SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 21
Downloaden Sie, um offline zu lesen
โครงงานสํารวจ
เรื่อง สํารวจพฤติกรรมการใชสมารทโฟนของ
นักเรียนชั้น ม.4-5
จัดทําโดย
นายพฤฒพงศ ชาญวิทยา ม.5/2 เลขที่ 3
นางสาวขวัญจิรา โพธิ์ลอม ม.5/2 เลขที่ 28
นางสาวณัฐฐา ศรีอินทร ม.5/2 เลขที่ 30
นางสาวพิมพลภัส กลมทุกสิ่ง ม.5/2 เลขที่ 31
นางสาวเกสรา วัจนะ ม.5/2 เลขที่ 38
รายวิชา IS
โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร กาญจนบุรี
ภาคเรียนที่ 2
ก
คํานํา
โครงงานเรื่องนี้จัดทําขึ้นเพื่อสืบคนขอมูลเกี่ยวกับขอดี ขอเสีย หรือผลกระทบ จากการ ใชโทรศัพท
และสํารวจพฤติกรรมการใชสมารทโฟนของนักเรียน ม.4-5 ทั้งการเลนอินเตอรเน็ต การถายรูป การทํางาน
หรือ การเลนเกม
กลุมของขาพเจาหวังเปนอยางยิ่งวาการทําโครงงานสํารวจดี จะมีประโยชนตอผูที่ไดศึกษาและ
สนใจ รวมทั้งนําไปปรับใชในชีวิตประจําวันไดอยางถูกตอง
คณะผูจัดทํา
ข
กิตติกรรมประกาศ
โครงงานนี้สําเร็จลุลวงไดดวยความกรุณาจาก ครูทรงศักดิ์ โพธิ์เอี่ยม ครูผูสอนรายวิชา IS2 ที่คอย
ใหคําเสนอแนะ แนวคิด คลอดจนการแกไขขอบกพรองตางๆ มาโดยตลอด จนโครงงานฉบับนี้เสร็จ
สมบูรณ คณะผูจัดทําจึงขอกราบขอบพระคุณเปนอยางสูง
ขอกราบขอบพระคุณคุณพอ คุณแม ผูปกครอง ที่คอยใหคําปรึกษาตางๆ รวมทั้งคอยเปนกําลังใจที่ดี
เสมอมา
ขอขอบคุณเพื่อนๆ ที่คอยชวยเหลือ ใหคําแนะนํา ในการทําโครงงานชิ้นนี้
สุดทายขอขอบใจนองๆ ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 ที่ใหความรวมมือในการสํารวจครั้งนี้
คณะผูจัดทํา
ค
สารบัญ
เรื่อง หนา
คํานํา ก
กิตติกรรมประกาศ ข
สารบัญ ค
สารบัญตาราง ง
บทที่ 1 บทนํา 1-2
1.1 ที่มาและความสําคัญของโครงงาน 1
1.2 การบูรณาการการใชหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 1-2
1.3วัตถูประสงค 2
1.4 ขอบเขตของโครงงาน 2
1.5 ผลที่คาดวาจะไดรับ 2
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวของ 3-5
บทที่ 3 วิธีการดําเนินงาน 6-7
บทที่ 4 ผลการศึกษา 8-9
บทที่ 5 สรุป อภิปราย ขอเสนอแนะ 10-11
บรรณานุกรม 12
ภาคผนวก 13-15
ง
สารบัญตาราง
เรื่อง หนา
ตารางที่ 4.1 ระยะเวลาการใชสมารทโฟนใน 1 วัน 8
ตารางที่ 4.2 เหตุผลสวนมากในการใชสมารทโฟนใน 1 วัน 8
ตารางที่ 4.3 อาการของนักเรียนที่ไมไดใชสมารทโฟน ภายใน 1 วัน 9
1
บทที่ 1
บทนํา
1.1 ที่มาและความสําคัญของโครงงาน
1ในโลกปจจุบันไมวาจะเดินทางไปทางไหนกับครอบครัว เพื่อน พี่นอง หรือวามองไปที่คนรอบขาง
มักจะเห็นแตละคนตางนั่งกมหนาอยูกับหนาจออุปกรณสื่อสารของตัวเองกันแทบทั้งสิ้น จึงทําใหเกิดศัพท
บัญญัติใหมในโลกออนไลนชื่อ “สังคมกมหนา4 ” ซึ่งเปนปรากฏการณที่มีผลกระทบ ของทั่วโลกอยูไมนอย
หากเรายังปลอยปละละเลยใหสังคมเปนเชนนี้ตอไป1
จากพฤติกรรมทางสังคมของผูคนในยุค Social Network ที่ผูคนตางกมหนาอยูกันอุปกรณ พกพา
สวนตัว ไมวาจะเปนโทรศัพทมือถือ ไอแพด ไอโฟนแท็บเล็ต ตางๆ ซึ่งเราจะพบเห็นอยูไดทั่วไปวาผูคน
เหลานี้ตาง งวนอยูกับการ แชท ผานไลน กับเพื่อนหรือกลุมเพื่อน การโพสตภาพอาหารที่กําลังจะทาน หรือ
ทานเสร็จแลวผานหนาจอเฟสบุค หรือการกด Like กับเพื่อนที่โพสตกิจกรรมในกลุมเกือบจะทุกวินาที ทํา
ใหไมไดสนใจพูดคุยกันในรานอาหาร เปนภาพที่ชินตา สําหรับสังคมบานเรา
แมแตเวลาขามถนนหรืออยูกลางถนน ก็ยังจองมองไปที่
จอภาพ มากกวาที่จะระมัดระวังตัวจากภยันตรายรอบขาง บางทีไดรับสัญญาณก็ไมรับรู เพราะ สิ่งที่สําคัญ
