได้จะช้ากว่า หน่วยความจาหลัก
9
ตัวอย่างหน่วยความจารอง
10
บทบาทของคอมพิวเตอร์
บทบาทของคอมพิวเตอร์
1. การใช้คอมพิวเตอร์ในวงธุรกิจทั่วไป
บริษัทธุรกิจทั่วไปมักใช้คอมพิวเตอร์ในงานหลายอย่าง ทาให้เกิดความสะดวก รวดเร็วในการทางานสาหรับผู้ใช้และ
ลูกค้า เช่นงานระบบบัญชี ได้แก่การพิมพ์ใบสั่งสินค้าพิมพ์ใบเสร็จรับเงินสามารถพิมพ์ได้เร็วขึ้นและเป็นการกระตุ้นลูกค้า
ให้ส่งเงินชาระเร็วขึ้นนอกจากนี้ยังนาคอมพิวเตอร์มาใช้ในการบริหารงานบุคคลได้แก่ คานวณเงินเดือน และค่าแรง
พนักงานบริษัท ซึ่งลดความซับซ้อนและยุ่งยากลงได้มาก
2. การใช้งานคอมพิวเตอร์ในวงการธนาคาร
ธนาคารพาณิชย์ทั่วไป ใช้ในงานด้านต่างๆ เช่น ด้านการบริการลูกค้า โดยนาคอมพิวเตอร์เข้ามาในระบบการฝาก-ถอน
เงิน โดยเฉพาะต่างสาขา โดยไม่ต้องเสียเวลารอคอย นอกจากนั้น ระบบบริการเงินอัตโนมัติ หรือ เอทีเอ็ม (Automatic
Teller Machine : ATM.) มาใช้เป็นระบบ On-lineBanking ช่วยทาให้ลูกค้าสามารถฝาก-ถอนเงินสดได้อย่างรวดเร็ว
เพียงแต่ลูกค้าจะต้องมีบัตรพิเศษ ซึ่งจะมีแถบแม่เหล็ก (Magnetic Stripe) ติดอยู่ข้างหลังบัตรนั้น ซึ่งแถบแม่เหล็กนี้จะ
เป็นตัวเก็บข้อมูลของผู้ถือบัตร หรือของลูกค้าไว้ บัตรนี้เรียกว่า “บัตรเครดิต” (Credit Card) ผู้ถือบัตรจะต้องมีรหัสของ
ตนเอง ทาให้สะดวกในการซื้อขายสินค้าผ่านทางอินเตอร์เน็ต
3. การใช้คอมพิวเตอร์กับธุรกิจโรงแรม
คอมพิวเตอร์ช่วยในการบริหารธุรกิจการโรงแรม โดยการติดตั้งเครื่องพ่วง หรือ เทอร์มินอล (Terminal)
สาหรับการรับ-ส่งข้อมูลไว้ยังจุดต่าง
ของโรงแรม เช่น แผนกต้อนรับ , บาร์ , ภัตตาคาร ในโรงแรม , แผนกบริการจองห้องพักออนไลน์ ผ่านทางอินเตอร์เน็ต
11
4. การใช้คอมพิวเตอร์ในวงการแพทย์
ในกิจการแพทย์ ได้นาคอมพิวเตอร์มาใช้ในงานทะเบียนประวัติผู้ป่วย , การนัดผู้ป่วยเพื่อมาตรวจ , การสั่งยา หรือ
ระบบการเงิน การบัญชี ทั้งหมดนี้จะถูกวางไว้ในระบบเครือข่าย เพื่อเชื่อมโยงข้อมูลต่างๆ ให้ถึงกันตามจุดหรือห้องต่างๆ
นอกจากนั้น ยังใช้คอมพิวเตอร์มาช่วยในการตรวจรักษาผู้ป่วย ในรูปแบบของหุ่นยนต์ (Robot) มาช่วยในการผ่าตัดสมอง
ซึ่งหุ่นยนต์ สามารถ
คานวณ และการเคลื่อนไหวของการผ่าตัดสมอง หรือ กะโหลกศีรษะ , การนาหุ่นยนต์มาช่วยในการทาศัลยกรรม ให้มี
ความปลอดภัยและสะดวกรวดเร็วขึ้นการใช้คอมพิวเตอร์ในการตรวจสุขภาพร่างกาย เป็นต้น
5. คอมพิวเตอร์กับการศึกษา
ในด้านการศึกษา แบ่งการใช้คอมพิวเตอร์ได้ 2 ด้าน ดังนี้
1.) ด้านงานบริหารสถานศึกษา : ใช้คอมพิวเตอร์ในงานข้อมูลสารสนเทศฝ่าย , งานวัดผลการศึกษา , งานการเงิน-บัญชี ,
งานพัสดุ ฯลฯ ทั้งหมดนี้เป็นการนาคอมพิวเตอร์มาใช้ในการบริหาร และการจัดการข้อมูลต่างๆ ของโรงเรียน ทาให้สะดวก
รวดเร็วและประสิทธิภาพของงานสูงขึ้น
2.) ด้านการเรียนการสอน : ได้แก่ การจัดทาสื่อการสอน , การจัดการเรียนการสอนนักเรียน และรูปแบบ วิธีการสอน โดย
การนา คอมพิวเตอร์มาช่วย เช่น คอมพิวเตอร์ช่วยสอน หรือ CAI. (Computer Assisted Instruction) หรือ การสอน
แบบออนไลน์ ผ่านเวบไซท์ต่างๆ
ประโยชน์ของคอมพิวเตอร์
ประโยชน์ของคอมพิวเตอร์
1. ทันสมัย / ทันเหตุการณ์ / ทันข้อมูลข่าวสาร / ทันโลก ช่วยให้เราสามารถติดต่อสื่อสารกันได้ทั่วโลก
2. ช่วยให้การเรียน การทางาน ทันสมัยและได้รับความสะดวกมากยิ่งขึ้น เช่น ได้เรียนรู้จากสื่อที่ทันสมัยที่สร้างด้วย
คอมพิวเตอร์ที่เรียกว่า โปรแกรม CAI
3. เป็นแหล่งการเรียนรู้ที่ดีเยี่ยม ช่วยในการค้นคว้าหาความรู้เป็นห้องสมุดขนาดใหญ่
4. ช่วยรับ – ส่งข่าวสารได้อย่างรวดเร็ว
12
1 ประโยชน์ทางตรง
ช่วยให้มนุษย์ทางานได้โดยตรงคือคอมพิวเตอร์ทางานได้เที่ยงตรง รวดเร็ว ไม่เหน็ดเหนื่อย ช่วยผ่อนแรงมนุษย์ ใน
ด้านต่าง ๆ เช่น ด้านการคานวณ พิมพ์งาน บันทึกข้อมูล ประมวลผล ไม่ว่าจะเป็นหน่วยงานในแวดวงใน หากนา
คอมพิวเตอร์เข้าช่วยงาน จะช่วยแบ่งเบาภาระงานได้เป็นอย่างดีและมีประสิทธิภาพ
2. ประโยชน์ทางอ้อม
คอมพิวเตอร์ช่วยพัฒนาคุณภาพชีวิต เช่น ช่วยในการเรียนรู้ให้ความบันเทิงความรู้ ช่วยงานบันเทิงพัฒนางานด้าน
ต่าง ๆ เพื่อพัฒนาเทคโนโลยีอันส่งผลให้ความเป็นอยู่ของมนุษย์ดีขึ้น เป็น
บทที่ 3 วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์
วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์
จุดเริ่มต้นในการคิดค้นเครื่องคอมพิวเตอร์นั้นเกิดจากความต้องการในการนับและคิดคานวณของมนุษย์โดยในยุค
แรกคือช่วงคริสต์ศักราช 1,200 การคิดคานวณยังไม่ซับซ้อนในประเทศจีนมีการใช้อุปกรณ์ช่วยในการนับที่เรียกว่าลูกคิด
(abacus)
ต่อมาเมื่อมนุษย์ต้องการการคิดคานวณที่ซับซ้อน และต้องอาศัยเครื่องมือช่วยงานที่มีความสามารถหลากหลายจึงได้มี
การพัฒนาเครื่องช่วยคานวณที่ซับซ้อนและก้าวหน้าขึ้นตามลาดับ
ปัจจุบันจนกระทั่งในยุคเรามีเครื่องคอมพิวเตอร์ที่มีความสามารถในการคานวณงานและประยุกต์ใช้งานได้หลายประเภท
เช่นการสื่อสารการประมวลผลข้อมูลหรือแม้แต่ให้ความบันเทิงนอกจากนั้นรูปลักษณ์ของคอมพิวเตอร์ยังพัฒนาจนมีขนาด
เล็กง่ายต่อการพกพา
ต่อมานักคณิตศาสตร์ชาวอังกฤษชื่อชาร์ลแบบเบจ (Charles Babbage) ได้ประดิษฐ์เครื่องวิเคราะห์ (Analytical
Engine) มีความสามารถในการคานวณค่าต่างๆทางคณิตศาสตร์การทางานของเครื่องนี้แบ่งเป็น 3 ส่วนคือส่วนเก็บ
ข้อมูลส่วนคานวณและส่วนควบคุมใช้ระบบพลังเครื่องยนต์ไอน้าหมุนฟันเฟืองมีข้อมูลอยู่ในบัตรเจาะรูคานวณได้โดย
อัตโนมัติและเก็บข้อมูลในหน่วยความจาก่อนจะพิมพ์ออกมาทางกระดาษหลักการของแบบเบจนี้เองที่ได้นามาพัฒนา
สร้างเครื่องคอมพิวเตอร์สมัยใหม่เราจึงยกย่องให้ชาร์ลแบบเบจ เป็นบิดาแห่งคอมพิวเตอร์
13
บิดาแห่งคอมพิวเตอร์
ภาพ ชาร์ลแบบเบจ บิดาแห่งคอมพิวเตอร์
หลังจากนั้นได้มีผู้ประดิษฐ์เครื่องคอมพิวเตอร์ขึ้นมามากมายหลายขนาด ทาให้เป็นการเริ่มยุคของคอมพิวเตอร์
อย่างแท้จริงโดยสามารถจัดแบ่งคอมพิวเตอร์ออกได้เป็น 5 ยุค
คอมพิวเตอร์ยุคที่ 1 คอมพิวเตอร์ยุคหลอดสุญญากาศ (พ.ศ. 2488 – พ.ศ. 2501 )
หลอดสุญญากาศ
ภาพ หลอดสุญญยากาศ
หลอดสุญญากาศเป็นชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์ที่มีขนาดใหญ่และต้องใช้กระแสไฟฟ้ ามากเพื่อเผาไส้หลอดให้เกิดประจุ
อิเล็กตรอนวิ่งผ่านแผ่นตาราง (grid) การทางานของหลอดสุญญากาศเป็นวิธีการควบคุมการไหลของอิเล็กตรอนที่วิ่งผ่าน
แผ่นตารางยุคนี้คอมพิวเตอร์มีขนาดใหญ่ใช้กาลังไฟฟ้ าสูงทาให้เครื่องมีความร้อนสูงเกิดปัญหาไส้หลอดขาดบ่อยแม้จะมี
ระบบระบายความร้อนที่ดีมาก
ในปีพ.ศ. 2486 ได้มีผู้พัฒนาเครื่องคอมพิวเตอร์ขึ้น และจัดได้ว่าเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ใช้งานทั่วไปเป็นเครื่องแรก
ของโลกมีชื่อว่าอินิแอค ( Electronic Numerical Integrator And Calculator : ENIAC)เป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ใช้
หลอดสุญญากาศและใช้งานที่มหาวิทยาลัยเพนซิลวาเนียในระยะเวลาใกล้เคียงกันนี้ก็มีการสร้างคอมพิวเตอร์
14
ภาพ คอมพิวเตอร์ที่ใช้งานทั่วไปเป็นเครื่องแรกของโลกมีชื่อว่าอินิแอค
ในปีพ.ศ. 2488 จอห์นวอนนอยแมน (John Von Neumann) ได้สนใจเครื่องอินิแอคและได้เสนอแนวคิดในการสร้าง
เครื่องคอมพิวเตอร์ที่มีหน่วยความจาเพื่อใช้เก็บข้อมูลและโปรแกรมการทางานหรือชุดคาสั่งของคอมพิวเตอร์คอมพิวเตอร์
จะทางานโดยเรียกชุดคาสั่งที่เก็บไว้ในหน่วยความจามาทางานหลักการนี้เป็นหลักการที่ใช้มาจนถึงปัจจุบัน
คอมพิวเตอร์ในยุคหลอดสุญญากาศได้เจริญก้าวหน้าขึ้นเป็นลาดับมีการพัฒนาหน่วยความจาถาวรที่เก็บข้อมูลได้
จานวนมากจนในที่สุดก็มีการใช้หน่วยเก็บข้อมูลในรูปจานแม่เหล็กและวงแหวนแม่เหล็กการเก็บข้อมูลในวงแหวนแม่เหล็ก
นี้ใช้มาจนถึงประมาณปี พ.ศ. 2513 นอกจากนี้ยังมีการพัฒนาวิธีการเก็บข้อมูลในรูปดรัมแม่เหล็กและเทปแม่เหล็กอีกด้วย
คอมพิวเตอร์ยุคที่ 2 คอมพิวเตอร์ยุคทรานซิสเตอร์ (พ.ศ. 2500 – พ.ศ. 2507)
ทรานซิสเตอร์
ภาพ ทรานซิสเตอร์
นักวิทยาศาสตร์ของห้องปฏิบัติการวิจัยเบล (Bell Laboratory) แห่งสหรัฐอเมริกาได้ประดิษฐ์ทรานซิสเตอร์ได้สาเร็จ
ทรานซิสเตอร์นี้มีผลทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงครั้งสาคัญในการสร้างคอมพิวเตอร์ลักษณะของเครื่องคอมพิวเตอร์ในยุคนี้
คือใช้ทรานซิสเตอร์เป็นวงจรอิเล็กทรอนิกส์และใช้วงแหวนแม่เหล็กเป็นหน่วยความจาเป็นคอมพิวเตอร์ที่มีขนาดเล็กกว่า
ยุคแรกราคาถูกลงต้นทุนต่ากว่าคอมพิวเตอร์ในยุคที่ 1 ใช้กระแสไฟฟ้ าน้อยกว่ามีความแม่นยาและมีประสิทธิภาพในการ
15
ทางานที่ดีกว่ามีความคงทนที่สาคัญคือสามารถผลิตได้ในราคาที่ถูกกว่าหลอดสุญญากาศดังนั้นคอมพิวเตอร์ในยุคต่อมา
จึงใช้ทรานซิสเตอร์และทาให้สิ้นสุดคอมพิวเตอร์ยุคหลอดสุญญากาศ
เครื่องคอมพิวเตอร์ที่ใช้ทรานซิสเตอร์รุ่นแรกๆ ของบริษัทไอบีเอ็มเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ที่มีขนาดเล็กลงมีขีด
ความสามารถในเชิงการทางานได้ดีขึ้นการเริ่มต้นใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ยุคทรานซิสเตอร์นี้ทาให้มีการผลิตคอมพิวเตอร์และ
ใช้งานแพร่หลายกว่ายุคหลอดสุญญากาศมากองค์กรและหน่วยงานทั้งในภาครัฐบาลและเอกชนได้นาเอาเครื่อง
คอมพิวเตอร์มาใช้งานและในปีพ.ศ. 2507 บริษัทไอบีเอ็มได้พัฒนาเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ใช้เทคโนโลยีทรานซิสเตอร์ขนาด
ใหญ่ที่เรียกว่าเมนเฟรม (mainframe) และถือได้ว่าเป็นรากฐานการพัฒนาเครื่องคอมพิวเตอร์ในยุคต่อมาจนถึงปัจจุบัน
สาหรับในประเทศไทยมีการนาเครื่องคอมพิวเตอร์ในยุคนี้เข้ามาใช้กันในปีพ.ศ. 2507 โดยจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
นาเข้ามาใช้ในการศึกษาในระยะเวลาเดียวกันสานักงานสถิติแห่งชาติก็นามาเพื่อใช้ในการทาสามะโนประชากรนับเป็น
เครื่องคอมพิวเตอร์รุ่นแรกที่ใช้ในประเทศไทย
คอมพิวเตอร์ในยุคนี้ได้ส่งผลให้เกิดความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอย่างรวดเร็วเช่นองค์การนาซาของ
สหรัฐอเมริกาใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ในการคานวณและควบคุมยานอวกาศต่างๆในยุคแรกและมีพัฒนาการต่อเนื่องมา
จนถึงปัจจุบันคอมพิวเตอร์ยุคที่ 3 คอมพิวเตอร์ยุควงจรรวม (พ.ศ. 2508 – พ.ศ. 2512)
คอมพิวเตอร์ยุคที่ 3 คอมพิวเตอร์ยุควงจรรวม (พ.ศ. 2508 – พ.ศ. 2512)
ภาพ ไอซี
16
ประมาณปีพ.ศ. 2508 ได้มีการพัฒนาวิธีการสร้างทรานซิสเตอร์จานวนมากลงบนแผ่นซิลิกอนขนาดเล็กและเกิด
วงจรรวมบนแผ่นซิลิกอนที่เรียกว่าไอซี (Integrated Circuit: IC)
ลักษณะของคอมพิวเตอร์ในยุคนี้คือใช้วงจรไอซีเป็นสารกึ่งตัวนาที่สามารถบรรจุวงจรทางตรรกะไว้แล้วพิมพ์บนแผ่น
ซิลิคอนเรียกว่าชิปซึ่งสามารถทางานได้เท่ากับทรานซิสเตอร์หลายร้อยตัวเครื่องคอมพิวเตอร์จึงมีขนาดเล็กลงความเร็ว
เพิ่มขึ้นและใช้กาลังไฟน้อย
ขณะเดียวกันก็มีการพัฒนาการทางด้านอุปกรณ์เก็บข้อมูลมาเป็นฮาร์ดดิสก์ (harddisk) โดยนาแผ่นบันทึกหลายๆแผ่น
วางซ้อนกันมีหัวอ่านหลายหัวฮาร์ดดิสก์ในเครื่องคอมพิวเตอร์จึงเป็นอุปกรณ์ประกอบที่สาคัญที่ทาให้คอมพิวเตอร์มีความ
จุในการเก็บข้อมูลได้มากและรวดเร็ว
คอมพิวเตอร์ยุคที่ 4 คอมพิวเตอร์ยุควีแอลเอไอส (พ.ศ. 2513 – พ.ศ. 2532)
ภาพ วงจรวีแอลเอสไอ