ที่สุดคือ ปฏิสัมพันธที่อยูบนโลกไซเบอร ไมใชปฏิสัมพันธกับโล กแหงความเปนจริง หรือไมไดอยูกับสติ
เปนปราการดานสําคัญในการมีปฏิสัมพันธกับสิ่งรอบตัวสักเทาไหรแลว
ดังนั้นกลุมของขาพเจาจึงตองการสํารวจพฤติกรรมของนักเรียนชั้น ม .4-5 และหาสาเหตุของ
พฤติกรรมการใชสมารทโฟนของเด็กนักเรียนชั้น ม.4-5 ในโรงเรียนของเรา
1.2 การบูรณาการการใชหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงกับการสํารวจพฤติกรรมการใชสมารโฟนนักเรียนชั้น
ม.4-5
ประกอบดวย
ความพอประมาณ หาขอมูลที่เกี่ยวของกับการทําโครงงานไมมากหรือนอยเกินไป ใหเหมาะกับการ
ที่เราจะนํามาใชในการใหเหตุผลหรือสรุปผล
3หวง
ความมีเหตุผล ใชเหตุผลการการวิเคราะหการตั้งคําถามและการสรุปขอมูลแบบการประเมิน
การมีภูมิคุมกันที่ดีในตัวเอง รูจักการเลือกขอมูล คนควาและศึกษาผลกระทบจากแหลงขอมูลที่มี
ความนาเชื่อถือมากพอ
2
เงื่อนไขความรู : (รอบรู รอบคอบ ระมัดระวัง)
2 เงื่อนไข
การมีความรูในเรื่องของการใชสมารทโฟนอยางถูกวิธี มีความรอบคอบในการ ทํางานหรือเลือก
ขอมูลอยางถูกตอง ควรเลือก ขอมูลที่มีความนาเชื่อถือ และระมัดระวัง ไมใหตนเองสนใจสมารโฟนมาก
เกินไป เราควรสนใจสิ่งแวดลอม เพื่อไมใหเกิดอันตรายกับตนเองและคนรอบขาง
เงื่อนไขคุณธรรม: (ซื่อสัตยสุจริต สติปญญา ขยันอดทน แบงปน)
เราตองมีความซื่อสัตยตอตนเองที่จะไมใชสมารทโฟน ในการโกหกหลอกลวงเกี่ยวกับการสราง
ขอมูล ตองใชสติปญญาในการจัดทําหรือเลือกหาขอมูลที่มี ความถูกตอง อดทนในการทํางานหรือสิ่งที่
ยั่วยวนตาง ๆรวมทั้งรูจักแบงปนขอมูลหรือคําเตือนที่ดีตอผูคนที่เลนอินเตอรเน็ต
1.3 วัตถุประสงค
1. สํารวจพฤติกรรมของนักเรียนชั้น ม. 4-5
2. หาสาเหตุสวนมากที่ทําใหผูคนติดสมารทโฟน
1.4 ขอบเขตของโครงงาน
โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร กาญจนบุรี นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4-5
1.5 ผลที่คาดวาจะไดรับ
1. สาเหตุของการใชสมารทโฟนของเด็กนักเรียน
2. แนวคิดหรือความคิดเห็นของบุคคลตางๆ ที่มีตอคนที่สนใจสมารทโฟนมากกวาสน
ใจคนรอบขาง
3
บทที่ 2
เอกสารที่เกี่ยวของ
2.1 สมารทโฟน เปรียบเสมือนคอมพิวเตอรขนาดพกพา มีทุกอยางที่คอมพิวเตอรมี เชน CPU
ความจําภายใน ฮารดดิสก (ซึ่งในโทรศัพทเรียกวา รอม ) เปนตน หากตองการติดตั้งระบบปฏิบัติการตางๆ
(ระบบ XP ในคอมพิวเตอร ระบบแอนดรอยดในโทรศัพทผูใชสามารถเลือกแอปพลิเคชั่นที่ตองการใชได
และสามารถสัมผัสกับประสบการณความอัจฉริยะใหมๆได แนนอนวา ปญหาที่สามารถเกิดขึ้นกับ
คอมพิวเตอรนั้น ก็สามารถเกิดขึ้นไดกับสมารทโฟนไดเชนกัน ถือเปนเหตุการณปกติ เชน หากใช
คอมพิวเตอรเปนระยะเวลานาน ระบบตางๆในคอมพิวเตอรก็จะเริ่มทํางานชาลง การติดตั้งแอพพลิเคชั่นที่
ไมไดมาตรฐานหรือมีพลังงานที่ไมเพียงพอก็สามารถทําใหเครื่องคางได หรือแมกระทั่งการติดไวรัสก็
สามารถสงผลใหระบบหรือขอมูลเสียหายไปได ดังนั้นผูใชควรสรางความเคยชินในการบํารุง รักษา
"โทรศัพท" ของทาน
2.2 social network เปนคําที่ใชเรียกคอนเซ็ปต “โครงสรางทางสังคม ” แบบหนึ่งที่เกิดจากการ
รวมตัวกันของคน ซึ่งคนสองคนจะเชื่อมตอถึงกันดวยหลายๆ ปจจัย เชน เปนเพื่อน , เปนเครือญาติ, มีความ
สนใจที่เหมือนกัน , มีความเชื่อที่เหมือนกัน , รวมทั้งการรวมตัวกันเพื่อแลกเปลี่ยนความรู ความคิด หรือ
ประสบการณ
- social network หรือ บริการเครือขายสังคม เปนรูปแบบของเว็บไซต ในการสรางเครือขายสังคม
สําหรับผูใชงานในอินเทอรเน็ต เขียนและอธิบายความสนใจ และกิจการที่ไดทํา และเชื่อมโยงกับความ
สนใจและกิจกรรมของผูอื่น ในบริการเครือขายสังคมมักจะประกอบไปดวย การแช็ต สงขอความ สงอีเมล
วิดีโอ เพลง อัปโหลดรูป บล็ อก การทํางานคือ คอมพิวเตอรเก็บขอมูลพวกนี้ไวในรูปฐานขอมูล sql สวน
video หรือ รูปภาพ อาจเก็บเปน ไฟลก็ได บริการเครือขายสังคมที่เปนที่นิยมไดแก ไฮไฟฟ มายสเปซ เฟ
ซบุก ออรกัต มัลติพลาย โดยเว็บเหลานี้มีผูใชมากมาย เชน เฟสบุคเปนเว็บไซตที่คนไทยใชมากที่สุด ในขณะ
ที่ออรกัตเปนที่นิยมมากที่สุดในประเทศอินเดีย ปจจุบัน บริการเครือขายสังคม มีผลประโยชนคือหาเงินจาก
การโฆษณา การเลนเกมโดยใชบัตรเติมเงิน
- ในทางจิตวิทยาเครือขายสังคมเปนหนึ่งในวิธีชักจูงที่งายที่สุด เนื่องจากขอมูลที่ผานชองทางนี้ จะ
ไปไดกวางและคอนขางเร็ว
4
- เครือขายสังคมเปนอันตรายตอความเปนสวนตัว เนื่องจากมีเหตุรายหลายประเภทที่สามารถ
เกิดขึ้นไดในเครือขายสังคม ฉะนั้นจึงไมควรเผยแพรขอมูลที่เปนสวนตัว รวมถึงไปสื่อตางๆ ที่ไมเหมาะสม
ถึงแมวาจะตั้งคาความเปนสวนตัวแลวก็ตาม
- ความเปนสวนตัว ในปจจุบันระบบการตั้งคาความเปนสวนตัวคอนขางจะละเอียดมากขึ้น แตใน
มุมหนึ่งก็เปนดาบสองคมเพราะวาการตั้งคาความเปนสวนตัวสูงก็มักจะมีผูไมหวังดีแอบเอาขอมูลปลอมหรือ
ทําในทางไมดีกับบุคคลเหลานั้นได โดยโซโชวเนตเวอรคตัวใหมๆมักจะมีระ บบความเปนสวนตัวที่ละเอียด
ยิ่งขึ้น ปญหาความเปนสวนตัวในหลายๆกรณีมักจะสื่อถึงจิตใจคนไดอยางมากรวมถึงระบบโซเชียล
เน็ตเวิรคเว็บไซตเกาๆนั้นที่จะตองมีระบบการเพิ่มรายชื่อเพื่อนกับการรับเพื่อน
- การแจงเตือนสําหรับบางเว็บไซตจะไมมีการแจงเตือนเชน วิกิพีเดี ย มายสเปซ ซึ่งการแจงเตือนคือ
เมื่อมีผูใชรายอื่นเคลื่อนไหวอะไรก็จะสงขอความมาถึงเรา เว็บไซตสวนใหญจะไมมีการแจงเตือนเรื่องการ
ลบเพื่อนออก
- การคุมครองเด็ก ในปจจุบันนี้เว็บไซตสวนใหญยังไมคอยจะมีระบบการคุมครองเด็กเทาที่ควร
เพราะยังเนนตองการโฆษณาเว็บไซต ซึ่งเปนอันตรายอยางมาก และรวมถึงทั้งแฟนเพจตางๆของเฟดบุกที่ไม
คุมครองอาจจะนําพาสูความไมดีตอเด็กเปนได
- การกอกวน เครือขายสังคมยอมมาพรอมกับการกอกวน เพราะเนื่องจากเกมสออนไลนเริ่มมีมา
กอน และการกอกวนนั้นจะกอใหเกิ ดความโมโหการรําคาญเพียงเพื่อความสนุก เชน การสรางบัญชีผูใช
ปลอม การใสภาพที่ไมเหมาะสม หรือการวาราย เปนตน
2.3 สังคมกมหนา หรือ Social Ignoreismซึ่งยืมคํายอมาจากเพื่อนชาวตางชาติวา “SI ลิซึ่ม“ และได
นิยามอาการของกลุมเสพติดไวในบทความ สังคมกมหนา (Social Ignore) วาคือคนกลุมที่เปนบุคคลประเภท
เสพติดขาวสารหรือเทคโนโลยี วางไมเกิน 5นาทีจะตองหยิบSmart Phone หรือ Tablet ขึ้นมาใชโดยไม
สนใจคนรอบขาง นอกจากอุปกรณของตนเองตลอดเวลา
5
1)
2.4 ผลกระทบ
มีผลทําใหเราใจรอน คาดหวังผลเร็วขึ้น อารมณหงุดหงิดงาย4
2)
แตเดิมในยุคที่เราสื่อสารดวยการ
สงจดหมายติดแสตมปตองใชเวลาเปนหลักวัน กวาที่จะสื่อสารกันไดหากวาเปนขามทวีปดวยแลวเปนหลัก
สัปดาหทีเดียว แตปจจุบันสงอีเมลขามทวีปไปแลวหากมองนาฬิกาแลวคิดวา อีกฝายนาจะตองตื่นแลว และ
ไมตอบมาในทันที อีกฝายก็รูสึกขุนมัวแลววาอีกฝายหายไปไหน ทําไมไมตอบ เพราะมีสมมุติฐานเบื้องตน
วา โลกหมุนเร็วแลวทุกคนตองเร็วเทากัน พอเกิดความคาดหวังแลวไมสมหวัง ก็เกิดอารมณขุนมัว และบอย
ๆ ครั้งก็ไมรูวา นั่นคือการเกิดโทสะขึ้นมาแลว เก็บความคับของใจกลายเปนอารมณตอไปอีก
ขาดสติ ขาดความรูตัวทั่วพรอม จนอาจจะกอเกิดอันตรายตอตนเองและผูอื่น 4 นอกเหนือไปจากนี้
การที่สังคมเราเปน “สังคมกมหนา” ใจลอย จิตไปจดจออยูกับเนื้อหา “คอนเทนต” บนหนาจอสมารทโฟน