เทคโนโลยีทางด้านการผลิตวงจรอิเล็กทรอนิกส์ยังคงก้าวหน้าอย่างต่อเนื่อง มีการสร้างเป็นวงจรรวมที่มี
ขนาดใหญ่มารวมในแผ่นซิลิกอนขนาดเล็กเรียกว่าวงจรวีแอลเอสไอ ( Very Large Scale Integrated circuit : VLSI )
เป็นวงจรรวมที่สามารถนาทรานซิสเตอร์จานวนล้านตัวมารวมกันอยู่ในแผ่นซิลิกอนขนาดเล็กและผลิตเป็นหน่วย
ประมวลผลของคอมพิวเตอร์ที่ซับซ้อนเรียกว่าไมโครโพรเซสเซอร์ (microprocessor)
การใช้วงจรวีแอลเอสไอเป็นวงจรภายในเครื่องคอมพิวเตอร์ ทาให้สามารถผลิตเครื่องคอมพิวเตอร์ให้มีขนาดที่เล็ก
ลงกว่าเครื่องคอมพิวเตอร์ในยุคทรานซิสเตอร์แต่มีประสิทธิภาพสูงขึ้นเรียกว่าไมโครคอมพิวเตอร์ (microcomputer)
ไมโครคอมพิวเตอร์จึงเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ที่แพร่หลายและมีผู้ใช้งานกันทั่วโลกเป็นจานวนมากพัฒนาการของฮาร์ดดิสก์
ก็มีขนาดเล็กลงมีความจุเพิ่มขึ้นแต่มีราคาถูกลงเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์มีหลายขนาดตั้งแต่อยู่ในอุ้งมือที่เรียกว่าปาล์ม
ทอป (palm top) ขนาดโน้ตบุ๊ก(note book) และคอมพิวเตอร์ขนาดตั้งโต๊ะบนโต๊ะ (desk top) ไมโครคอมพิวเตอร์เป็น
17
เครื่องคอมพิวเตอร์ที่ใช้งานได้ง่ายและมีซอฟต์แวร์สาเร็จในการใช้งานจานวนมากเช่นซอฟต์แวร์ประมวลคาซอฟต์แวร์
ตารางทางานและซอฟต์แวร์กราฟิกเป็นต้น
คอมพิวเตอร์ยุคที่ 5 คอมพิวเตอร์ยุคเครือข่าย (พ.ศ. 2533 – ปัจจุบัน)
เมื่อไมโครคอมพิวเตอร์มีขีดความสามารถสูงขึ้น ทางานได้เร็วการแสดงผลและการจัดการข้อมูลก็ทาได้มาก
สามารถประมวลผลและแสดงผลได้ครั้งละมากๆจึงทาให้คอมพิวเตอร์ทางานได้หลายงานพร้อมกันดังจะเห็นได้จาก
โปรแกรมจัดการประเภทวินโดว์ในปัจจุบันที่ทาให้คอมพิวเตอร์เครื่องเดียวทางานหลายอย่างพร้อมกันได้ขณะเดียวกันก็มี
การเชื่อมโยงเป็นเครือข่ายคอมพิวเตอร์ในองค์กรมีการทางานเป็นกลุ่ม (กลุ่มงาน) โดยใช้เครือข่ายท้องถิ่นที่เรียกว่าแลน
(Local Area Network: LAN) เมื่อเชื่อมการทางานหลายๆกลุ่มขององค์กรเข้าด้วยกันเกิดเป็นเครือข่ายคอมพิวเตอร์ของ
องค์กรเรียกว่าอินทราเน็ต (intranet) และหากนาเครือข่ายขององค์กรเชื่อมต่อเข้าสู่เครือข่ายสากลที่ต่อเชื่อมกันทั่วโลกก็
เรียกว่าอินเทอร์เน็ต (Internet) คอมพิวเตอร์ในยุคนี้จึงเป็นคอมพิวเตอร์ที่มนุษย์พยายามนามาเพื่อช่วยในการตัดสินใจ
และแก้ปัญหาให้ดียิ่งขึ้นกล่าวได้ว่าเป็นผลจากวิชาการด้านปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence : AI) ประเทศต่างๆ
ทั่วโลกกาลังสนใจค้นคว้าและพัฒนาทางด้านนี้กันอย่างจริงจัง
18
บทที่ 4 บทบาทความสาคัญและผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทบาทความสาคัญและผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทบาทความสาคัญของเทคโนโลยี่สารสนเทศ
ความก้าวหน้าทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ทาให้มีการพัฒนาคิดค้นสิ่งอานวยความ สะดวกสบายต่อ
การดาชีวิตเป็นอันมาก เทคโนโลยีได้เข้ามาเสริมปัจจัยพื้นฐานการดารงชีวิตได้เป็นอย่างดี เทคโนโลยีทาให้การสร้างที่พัก
อาศัยมีคุณภาพมาตรฐาน สามารถผลิตสินค้าและให้บริการ ต่าง ๆ เพื่อตอบสนองความต้องการของมนุษย์มากขึ้น
เทคโนโลยีทาให้ระบบการผลิตสามารถผลิตสินค้าได้เป็นจานวนมากมีราคาถูกลง สินค้าได้คุณภาพ เทคโนโลยีทาให้มี
การติดต่อสื่อสารกันได้สะดวก การเดินทางเชื่อมโยงถึงกันทาให้ประชากรในโลกติดต่อรับฟังข่าวสารกันได้ตลอดเวลา
พัฒนาการของเทคโนโลยีทาให้ชีวิตความเป็นอยู่เปลี่ยนไปมาก ลองย้อนไปในอดีตโลกมีกาเนินมาประมาณ 4600 ล้านปี
เชื่อกันว่าพัฒนาการตามธรรมชาติทาให้เกิดสิ่งมีชีวิตถือกาเนินบนโลกประมาณ 500 ล้านปีที่แล้ว ยุคไดโนเสาร์มีอายุอยู่
ในช่วง 200 ล้านปี สิ่งมีชีวิตที่เป็นเผ่าพันธุ์มนุษย์ ค่อย ๆ พัฒนามา คาดคะเนว่าเมื่อห้าแสนปีที่แล้วมนุษย์สามารถส่ง
สัญญาณท่าทางสื่อสารระหว่างกันและพัฒนามาเป็นภาษา มนุษย์สามารถสร้างตัวหนังสือ และจารึกไว้ตามผนึกถ้า เมื่อ
ประมาณ 5000 ปีที่แล้ว กล่าวได้ว่ามนุษย์ต้องใช้เวลานานพอสมควรในการพัฒนาตัวหนังสือที่ใช้แทนภาษาพูด และจาก
หลักฐานทางประวัติศาสตร์พบว่า มนุษย์สามารถจัดพิมพ์หนังสือได้เมื่อประมาณ 5000 ปีที่แล้ว กล่าวได้ว่าฐานทาง
ประวัติศาสตร์พบว่า มนุษย์สามารถจัดพิมพ์หนังสือได้เมื่อประมาณ 500 ถึง 800 ปีที่แล้ว เทคโนโลยีเริ่มเข้ามาช่วยในการ
พิมพ์ ทาให้การสื่อสารด้วยข้อความและภาษาเพิ่มขึ้นมาก เทคโนโลยีพัฒนามาจนถึงการสื่อสารกัน โดยส่งข้อความเป็น
19
เสียงทางสายโทรศัพท์ได้ประมาณร้อยกว่าปีที่แล้ว และเมื่อประมาณห้าสิบปีที่แล้ว ก็มีการส่งภาพโทรทัศน์และ
คอมพิวเตอร์ทาให้มีการใช้สารสนเทศในรูปแบบข่าวสารมากขึ้น ในปัจจุบันมีสถานที่วิทยุ โทรทัศน์ หนังสือพิมพ์ แ ละสื่อ
ต่าง ๆ ที่ใช้ในการกระจ่ายข่าวสาร มีการแพร่ภาพทางโทรทัศน์ผ่านดาวเทียมเพื่อรายงานเหตุการณ์สด เห็นได้ชัดว่า
เทคโนโลยีได้เข้ามามีบทบาทอย่างมากบทบาทของการพัฒนาเทคโนโลยีรวดเร็วขึ้นเมื่อมีการพัฒนาอุปกรณ์ทางด้าน
คอมพิวเตอร์และส่วนประกอบ จะเห็นได้ว่าในช่วงสี่ห้าปีที่ผ่านมาจะมีผลิตภัณฑ์ใหม่ ซึ่งมีคอมพิวเตอร์เข้าไปเกี่ยวข้องให้
เห็นอยู่ตลอดเวลา
รูปแสดงเครื่องอานวยความสะดวกภายในบ้าน
ในอดีตยุคที่มนุษย์ยังเร่ร่อน มีอาชีพเกษตรกรรม ล่าสัตว์ ต่อมามีการรวมตัวกันสร้างเมือง และสังคมเมืองทาให้เกิด
อุตสาหกรรมการผลิตการผลิตทาให้เกิดการปฏิวัติทางอุตสาหกรรมที่เน้นการผลิตจานวนมาก สังคมจึงเป็นสังคมเมืองที่มี
อุตสาหกรรมเข้ามาเกี่ยวข้อง แต่หลังจากปี พ.ศ. 2530 เป็นต้นมา ระบบสื่อสารโทรคมนาคมและคอมพิวเตอร์ก้าวหน้า
มาก ทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงเข้าสู่ยุคสังคมสารสนเทศ ชีวิตความเป็นอยู่เกี่ยวข้องกับข้อมูลข่าวสารจานวนมาก การ
สื่อสารโทรคมนาคมกระจายทั่วถึง ทาให้ข่าวสารแพร่กระจ่ายไปอย่างรวดเร็ว สังคมในปัจจุบันเป็นสังคมไร้พรมแดนเพราะ
เรื่องราวของประเทศหนึ่งสามารถกระจายแพร่ออกไปยังประเทศต่าง ๆ ได้อย่างรวดเร็ว
นิยามเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยี (Technology) หมายถึง การประยุกต์เอาความรู้ทางด้านวิทยาศาสตร์มาใช้ให้เกิดประโยชน์ การศึกษา
พัฒนาองค์ความรู้ต่าง ๆ ก็เพื่อให้เข้าใจธรรมชาติ กฎเกณฑ์ของสิ่งต่าง ๆ และหาทางนามาประยุกต์ให้เกิดประโยชน์ ลอง
นึกดูว่าทรายที่เราเห็นอยู่บนพื้นดิน ตามชายหาด ชายทะเลเป็นสารประกอบของซิลิกอน ทรายเหล่านั้นมีราคาต่าและเรา
มองข้ามไป ครั้งมีบางคนที่เรียนรู้วิธีการแยกสกัดเอาสารซิลิกอนให้บริสุทธิ์ และเจือสารบางอย่างให้เกิดเป็นสิ่งที่เรียกว่า
สารกึ่งตัวนา นามาผลิตเป็นทรานซิสเตอร์ และไอซี (Integrated Circuit : IC) ไอซี เป็นอุปกรณ์ที่รวมวงจรอิเล็กทรอนิกส์
จานวนมากไว้ด้วยกัน ใช้เป็นชิพซึ่งเป็นส่วนสาคัญของคอมพิวเตอร์ สารซิลิกอนดังกล่าวเมื่อผ่านกรรมวิธีทางเทคโนโลยี
แล้วจะมีราคาสูงสามารถนามาขายได้เงินเป็นจานวนมาก ดังนั้นเทคโนโลยีจึงเป็นหัวใจของการสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับ
สินค้า และผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ เพราะเรานาเอาวัตถุดิบมาผ่านเทคนิคการดาเนินการ จะได้วัตถุสาเร็จรูป
20
สารสนเทศ (Information) หมายถึง ข้อมูลที่เป็นประโยชน์ต่อการดาเนินชีวิตของมนุษย์ มนุษย์แต่ละคนตั้งแต่เกิด
มาได้เรียนรู้สิ่งต่าง ๆ เป็นจานวนมาก เรียนรู้สภาพสังคมความเป็นอยู่ กฎเกณฑ์และวิชาการ ลองจินตนาการดูว่าภายใน
สมองของเราเก็บข้อมูลอะไรบ้าง เราคงตอบไม่ได้ แต่สามารถเรียกเอาข้อมูลมาใช้ได้ ข้อมูลที่เก็บไว้ในสมองเป็นสิ่งที่สะสม
กันมาเป็นเวลานาน ความรอบรู้ของแต่ละคนจึงขึ้นอยู่กับการเรียกใช้ข้อมูลนั้น ดังนั้นจะเห็นได้ชัดความรู้เกิดจากข้อมูล
ข่าวสารต่าง ๆ ทุกวันนี้มีข้อมูลรอบตัวเรามาก ข้อมูลเหล่านี้มาจากสื่อ เช่น วิทยุ โทรทัศน์ หนังสือพิมพ์ เครือข่าย
คอมพิวเตอร์ หรือแม้แต่การสื่อสารระหว่างบุคคล จึงมีผู้กล่าวว่ายุคนี้เป็นยุคของสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology : IT) หมายถึง เทคโนโลยีที่มีความเกี่ยวข้องกับการเก็บ
วิเคราะห์ข้อมูลและประมวลผลสารสนเทศ ทาให้สารสนเทศนั้นมีประโยชน์และสามารถใช้งานได้หลากหลายมากขึ้น
เทคโนโลยีสารสนเทศรูปแบบต่าง ๆ
1. เทคโนโลยีระบบสารสนเทศ เป็นระบบการจัดการด้านสารสนเทศ เช่น การบันทึก การแก้ไข การจัดทารายงาน งาน
บัญชี งานลงทะเบียน ซึ่งการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศระบบสารสนเทศขององค์กรจะได้รับความสะดวกในการปฏิบัติงาน
และอาจใช้เป็นข้อมูลในการตัดสินใจด้วย
2. เทคโนโลยีระบบเครือข่าย เป็นระบบสารสนเทศที่ใช้ในปัจจุบัน มีประโยชน์ดังนี้
2.1 สามารถติดต่อถึงกันได้ด้วยจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ (E-mail)
2.2 การจัดเก็บข้อมูลในที่เดียวกัน ผู้ที่อู่ห่างไกลก็สามารถถึงข้อมูลนั้นไปใช้ได้อย่างรวดเร็ว สะดวก ไม่ต้องเสียงเวลาใน
การเดินทาง
2.3 องค์กรสามารถประหยัดงบประมาณค่าใช้จ่ายด้านอุปกรณ์ เพราะระบบเครือข่ายเป็นระบบที่สามารถใช้อุปกรณ์
รวมกันได้
2.4 สามารถทางานร่วมกันได้ หรือทางานได้โดยใช้เอกสารชุดเดียวกัน และประหยัดค่าใช้จ่าย
3. เทคโนโลยีสานักงานอัตโนมัติ เป็นการนาระบบเครือข่ายมาใช้เชื่อมโยงคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์สานักงานต่าง ๆ
3.1 พนักงานสามารถติดต่อสื่อสารกันได้โดยใช้จดหมายอิเล็กทรอนิคส์ (E-mail)
3.2 การพิมพ์งานต่าง ๆ สามารถบันทึกไว้เป็นแฟ้ มอิเล็กทรอนิกส์ ทาให้ง่ายต่อการปรับปรุง แก้ไข
3.3 มีโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ช่วยในการออกแบบงาน
3.4 มีระบบฝ่ายข้อมูลเสียง (Voice Mail)
21
4. เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI) เป็นที่นิยมมากในสถานศึกษา และพัฒนาจัดทาโปรแกรมบทเรียนสาเร็จรูปมา
ใช้งานเอง มีผลดีต่อนักเรียนที่ได้มีสื่อการสอนและทันสมัยน่าสนใจ
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศด้านต่าง ๆ
1. ด้านการติดต่อสื่อสาร สามารถรับรู้ข่ายสารกันได้อย่างไม่มีอุปสรรค์ ดังคาว่า “โลกไร้พรมแดน” โดยใช้อินเตอร์เน็ต
2. ด้านการศึกษา นักเรียนสามารถเรียนที่บ้านได้โดยการเรียนการสอนทางไกลผ่านอินเตอร์เน็ต สามารถค้นคว้าหา
ข้อมูลได้เทคโนโลยีสารสนเทศยังมีบทบาทที่ส่งเสริมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทางการศึกษาเพื่อพัฒนาประเทศ เช่น ศูนย์
เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์ และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ หรือ เนคเทค (NECTEC) ได้เปิดเครือข่ายการศึกษาต่าง ๆ โดยนาเอา
เทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้
3. ด้านการดาเนินชีวิต มีสิ่งอานวยความสะดวกต่าง ๆ ในบ้านที่ควบคุมด้วยระบบคอมพิวเตอร์ และสามารถพัฒนาใน
รูปแบบของหุ่นยนต์เพื่อทางานแทนมนุษย์ได้ ในงานที่ต้องใช้แรงงานและมีความเสียงสูง
4. ด้านการสุขภาพ ในการรักษาโรค มีระบบแพทย์ออนไลน์ข้อมูลที่เป็นประโยชน์ และได้เผยแพร่ให้ความรู้ผ่านทาง
อินเตอร์เน็ต
5. ด้านการท่องเที่ยวและความบันเทิง การจองตั๋ว การตรวจสอบสถานที่ การตรวจสอบข้อมูลสถานที่ท่องเที่ยว ตลอดจน
การซื้อสินค้าผ่านระบบอินเตอร์เน็ต