และแท็บเล็ต จนไมเหลือปฏิสัมพันธกับโลกภาย นอก ทั้ง ๆ ที่บางทีอยูในภาวะที่จําเปนตองระมัดระวังตัว
เชน การขามถนน หรือขับรถอยูบนทางดวน นั้นเปนสิ่งที่สะทอนจิตใจแบบใด “ความรูตัวทั่วพรอม” ยังอยู
ครบดีหรือไม หรือวาจิตใจเราลอยไปอยูกับสิ่งอื่นและไมสามารถที่จะควบคุมดวยตนเองไดอีกตอไ ป
แลว แนนอนวาเทคโนโลยีตาง ๆ มีคุณูปการตอการผลักดันโลกไปขางหนา แตการใชและปลอยให
ฮารดแวร ซอฟตแวร แอพพลิเคชั่น ตาง ๆ มามีอิทธิพลเหนือ “ฮิวแมนแวร” หรือมนุษยผูมีศักยภาพในการ
ควบคุมจิตใจตนและใชจิตใจอันหนักแนนและมีทิศทางของตนในการใชประโยชนสิ่งตาง ๆ ที่กลาวมา ที่สุด
แลวเราก็กลายเปนเพียงทาสของฮารดแวรและซอฟตแวรที่เพื่อนมนุษยเราผลิตขึ้นมา แทนที่เราจะเปนนาย
เราจะกลายเปนบาวไปสมบูรณแบบ
6
บทที่ 3
วิธีการดําเนินงาน
วิธีการจัดทําโครงงาน
1. สังเกตพฤติกรรมการใชสมารทโฟนของนักเรียนชั้น ม.4-5 ในชีวิตประจําวันภายในโรงเรียน
2. ทําแบบสอบถามเพื่อสํารวจเกี่ยวกับการใชโทรศัพทในการเลนโซเชี่ยวของแตละบุคคล
3. แจกแบบสอบถามใหกับนักเรียนระดับชั้น ม.4-5
4. สรุปแบบสอบถาม
5. บันทึกผลการดําเนินงาน
6. อภิปรายผล
7
ตัวอยางแบบสอบถาม
พฤติกรรมการใชสมารทโฟนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4-5
โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระศรีนครินทร กาญจนบุรี
สวนที่ 1
คําชี้แจง โปรดทําเครื่องหมาย  ลงใน  หรือเติมขอความลงในชองวางตรงตามความเปนจริง
ขอมูลสวนบุคคลทั่วไป
1. เพศ  ชาย  หญิง
2. กําลังศึกษาอยูระดับชั้น  ม.4  ม.5
สวนที่ 2
คําชี้แจง โปรดทําเครื่องหมาย  ลงในชองที่ตรงตามความพฤติกรรมของคุณมากที่สุด
พฤติกรรมเกี่ยวกับการใชสมารทโฟน
1. คุณใชโทรศัพทประมาณกี่ชั่วโมงตอวัน
 2-4 ชั่วโมง  4-6 ชั่วโมง  มากกวา 6 ชั่วโมง
2. เหตุผลสวนมากในการใชสมารทโฟนของคุณ คืออะไร
 เลนเกม
 ทํางาน
 ถายรูป
 เลนบริการทางสังคม (Facebook,Line,Instagram,Twitter)
 ดูหนัง,รายการโปรด,ซีรี่ย,การตูน
 อื่น ๆ (ระบุ) ………………….
3. ภายใน 1 วัน หากคุณไมไดใชสมารทโฟน คุณจะมีอาการอยางไร
 ซึมเศรา
 สดใส ราเริง
 เฉย ๆ
 หงุดหงิด
 อื่น ๆ (ระบุ) ………………….
8
บทที่ 4
ผลการศึกษาคนควา
จากการสํารวจพฤติกรรมการใชสมารทโฟนของนักเรียนชั้น ม.4-5 ไดผล ดังนี้
ตารางที่ 4.1 ระยะเวลาการใชสมารทโฟนใน 1 วัน
ตารางที่ 4.2 เหตุผลสวนมากในการใชสมารทโฟนใน 1 วัน
ระยะเวลาการใชสมารทโฟนใน 1 วัน ม.4 ม.5
1. นักเรียนที่ใชสมารทโฟน2-4 ชั่วโมงตอวัน 13 8
2. นักเรียนที่ใชสมารทโฟน4-6 ชั่วโมงตอวัน 12 15
3. นักเรียนที่ใชสมารทโฟน6 ชั่วโมงขึ้นไปตอวัน - 2
เหตุผล ม.4 ม.5
เลนเกมส 9 7
ทํางาน 3 7
เซลฟ 1 2
ติดโซเชี่ยล (Facebook,Line,Instagram,Twitter) 4 6
ดูหนัง,ดูรายการโปรด,ดูซีรี่ย,ดูการตูน 8 3
อื่น ๆ - -
9
ตารางที่ 4.3 อาการของนักเรียนที่ไมไดใชสมารทโฟน ภายใน 1 วัน
อาการ ม.4 ม.5
ซึมเศรา - -
สดใส รางเริง 14 13
เฉย ๆ 7 8
หงุดหงิด 4 3
อื่น ๆ - 1
10
บทที่ 5
สรุป อภิปราย เสนอแนะ
สรุปผลการดําเนินงาน อภิปราย
จากตารางที่ 4.1 ระยะเวลาการใชสมารทโฟนใน 1 วัน
- นักเรียนที่ใชสมารทโฟน2-4 ชั่วโมงตอวัน ม.4 มีจํานวน 13 คน ม.5 มีจํานวน 8 คน
- นักเรียนที่ใชสมารทโฟน4-6 ชั่วโมงตอวัน ม.4 มีจํานวน 12 คน ม.5 มีจํานวน 15 คน
- นักเรียนที่ใชสมารทโฟน6 ชั่วโมงขึ้นไปตอวัน ม.4 ไมมีนักเรียนที่ใชสมารทโฟนนานถึง 6 ชม.
ม.5 มีจํานวน 2 คน
จากตารางที่ 4.2 เหตุผลสวนมากในการใชสมารทโฟนใน 1 วัน
- เลนเกม ม.4 มีจํานวน 9 คน ม.5 มีจํานวน 7 คน
- ทํางาน ม.4 มีจํานวน 3 คน ม.5 มีจํานวน 7 คน
- ถายรูป ม.4 มีจํานวน 1 คน ม.5 มีจํานวน 2 คน
- เลนบริการทางสังคม (Facebook,Line,Instagram,Twitter) ม.4 มีจํานวน 4 คน ม.5 มีจํานวน 6 คน
- ดูหนัง,รายการโปรด,ซีรี่ย,การตูน ม.4 มีจํานวน 4 คน ม.5 มีจํานวน 3 คน
- อื่น ๆ ม.4 ไมมีนักเรียนที่มีเหตุผลอื่น ม.5 มีจํานวน 1 คน (ใชในการโทร)
จากตารางที่ 4.3 อาการของนักเรียนที่ไมไดใชสมารทโฟน ภายใน 1 วัน
- มีอาการซึมเศราม.4 มีจํานวน 9 คน ม.5 มีจํานวน 7 คน
- มีอาการสดใส ราเริงม.4 มีจํานวน 14 คน ม.5 มีจํานวน 13 คน
- มีอาการเฉย ๆ ม.4 มีจํานวน 7 คน ม.5 มีจํานวน 8 คน
- มีอาการหงุดหงิดม.4 มีจํานวน 4 คน ม.5 มีจํานวน 3 คน
- มีอาการอื่น ๆม.4 ไมมีอาการอื่น ม.5 มีจํานวน 1 คน (มีอาการโมโหราย)
11
จากการสรุปผลการดําเนินงาน
ตารางที่ 4.1 ระยะเวลาการใชสมารทโฟนใน 1 วัน
- นักเรียนที่ใชสมารทโฟน2-4 ชั่วโมงตอวัน ม.4 มีจํานวนมากกวา ม.5
- นักเรียนที่ใชสมารทโฟน4-6 ชั่วโมงตอวัน ม.4 มีจํานวนนอยกวา ม.5
- นักเรียนที่ใชสมารทโฟน6 ชั่วโมงขึ้นไปตอวัน ม.4 มีจํานวนนอบฃยกวา ม.5
จากตารางที่ 4.2 เหตุผลสวนมากในการใชสมารทโฟนใน 1 วัน
- เลนเกม ม.4 มีจํานวน มากกวา ม.5
- ทํางาน ม.4 มีจํานวน นอยกวา ม.5
- ถายรูป ม.4 มีจํานวน นอยกวา ม.5
- เลนบริการทางสังคม (Facebook,Line,Instagram,Twitter) ม.4 มีจํานวนนอยกวา ม.5
- ดูหนัง,รายการโปรด,ซีรี่ย,การตูน ม.4 มีจํานวน มากกวา ม.5
- อื่น ๆ ม.4 มีจํานวนนอยกวา ม.5
จากตารางที่ 4.3 อาการของนักเรียนที่ไมไดใชสมารทโฟน ภายใน 1 วัน
- มีอาการซึมเศราม.4 มีจํานวนมากกวา ม.5
- มีอาการสดใส ราเริงม.4 มีจํานวนมากกวา 14 คน ม.5
- มีอาการเฉย ๆ ม.4 มีจํานวนนอยกวา ม.5
- มีอาการหงุดหงิดม.4 มีจํานวนมากกวา ม.5
- มีอาการอื่น ๆม.4 มีจํานวนนอยกวา ม.5
ขอเสนอแนะ
1. เพิ่มจํานวนนักเรียนที่ตองสํารวจใหมีจํานวนมากขึ้นเพื่อสังเกตพฤติกรรมไดอยางชัดเจน
2. ควรเผยแพรขอมูลเกี่วกับการใชสมารทโฟนที่ ถูกตองรวมทั้งผลกระทบและขอดีข อเสียในการ
ใชสมารทโฟน
12
บรรณานุกรม
- อําพร เรืองศรี.(พ.ศ. 2553).ระบบการศึกษาไทย. คนเมื่อวันที่ 12 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557,จาก
https://www.gotoknow.org/posts/174101.
Assumption College Thonburi.สังคมกมหนา ตนเหตุและทางออก. คนเมื่อวันที่ 2 ธันวาคม
พ.ศ.2557 จาก
http://swis.act.ac.th/html_edu/cgibin/act/main_php/print_informed.php?id_count_inform=3758
ดร. รุจโรจน แกวอุไร.เราจะคิดโจทยวิจัย อะไรจากพฤติกรรม สังคมกมหนา.คนเมื่อวันที่ 2
ธันวาคม พ.ศ.2557 จาก https://www.gotoknow.org/posts/548278
กลุมภารกิจสารนิเทศ. สังคมกมหนา. คนเมื่อวันที่ 4
นันทวรรณ ผองมณี.ผลกระทบจากการใชโทรศัพทมือถือ. คนเมื่อวันที่ 15 ธันวาคม พ.ศ.2557 จาก
9 ธันวาคม พ.ศ. 2557 จาก
http://www.pr.chula.ac.th/index.php/15-article/78-2014-05-19-01-32-52
http://www.ns.mahidol.ac.th/english/th/degree_bns/km_mobile.html
13
ภาคผนวก
14
รูปที่ 1 การรวบรวมรูปเลมโครงงาน
รูปที่ 2 การรวบรวมรูปเลมโครงงาน
15
รูปที่ 3 การสํารวจการใชสมารทโฟน
รูปที่ 4 การสํารวจการใชสมารทโฟน
16
จัดทําโดย
นายพฤฒพงศ ชาญวิทยา ม.5/2 เลขที่ 3
นางสาวขวัญจิรา โพธิ์ลอม ม.5/2 เลขที่ 28
นางสาวณัฐฐา ศรีอินทร ม.5/2 เลขที่ 30
นางสาวพิมพลภัส กลมทุกสิ่ง ม.5/2 เลขที่ 31
นางสาวเกสรา วัจนะ ม.5/2 เลขที่ 38