บทที่ 5 ข้อมูลและประมวลผลข้อมูลให้เป็นสารสนเทศ
ข้อมูลและการประมวลผลข้อมูลให้เป็นสารสนเทศ
ในปัจจุบันการแข่งขันทางธุรกิจต้องอาศัยข้อมูลเป็นหลัก จึงมีการนาเทคโนโลยีมาช่วยจัดการข้อมูลอย่างมาก ดังจะ
เห็นได้จากการแข่งขันการให้บริการของธนาคารพาณิชย์ การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจลงทุนซื้อขายหลักทรัพย์ ข้อมูลเป็น
หัวใจของการดาเนินงานเป็นแหล่งความรู้ที่ใช้ประกอบการตัดสินใจ บริษัทหรือองค์การจึงดาเนินการอย่างจริงจังให้ได้มา
22
ซึ่งข้อมูล และปกป้ องดูแลข้อมูลของตนเป็นอย่างดี เพราะข้อมูลเป็นสิ่งมีค่ามีราคา การโจรกรรมข้อมูลโดยใช้เทคโนโลยี
ใหม่ ๆ จึงเป็นปัญหาสาคัญที่เกิดขึ้น ดังที่ปรากฎเป็นข่าวทั้งในประเทศและต่างประเทศ
กระดานอิเล็กทรอนิกส์แสดงราคาหลักทรัพย์
กระดานอิเล็กทรอนิกส์แสดงราคาหลักทรัพย์
ข้อมูล (data) คือข้อเท็จจริง หรือเหตุการณ์ที่เกี่ยวข้องกับสิ่งต่าง ๆ เช่น คน สัตว์ สิ่งของ สถานที่ ฯลฯ ข้อมูลจึงเป็น
เรื่องที่เกี่ยวกับเหตุการณ์ของสิ่งต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่อง มีการรวบรวมข้อมูลอย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง ดังจะเห็น
จากกระบวนการเลือกตั้งที่ผ่านมา หลายพรรคการเมืองมีการใช้เทคโนโลยีรวบรวมข้อมูล หาวิธีการที่จะให้ได้ข้อมูลอย่าง
รวดเร็ว และมื่อสถานการณ์บางอย่างเกิดผันแปรขึ้น การเตรียมการหรือการแก้สถานการณ์จะดาเนินการได้อย่างทันท่วงที
กรรมวิธีการรวบรวมข้อมูลเป็นจุดเริ่มต้นของการดาเนินงาน การรวบรวมข้อมูลที่ดีจะได้ข้อมูลรวดเร็ว ถูกต้องแม่นยา
ครบถ้วน ดังนั้นผู้ดาเนินการต้องให้ความสาคัญที่จุดนี้โดยเฉพาะความรวดเร็ว ความรวดเร็วของการเก็บข้อมูลจึงผูกพัน
กับเทคโนโลยีซึ่งมีหลายวิธี เช่น การใช้ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ การเชื่อมต่อกับระบบปลายทางเพื่อรับข้อมูล การใช้โทรสาร
การใช้ระบบอ่านข้อมูลอัตโนมัติ เช่น เครื่องกราดตรวจ (scanner) อ่าน ข้อมูลที่เป็นรหัสแท่ง (bar code)
จากที่กล่าวมาแล้วว่า ข้อมูลคือ ข้อเท็จจริงหรือเหตุการณ์เกี่ยวกับสิ่งต่าง ๆ เช่น คน สถานที่ สิ่งของต่าง ๆ ซึ่งมีการ
เก็บรวมรวมเอาไว้ และสามารถเรียกมาใช้ประโยชน์ได้ในภายหลัง ข้อมูลจึงจาเป็นต้องเป็นข้อมูลที่ดีมีความถูกต้องแม่นยา
สาหรับ สารสนเทศ หมายถึงสิ่งที่ได้จากการนาเอาข้อมูลที่เก็บรวบรวมไว้มาประมวลผล เพื่อนามาใช้ประโยชน์
ตามวัตถุประสงค์ สารสนเทศจึงหมายถึงข้อมูลที่ผ่านมาเลือกสรรให้เหมาะกับการใช้งานให้ทันเวลา และอยู่ในรูปแบบที่
ใช้ได้ สารสนเทศที่ดีต้องมาจากข้อมูลที่ดี การจัดเก็บข้อมูลและสารสนเทศจะต้องมีการควบคุมดูแลเป็นอย่างดี เช่น
อาจจะมีการกาหนดให้ผู้ใดบ้างเป็นผู้มีสิทธิ์ใช้ข้อมูลได้ ข้อมูลที่เป็นความลับจะต้องมีระบบขั้นตอนการควบคุม กาหนด
23
สิทธิ์ในการแก้ไขหรือการกระทากับข้อมูลว่าจะกระทาได้โดยใครบ้างนอกจากนี้ข้อมูลที่เก็บไว้แล้วต้องไม่เกิดการสูญหาย
หรือถูกทาลายโดยไม่ได้ตั้งใจ
การจัดเก็บข้อมูลที่ดี จะต้องมีการกาหนดรูปแบบของข้อมูลให้มีลักษณะง่ายต่อการจัดเก็บ และมีรูปแบบเดียวกัน ข้อมูล
แต่ละชุดควรมีความหมายและมีความเป็นอิสระในตัวเอง นอกจากนี้ไม่ควรมีการเก็บข้อมูลซ้าซ้อนเพราะจะเป็นการ
สิ้นเปลืองเนื้อที่เก็บข้อมูล
รูปแสดงความสัมพันธ์ของข้อมูลและสารสนเทศ
ตัวอย่างข้อมูลและสารสนเทศ
รูปแสดงตัวอย่างระเบียนประวัติของนักเรียน
ข้อความบนระเบียนประวัติของนักเรียนจากรูปที่แสดงข้างต้นทาให้ทราบว่าพลอย น้าดี เป็นนักเรียนหญิง เกิดวันที่
22 เดือนมกราคม ปีพุทธศักราช 2524 ดังนั้นข้อความ พลอย น้าดี หญิง และ 22 ม.ค. 2524 ที่อยู่บนระเบียนประวัติ
นักเรียนจึงเป็นข้อมูล ถ้ามีการนาข้อมูลเกี่ยวกับปีเกิดของนักเรียนทั้งโรงเรียนจากระเบียนประวัติไปแจกแจงตามปี
เกิด ตามรูป
รูปแสดงการแจกแจงข้อมูลปีเกิดของนักเรียนทั้งโรงเรียน
24
จานวนนักเรียนที่ได้จากการแจกแจงข้อมูลตามปีเกิดจะเป็นสารสนเทศที่เกิดจากการนาข้อมูลไปทาการประมวลผล
ในบางครั้งผลสรุปจากการประมวลผลข้อมูลแบบหนึ่ง อาจนาไปใช้เป็นข้อมูลในการประมวลผลอีกแบบหนึ่งก็ได้ เช่น ใน
การหาระดับคะแนนเฉลี่ยวิชาต่าง ๆ ของนักเรียนจะต้องเริ่มจากการหาระดับคะแนนของแต่ละวิชาของนักเรียน จากข้อมูล
คะแนนของนักเรียนแล้วหาระดับคะแนนเฉลี่ยของนักเรียน จากข้อมูลที่เป็นระดับคะแนนแต่ละวิชาซึ่งเป็นสารสนเทศจาก
การหาระดับคะแนน
คุณสมบัติของข้อมูล
การจัดเก็บข้อมูลจาเป็นต้องมีความพยายามและตั้งใจดาเนินการ หรือกล่าวได้ว่าการได้มาซึ่งข้อมูลที่จะนามาใช้
ประโยชน์ องค์การจาเป็นต้องลงทุน ทั้งในด้านตัวข้อมูล เครื่องจักร และอุปกรณ์ ตลอดจนการพัฒนาบุคลากรขึ้นมารองรับ
ระบบ เพื่อให้ใช้งานอย่างมีประสิทธิภาพ การจัดการระบบข้อมูลจึงต้องคานึงถึงปัญหาเหล่านี้และพยายามมองปัญหา
แบบที่เป็นจริง สามารถดาเนินการได้ ให้ประสิทธิผลคุ้มค่ากับการลงทุน ดังนั้นการดาเนินงานเพื่อให้ได้มาซึ่งสารสนเทศที่
ดี ข้อมูลจะต้องมีคุณสมบัติขั้นพื้นฐาน ดังนี้
1 ความถูกต้อง หากมีการเก็บรวบรวมข้อมูลแล้ว ข้อมูลเหล่านั้นเชื่อถือไม่ได้จะทาให้เกิดผลเสียอย่างมาก ผู้ใช้จะไม่กล้า
อ้างอิงหรือนาเอาไปใช้ประโยชน์ ซึ่งเป็นเหตุให้การตัดสินใจของผู้บริหารขาดความแม่นยา และอาจมีโอกาสผิดพลาดได้
โครงสร้างข้อมูลที่ออกแบบต้องคานึงถึงกรรมวิธีการดาเนินงานเพื่อให้ได้ความถูกต้องแม่นยามากที่สุด โดยปกติความ
ผิดพลาดของสารสนเทศส่วนใหญ่ มาจากข้อมูลที่ไม่มีความถูกต้องซึ่งอาจมีสาเหตุมาจากคนหรือเครื่องจักร การออกแบบ
ระบบจึงต้องคานึงถึงในเรื่องนี้
2 ความรวดเร็วและเป็นปัจจุบัน การได้มาของข้อมูลจาเป็นต้องให้ทันต่อความต้องการของผู้ใช้ มีการตอบสนองต่อผู้
ใช้ได้เร็ว ตีความหมายสารสนเทศได้ทันต่อเหตุการณ์หรือความต้องการ มีการออกแบบระบบการเรียกค้น และรายงาน
ตามความต้องการของผู้ใช้
3 ความสมบูรณ์ ความสมบูรณ์ของสารสนเทศขึ้นกับการรวบรวมข้อมูลและวิธีการ ทางปฏิบัติด้วย ในการดาเนินการ
จัดทาสารสนเทศต้องสารวจและสอบถามความต้องการใช้ข้อมูลเพื่อให้ได้ข้อมูลที่มีความสมบูรณ์ในระดับหนึ่งที่เหมาะสม
4 ความชัดเจนและกะทัดรัด การจัดเก็บข้อมูลจานวนมากจะต้องใช้พื้นที่ในการจัดเก็บข้อมูลมากจึงจาเป็นต้องออกแบบ
โครงสร้างข้อมูลให้กะทัดรัดสื่อความหมายได้ มีการใช้รหัสหรือย่นย่อข้อมูลให้เหมาะสมเพื่อที่จะจัดเก็บเข้าไว้ในระบบ
คอมพิวเตอร์
25
การทาข้อมูลให้เป็นสารสนเทศ
การทาข้อมูลให้เป็นสารสนเทศที่จะเป็นประโยชน์ต่อการใช้งาน จาเป็นต้องอาศัยเทคโนโลยีเข้ามาช่วยในการ
ดาเนินการ เริ่มตั้งแต่การรวบรวมและตรวจสอบข้อมูลการดาเนินการประมวลผลข้อมูลให้กลายเป็นสารสนเทศ และการ
ดูแลรักษาสารสนเทศเพื่อการใช้งานควรประกอบด้วย
1 การเก็บรวบรวมข้อมูล เป็นเรื่องของการเก็บรวมรวมข้อมูลซึ่งมีจานวนมาก และต้องเก็บให้ได้อย่างทันเวลา เช่น ข้อมูล
การลงทะเบียนเรียนของนักเรียน ข้อมูลประวัติบุคลากร ปัจจุบันมีเทคโนโลยีช่วยในการจัดเก็บอยู่เป็นจานวนมาก เช่น การ
ป้ อนข้อมูลเข้าเครื่องคอมพิวเตอร์ การอ่านข้อมูลจากรหัสแท่ง การตรวจใบลงทะเบียนที่มีการฝนดินสอดาในตาแหน่งต่าง
ๆ เป็นวิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลเช่นกัน
2 การตรวจสอบข้อมูล เมื่อมีการเก็บรวบรวมข้อมูลแล้วจาเป็นต้องมีการตรวจ< wbr>สอบข้อมูล เพื่อตรวจสอบความ
ถูกต้อง ข้อมูลที่เก็บเข้าในระบบจะต้องมีความเชื่อถือได้ หากพบที่ผิดพลาดต้องแก้ไข การตรวจสอบข้อมูลมีหลายวิธี เช่น
การใช้ผู้ป้ อนข้อมูลสองคนป้ อนข้อมูลชุดเดียวกันเข้าคอมพิวเตอร์แล้วเปรียบเทียบกัน
การดาเนินการประมวลผลข้อมมูลให้กลายเป้ นสารสนเทศ
อาจประกอบด้วยกิจกรรมดังต่อไปนี้
1 การจัดแบ่งกลุ่มข้อมูล ข้อมูลที่จัดเก็บจะต้องมีการแบ่งแยกกลุ่ม เพื่อเตรียมไว้สาหรับการใช้งาน การแบ่งแยกกลุ่มมี
วิธีการที่ชัดเจน เช่น ข้อมูลในโรงเรียนมีการแบ่งเป็นแฟ้ มประวัตินักเรียน และแฟ้ มลงทะเบียน สมุดโทรศัพท์หน้าเหลืองมี
การแบ่งหมวดสินค้าและบริการเพื่อความสะดวกในการค้นหา
2 การจัดเรียงข้อมูล เมื่อจัดแบ่งกลุ่มเป็นแฟ้ มแล้ว ควรมีการจัดเรียงข้อมูลตามลาดับ ตัวเลข หรือตัวอักษร หรือเพื่อให้
เรียกใช้งานได้ง่ายประหยัดเวลา ตัวอย่างการจัดเรียงข้อมูล เช่น การจัดเรียงบัตรข้อมูลผู้แต่งหนังสือในตู้บัตรรายการของ
ห้องสมุดตามลาดับตัวอักษร การจัดเรียงชื่อคนในสมุดรายนามผู้ใช้โทรศัพท์ ทาให้ค้นหาได้ง่าย
3 การสรุปผล บางครั้งข้อมูลที่จัดเก็บมีเป็นจานวนมาก จาเป็นต้องมีการสรุปผลหรือสร้างรายงานย่อ เพื่อนาไปใช้
ประโยชน์ ข้อมูลที่สรุปได้นี้อาจสื่อความหมายได้ดีกว่า เช่น สถิติจานวนนักเรียนแยกตามชั้นเรียนแต่ละชั้น
4 การคานวณ ข้อมูลที่เก็บมีเป็นจานวนมาก ข้อมูลบางส่วนเป็นข้อมูลตัวเลขที่สามารถนาไปคานวณเพื่อหาผลลัพธ์
บางอย่างได้ ดังนั้นการสร้างสารสนเทศจากข้อมูลจึงอาศัยการคานวณข้อมูลที่เก็บไว้ด้วย
26
ตัวอย่างการจัดเรียงชื่อคนในสมุดรายนามผู้ใช้โทรศัพท์
การดูแลรักษาสารสนเทศเพื่อใช้งาน
ประกอบด้วย
1 การเก็บรักษาข้อมูล การเก็บรักษาข้อมูลหมายถึงการนาข้อมูลมาบันทึกเก็บไว้ในสื่อบันทึกต่าง ๆ เช่น แผ่นบันทึก
ข้อมูล นอกจากนี้ยังรวมถึงการดูแล และทาสาเนาข้อมูลเพื่อให้ใช้งานต่อไปในอนาคตได้
2 การค้นหาข้อมูล ข้อมูลที่จัดเก็บไว้มีจุดประสงค์ที่จะเรียกใช้งานได้ต่อไป การค้นหาข้อมูลจะต้องค้นได้ถูกต้องแม่นยา
รวดเร็ว จึงมีการนาคอมพิวเตอร์เข้ามามีส่วนช่วยในการทางาน ทาให้การเรียกค้นกระทาได้ทันเวลา
3 การทาสาเนาข้อมูล การทาสาเนาเพื่อที่จะนาข้อมูลเก็บรักษาไว้ หรือนาไปแจกจ่ายในภายหลัง จึงควรจัดเก็บข้อมูลให้
ง่ายต่อการทาสาเนา หรือนาไปใช้อีกครั้งได้โดยง่าย
4 การสื่อสาร ข้อมูลต้องกระจายหรือส่งต่อไปยังผู้ใช้งานที่ห่างไกลได้ง่าย การสื่อสารข้อมูลจึงเป็นเรื่องสาคัญและมี
บทบาทที่สาคัญยิ่งที่จะทาให้การส่งข่ายสารไปยังผู้ใช้ทาได้รวดเร็วและทันเวลา
ปัจจุบันผู้บริหารต้องสามารถปฏิบัติงานให้รวดเร็วขึ้น เพื่อตอบสนองต่อการแข่งขันตลอดจนการผลักดันของสังคมที่
มีการใช้ระบบสื่อสารข้อมูลที่ทันสมัยมากขึ้น การแข่งขันในธุรกิจจึงมากขึ้นตามลาดับ มีการใช้เทคนิคทางคอมพิวเตอร์มา
วิเคราะห์ แยกแยะ และจัดสรรข้อมูลให้เป็นสารสนเทศเพื่อการตัดสินใจ
ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี ทาให้คอมพิวเตอร์มีความสามารถมากขึ้น มีขนาดเล็กลง และราคาถูกลง การนา
คอมพิวเตอร์มาฝช้งานจึงแพร่หลายอย่างรวดเร็ว ตลอดจนระบบสื่อสารก้าวหน้ายิ่งขึ้น ซึ่งเป็นผลทาให้ระบบข้อมูลของ
องค์การที่ใช้เทคโนโลยีเหล่านี้มีประสิทธิภาพมากขึ้น
แนวทางการดาเนินการให้ได้ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการจะเริ่มจากการวิเคราะห์ความต้องการ การวิเคราะห์นี้
จะได้จากการสอบถามความต้องการ ซึ่งจะทาให้ทราบว่าควรจะจัดโครงสร้างข้อมูลนั้นไว้ในระบบหรือไม่ ถ้าจัดเก็บจะ
ประกอบด้วยข้อมูลอะไร มีรายละเอียดอะไร ตอบสนองการใช้งานได้อย่างไร คาถามที่ใช้ในการสารวจอาจประกอบด้วย
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
โครงงานคอมพิวเตอร์นิทานสอนใจ
โครงงานคอมพิวเตอร์นิทานสอนใจโครงงานคอมพิวเตอร์นิทานสอนใจ
โครงงานคอมพิวเตอร์นิทานสอนใจnoeiinoii
 
ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
รายงานโมเดลและทฤษฏีที่สำคัญเกี่ยวกับการจัดการความรู้
รายงานโมเดลและทฤษฏีที่สำคัญเกี่ยวกับการจัดการความรู้รายงานโมเดลและทฤษฏีที่สำคัญเกี่ยวกับการจัดการความรู้
รายงานโมเดลและทฤษฏีที่สำคัญเกี่ยวกับการจัดการความรู้แอ้ม แอ้ม
 
โครงงานคัดแยกขยะ
โครงงานคัดแยกขยะโครงงานคัดแยกขยะ
โครงงานคัดแยกขยะPang Pond
 
คอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์คอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์พัน พัน
 
ประโยชน์ของอินเทอร์เน็ต กศน.ม.ต้น
ประโยชน์ของอินเทอร์เน็ต กศน.ม.ต้นประโยชน์ของอินเทอร์เน็ต กศน.ม.ต้น
ประโยชน์ของอินเทอร์เน็ต กศน.ม.ต้นpeter dontoom
 
ใบงานที่ 1 ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 1 ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์ใบงานที่ 1 ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 1 ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์Nattapon
 
การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
ตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงานตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงานSattawat Backer
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์mina612
 
โครงงานคอมพิวเตอร์เรื่อง การออกแบบอาคาร บ้าน เรือน ด้วยโปรแกรม 3 มิติ
โครงงานคอมพิวเตอร์เรื่อง การออกแบบอาคาร บ้าน เรือน ด้วยโปรแกรม 3 มิติโครงงานคอมพิวเตอร์เรื่อง การออกแบบอาคาร บ้าน เรือน ด้วยโปรแกรม 3 มิติ
โครงงานคอมพิวเตอร์เรื่อง การออกแบบอาคาร บ้าน เรือน ด้วยโปรแกรม 3 มิติพัน พัน
 
วิทยาศาสตร์ วงจรไฟฟ้า
วิทยาศาสตร์ วงจรไฟฟ้าวิทยาศาสตร์ วงจรไฟฟ้า
วิทยาศาสตร์ วงจรไฟฟ้าChanida Manonom
 
สารบัญโครงงานคอม
สารบัญโครงงานคอมสารบัญโครงงานคอม
สารบัญโครงงานคอมkand-2539
 
จริยธรรมและความปลอดภัย (Ethics)
จริยธรรมและความปลอดภัย (Ethics)จริยธรรมและความปลอดภัย (Ethics)
จริยธรรมและความปลอดภัย (Ethics)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์usaneepor
 
2.ส่วนคำนำ และสารบัญ
2.ส่วนคำนำ และสารบัญ2.ส่วนคำนำ และสารบัญ
2.ส่วนคำนำ และสารบัญPongpob Srisaman
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Sarocha Makranit
 
โครงงานคอมพิวเตอร์การพัฒนาเว็บไซต์
โครงงานคอมพิวเตอร์การพัฒนาเว็บไซต์โครงงานคอมพิวเตอร์การพัฒนาเว็บไซต์
โครงงานคอมพิวเตอร์การพัฒนาเว็บไซต์BooBoo ChillChill
 

Was ist angesagt? (20)

การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์นิทานสอนใจ
โครงงานคอมพิวเตอร์นิทานสอนใจโครงงานคอมพิวเตอร์นิทานสอนใจ
โครงงานคอมพิวเตอร์นิทานสอนใจ
 
ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์
 
รายงานโมเดลและทฤษฏีที่สำคัญเกี่ยวกับการจัดการความรู้
รายงานโมเดลและทฤษฏีที่สำคัญเกี่ยวกับการจัดการความรู้รายงานโมเดลและทฤษฏีที่สำคัญเกี่ยวกับการจัดการความรู้
รายงานโมเดลและทฤษฏีที่สำคัญเกี่ยวกับการจัดการความรู้
 
โครงงานคัดแยกขยะ
โครงงานคัดแยกขยะโครงงานคัดแยกขยะ
โครงงานคัดแยกขยะ
 
คอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์คอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์
 
ประโยชน์ของอินเทอร์เน็ต กศน.ม.ต้น
ประโยชน์ของอินเทอร์เน็ต กศน.ม.ต้นประโยชน์ของอินเทอร์เน็ต กศน.ม.ต้น
ประโยชน์ของอินเทอร์เน็ต กศน.ม.ต้น
 
ใบงานที่ 1 ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 1 ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์ใบงานที่ 1 ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 1 ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์
 
การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์
 
ตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงานตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงาน
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
การประมวลผลข้อมูล
การประมวลผลข้อมูลการประมวลผลข้อมูล
การประมวลผลข้อมูล
 
โครงงานคอมพิวเตอร์เรื่อง การออกแบบอาคาร บ้าน เรือน ด้วยโปรแกรม 3 มิติ
โครงงานคอมพิวเตอร์เรื่อง การออกแบบอาคาร บ้าน เรือน ด้วยโปรแกรม 3 มิติโครงงานคอมพิวเตอร์เรื่อง การออกแบบอาคาร บ้าน เรือน ด้วยโปรแกรม 3 มิติ
โครงงานคอมพิวเตอร์เรื่อง การออกแบบอาคาร บ้าน เรือน ด้วยโปรแกรม 3 มิติ
 
วิทยาศาสตร์ วงจรไฟฟ้า
วิทยาศาสตร์ วงจรไฟฟ้าวิทยาศาสตร์ วงจรไฟฟ้า
วิทยาศาสตร์ วงจรไฟฟ้า
 
สารบัญโครงงานคอม
สารบัญโครงงานคอมสารบัญโครงงานคอม
สารบัญโครงงานคอม
 
จริยธรรมและความปลอดภัย (Ethics)
จริยธรรมและความปลอดภัย (Ethics)จริยธรรมและความปลอดภัย (Ethics)
จริยธรรมและความปลอดภัย (Ethics)
 
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
2.ส่วนคำนำ และสารบัญ
2.ส่วนคำนำ และสารบัญ2.ส่วนคำนำ และสารบัญ
2.ส่วนคำนำ และสารบัญ
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์การพัฒนาเว็บไซต์
โครงงานคอมพิวเตอร์การพัฒนาเว็บไซต์โครงงานคอมพิวเตอร์การพัฒนาเว็บไซต์
โครงงานคอมพิวเตอร์การพัฒนาเว็บไซต์
 

Andere mochten auch

Mainstreet Equity Corp 2016 Annual Report
Mainstreet Equity Corp 2016 Annual ReportMainstreet Equity Corp 2016 Annual Report
Mainstreet Equity Corp 2016 Annual ReportMainstreet Equity Corp
 
Trabajo econima sobre oferta y demanda
Trabajo econima sobre oferta y demandaTrabajo econima sobre oferta y demanda
Trabajo econima sobre oferta y demandaAbi Reyes
 
LEÇON 65 – Ma seule fonction est celle que Dieu m’a donnée.
LEÇON 65 – Ma seule fonction est celle que Dieu m’a donnée.LEÇON 65 – Ma seule fonction est celle que Dieu m’a donnée.
LEÇON 65 – Ma seule fonction est celle que Dieu m’a donnée.Pierrot Caron
 
คอมพิวเตอร์ ม.1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์ ม.1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้นคอมพิวเตอร์ ม.1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์ ม.1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้นพัน พัน
 
สื่อการสอน คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
สื่อการสอน คอมพิวเตอร์เบื้องต้นสื่อการสอน คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
สื่อการสอน คอมพิวเตอร์เบื้องต้นNoppakhun Suebloei
 
WealthZap Research Services: Minda industries ltd Multibaggar Recommendation ...
WealthZap Research Services: Minda industries ltd Multibaggar Recommendation ...WealthZap Research Services: Minda industries ltd Multibaggar Recommendation ...
WealthZap Research Services: Minda industries ltd Multibaggar Recommendation ...Saurabh
 
Pedagogy in Public: Open Education for Transformational Teaching
Pedagogy in Public: Open Education for Transformational TeachingPedagogy in Public: Open Education for Transformational Teaching
Pedagogy in Public: Open Education for Transformational TeachingRobin DeRosa
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอมNooLuck
 
รายงาน
รายงานรายงาน
รายงานsiriluk602
 
Properties
PropertiesProperties
Propertiesjimbank
 
รายงานคอม
รายงานคอมรายงานคอม
รายงานคอมNooLuck
 
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสาระสนเทศน์ 5 7-กลุ่ม 2
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสาระสนเทศน์ 5 7-กลุ่ม 2การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสาระสนเทศน์ 5 7-กลุ่ม 2
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสาระสนเทศน์ 5 7-กลุ่ม 2Ittidate Pepea
 
ระบบเครือค่าย
ระบบเครือค่ายระบบเครือค่าย
ระบบเครือค่ายเค้ก
 
รายงาน คอม
รายงาน คอมรายงาน คอม
รายงาน คอมNooLuck
 
ความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
ความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์เบื้องต้นความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
ความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์เบื้องต้นพัน พัน
 

Andere mochten auch (20)

Mainstreet Equity Corp 2016 Annual Report
Mainstreet Equity Corp 2016 Annual ReportMainstreet Equity Corp 2016 Annual Report
Mainstreet Equity Corp 2016 Annual Report
 
Trabajo econima sobre oferta y demanda
Trabajo econima sobre oferta y demandaTrabajo econima sobre oferta y demanda
Trabajo econima sobre oferta y demanda
 
Ey preparing-your-private-business-for-sale
Ey preparing-your-private-business-for-saleEy preparing-your-private-business-for-sale
Ey preparing-your-private-business-for-sale
 
LEÇON 65 – Ma seule fonction est celle que Dieu m’a donnée.
LEÇON 65 – Ma seule fonction est celle que Dieu m’a donnée.LEÇON 65 – Ma seule fonction est celle que Dieu m’a donnée.
LEÇON 65 – Ma seule fonction est celle que Dieu m’a donnée.
 
คอมพิวเตอร์ ม.1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์ ม.1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้นคอมพิวเตอร์ ม.1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์ ม.1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
สื่อการสอน คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
สื่อการสอน คอมพิวเตอร์เบื้องต้นสื่อการสอน คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
สื่อการสอน คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
Sh gta script
Sh gta scriptSh gta script
Sh gta script
 
ticparati5
ticparati5ticparati5
ticparati5
 
WealthZap Research Services: Minda industries ltd Multibaggar Recommendation ...
WealthZap Research Services: Minda industries ltd Multibaggar Recommendation ...WealthZap Research Services: Minda industries ltd Multibaggar Recommendation ...
WealthZap Research Services: Minda industries ltd Multibaggar Recommendation ...
 
Pedagogy in Public: Open Education for Transformational Teaching
Pedagogy in Public: Open Education for Transformational TeachingPedagogy in Public: Open Education for Transformational Teaching
Pedagogy in Public: Open Education for Transformational Teaching
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
 
รายงาน
รายงานรายงาน
รายงาน
 
Properties
PropertiesProperties
Properties
 
รายงาน
รายงานรายงาน
รายงาน
 
รายงานคอม
รายงานคอมรายงานคอม
รายงานคอม
 
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสาระสนเทศน์ 5 7-กลุ่ม 2
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสาระสนเทศน์ 5 7-กลุ่ม 2การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสาระสนเทศน์ 5 7-กลุ่ม 2
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสาระสนเทศน์ 5 7-กลุ่ม 2
 
การสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูล
 
ระบบเครือค่าย
ระบบเครือค่ายระบบเครือค่าย
ระบบเครือค่าย
 
รายงาน คอม
รายงาน คอมรายงาน คอม
รายงาน คอม
 
ความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
ความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์เบื้องต้นความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
ความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 

Ähnlich wie หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์

โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์Peem Jirayut
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์Peem Jirayut
 
วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ 2 รหัสวิชา ง32101 แก้ไขแล้ว
วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ 2 รหัสวิชา ง32101 แก้ไขแล้ววิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ 2 รหัสวิชา ง32101 แก้ไขแล้ว
วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ 2 รหัสวิชา ง32101 แก้ไขแล้วThank Chiro
 
ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์เทวัญ ภูพานทอง
 
รายงานคอมพิวเตอร์
รายงานคอมพิวเตอร์รายงานคอมพิวเตอร์
รายงานคอมพิวเตอร์laddawan wangkhamlun
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28babiesawalee
 
ตัวอย่างเทคโนโลยีสารสนเทศที่ถูกนำมาใช้ในการจัดการความรู้
ตัวอย่างเทคโนโลยีสารสนเทศที่ถูกนำมาใช้ในการจัดการความรู้ตัวอย่างเทคโนโลยีสารสนเทศที่ถูกนำมาใช้ในการจัดการความรู้
ตัวอย่างเทคโนโลยีสารสนเทศที่ถูกนำมาใช้ในการจัดการความรู้Apiradee Deekul
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงานknokrat
 
การจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูลการจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูลchanoot29
 
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศOrapan Chamnan
 
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศOrapan Chamnan
 
งานการชั้น ป.3 ปี 2556 ไม่มีตัวชี้วัด
งานการชั้น ป.3  ปี 2556  ไม่มีตัวชี้วัดงานการชั้น ป.3  ปี 2556  ไม่มีตัวชี้วัด
งานการชั้น ป.3 ปี 2556 ไม่มีตัวชี้วัดDuangnapa Inyayot
 
โครงงานระบบปฏิบัติการ
โครงงานระบบปฏิบัติการโครงงานระบบปฏิบัติการ
โครงงานระบบปฏิบัติการThanapon Seadthaisong
 
โครงงานระบบปฏิบัติการ
โครงงานระบบปฏิบัติการโครงงานระบบปฏิบัติการ
โครงงานระบบปฏิบัติการThanapon Seadthaisong
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28sawalee kongyuen
 
ใบความรู้ที่ 3 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 3 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่ 3 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 3 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์devilp Nnop
 
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์พัน พัน
 

Ähnlich wie หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์ (20)

โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
 
วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ 2 รหัสวิชา ง32101 แก้ไขแล้ว
วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ 2 รหัสวิชา ง32101 แก้ไขแล้ววิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ 2 รหัสวิชา ง32101 แก้ไขแล้ว
วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ 2 รหัสวิชา ง32101 แก้ไขแล้ว
 
ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
 
รายงานคอมพิวเตอร์
รายงานคอมพิวเตอร์รายงานคอมพิวเตอร์
รายงานคอมพิวเตอร์
 
คอม
คอมคอม
คอม
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28
 
ตัวอย่างเทคโนโลยีสารสนเทศที่ถูกนำมาใช้ในการจัดการความรู้
ตัวอย่างเทคโนโลยีสารสนเทศที่ถูกนำมาใช้ในการจัดการความรู้ตัวอย่างเทคโนโลยีสารสนเทศที่ถูกนำมาใช้ในการจัดการความรู้
ตัวอย่างเทคโนโลยีสารสนเทศที่ถูกนำมาใช้ในการจัดการความรู้
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
การจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูลการจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูล
 
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
 
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
 
งานการชั้น ป.3 ปี 2556 ไม่มีตัวชี้วัด
งานการชั้น ป.3  ปี 2556  ไม่มีตัวชี้วัดงานการชั้น ป.3  ปี 2556  ไม่มีตัวชี้วัด
งานการชั้น ป.3 ปี 2556 ไม่มีตัวชี้วัด
 
โครงงานระบบปฏิบัติการ
โครงงานระบบปฏิบัติการโครงงานระบบปฏิบัติการ
โครงงานระบบปฏิบัติการ
 
โครงงานระบบปฏิบัติการ
โครงงานระบบปฏิบัติการโครงงานระบบปฏิบัติการ
โครงงานระบบปฏิบัติการ
 
ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศ
 
5 1 18 ดวงแข ผิวทอง
5 1 18 ดวงแข     ผิวทอง5 1 18 ดวงแข     ผิวทอง
5 1 18 ดวงแข ผิวทอง
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28
 
ใบความรู้ที่ 3 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 3 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่ 3 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 3 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
 
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
 

Mehr von พัน พัน

เรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซีเรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซีพัน พัน
 
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษรการเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษรพัน พัน
 
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัยระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัยพัน พัน
 
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้พัน พัน
 
ปัญหาน้ำเน่าเสีย
ปัญหาน้ำเน่าเสียปัญหาน้ำเน่าเสีย
ปัญหาน้ำเน่าเสียพัน พัน
 
เรื่องปัญหาภาวะโลกร้อน
เรื่องปัญหาภาวะโลกร้อนเรื่องปัญหาภาวะโลกร้อน
เรื่องปัญหาภาวะโลกร้อนพัน พัน
 
ปัญหาการข่มขืน
ปัญหาการข่มขืนปัญหาการข่มขืน
ปัญหาการข่มขืนพัน พัน
 
เรื่องปัญหายาเสพติด
เรื่องปัญหายาเสพติดเรื่องปัญหายาเสพติด
เรื่องปัญหายาเสพติดพัน พัน
 
ปัญหาการศึกษา
ปัญหาการศึกษาปัญหาการศึกษา
ปัญหาการศึกษาพัน พัน
 
เรื่องปัญหาท้องในวัยเรียน
เรื่องปัญหาท้องในวัยเรียนเรื่องปัญหาท้องในวัยเรียน
เรื่องปัญหาท้องในวัยเรียนพัน พัน
 
เรื่องภาวะมลพิษ
เรื่องภาวะมลพิษเรื่องภาวะมลพิษ
เรื่องภาวะมลพิษพัน พัน
 
เรื่องปัญหาน้ำท่วม
เรื่องปัญหาน้ำท่วมเรื่องปัญหาน้ำท่วม
เรื่องปัญหาน้ำท่วมพัน พัน
 

Mehr von พัน พัน (20)

เรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซีเรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซี
 
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
 
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษรการเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
 
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัยระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
 
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
 
เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
การปริ้น
การปริ้นการปริ้น
การปริ้น
 
Office
OfficeOffice
Office
 
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
 
ยาเสพติด
ยาเสพติดยาเสพติด
ยาเสพติด
 
การลักขโมย
การลักขโมยการลักขโมย
การลักขโมย
 
ปัญหาน้ำเน่าเสีย
ปัญหาน้ำเน่าเสียปัญหาน้ำเน่าเสีย
ปัญหาน้ำเน่าเสีย
 
เรื่องปัญหาภาวะโลกร้อน
เรื่องปัญหาภาวะโลกร้อนเรื่องปัญหาภาวะโลกร้อน
เรื่องปัญหาภาวะโลกร้อน
 
ปัญหาการข่มขืน
ปัญหาการข่มขืนปัญหาการข่มขืน
ปัญหาการข่มขืน
 
เรื่องปัญหายาเสพติด
เรื่องปัญหายาเสพติดเรื่องปัญหายาเสพติด
เรื่องปัญหายาเสพติด
 
ปัญหาการศึกษา
ปัญหาการศึกษาปัญหาการศึกษา
ปัญหาการศึกษา
 
เรื่องปัญหาท้องในวัยเรียน
เรื่องปัญหาท้องในวัยเรียนเรื่องปัญหาท้องในวัยเรียน
เรื่องปัญหาท้องในวัยเรียน
 
เรื่องภาวะมลพิษ
เรื่องภาวะมลพิษเรื่องภาวะมลพิษ
เรื่องภาวะมลพิษ
 
เรื่องปัญหาน้ำท่วม
เรื่องปัญหาน้ำท่วมเรื่องปัญหาน้ำท่วม
เรื่องปัญหาน้ำท่วม
 

หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์

  • 1. ก รายงาน เรื่อง หลักการทางาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์ จัดทาโดย นางสาวสุวดี ป้อมสันเทียะ เลขที่ 35 ชั้นมัธยมศึกษาปี่ที่ 5/3 เสนอ ครู ทรงศักดิ์ โพธิ์เอี่ยม รายงานเล่มนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชาการงานอาชีพและเทคโนโลยี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2559 โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ฯ กาญจนบุรี เขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา กาญจนบุรี เขต 8
  • 2. ก คานา รายงานนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชาคอมพิวเตอร์มีเนื้อหาเกี่ยวกับความหมายและความสาคัญของ องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์เพื่อการศึกษามีการยกตัวอย่างเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา ไว้พอเป็น สังเขป จัดทาขึ้นเพื่อเป็นแนวทางในการค้นหาความรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อ การศึกษา โดยคณะผู้จัดทาหวังเป็นอย่างยิ่งว่าผู้ที่สนใจข้อมูลในรายงานนี้ จะได้นาข้อมูลเหล่านี้ ไปศึกษาเพิ่มเติม จากแหล่งความรู้ที่ได้กล่าวไว้หากมีข้อผิดพลาดประการใด คณะผู้จัดทาต้อง ขออภัยไว้ณ ที่นี้ คณะผู้จัดทา
  • 3. ข สารบัญ บทที่1องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์..........................................................................................................................1 บทที่2หลักการทางาน และบทบาทของระบบ คอมพิวเตอร์.........................................................................................5 บทที่3วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์...........................................................................................................................12 บทที่4บทบาทความสาคัญและผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศ ...........................................................................18 บทที่5ข้อมูลและประมวลผลข้อมูลให้เป็นสารสนเทศ ........................................................................................21
  • 4. 1 บทที่ 1 องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์ องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ ระบบคอมพิวเตอร์ประกอบด้วยองค์ประกอบสาคัญ 5 ส่วนด้วยกัน คือ องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ ฮาร์ดแวร์ (Hardware)คือลักษณะทางกายของเครื่องคอมพิวเตอร์ ซึ่งหมายถึงตัวเครื่องคอมพิวเตอร์ และ อุปกรณ์ รอบข้าง (peripheral) ที่เกี่ยวข้อง เช่น ฮาร์ดดิสก์ เครื่องพิมพ์ เป็นต้น ฮาร์ดแวร์ประกอบด้วย - หน่วยรับข้อมูล ( input unit ) - หน่วยประมวลผลกลาง ( central processor unit ) หรือ CPU - หน่วยความจาหลัก - หน่วยแสดงผลลัพธ์ (output unit ) - หน่วยเก็บข้อมูลสารอง (secondary storage unit ) หน่วยรับข้อมูล จะเป็นอุปกรณ์ที่ใช้สาหรับข้อมูลต่าง ๆ เข้าสู่คอมพิวเตอร์ จากนั้น หน่วยประมวลผลกลาง จะนาไป ประมวลผล และแสดงผลลัพธ์ที่ได้ออกมากให้ผู้ใช้รับทราบทาง หน่วยแสดงผลลัพธ์ หน่วยความจาหลัก จะทาหน้าที่เสมือนเก็บข้อมูลชั่วคราวที่มีขนาดไม่สูงมากนัก การที่ฮาร์ดแวร์จะทาหน้าที่ได้มี ประสิทธิภาพนั้น ขึ้นอยู่กับโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่ใช้ ส่วนการทางานได้มากน้อยเพียงใด จะขึ้นอยู่กับหน่วยความจาหลัก ของเครื่องนั้น ๆ ข้อเสียของหน่วยความจาหลักคือ หากปิดเครื่องคอมพิวเตอร์ที่อยู่ในหน่วยความจาหลักจะหายไป ในขณะ ที่ข้อมูลอยู่ที่ หน่วยเก็บข้อมูลสารอง จะไม่สูญหายตราบเท่าที่ผู้ใช้ไม่ทาการลบข้อมูลนั้น รวมทั้งหน่วยเก็ยข้อมูลสารองยังมี ความจุที่สูงมาก จึงเหมาะสาหรับการเก็บข้อมูลที่มีขนาดใหญ่ หรือเก็บข้อมูลไว้ใช้ในภายหลัง ข้อเสียของหน่วยเก็บข้อมูล สารองคือการเรียกใช้ข้อมูลจะช้ากว่าหน่วยความจาหลักมาก
  • 5. 2 ฮาร์ดแวร์ในระบบไมโครคอมพิวเตอร์ ซอฟต์แวร์ (Software)คอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์ที่ประกอบออกมาจากโรงงานจะยังไม่สามารถทางานใดๆ เนื่องจาก ต้องมี ซอฟต์แวร์ (Software) ซึ่งเป็นชุดคาสั่งหรือโปรแกรมที่สั่งให้ฮาร์ดแวร์ทางานต่าง ๆ ตามต้องการ โดยชุดคาสั่งหรือ โปรแกรมนั้นจะเขียนขึ้นมาจาก ภาษาคอมพิวเตอร์ (Programming Language) ภาษาใดภาษาหนึ่ง และมี โปรแกรมเมอร์ (Programmer) หรือนักเขียนโปรแกรมเป็นผู้ใช้ภาษาคอมพิวเตอร์เหล่านั้นเขียนซอฟต์แวร์ต่าง ๆ ขึ้นมา ซอฟต์แวร์ สามารถแบ่งออกเป็นสองประเภทใหญ่ๆคือ - ซอฟต์แวร์ระบบ (System Software ) - ซอฟต์แวร์ประยุกต์ ( Application Software ) ซอฟต์แวร์ระบบ โดยส่วนมากแล้วจะติดตั้งมากับเครื่องคอมพิวเตอร์เนื่องจากซอฟต์แวร์ระบบเป็นส่วนควบคุมทางาน ต่าง ๆ ของคอมพิวเตอร์ เพื่อให้สามารถเริ่มต้นการทางานอื่น ๆ ที่ผู้ใช้ต้องการได้ต่อไป ส่วน ซอฟต์แวร์ประยุกต์ จะเป็น ซอฟต์แวร์ที่เน้นในการช่วยการทางานต่าง ๆ ให้กับผู้ใช้ ซึ่งแตกต่างกันไปตามความต้องการของผู้ใช้แต่ละคน ซอฟต์แวร์ในระบบไมโครคอมพิวเตอร์ บุคลากร (Peopleware)เครื่องคอมพิวเตอร์โดยมากต้องใช้บุคลากรสั่งให้เครื่องทางาน เรียกบุคลากรเหล่านี้ว่า ผู้ใช้ หรือ ยูเซอร์ (user) แต่ก็มีบางชนิดที่สามารถทางานได้เองโดยไม่ต้องใช้ผู้ควบคุม อย่างไรก็ตาม คอมพิวเตอร์ก็ยังคงต้อง ถูกออกแบบหรือดูแลรักษาโดยมนุษย์เสมอผู้ใช้คอมพิวเตอร์ (computer user) แบ่งได้เป็นหลายระดับ เพราะผู้ใช้ คอมพิวเตอร์บางส่วนก็ทางานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์เท่านั้น แต่บางส่วนก็พยายามศึกษาโปรแกรมประยุกต์ในขั้นที่ สูงขึ้น ทาให้มีความชานาญในการใช้โปรแกรมประยุกต์ต่าง ๆ นิยมเรียกกลุ่มนี้ว่า เพาเวอร์ยูสเซอร์ (power user) ผู้เชี่ยวชาญทางด้านคอมพิวเตอร์ (computer professional) หมายถึงผู้ที่ได้ศึกษาวิชาการทางด้านคอมพิวเตอร์ ทั้งใน ระดับกลางและระดับสูง ผู้เชี่ยวชาญทางด้านนี้จะนาความรู้ที่ได้ศึกษามาประยุกต์และพัฒนาใช้งาน และประสิทธิภาพ ของระบบคอมพิวเตอร์ให้ทางานในขั้นสูงขึ้นไปได้อีก นักเขียนโปรแกรม (programmer) ก็ถือว่าเป็นผู้เชียวชาญทาง คอมพิวเตอร์เช่นกัน เพราะสามารถสร้างโปรแกรมใหม่ ๆ ได้ และเป็นเส้นทางหนึ่งที่จะนาไปสู่การเป็นผู้เชี่ยวชาญทาง คอมพิวเตอร์ต่อไปบุคลากรก็เป็นส่วนหนึ่งของระบบคอมพิวเตอร์ เพราะมีความเกี่ยวข้องกับระบบคอมพิวเตอร์ ตั้งแต่การ พัฒนาเครื่องคอมพิวเตอร์ ตลอดจนถึงการนาคอมพิวเตอร์มาใช้งานต่าง ๆ ซึ่งสามารถสรุปลักษณะงานได้ดังนี้
  • 6. 3 - การดาเนินงานและเครื่องอุปกรณ์ต่าง ๆ เช่น การบันทึกข้อมูลลงสื่อ หรือส่งข้อมูลเข้าประมวล หรือควบคุมการ ทางานของระบบคอมพิวเตอร์ เช่น เจ้าหน้าที่บันทึกข้อมูล (Data Entry Operator) เป็นต้น - การพัฒนาและบารุงรักษาโปรแกรม เช่น เจ้าหน้าที่พัฒนาโปรแกรมประยุกต์ (Application Programmer) เจ้าหน้าที่พัฒนาโปรแกรม (System Programmer) เป็นต้น - การวิเคราะห์และออกแบบระบบงานที่ใช้คอมพิวเตอร์ประมวลผล เช่น เจ้าหน้าที่วิเคราะห์และออกแบบ ระบบงาน (System Analyst and Administrator) วิศวกรระบบ (System Engineer) เจ้าหน้าที่จัดการฐานข้อมูล (Database Adminstrator) เป็นต้น - การพัฒนาและบารุงรักษาระบบทางฮาร์ดแวร์ เช่น เจ้าหน้าที่ควบคุมการทางานระบบคอมพิวเตอร์ (Computer Operator) เป็นต้น - การบริหารในหน่วยประมวลผลข้อมูล เช่น ผู้บริหารศูนย์ประมวลผลข้อมูลด้วยคอมพิวเตอร์ (EDP Manager) เป็นต้น ข้อมูลและสารสนเทศ (Data / Information)ในการทางานต่าง ๆ จะต้องมีข้อมูลเกิดขึ้นตลอดเวลา ข้อมูลที่ เกี่ยวข้องกับงานที่ถูกเก็บรวบรวมมาประมวลผล เพื่อให้ได้สารสนเทศที่เป็นประโยชน์ต่อผู้ใช้ ซึ้งในปัจจุบันมีการนาเอา ระบบคอมพิวเตอร์มาเป็นข้อมูลในการดัดแปลงข้อมูลให้ได้ประสิทธิภาพโดยแตกต่างๆระหว่าง ข้อมูล และ สารสนเทศ คือ ข้อมูล คือ ได้จากการสารวจจริง แต่ สารสนเทศ คือ ได้จากข้อมูลไม่ผ่านกระบวนการหนึ่งก่อน สารสนเทศเป็นสิ่งที่ผู้บริหารนาไปใช้ช่วยในการตัดสินใจ โดยที่สารสนเทศที่มีประโยชน์นั้นจะมีคุณสมบัติ ดังตาราง มีความสัมพันธ์กัน (relevant) สามารถนามาประยุกต์ใช้ได้อย่างเหมาะสมกับสถานการณ์ปัจจุบัน มีความทันสมัย (timely) ต้องมีความทันสมัยและพร้อมที่จะใช้งานได้ทันทีเมื่อต้องการ มีความถูกต้องแม่นยา (accurate) เมื่อป้ อนข้อมูลเข้าสู่คอมพิวเตอร์และผลลัพธ์ที่ได้จะต้องถูกต้องในทุกส่วน มีความกระชับรัดกุม (concise) ข้อมูลจะต้องถูกย่นให้มีความยาวที่พอเหมาะ มีความสมบูรณ์ในตัวเอง (complete) ต้องรวบรวมข้อมูลที่สาคัญไว้อย่างครบถ้วน
  • 7. 4 คุณสมบัติของสารสนเทศที่มีประโยชน์ การเปลี่ยนรูปจากข้อมูลสู่สารสนเทศ กระบวนการทางาน (Procedure) กระบวนการทางานหรือโพรซีเยอร์ หมายถึง ขั้นตอนที่ผู้ใช้จะต้องทาตาม เพื่อให้ได้งานเฉพาะอย่างจากคอมพิวเตอร์ ซึ่งผู้ใช้คอมพิวเตอร์ทุกคนต้องรู้การทางานพื้นฐานของเครื่องคอมพิวเตอร์ เพื่อที่จะสามารถใช้งานได้อย่างถูกต้อง ตัวอย่างเช่น การใช้เครื่อง ฝาก-ถอนเงินอัตโนมัติ ถ้าต้องการถอนเงินจะต้องผ่านกระบวนการต่าง ๆ ดังนี้ 1 จอภาพแสดงข้อความเตรียมพร้อมที่จะทางาน 2 สอดบัตร และพิมพ์รหัสผู้ใช้ 3 เลือกรายการ 4 ใส่จานวนเงินที่ต้องการ 5 รับเงิน 6 รับใบบันทึกรายการ และบัตร การใช้คอมพิวเตอร์ปฏิบัติงานในส่วนต่าง ๆ นั้นมักจะมีขั้นตอนที่สลับซับซ้อน และเกี่ยวข้องกับช่วงเวลาต่าง ๆ ในการ ปฏิบัติงานด้วย จึงต้องมีคู่มือการปฏิบัติงานที่ชัดเจน เช่น คู่มือสาหรับผู้ควบคุมเครื่อง (Operation Manual) คู่มือ สาหรับผู้ใช้ (User Manual) เป็นต้น
  • 8. 5 บทที่ 2 หลักการทางาน และบทบาทของระบบ คอมพิวเตอร์ การทางานของคอมพิวเตอร์ การทางานของคอมพิวเตอร์ หน่วยรับเข้า หน่วยรับข้อมูล หรือ หน่วยนาเข้าข้อมูล เป็นหน่วยเริ่มต้นในการทางานของคอมพิวเตอร์ เพราะ มีหน้าที่ในการนาข้อมูลหรือคาสั่งต่าง ๆ เข้าไปในระบบ การทางานของคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์รับข้อมูลของหน่วยรับข้อมูล มีหลายชนิด เช่น แป้ นพิมพ์ เมาส์ เครื่องสแกน จอยสติก จอสัมผัส แต่ทุกชนิดทาหน้าที่ รับข้อมูลหรือคาสั่ง เข้าสู่ระบบการทางานของคอมพิวเตอร์ เหมือนกัน อุปกรณ์ของหน่วยรับ ข้อมูล แต่ละชนิดมีวิธีการนาเข้าข้อมูล หรือรับคาสั่ง ตลอดจนลักษณะของรูปแบบข้อมูลที่นาเข้าต่างกัน หน้าที่สาคัญ คือ เป็นอุปกรณ์ ที่รับข้อมูล หรือคาสั่ง เข้าสู่ระบบการทางานของคอมพิวเตอร์ หน่วยรับข้อมูล จึงเป็นหน่วยทางานที่ช่วยให้ มนุษย์ สามารถติดต่อ สั่งงาน เครื่องคอมพิวเตอร์ได้