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

ตัวอย่างโครงงานการจำลองทฤษฎี
ตัวอย่างโครงงานการจำลองทฤษฎีตัวอย่างโครงงานการจำลองทฤษฎี
ตัวอย่างโครงงานการจำลองทฤษฎี
KawinTheSinestron
 
โครงงาน Is2
โครงงาน Is2โครงงาน Is2
โครงงาน Is2
kessara61977
 
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มดโครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
พัน พัน
 
หน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงานหน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงาน
Kanistha Chudchum
 
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
Jiraporn
 
โครงงานผักสวนครัวในขวดพลาสติก
โครงงานผักสวนครัวในขวดพลาสติกโครงงานผักสวนครัวในขวดพลาสติก
โครงงานผักสวนครัวในขวดพลาสติก
Fah Philip
 
การสำรวจพฤติกรรมการใช้โทรศัพท์ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4
การสำรวจพฤติกรรมการใช้โทรศัพท์ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4การสำรวจพฤติกรรมการใช้โทรศัพท์ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4
การสำรวจพฤติกรรมการใช้โทรศัพท์ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4
Sombom
 
รายงานการศึกษาค้นคว้า
รายงานการศึกษาค้นคว้ารายงานการศึกษาค้นคว้า
รายงานการศึกษาค้นคว้า
tanakit pintong
 
โครงงานเรื่อง กล้วย (กล้วยแขก)
โครงงานเรื่อง กล้วย (กล้วยแขก) โครงงานเรื่อง กล้วย (กล้วยแขก)
โครงงานเรื่อง กล้วย (กล้วยแขก)
Np Vnk
 

Was ist angesagt? (20)

เล่มโครงงาน ม.5
เล่มโครงงาน ม.5เล่มโครงงาน ม.5
เล่มโครงงาน ม.5
 
ตัวอย่างโครงงานการจำลองทฤษฎี
ตัวอย่างโครงงานการจำลองทฤษฎีตัวอย่างโครงงานการจำลองทฤษฎี
ตัวอย่างโครงงานการจำลองทฤษฎี
 
โครงงาน Is2
โครงงาน Is2โครงงาน Is2
โครงงาน Is2
 
รายงานวิจัยบทที่ 1 5
รายงานวิจัยบทที่ 1 5รายงานวิจัยบทที่ 1 5
รายงานวิจัยบทที่ 1 5
 
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มดโครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
 