  • 9. 6 หน่วยประมวลผลกลาง หน่วยประมวลผล นิยมเรียกว่า ซีพียู ซึ่งย่อมาจาก Central Processing Unit : CPU บางครั้งเรียกว่า โปรเซสเชอร์ มีหน่วยการทางานที่สาคัญ 2 ส่วน คือ ♦ หน่วยคานวณและตรรกะ หน่วยคานวณและตรรกะ ทาหน้าที่ใน การคิดคานวณทางคณิตศาสตร์ และเปรียบเทียบทางตรรกะของข้อมูล ♦ หน่วยควบคุม หน่วยควบคุม ทาหน้าที่ประสานงาน และ ควบคุม การทางานของคอมพิวเตอร์ โดยจะทางานประสานกับ หน่วยความจาหลัก และหน่วยคานวณและตรรกะ หน่วยความจาหลัก หน่วยความจาหลัก มีหน้าที่ เก็บข้อมูลต่าง ๆ ตลอดจนโปรแกรมต่าง ๆ ขณะที่เครื่องคอมพิวเตอร์ทางานอยู่ เท่านั้น ถ้าปิดเครื่อง คอมพิวเตอร์ ข้อมูลหรือซอฟแวร์ที่เก็บไว้ ในหน่วยความจาหลักจะหายหมด หน่วยคามจาหลักที่ใช้กับคอมพิวเตอร์แบ่งได้เป็น 1. แรม (Random Access Memory : RAM) 2. รอม (Read Only Memory : ROM)
  • 10. 7 แรม แรม (RAM) เป็นหน่วยความจา ที่เก็บข้อมูลไว้ได้ ถ้ามีกระแสไฟฟ้ าแรม จะเก็บข้อมูล ต่าง ๆ ในขณะที่คอมพิวเตอร์ทางาน ดังนั้น แรมต้องอาศัยกระแสไฟฟ้ า ในการทางาน หากไฟฟ้ าดับหรือปิดคอมพิวเตอร์ข้อมูลที่เก็บไว้จะสูญหายทันที รอม รอม (ROM) เป็นหน่วยความจาที่บรรจุโปรแกรมสาคัญบางอย่างไว้ รอม สามารถอ่านข้อมูลได้อย่างเดียว ข้อมูลหรือโปรแกรมที่อยู่ในรอม จะอยู่อย่างถาวร แม้ว่าจะปิดคอมพิวเตอร์ข้อมูล หรือ โปรแกรมก็จะไม่ถูกลบ
  • 11. 8 หน่วยความจารอง หน่วยความจารอง มีหน้าที่ในการเก็บข้อมูลหรือโปรแกรม เหมือนกับ หน่วยความจาหลัก แต่ต่างจากหน่วยความจาหลัก คือ หน่วยความจารอง สามารถจัดเก็บข้อมูล และโปรแกรมไว้ใช้ในภายหลังได้ แม้จะปิดเครื่องคอมพิวเตอร์ ข้อมูลและ โปรแกรมที่เก็บไว้ ไม่สูญหายหรือถูกลบทิ้ง นอกจากนี้หน่วยความจารอง สามารถเพิ่มขนาดความจุได้ เนื่องจากหน่วยความจาหลักจะมีขนาดความจุจากัด หน่วยความจารอง สามารถเพิ่มขนาดความจุได้ หน่วยประมวลผลจะเรียกใช้ข้อมูลที่เก็บไว้ในหน่วยความจารอง ได้จะช้ากว่า หน่วยความจาหลัก
  • 13. 10 บทบาทของคอมพิวเตอร์ บทบาทของคอมพิวเตอร์ 1. การใช้คอมพิวเตอร์ในวงธุรกิจทั่วไป บริษัทธุรกิจทั่วไปมักใช้คอมพิวเตอร์ในงานหลายอย่าง ทาให้เกิดความสะดวก รวดเร็วในการทางานสาหรับผู้ใช้และ ลูกค้า เช่นงานระบบบัญชี ได้แก่การพิมพ์ใบสั่งสินค้าพิมพ์ใบเสร็จรับเงินสามารถพิมพ์ได้เร็วขึ้นและเป็นการกระตุ้นลูกค้า ให้ส่งเงินชาระเร็วขึ้นนอกจากนี้ยังนาคอมพิวเตอร์มาใช้ในการบริหารงานบุคคลได้แก่ คานวณเงินเดือน และค่าแรง พนักงานบริษัท ซึ่งลดความซับซ้อนและยุ่งยากลงได้มาก 2. การใช้งานคอมพิวเตอร์ในวงการธนาคาร ธนาคารพาณิชย์ทั่วไป ใช้ในงานด้านต่างๆ เช่น ด้านการบริการลูกค้า โดยนาคอมพิวเตอร์เข้ามาในระบบการฝาก-ถอน เงิน โดยเฉพาะต่างสาขา โดยไม่ต้องเสียเวลารอคอย นอกจากนั้น ระบบบริการเงินอัตโนมัติ หรือ เอทีเอ็ม (Automatic Teller Machine : ATM.) มาใช้เป็นระบบ On-lineBanking ช่วยทาให้ลูกค้าสามารถฝาก-ถอนเงินสดได้อย่างรวดเร็ว เพียงแต่ลูกค้าจะต้องมีบัตรพิเศษ ซึ่งจะมีแถบแม่เหล็ก (Magnetic Stripe) ติดอยู่ข้างหลังบัตรนั้น ซึ่งแถบแม่เหล็กนี้จะ เป็นตัวเก็บข้อมูลของผู้ถือบัตร หรือของลูกค้าไว้ บัตรนี้เรียกว่า “บัตรเครดิต” (Credit Card) ผู้ถือบัตรจะต้องมีรหัสของ ตนเอง ทาให้สะดวกในการซื้อขายสินค้าผ่านทางอินเตอร์เน็ต 3. การใช้คอมพิวเตอร์กับธุรกิจโรงแรม คอมพิวเตอร์ช่วยในการบริหารธุรกิจการโรงแรม โดยการติดตั้งเครื่องพ่วง หรือ เทอร์มินอล (Terminal) สาหรับการรับ-ส่งข้อมูลไว้ยังจุดต่าง ของโรงแรม เช่น แผนกต้อนรับ , บาร์ , ภัตตาคาร ในโรงแรม , แผนกบริการจองห้องพักออนไลน์ ผ่านทางอินเตอร์เน็ต
  • 14. 11 4. การใช้คอมพิวเตอร์ในวงการแพทย์ ในกิจการแพทย์ ได้นาคอมพิวเตอร์มาใช้ในงานทะเบียนประวัติผู้ป่วย , การนัดผู้ป่วยเพื่อมาตรวจ , การสั่งยา หรือ ระบบการเงิน การบัญชี ทั้งหมดนี้จะถูกวางไว้ในระบบเครือข่าย เพื่อเชื่อมโยงข้อมูลต่างๆ ให้ถึงกันตามจุดหรือห้องต่างๆ นอกจากนั้น ยังใช้คอมพิวเตอร์มาช่วยในการตรวจรักษาผู้ป่วย ในรูปแบบของหุ่นยนต์ (Robot) มาช่วยในการผ่าตัดสมอง ซึ่งหุ่นยนต์ สามารถ คานวณ และการเคลื่อนไหวของการผ่าตัดสมอง หรือ กะโหลกศีรษะ , การนาหุ่นยนต์มาช่วยในการทาศัลยกรรม ให้มี ความปลอดภัยและสะดวกรวดเร็วขึ้นการใช้คอมพิวเตอร์ในการตรวจสุขภาพร่างกาย เป็นต้น 5. คอมพิวเตอร์กับการศึกษา ในด้านการศึกษา แบ่งการใช้คอมพิวเตอร์ได้ 2 ด้าน ดังนี้ 1.) ด้านงานบริหารสถานศึกษา : ใช้คอมพิวเตอร์ในงานข้อมูลสารสนเทศฝ่าย , งานวัดผลการศึกษา , งานการเงิน-บัญชี , งานพัสดุ ฯลฯ ทั้งหมดนี้เป็นการนาคอมพิวเตอร์มาใช้ในการบริหาร และการจัดการข้อมูลต่างๆ ของโรงเรียน ทาให้สะดวก รวดเร็วและประสิทธิภาพของงานสูงขึ้น 2.) ด้านการเรียนการสอน : ได้แก่ การจัดทาสื่อการสอน , การจัดการเรียนการสอนนักเรียน และรูปแบบ วิธีการสอน โดย การนา คอมพิวเตอร์มาช่วย เช่น คอมพิวเตอร์ช่วยสอน หรือ CAI. (Computer Assisted Instruction) หรือ การสอน แบบออนไลน์ ผ่านเวบไซท์ต่างๆ ประโยชน์ของคอมพิวเตอร์ ประโยชน์ของคอมพิวเตอร์ 1. ทันสมัย / ทันเหตุการณ์ / ทันข้อมูลข่าวสาร / ทันโลก ช่วยให้เราสามารถติดต่อสื่อสารกันได้ทั่วโลก 2. ช่วยให้การเรียน การทางาน ทันสมัยและได้รับความสะดวกมากยิ่งขึ้น เช่น ได้เรียนรู้จากสื่อที่ทันสมัยที่สร้างด้วย คอมพิวเตอร์ที่เรียกว่า โปรแกรม CAI 3. เป็นแหล่งการเรียนรู้ที่ดีเยี่ยม ช่วยในการค้นคว้าหาความรู้เป็นห้องสมุดขนาดใหญ่ 4. ช่วยรับ – ส่งข่าวสารได้อย่างรวดเร็ว
  • 15. 12 1 ประโยชน์ทางตรง ช่วยให้มนุษย์ทางานได้โดยตรงคือคอมพิวเตอร์ทางานได้เที่ยงตรง รวดเร็ว ไม่เหน็ดเหนื่อย ช่วยผ่อนแรงมนุษย์ ใน ด้านต่าง ๆ เช่น ด้านการคานวณ พิมพ์งาน บันทึกข้อมูล ประมวลผล ไม่ว่าจะเป็นหน่วยงานในแวดวงใน หากนา คอมพิวเตอร์เข้าช่วยงาน จะช่วยแบ่งเบาภาระงานได้เป็นอย่างดีและมีประสิทธิภาพ 2. ประโยชน์ทางอ้อม คอมพิวเตอร์ช่วยพัฒนาคุณภาพชีวิต เช่น ช่วยในการเรียนรู้ให้ความบันเทิงความรู้ ช่วยงานบันเทิงพัฒนางานด้าน ต่าง ๆ เพื่อพัฒนาเทคโนโลยีอันส่งผลให้ความเป็นอยู่ของมนุษย์ดีขึ้น เป็น บทที่ 3 วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์ วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์ จุดเริ่มต้นในการคิดค้นเครื่องคอมพิวเตอร์นั้นเกิดจากความต้องการในการนับและคิดคานวณของมนุษย์โดยในยุค แรกคือช่วงคริสต์ศักราช 1,200 การคิดคานวณยังไม่ซับซ้อนในประเทศจีนมีการใช้อุปกรณ์ช่วยในการนับที่เรียกว่าลูกคิด (abacus) ต่อมาเมื่อมนุษย์ต้องการการคิดคานวณที่ซับซ้อน และต้องอาศัยเครื่องมือช่วยงานที่มีความสามารถหลากหลายจึงได้มี การพัฒนาเครื่องช่วยคานวณที่ซับซ้อนและก้าวหน้าขึ้นตามลาดับ ปัจจุบันจนกระทั่งในยุคเรามีเครื่องคอมพิวเตอร์ที่มีความสามารถในการคานวณงานและประยุกต์ใช้งานได้หลายประเภท เช่นการสื่อสารการประมวลผลข้อมูลหรือแม้แต่ให้ความบันเทิงนอกจากนั้นรูปลักษณ์ของคอมพิวเตอร์ยังพัฒนาจนมีขนาด เล็กง่ายต่อการพกพา ต่อมานักคณิตศาสตร์ชาวอังกฤษชื่อชาร์ลแบบเบจ (Charles Babbage) ได้ประดิษฐ์เครื่องวิเคราะห์ (Analytical Engine) มีความสามารถในการคานวณค่าต่างๆทางคณิตศาสตร์การทางานของเครื่องนี้แบ่งเป็น 3 ส่วนคือส่วนเก็บ ข้อมูลส่วนคานวณและส่วนควบคุมใช้ระบบพลังเครื่องยนต์ไอน้าหมุนฟันเฟืองมีข้อมูลอยู่ในบัตรเจาะรูคานวณได้โดย อัตโนมัติและเก็บข้อมูลในหน่วยความจาก่อนจะพิมพ์ออกมาทางกระดาษหลักการของแบบเบจนี้เองที่ได้นามาพัฒนา สร้างเครื่องคอมพิวเตอร์สมัยใหม่เราจึงยกย่องให้ชาร์ลแบบเบจ เป็นบิดาแห่งคอมพิวเตอร์
  • 16. 13 บิดาแห่งคอมพิวเตอร์ ภาพ ชาร์ลแบบเบจ บิดาแห่งคอมพิวเตอร์ หลังจากนั้นได้มีผู้ประดิษฐ์เครื่องคอมพิวเตอร์ขึ้นมามากมายหลายขนาด ทาให้เป็นการเริ่มยุคของคอมพิวเตอร์ อย่างแท้จริงโดยสามารถจัดแบ่งคอมพิวเตอร์ออกได้เป็น 5 ยุค คอมพิวเตอร์ยุคที่ 1 คอมพิวเตอร์ยุคหลอดสุญญากาศ (พ.ศ. 2488 – พ.ศ. 2501 ) หลอดสุญญากาศ ภาพ หลอดสุญญยากาศ หลอดสุญญากาศเป็นชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์ที่มีขนาดใหญ่และต้องใช้กระแสไฟฟ้ ามากเพื่อเผาไส้หลอดให้เกิดประจุ อิเล็กตรอนวิ่งผ่านแผ่นตาราง (grid) การทางานของหลอดสุญญากาศเป็นวิธีการควบคุมการไหลของอิเล็กตรอนที่วิ่งผ่าน แผ่นตารางยุคนี้คอมพิวเตอร์มีขนาดใหญ่ใช้กาลังไฟฟ้ าสูงทาให้เครื่องมีความร้อนสูงเกิดปัญหาไส้หลอดขาดบ่อยแม้จะมี ระบบระบายความร้อนที่ดีมาก ในปีพ.ศ. 2486 ได้มีผู้พัฒนาเครื่องคอมพิวเตอร์ขึ้น และจัดได้ว่าเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ใช้งานทั่วไปเป็นเครื่องแรก ของโลกมีชื่อว่าอินิแอค ( Electronic Numerical Integrator And Calculator : ENIAC)เป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ใช้ หลอดสุญญากาศและใช้งานที่มหาวิทยาลัยเพนซิลวาเนียในระยะเวลาใกล้เคียงกันนี้ก็มีการสร้างคอมพิวเตอร์
  • 17. 14 ภาพ คอมพิวเตอร์ที่ใช้งานทั่วไปเป็นเครื่องแรกของโลกมีชื่อว่าอินิแอค ในปีพ.ศ. 2488 จอห์นวอนนอยแมน (John Von Neumann) ได้สนใจเครื่องอินิแอคและได้เสนอแนวคิดในการสร้าง เครื่องคอมพิวเตอร์ที่มีหน่วยความจาเพื่อใช้เก็บข้อมูลและโปรแกรมการทางานหรือชุดคาสั่งของคอมพิวเตอร์คอมพิวเตอร์ จะทางานโดยเรียกชุดคาสั่งที่เก็บไว้ในหน่วยความจามาทางานหลักการนี้เป็นหลักการที่ใช้มาจนถึงปัจจุบัน คอมพิวเตอร์ในยุคหลอดสุญญากาศได้เจริญก้าวหน้าขึ้นเป็นลาดับมีการพัฒนาหน่วยความจาถาวรที่เก็บข้อมูลได้ จานวนมากจนในที่สุดก็มีการใช้หน่วยเก็บข้อมูลในรูปจานแม่เหล็กและวงแหวนแม่เหล็กการเก็บข้อมูลในวงแหวนแม่เหล็ก นี้ใช้มาจนถึงประมาณปี พ.ศ. 2513 นอกจากนี้ยังมีการพัฒนาวิธีการเก็บข้อมูลในรูปดรัมแม่เหล็กและเทปแม่เหล็กอีกด้วย คอมพิวเตอร์ยุคที่ 2 คอมพิวเตอร์ยุคทรานซิสเตอร์ (พ.ศ. 2500 – พ.ศ. 2507) ทรานซิสเตอร์ ภาพ ทรานซิสเตอร์ นักวิทยาศาสตร์ของห้องปฏิบัติการวิจัยเบล (Bell Laboratory) แห่งสหรัฐอเมริกาได้ประดิษฐ์ทรานซิสเตอร์ได้สาเร็จ ทรานซิสเตอร์นี้มีผลทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงครั้งสาคัญในการสร้างคอมพิวเตอร์ลักษณะของเครื่องคอมพิวเตอร์ในยุคนี้ คือใช้ทรานซิสเตอร์เป็นวงจรอิเล็กทรอนิกส์และใช้วงแหวนแม่เหล็กเป็นหน่วยความจาเป็นคอมพิวเตอร์ที่มีขนาดเล็กกว่า ยุคแรกราคาถูกลงต้นทุนต่ากว่าคอมพิวเตอร์ในยุคที่ 1 ใช้กระแสไฟฟ้ าน้อยกว่ามีความแม่นยาและมีประสิทธิภาพในการ
  • 18. 15 ทางานที่ดีกว่ามีความคงทนที่สาคัญคือสามารถผลิตได้ในราคาที่ถูกกว่าหลอดสุญญากาศดังนั้นคอมพิวเตอร์ในยุคต่อมา จึงใช้ทรานซิสเตอร์และทาให้สิ้นสุดคอมพิวเตอร์ยุคหลอดสุญญากาศ เครื่องคอมพิวเตอร์ที่ใช้ทรานซิสเตอร์รุ่นแรกๆ ของบริษัทไอบีเอ็มเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ที่มีขนาดเล็กลงมีขีด ความสามารถในเชิงการทางานได้ดีขึ้นการเริ่มต้นใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ยุคทรานซิสเตอร์นี้ทาให้มีการผลิตคอมพิวเตอร์และ ใช้งานแพร่หลายกว่ายุคหลอดสุญญากาศมากองค์กรและหน่วยงานทั้งในภาครัฐบาลและเอกชนได้นาเอาเครื่อง คอมพิวเตอร์มาใช้งานและในปีพ.ศ. 2507 บริษัทไอบีเอ็มได้พัฒนาเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ใช้เทคโนโลยีทรานซิสเตอร์ขนาด ใหญ่ที่เรียกว่าเมนเฟรม (mainframe) และถือได้ว่าเป็นรากฐานการพัฒนาเครื่องคอมพิวเตอร์ในยุคต่อมาจนถึงปัจจุบัน สาหรับในประเทศไทยมีการนาเครื่องคอมพิวเตอร์ในยุคนี้เข้ามาใช้กันในปีพ.ศ. 2507 โดยจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย นาเข้ามาใช้ในการศึกษาในระยะเวลาเดียวกันสานักงานสถิติแห่งชาติก็นามาเพื่อใช้ในการทาสามะโนประชากรนับเป็น เครื่องคอมพิวเตอร์รุ่นแรกที่ใช้ในประเทศไทย คอมพิวเตอร์ในยุคนี้ได้ส่งผลให้เกิดความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอย่างรวดเร็วเช่นองค์การนาซาของ สหรัฐอเมริกาใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ในการคานวณและควบคุมยานอวกาศต่างๆในยุคแรกและมีพัฒนาการต่อเนื่องมา จนถึงปัจจุบันคอมพิวเตอร์ยุคที่ 3 คอมพิวเตอร์ยุควงจรรวม (พ.ศ. 2508 – พ.ศ. 2512) คอมพิวเตอร์ยุคที่ 3 คอมพิวเตอร์ยุควงจรรวม (พ.ศ. 2508 – พ.ศ. 2512) ภาพ ไอซี
  • 19. 16 ประมาณปีพ.ศ. 2508 ได้มีการพัฒนาวิธีการสร้างทรานซิสเตอร์จานวนมากลงบนแผ่นซิลิกอนขนาดเล็กและเกิด วงจรรวมบนแผ่นซิลิกอนที่เรียกว่าไอซี (Integrated Circuit: IC) ลักษณะของคอมพิวเตอร์ในยุคนี้คือใช้วงจรไอซีเป็นสารกึ่งตัวนาที่สามารถบรรจุวงจรทางตรรกะไว้แล้วพิมพ์บนแผ่น ซิลิคอนเรียกว่าชิปซึ่งสามารถทางานได้เท่ากับทรานซิสเตอร์หลายร้อยตัวเครื่องคอมพิวเตอร์จึงมีขนาดเล็กลงความเร็ว เพิ่มขึ้นและใช้กาลังไฟน้อย ขณะเดียวกันก็มีการพัฒนาการทางด้านอุปกรณ์เก็บข้อมูลมาเป็นฮาร์ดดิสก์ (harddisk) โดยนาแผ่นบันทึกหลายๆแผ่น วางซ้อนกันมีหัวอ่านหลายหัวฮาร์ดดิสก์ในเครื่องคอมพิวเตอร์จึงเป็นอุปกรณ์ประกอบที่สาคัญที่ทาให้คอมพิวเตอร์มีความ จุในการเก็บข้อมูลได้มากและรวดเร็ว คอมพิวเตอร์ยุคที่ 4 คอมพิวเตอร์ยุควีแอลเอไอส (พ.ศ. 2513 – พ.ศ. 2532) ภาพ วงจรวีแอลเอสไอ เทคโนโลยีทางด้านการผลิตวงจรอิเล็กทรอนิกส์ยังคงก้าวหน้าอย่างต่อเนื่อง มีการสร้างเป็นวงจรรวมที่มี ขนาดใหญ่มารวมในแผ่นซิลิกอนขนาดเล็กเรียกว่าวงจรวีแอลเอสไอ ( Very Large Scale Integrated circuit : VLSI ) เป็นวงจรรวมที่สามารถนาทรานซิสเตอร์จานวนล้านตัวมารวมกันอยู่ในแผ่นซิลิกอนขนาดเล็กและผลิตเป็นหน่วย ประมวลผลของคอมพิวเตอร์ที่ซับซ้อนเรียกว่าไมโครโพรเซสเซอร์ (microprocessor) การใช้วงจรวีแอลเอสไอเป็นวงจรภายในเครื่องคอมพิวเตอร์ ทาให้สามารถผลิตเครื่องคอมพิวเตอร์ให้มีขนาดที่เล็ก ลงกว่าเครื่องคอมพิวเตอร์ในยุคทรานซิสเตอร์แต่มีประสิทธิภาพสูงขึ้นเรียกว่าไมโครคอมพิวเตอร์ (microcomputer) ไมโครคอมพิวเตอร์จึงเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ที่แพร่หลายและมีผู้ใช้งานกันทั่วโลกเป็นจานวนมากพัฒนาการของฮาร์ดดิสก์ ก็มีขนาดเล็กลงมีความจุเพิ่มขึ้นแต่มีราคาถูกลงเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์มีหลายขนาดตั้งแต่อยู่ในอุ้งมือที่เรียกว่าปาล์ม ทอป (palm top) ขนาดโน้ตบุ๊ก(note book) และคอมพิวเตอร์ขนาดตั้งโต๊ะบนโต๊ะ (desk top) ไมโครคอมพิวเตอร์เป็น
  • 20. 17 เครื่องคอมพิวเตอร์ที่ใช้งานได้ง่ายและมีซอฟต์แวร์สาเร็จในการใช้งานจานวนมากเช่นซอฟต์แวร์ประมวลคาซอฟต์แวร์ ตารางทางานและซอฟต์แวร์กราฟิกเป็นต้น คอมพิวเตอร์ยุคที่ 5 คอมพิวเตอร์ยุคเครือข่าย (พ.ศ. 2533 – ปัจจุบัน) เมื่อไมโครคอมพิวเตอร์มีขีดความสามารถสูงขึ้น ทางานได้เร็วการแสดงผลและการจัดการข้อมูลก็ทาได้มาก สามารถประมวลผลและแสดงผลได้ครั้งละมากๆจึงทาให้คอมพิวเตอร์ทางานได้หลายงานพร้อมกันดังจะเห็นได้จาก โปรแกรมจัดการประเภทวินโดว์ในปัจจุบันที่ทาให้คอมพิวเตอร์เครื่องเดียวทางานหลายอย่างพร้อมกันได้ขณะเดียวกันก็มี การเชื่อมโยงเป็นเครือข่ายคอมพิวเตอร์ในองค์กรมีการทางานเป็นกลุ่ม (กลุ่มงาน) โดยใช้เครือข่ายท้องถิ่นที่เรียกว่าแลน (Local Area Network: LAN) เมื่อเชื่อมการทางานหลายๆกลุ่มขององค์กรเข้าด้วยกันเกิดเป็นเครือข่ายคอมพิวเตอร์ของ องค์กรเรียกว่าอินทราเน็ต (intranet) และหากนาเครือข่ายขององค์กรเชื่อมต่อเข้าสู่เครือข่ายสากลที่ต่อเชื่อมกันทั่วโลกก็ เรียกว่าอินเทอร์เน็ต (Internet) คอมพิวเตอร์ในยุคนี้จึงเป็นคอมพิวเตอร์ที่มนุษย์พยายามนามาเพื่อช่วยในการตัดสินใจ และแก้ปัญหาให้ดียิ่งขึ้นกล่าวได้ว่าเป็นผลจากวิชาการด้านปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence : AI) ประเทศต่างๆ ทั่วโลกกาลังสนใจค้นคว้าและพัฒนาทางด้านนี้กันอย่างจริงจัง
  • 21. 18 บทที่ 4 บทบาทความสาคัญและผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศ บทบาทความสาคัญและผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศ บทบาทความสาคัญของเทคโนโลยี่สารสนเทศ ความก้าวหน้าทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ทาให้มีการพัฒนาคิดค้นสิ่งอานวยความ สะดวกสบายต่อ การดาชีวิตเป็นอันมาก เทคโนโลยีได้เข้ามาเสริมปัจจัยพื้นฐานการดารงชีวิตได้เป็นอย่างดี เทคโนโลยีทาให้การสร้างที่พัก อาศัยมีคุณภาพมาตรฐาน สามารถผลิตสินค้าและให้บริการ ต่าง ๆ เพื่อตอบสนองความต้องการของมนุษย์มากขึ้น เทคโนโลยีทาให้ระบบการผลิตสามารถผลิตสินค้าได้เป็นจานวนมากมีราคาถูกลง สินค้าได้คุณภาพ เทคโนโลยีทาให้มี การติดต่อสื่อสารกันได้สะดวก การเดินทางเชื่อมโยงถึงกันทาให้ประชากรในโลกติดต่อรับฟังข่าวสารกันได้ตลอดเวลา พัฒนาการของเทคโนโลยีทาให้ชีวิตความเป็นอยู่เปลี่ยนไปมาก ลองย้อนไปในอดีตโลกมีกาเนินมาประมาณ 4600 ล้านปี เชื่อกันว่าพัฒนาการตามธรรมชาติทาให้เกิดสิ่งมีชีวิตถือกาเนินบนโลกประมาณ 500 ล้านปีที่แล้ว ยุคไดโนเสาร์มีอายุอยู่ ในช่วง 200 ล้านปี สิ่งมีชีวิตที่เป็นเผ่าพันธุ์มนุษย์ ค่อย ๆ พัฒนามา คาดคะเนว่าเมื่อห้าแสนปีที่แล้วมนุษย์สามารถส่ง สัญญาณท่าทางสื่อสารระหว่างกันและพัฒนามาเป็นภาษา มนุษย์สามารถสร้างตัวหนังสือ และจารึกไว้ตามผนึกถ้า เมื่อ ประมาณ 5000 ปีที่แล้ว กล่าวได้ว่ามนุษย์ต้องใช้เวลานานพอสมควรในการพัฒนาตัวหนังสือที่ใช้แทนภาษาพูด และจาก หลักฐานทางประวัติศาสตร์พบว่า มนุษย์สามารถจัดพิมพ์หนังสือได้เมื่อประมาณ 5000 ปีที่แล้ว กล่าวได้ว่าฐานทาง ประวัติศาสตร์พบว่า มนุษย์สามารถจัดพิมพ์หนังสือได้เมื่อประมาณ 500 ถึง 800 ปีที่แล้ว เทคโนโลยีเริ่มเข้ามาช่วยในการ พิมพ์ ทาให้การสื่อสารด้วยข้อความและภาษาเพิ่มขึ้นมาก เทคโนโลยีพัฒนามาจนถึงการสื่อสารกัน โดยส่งข้อความเป็น
  • 22. 19 เสียงทางสายโทรศัพท์ได้ประมาณร้อยกว่าปีที่แล้ว และเมื่อประมาณห้าสิบปีที่แล้ว ก็มีการส่งภาพโทรทัศน์และ คอมพิวเตอร์ทาให้มีการใช้สารสนเทศในรูปแบบข่าวสารมากขึ้น ในปัจจุบันมีสถานที่วิทยุ โทรทัศน์ หนังสือพิมพ์ แ ละสื่อ ต่าง ๆ ที่ใช้ในการกระจ่ายข่าวสาร มีการแพร่ภาพทางโทรทัศน์ผ่านดาวเทียมเพื่อรายงานเหตุการณ์สด เห็นได้ชัดว่า เทคโนโลยีได้เข้ามามีบทบาทอย่างมากบทบาทของการพัฒนาเทคโนโลยีรวดเร็วขึ้นเมื่อมีการพัฒนาอุปกรณ์ทางด้าน คอมพิวเตอร์และส่วนประกอบ จะเห็นได้ว่าในช่วงสี่ห้าปีที่ผ่านมาจะมีผลิตภัณฑ์ใหม่ ซึ่งมีคอมพิวเตอร์เข้าไปเกี่ยวข้องให้ เห็นอยู่ตลอดเวลา รูปแสดงเครื่องอานวยความสะดวกภายในบ้าน ในอดีตยุคที่มนุษย์ยังเร่ร่อน มีอาชีพเกษตรกรรม ล่าสัตว์ ต่อมามีการรวมตัวกันสร้างเมือง และสังคมเมืองทาให้เกิด อุตสาหกรรมการผลิตการผลิตทาให้เกิดการปฏิวัติทางอุตสาหกรรมที่เน้นการผลิตจานวนมาก สังคมจึงเป็นสังคมเมืองที่มี อุตสาหกรรมเข้ามาเกี่ยวข้อง แต่หลังจากปี พ.ศ. 2530 เป็นต้นมา ระบบสื่อสารโทรคมนาคมและคอมพิวเตอร์ก้าวหน้า มาก ทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงเข้าสู่ยุคสังคมสารสนเทศ ชีวิตความเป็นอยู่เกี่ยวข้องกับข้อมูลข่าวสารจานวนมาก การ สื่อสารโทรคมนาคมกระจายทั่วถึง ทาให้ข่าวสารแพร่กระจ่ายไปอย่างรวดเร็ว สังคมในปัจจุบันเป็นสังคมไร้พรมแดนเพราะ เรื่องราวของประเทศหนึ่งสามารถกระจายแพร่ออกไปยังประเทศต่าง ๆ ได้อย่างรวดเร็ว นิยามเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ เทคโนโลยี (Technology) หมายถึง การประยุกต์เอาความรู้ทางด้านวิทยาศาสตร์มาใช้ให้เกิดประโยชน์ การศึกษา พัฒนาองค์ความรู้ต่าง ๆ ก็เพื่อให้เข้าใจธรรมชาติ กฎเกณฑ์ของสิ่งต่าง ๆ และหาทางนามาประยุกต์ให้เกิดประโยชน์ ลอง นึกดูว่าทรายที่เราเห็นอยู่บนพื้นดิน ตามชายหาด ชายทะเลเป็นสารประกอบของซิลิกอน ทรายเหล่านั้นมีราคาต่าและเรา มองข้ามไป ครั้งมีบางคนที่เรียนรู้วิธีการแยกสกัดเอาสารซิลิกอนให้บริสุทธิ์ และเจือสารบางอย่างให้เกิดเป็นสิ่งที่เรียกว่า สารกึ่งตัวนา นามาผลิตเป็นทรานซิสเตอร์ และไอซี (Integrated Circuit : IC) ไอซี เป็นอุปกรณ์ที่รวมวงจรอิเล็กทรอนิกส์ จานวนมากไว้ด้วยกัน ใช้เป็นชิพซึ่งเป็นส่วนสาคัญของคอมพิวเตอร์ สารซิลิกอนดังกล่าวเมื่อผ่านกรรมวิธีทางเทคโนโลยี แล้วจะมีราคาสูงสามารถนามาขายได้เงินเป็นจานวนมาก ดังนั้นเทคโนโลยีจึงเป็นหัวใจของการสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับ สินค้า และผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ เพราะเรานาเอาวัตถุดิบมาผ่านเทคนิคการดาเนินการ จะได้วัตถุสาเร็จรูป
  • 23. 20 สารสนเทศ (Information) หมายถึง ข้อมูลที่เป็นประโยชน์ต่อการดาเนินชีวิตของมนุษย์ มนุษย์แต่ละคนตั้งแต่เกิด มาได้เรียนรู้สิ่งต่าง ๆ เป็นจานวนมาก เรียนรู้สภาพสังคมความเป็นอยู่ กฎเกณฑ์และวิชาการ ลองจินตนาการดูว่าภายใน สมองของเราเก็บข้อมูลอะไรบ้าง เราคงตอบไม่ได้ แต่สามารถเรียกเอาข้อมูลมาใช้ได้ ข้อมูลที่เก็บไว้ในสมองเป็นสิ่งที่สะสม กันมาเป็นเวลานาน ความรอบรู้ของแต่ละคนจึงขึ้นอยู่กับการเรียกใช้ข้อมูลนั้น ดังนั้นจะเห็นได้ชัดความรู้เกิดจากข้อมูล ข่าวสารต่าง ๆ ทุกวันนี้มีข้อมูลรอบตัวเรามาก ข้อมูลเหล่านี้มาจากสื่อ เช่น วิทยุ โทรทัศน์ หนังสือพิมพ์ เครือข่าย คอมพิวเตอร์ หรือแม้แต่การสื่อสารระหว่างบุคคล จึงมีผู้กล่าวว่ายุคนี้เป็นยุคของสารสนเทศ เทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology : IT) หมายถึง เทคโนโลยีที่มีความเกี่ยวข้องกับการเก็บ วิเคราะห์ข้อมูลและประมวลผลสารสนเทศ ทาให้สารสนเทศนั้นมีประโยชน์และสามารถใช้งานได้หลากหลายมากขึ้น เทคโนโลยีสารสนเทศรูปแบบต่าง ๆ 1. เทคโนโลยีระบบสารสนเทศ เป็นระบบการจัดการด้านสารสนเทศ เช่น การบันทึก การแก้ไข การจัดทารายงาน งาน บัญชี งานลงทะเบียน ซึ่งการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศระบบสารสนเทศขององค์กรจะได้รับความสะดวกในการปฏิบัติงาน และอาจใช้เป็นข้อมูลในการตัดสินใจด้วย 2. เทคโนโลยีระบบเครือข่าย เป็นระบบสารสนเทศที่ใช้ในปัจจุบัน มีประโยชน์ดังนี้ 2.1 สามารถติดต่อถึงกันได้ด้วยจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ (E-mail) 2.2 การจัดเก็บข้อมูลในที่เดียวกัน ผู้ที่อู่ห่างไกลก็สามารถถึงข้อมูลนั้นไปใช้ได้อย่างรวดเร็ว สะดวก ไม่ต้องเสียงเวลาใน การเดินทาง 2.3 องค์กรสามารถประหยัดงบประมาณค่าใช้จ่ายด้านอุปกรณ์ เพราะระบบเครือข่ายเป็นระบบที่สามารถใช้อุปกรณ์ รวมกันได้ 2.4 สามารถทางานร่วมกันได้ หรือทางานได้โดยใช้เอกสารชุดเดียวกัน และประหยัดค่าใช้จ่าย 3. เทคโนโลยีสานักงานอัตโนมัติ เป็นการนาระบบเครือข่ายมาใช้เชื่อมโยงคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์สานักงานต่าง ๆ 3.1 พนักงานสามารถติดต่อสื่อสารกันได้โดยใช้จดหมายอิเล็กทรอนิคส์ (E-mail) 3.2 การพิมพ์งานต่าง ๆ สามารถบันทึกไว้เป็นแฟ้ มอิเล็กทรอนิกส์ ทาให้ง่ายต่อการปรับปรุง แก้ไข 3.3 มีโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ช่วยในการออกแบบงาน 3.4 มีระบบฝ่ายข้อมูลเสียง (Voice Mail)