หน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงานหน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงาน
 
โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์ เรื่อง แอปพลิเคชั่นตัดคะแนนนักเรียน
โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์ เรื่อง แอปพลิเคชั่นตัดคะแนนนักเรียนโครงงานวิชาคอมพิวเตอร์ เรื่อง แอปพลิเคชั่นตัดคะแนนนักเรียน
โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์ เรื่อง แอปพลิเคชั่นตัดคะแนนนักเรียน
 
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
 
โครงงานใบย่านางผง
โครงงานใบย่านางผงโครงงานใบย่านางผง
โครงงานใบย่านางผง
 
รายงานโครงการเครื่องจักสานงานไม้ไผ่ภูมิปัญญาไทอีสาน2558ศพว2
รายงานโครงการเครื่องจักสานงานไม้ไผ่ภูมิปัญญาไทอีสาน2558ศพว2รายงานโครงการเครื่องจักสานงานไม้ไผ่ภูมิปัญญาไทอีสาน2558ศพว2
รายงานโครงการเครื่องจักสานงานไม้ไผ่ภูมิปัญญาไทอีสาน2558ศพว2
 
โครงงานผักสวนครัวในขวดพลาสติก
โครงงานผักสวนครัวในขวดพลาสติกโครงงานผักสวนครัวในขวดพลาสติก
โครงงานผักสวนครัวในขวดพลาสติก
 
การสำรวจพฤติกรรมการใช้โทรศัพท์ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4
การสำรวจพฤติกรรมการใช้โทรศัพท์ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4การสำรวจพฤติกรรมการใช้โทรศัพท์ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4
การสำรวจพฤติกรรมการใช้โทรศัพท์ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4
 
โครงงานงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ใบฝรั่งลดผมร่วง
โครงงานงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ใบฝรั่งลดผมร่วงโครงงานงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ใบฝรั่งลดผมร่วง
โครงงานงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ใบฝรั่งลดผมร่วง
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ ยาดมสมุนไพร PDF
โครงงานคอมพิวเตอร์ ยาดมสมุนไพร PDFโครงงานคอมพิวเตอร์ ยาดมสมุนไพร PDF
โครงงานคอมพิวเตอร์ ยาดมสมุนไพร PDF
 
แผ่นพับIs...
แผ่นพับIs...แผ่นพับIs...
แผ่นพับIs...
 
รายงานการศึกษาค้นคว้า
รายงานการศึกษาค้นคว้ารายงานการศึกษาค้นคว้า
รายงานการศึกษาค้นคว้า
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง คลื่นกล
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง คลื่นกลชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง คลื่นกล
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง คลื่นกล
 
โครงงานเเยมกล้วย(Complete)
โครงงานเเยมกล้วย(Complete)โครงงานเเยมกล้วย(Complete)
โครงงานเเยมกล้วย(Complete)
 
โครงงานเรื่อง กล้วย (กล้วยแขก)
โครงงานเรื่อง กล้วย (กล้วยแขก) โครงงานเรื่อง กล้วย (กล้วยแขก)
โครงงานเรื่อง กล้วย (กล้วยแขก)
 
เรื่อง เปลือกผลไม้พื้นบ้านกับน้ำยาลบคำผิด
เรื่อง  เปลือกผลไม้พื้นบ้านกับน้ำยาลบคำผิด เรื่อง  เปลือกผลไม้พื้นบ้านกับน้ำยาลบคำผิด
เรื่อง เปลือกผลไม้พื้นบ้านกับน้ำยาลบคำผิด
 

Andere mochten auch

สำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนของ
สำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนของสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนของ
สำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนของ
kessara61977
 
แบบสอบถาม Social
แบบสอบถาม  Socialแบบสอบถาม  Social
แบบสอบถาม Social
kwang_reindiiz
 
แบบสอบถาม พฤติกรรมของวัยรุ่นไทยในปัจจุบัน
แบบสอบถาม  พฤติกรรมของวัยรุ่นไทยในปัจจุบันแบบสอบถาม  พฤติกรรมของวัยรุ่นไทยในปัจจุบัน
แบบสอบถาม พฤติกรรมของวัยรุ่นไทยในปัจจุบัน
สำเร็จ นางสีคุณ
 
แบบสอบถาม การตัดสินใจซื้อโทรศัพท์มือถือ I phone ของผู้ใช้บริการรถไฟฟ้า bts
แบบสอบถาม การตัดสินใจซื้อโทรศัพท์มือถือ I phone ของผู้ใช้บริการรถไฟฟ้า btsแบบสอบถาม การตัดสินใจซื้อโทรศัพท์มือถือ I phone ของผู้ใช้บริการรถไฟฟ้า bts
แบบสอบถาม การตัดสินใจซื้อโทรศัพท์มือถือ I phone ของผู้ใช้บริการรถไฟฟ้า bts
สำเร็จ นางสีคุณ
 
แบบสำรวจพฤติกรรมและสถานการณ์การสูบบุหรี่ในสถานประกอบการ
แบบสำรวจพฤติกรรมและสถานการณ์การสูบบุหรี่ในสถานประกอบการแบบสำรวจพฤติกรรมและสถานการณ์การสูบบุหรี่ในสถานประกอบการ
แบบสำรวจพฤติกรรมและสถานการณ์การสูบบุหรี่ในสถานประกอบการ
สำเร็จ นางสีคุณ
 