  • 24. 21 4. เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI) เป็นที่นิยมมากในสถานศึกษา และพัฒนาจัดทาโปรแกรมบทเรียนสาเร็จรูปมา ใช้งานเอง มีผลดีต่อนักเรียนที่ได้มีสื่อการสอนและทันสมัยน่าสนใจ การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศด้านต่าง ๆ 1. ด้านการติดต่อสื่อสาร สามารถรับรู้ข่ายสารกันได้อย่างไม่มีอุปสรรค์ ดังคาว่า “โลกไร้พรมแดน” โดยใช้อินเตอร์เน็ต 2. ด้านการศึกษา นักเรียนสามารถเรียนที่บ้านได้โดยการเรียนการสอนทางไกลผ่านอินเตอร์เน็ต สามารถค้นคว้าหา ข้อมูลได้เทคโนโลยีสารสนเทศยังมีบทบาทที่ส่งเสริมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทางการศึกษาเพื่อพัฒนาประเทศ เช่น ศูนย์ เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์ และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ หรือ เนคเทค (NECTEC) ได้เปิดเครือข่ายการศึกษาต่าง ๆ โดยนาเอา เทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ 3. ด้านการดาเนินชีวิต มีสิ่งอานวยความสะดวกต่าง ๆ ในบ้านที่ควบคุมด้วยระบบคอมพิวเตอร์ และสามารถพัฒนาใน รูปแบบของหุ่นยนต์เพื่อทางานแทนมนุษย์ได้ ในงานที่ต้องใช้แรงงานและมีความเสียงสูง 4. ด้านการสุขภาพ ในการรักษาโรค มีระบบแพทย์ออนไลน์ข้อมูลที่เป็นประโยชน์ และได้เผยแพร่ให้ความรู้ผ่านทาง อินเตอร์เน็ต 5. ด้านการท่องเที่ยวและความบันเทิง การจองตั๋ว การตรวจสอบสถานที่ การตรวจสอบข้อมูลสถานที่ท่องเที่ยว ตลอดจน การซื้อสินค้าผ่านระบบอินเตอร์เน็ต บทที่ 5 ข้อมูลและประมวลผลข้อมูลให้เป็นสารสนเทศ ข้อมูลและการประมวลผลข้อมูลให้เป็นสารสนเทศ ในปัจจุบันการแข่งขันทางธุรกิจต้องอาศัยข้อมูลเป็นหลัก จึงมีการนาเทคโนโลยีมาช่วยจัดการข้อมูลอย่างมาก ดังจะ เห็นได้จากการแข่งขันการให้บริการของธนาคารพาณิชย์ การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจลงทุนซื้อขายหลักทรัพย์ ข้อมูลเป็น หัวใจของการดาเนินงานเป็นแหล่งความรู้ที่ใช้ประกอบการตัดสินใจ บริษัทหรือองค์การจึงดาเนินการอย่างจริงจังให้ได้มา
  • 25. 22 ซึ่งข้อมูล และปกป้ องดูแลข้อมูลของตนเป็นอย่างดี เพราะข้อมูลเป็นสิ่งมีค่ามีราคา การโจรกรรมข้อมูลโดยใช้เทคโนโลยี ใหม่ ๆ จึงเป็นปัญหาสาคัญที่เกิดขึ้น ดังที่ปรากฎเป็นข่าวทั้งในประเทศและต่างประเทศ กระดานอิเล็กทรอนิกส์แสดงราคาหลักทรัพย์ กระดานอิเล็กทรอนิกส์แสดงราคาหลักทรัพย์ ข้อมูล (data) คือข้อเท็จจริง หรือเหตุการณ์ที่เกี่ยวข้องกับสิ่งต่าง ๆ เช่น คน สัตว์ สิ่งของ สถานที่ ฯลฯ ข้อมูลจึงเป็น เรื่องที่เกี่ยวกับเหตุการณ์ของสิ่งต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่อง มีการรวบรวมข้อมูลอย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง ดังจะเห็น จากกระบวนการเลือกตั้งที่ผ่านมา หลายพรรคการเมืองมีการใช้เทคโนโลยีรวบรวมข้อมูล หาวิธีการที่จะให้ได้ข้อมูลอย่าง รวดเร็ว และมื่อสถานการณ์บางอย่างเกิดผันแปรขึ้น การเตรียมการหรือการแก้สถานการณ์จะดาเนินการได้อย่างทันท่วงที กรรมวิธีการรวบรวมข้อมูลเป็นจุดเริ่มต้นของการดาเนินงาน การรวบรวมข้อมูลที่ดีจะได้ข้อมูลรวดเร็ว ถูกต้องแม่นยา ครบถ้วน ดังนั้นผู้ดาเนินการต้องให้ความสาคัญที่จุดนี้โดยเฉพาะความรวดเร็ว ความรวดเร็วของการเก็บข้อมูลจึงผูกพัน กับเทคโนโลยีซึ่งมีหลายวิธี เช่น การใช้ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ การเชื่อมต่อกับระบบปลายทางเพื่อรับข้อมูล การใช้โทรสาร การใช้ระบบอ่านข้อมูลอัตโนมัติ เช่น เครื่องกราดตรวจ (scanner) อ่าน ข้อมูลที่เป็นรหัสแท่ง (bar code) จากที่กล่าวมาแล้วว่า ข้อมูลคือ ข้อเท็จจริงหรือเหตุการณ์เกี่ยวกับสิ่งต่าง ๆ เช่น คน สถานที่ สิ่งของต่าง ๆ ซึ่งมีการ เก็บรวมรวมเอาไว้ และสามารถเรียกมาใช้ประโยชน์ได้ในภายหลัง ข้อมูลจึงจาเป็นต้องเป็นข้อมูลที่ดีมีความถูกต้องแม่นยา สาหรับ สารสนเทศ หมายถึงสิ่งที่ได้จากการนาเอาข้อมูลที่เก็บรวบรวมไว้มาประมวลผล เพื่อนามาใช้ประโยชน์ ตามวัตถุประสงค์ สารสนเทศจึงหมายถึงข้อมูลที่ผ่านมาเลือกสรรให้เหมาะกับการใช้งานให้ทันเวลา และอยู่ในรูปแบบที่ ใช้ได้ สารสนเทศที่ดีต้องมาจากข้อมูลที่ดี การจัดเก็บข้อมูลและสารสนเทศจะต้องมีการควบคุมดูแลเป็นอย่างดี เช่น อาจจะมีการกาหนดให้ผู้ใดบ้างเป็นผู้มีสิทธิ์ใช้ข้อมูลได้ ข้อมูลที่เป็นความลับจะต้องมีระบบขั้นตอนการควบคุม กาหนด
  • 26. 23 สิทธิ์ในการแก้ไขหรือการกระทากับข้อมูลว่าจะกระทาได้โดยใครบ้างนอกจากนี้ข้อมูลที่เก็บไว้แล้วต้องไม่เกิดการสูญหาย หรือถูกทาลายโดยไม่ได้ตั้งใจ การจัดเก็บข้อมูลที่ดี จะต้องมีการกาหนดรูปแบบของข้อมูลให้มีลักษณะง่ายต่อการจัดเก็บ และมีรูปแบบเดียวกัน ข้อมูล แต่ละชุดควรมีความหมายและมีความเป็นอิสระในตัวเอง นอกจากนี้ไม่ควรมีการเก็บข้อมูลซ้าซ้อนเพราะจะเป็นการ สิ้นเปลืองเนื้อที่เก็บข้อมูล รูปแสดงความสัมพันธ์ของข้อมูลและสารสนเทศ ตัวอย่างข้อมูลและสารสนเทศ รูปแสดงตัวอย่างระเบียนประวัติของนักเรียน ข้อความบนระเบียนประวัติของนักเรียนจากรูปที่แสดงข้างต้นทาให้ทราบว่าพลอย น้าดี เป็นนักเรียนหญิง เกิดวันที่ 22 เดือนมกราคม ปีพุทธศักราช 2524 ดังนั้นข้อความ พลอย น้าดี หญิง และ 22 ม.ค. 2524 ที่อยู่บนระเบียนประวัติ นักเรียนจึงเป็นข้อมูล ถ้ามีการนาข้อมูลเกี่ยวกับปีเกิดของนักเรียนทั้งโรงเรียนจากระเบียนประวัติไปแจกแจงตามปี เกิด ตามรูป รูปแสดงการแจกแจงข้อมูลปีเกิดของนักเรียนทั้งโรงเรียน
  • 27. 24 จานวนนักเรียนที่ได้จากการแจกแจงข้อมูลตามปีเกิดจะเป็นสารสนเทศที่เกิดจากการนาข้อมูลไปทาการประมวลผล ในบางครั้งผลสรุปจากการประมวลผลข้อมูลแบบหนึ่ง อาจนาไปใช้เป็นข้อมูลในการประมวลผลอีกแบบหนึ่งก็ได้ เช่น ใน การหาระดับคะแนนเฉลี่ยวิชาต่าง ๆ ของนักเรียนจะต้องเริ่มจากการหาระดับคะแนนของแต่ละวิชาของนักเรียน จากข้อมูล คะแนนของนักเรียนแล้วหาระดับคะแนนเฉลี่ยของนักเรียน จากข้อมูลที่เป็นระดับคะแนนแต่ละวิชาซึ่งเป็นสารสนเทศจาก การหาระดับคะแนน คุณสมบัติของข้อมูล การจัดเก็บข้อมูลจาเป็นต้องมีความพยายามและตั้งใจดาเนินการ หรือกล่าวได้ว่าการได้มาซึ่งข้อมูลที่จะนามาใช้ ประโยชน์ องค์การจาเป็นต้องลงทุน ทั้งในด้านตัวข้อมูล เครื่องจักร และอุปกรณ์ ตลอดจนการพัฒนาบุคลากรขึ้นมารองรับ ระบบ เพื่อให้ใช้งานอย่างมีประสิทธิภาพ การจัดการระบบข้อมูลจึงต้องคานึงถึงปัญหาเหล่านี้และพยายามมองปัญหา แบบที่เป็นจริง สามารถดาเนินการได้ ให้ประสิทธิผลคุ้มค่ากับการลงทุน ดังนั้นการดาเนินงานเพื่อให้ได้มาซึ่งสารสนเทศที่ ดี ข้อมูลจะต้องมีคุณสมบัติขั้นพื้นฐาน ดังนี้ 1 ความถูกต้อง หากมีการเก็บรวบรวมข้อมูลแล้ว ข้อมูลเหล่านั้นเชื่อถือไม่ได้จะทาให้เกิดผลเสียอย่างมาก ผู้ใช้จะไม่กล้า อ้างอิงหรือนาเอาไปใช้ประโยชน์ ซึ่งเป็นเหตุให้การตัดสินใจของผู้บริหารขาดความแม่นยา และอาจมีโอกาสผิดพลาดได้ โครงสร้างข้อมูลที่ออกแบบต้องคานึงถึงกรรมวิธีการดาเนินงานเพื่อให้ได้ความถูกต้องแม่นยามากที่สุด โดยปกติความ ผิดพลาดของสารสนเทศส่วนใหญ่ มาจากข้อมูลที่ไม่มีความถูกต้องซึ่งอาจมีสาเหตุมาจากคนหรือเครื่องจักร การออกแบบ ระบบจึงต้องคานึงถึงในเรื่องนี้ 2 ความรวดเร็วและเป็นปัจจุบัน การได้มาของข้อมูลจาเป็นต้องให้ทันต่อความต้องการของผู้ใช้ มีการตอบสนองต่อผู้ ใช้ได้เร็ว ตีความหมายสารสนเทศได้ทันต่อเหตุการณ์หรือความต้องการ มีการออกแบบระบบการเรียกค้น และรายงาน ตามความต้องการของผู้ใช้ 3 ความสมบูรณ์ ความสมบูรณ์ของสารสนเทศขึ้นกับการรวบรวมข้อมูลและวิธีการ ทางปฏิบัติด้วย ในการดาเนินการ จัดทาสารสนเทศต้องสารวจและสอบถามความต้องการใช้ข้อมูลเพื่อให้ได้ข้อมูลที่มีความสมบูรณ์ในระดับหนึ่งที่เหมาะสม 4 ความชัดเจนและกะทัดรัด การจัดเก็บข้อมูลจานวนมากจะต้องใช้พื้นที่ในการจัดเก็บข้อมูลมากจึงจาเป็นต้องออกแบบ โครงสร้างข้อมูลให้กะทัดรัดสื่อความหมายได้ มีการใช้รหัสหรือย่นย่อข้อมูลให้เหมาะสมเพื่อที่จะจัดเก็บเข้าไว้ในระบบ คอมพิวเตอร์
  • 28. 25 การทาข้อมูลให้เป็นสารสนเทศ การทาข้อมูลให้เป็นสารสนเทศที่จะเป็นประโยชน์ต่อการใช้งาน จาเป็นต้องอาศัยเทคโนโลยีเข้ามาช่วยในการ ดาเนินการ เริ่มตั้งแต่การรวบรวมและตรวจสอบข้อมูลการดาเนินการประมวลผลข้อมูลให้กลายเป็นสารสนเทศ และการ ดูแลรักษาสารสนเทศเพื่อการใช้งานควรประกอบด้วย 1 การเก็บรวบรวมข้อมูล เป็นเรื่องของการเก็บรวมรวมข้อมูลซึ่งมีจานวนมาก และต้องเก็บให้ได้อย่างทันเวลา เช่น ข้อมูล การลงทะเบียนเรียนของนักเรียน ข้อมูลประวัติบุคลากร ปัจจุบันมีเทคโนโลยีช่วยในการจัดเก็บอยู่เป็นจานวนมาก เช่น การ ป้ อนข้อมูลเข้าเครื่องคอมพิวเตอร์ การอ่านข้อมูลจากรหัสแท่ง การตรวจใบลงทะเบียนที่มีการฝนดินสอดาในตาแหน่งต่าง ๆ เป็นวิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลเช่นกัน 2 การตรวจสอบข้อมูล เมื่อมีการเก็บรวบรวมข้อมูลแล้วจาเป็นต้องมีการตรวจ< wbr>สอบข้อมูล เพื่อตรวจสอบความ ถูกต้อง ข้อมูลที่เก็บเข้าในระบบจะต้องมีความเชื่อถือได้ หากพบที่ผิดพลาดต้องแก้ไข การตรวจสอบข้อมูลมีหลายวิธี เช่น การใช้ผู้ป้ อนข้อมูลสองคนป้ อนข้อมูลชุดเดียวกันเข้าคอมพิวเตอร์แล้วเปรียบเทียบกัน การดาเนินการประมวลผลข้อมมูลให้กลายเป้ นสารสนเทศ อาจประกอบด้วยกิจกรรมดังต่อไปนี้ 1 การจัดแบ่งกลุ่มข้อมูล ข้อมูลที่จัดเก็บจะต้องมีการแบ่งแยกกลุ่ม เพื่อเตรียมไว้สาหรับการใช้งาน การแบ่งแยกกลุ่มมี วิธีการที่ชัดเจน เช่น ข้อมูลในโรงเรียนมีการแบ่งเป็นแฟ้ มประวัตินักเรียน และแฟ้ มลงทะเบียน สมุดโทรศัพท์หน้าเหลืองมี การแบ่งหมวดสินค้าและบริการเพื่อความสะดวกในการค้นหา 2 การจัดเรียงข้อมูล เมื่อจัดแบ่งกลุ่มเป็นแฟ้ มแล้ว ควรมีการจัดเรียงข้อมูลตามลาดับ ตัวเลข หรือตัวอักษร หรือเพื่อให้ เรียกใช้งานได้ง่ายประหยัดเวลา ตัวอย่างการจัดเรียงข้อมูล เช่น การจัดเรียงบัตรข้อมูลผู้แต่งหนังสือในตู้บัตรรายการของ ห้องสมุดตามลาดับตัวอักษร การจัดเรียงชื่อคนในสมุดรายนามผู้ใช้โทรศัพท์ ทาให้ค้นหาได้ง่าย 3 การสรุปผล บางครั้งข้อมูลที่จัดเก็บมีเป็นจานวนมาก จาเป็นต้องมีการสรุปผลหรือสร้างรายงานย่อ เพื่อนาไปใช้ ประโยชน์ ข้อมูลที่สรุปได้นี้อาจสื่อความหมายได้ดีกว่า เช่น สถิติจานวนนักเรียนแยกตามชั้นเรียนแต่ละชั้น 4 การคานวณ ข้อมูลที่เก็บมีเป็นจานวนมาก ข้อมูลบางส่วนเป็นข้อมูลตัวเลขที่สามารถนาไปคานวณเพื่อหาผลลัพธ์ บางอย่างได้ ดังนั้นการสร้างสารสนเทศจากข้อมูลจึงอาศัยการคานวณข้อมูลที่เก็บไว้ด้วย
  • 29. 26 ตัวอย่างการจัดเรียงชื่อคนในสมุดรายนามผู้ใช้โทรศัพท์ การดูแลรักษาสารสนเทศเพื่อใช้งาน ประกอบด้วย 1 การเก็บรักษาข้อมูล การเก็บรักษาข้อมูลหมายถึงการนาข้อมูลมาบันทึกเก็บไว้ในสื่อบันทึกต่าง ๆ เช่น แผ่นบันทึก ข้อมูล นอกจากนี้ยังรวมถึงการดูแล และทาสาเนาข้อมูลเพื่อให้ใช้งานต่อไปในอนาคตได้ 2 การค้นหาข้อมูล ข้อมูลที่จัดเก็บไว้มีจุดประสงค์ที่จะเรียกใช้งานได้ต่อไป การค้นหาข้อมูลจะต้องค้นได้ถูกต้องแม่นยา รวดเร็ว จึงมีการนาคอมพิวเตอร์เข้ามามีส่วนช่วยในการทางาน ทาให้การเรียกค้นกระทาได้ทันเวลา 3 การทาสาเนาข้อมูล การทาสาเนาเพื่อที่จะนาข้อมูลเก็บรักษาไว้ หรือนาไปแจกจ่ายในภายหลัง จึงควรจัดเก็บข้อมูลให้ ง่ายต่อการทาสาเนา หรือนาไปใช้อีกครั้งได้โดยง่าย 4 การสื่อสาร ข้อมูลต้องกระจายหรือส่งต่อไปยังผู้ใช้งานที่ห่างไกลได้ง่าย การสื่อสารข้อมูลจึงเป็นเรื่องสาคัญและมี บทบาทที่สาคัญยิ่งที่จะทาให้การส่งข่ายสารไปยังผู้ใช้ทาได้รวดเร็วและทันเวลา ปัจจุบันผู้บริหารต้องสามารถปฏิบัติงานให้รวดเร็วขึ้น เพื่อตอบสนองต่อการแข่งขันตลอดจนการผลักดันของสังคมที่ มีการใช้ระบบสื่อสารข้อมูลที่ทันสมัยมากขึ้น การแข่งขันในธุรกิจจึงมากขึ้นตามลาดับ มีการใช้เทคนิคทางคอมพิวเตอร์มา วิเคราะห์ แยกแยะ และจัดสรรข้อมูลให้เป็นสารสนเทศเพื่อการตัดสินใจ ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี ทาให้คอมพิวเตอร์มีความสามารถมากขึ้น มีขนาดเล็กลง และราคาถูกลง การนา คอมพิวเตอร์มาฝช้งานจึงแพร่หลายอย่างรวดเร็ว ตลอดจนระบบสื่อสารก้าวหน้ายิ่งขึ้น ซึ่งเป็นผลทาให้ระบบข้อมูลของ องค์การที่ใช้เทคโนโลยีเหล่านี้มีประสิทธิภาพมากขึ้น แนวทางการดาเนินการให้ได้ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการจะเริ่มจากการวิเคราะห์ความต้องการ การวิเคราะห์นี้ จะได้จากการสอบถามความต้องการ ซึ่งจะทาให้ทราบว่าควรจะจัดโครงสร้างข้อมูลนั้นไว้ในระบบหรือไม่ ถ้าจัดเก็บจะ ประกอบด้วยข้อมูลอะไร มีรายละเอียดอะไร ตอบสนองการใช้งานได้อย่างไร คาถามที่ใช้ในการสารวจอาจประกอบด้วย