แบบสอบถาม การสูบบุหรี่ นักเรียนหญิง
แบบสอบถาม การสูบบุหรี่ นักเรียนหญิงแบบสอบถาม การสูบบุหรี่ นักเรียนหญิง
แบบสอบถาม การสูบบุหรี่ นักเรียนหญิง
สำเร็จ นางสีคุณ
 

Andere mochten auch (8)

สำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนของ
สำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนของสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนของ
สำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนของ
 
ตัวอย่างแบบสอบถามงานวิจัย
ตัวอย่างแบบสอบถามงานวิจัยตัวอย่างแบบสอบถามงานวิจัย
ตัวอย่างแบบสอบถามงานวิจัย
 
แบบสอบถาม Social
แบบสอบถาม  Socialแบบสอบถาม  Social
แบบสอบถาม Social
 
แบบสอบถาม พฤติกรรมของวัยรุ่นไทยในปัจจุบัน
แบบสอบถาม  พฤติกรรมของวัยรุ่นไทยในปัจจุบันแบบสอบถาม  พฤติกรรมของวัยรุ่นไทยในปัจจุบัน
แบบสอบถาม พฤติกรรมของวัยรุ่นไทยในปัจจุบัน
 
การตั้งคำถามในแบบสอบถาม
การตั้งคำถามในแบบสอบถามการตั้งคำถามในแบบสอบถาม
การตั้งคำถามในแบบสอบถาม
 
แบบสอบถาม การตัดสินใจซื้อโทรศัพท์มือถือ I phone ของผู้ใช้บริการรถไฟฟ้า bts
แบบสอบถาม การตัดสินใจซื้อโทรศัพท์มือถือ I phone ของผู้ใช้บริการรถไฟฟ้า btsแบบสอบถาม การตัดสินใจซื้อโทรศัพท์มือถือ I phone ของผู้ใช้บริการรถไฟฟ้า bts
แบบสอบถาม การตัดสินใจซื้อโทรศัพท์มือถือ I phone ของผู้ใช้บริการรถไฟฟ้า bts
 
แบบสำรวจพฤติกรรมและสถานการณ์การสูบบุหรี่ในสถานประกอบการ
แบบสำรวจพฤติกรรมและสถานการณ์การสูบบุหรี่ในสถานประกอบการแบบสำรวจพฤติกรรมและสถานการณ์การสูบบุหรี่ในสถานประกอบการ
แบบสำรวจพฤติกรรมและสถานการณ์การสูบบุหรี่ในสถานประกอบการ
 
แบบสอบถาม การสูบบุหรี่ นักเรียนหญิง
แบบสอบถาม การสูบบุหรี่ นักเรียนหญิงแบบสอบถาม การสูบบุหรี่ นักเรียนหญิง
แบบสอบถาม การสูบบุหรี่ นักเรียนหญิง
 

Ähnlich wie สำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนของนักเรียนชั้น ม.4 5

อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์
อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์
อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์
nickeylivy
 
คอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์คอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์
พัน พัน
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแผ่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแผ่ความรู้ออนไลน์โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแผ่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแผ่ความรู้ออนไลน์
fonnoii
 
อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ นก
อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ นกอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ นก
อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ นก
umpaiporn
 
อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ อันชัน
อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ อันชันอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ อันชัน
อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ อันชัน
anchan38
 
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ 22
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ 22อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ 22
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ 22
Anattita Chumtongko
 
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ 22
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ 22อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ 22
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ 22
Anattita Chumtongko
 
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ 22
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ 22อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ 22
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ 22
Anattita Chumtongko
 
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ 22
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ 22อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ 22
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ 22
Anattita Chumtongko
 
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ 22
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ 22อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ 22
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ 22
Anattita Chumtongko
 
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ 22
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ 22อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ 22
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ 22
Nukaem Ayoyo
 
สำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนของนักเรียนชั้น ม.4-5 (บทที่1)
สำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนของนักเรียนชั้น ม.4-5 (บทที่1)สำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนของนักเรียนชั้น ม.4-5 (บทที่1)
สำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนของนักเรียนชั้น ม.4-5 (บทที่1)
พัน พัน
 

Ähnlich wie สำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนของนักเรียนชั้น ม.4 5 (20)

อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์
อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์
อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์
 
คอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์คอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแผ่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแผ่ความรู้ออนไลน์โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแผ่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแผ่ความรู้ออนไลน์
 
อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ นก
อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ นกอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ นก
อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ นก
 
ดาว
ดาวดาว
ดาว
 
ดาว
ดาวดาว
ดาว
 
ดาว
ดาวดาว
ดาว
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแผ่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแผ่ความรู้ออนไลน์โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแผ่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแผ่ความรู้ออนไลน์
 
ปาล์ม
ปาล์มปาล์ม
ปาล์ม
 
ปาล์ม
ปาล์มปาล์ม
ปาล์ม
 
อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ อันชัน
อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ อันชันอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ อันชัน
อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ อันชัน
 
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ 22
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ 22อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ 22
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ 22
 
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ 22
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ 22อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ 22
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ 22
 
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ 22
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ 22อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ 22
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ 22
 
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ 22
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ 22อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ 22
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ 22
 
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ 22
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ 22อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ 22
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ 22
 
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ 22
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ 22อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ 22
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ 22
 
สำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนของนักเรียนชั้น ม.4-5 (บทที่1)
สำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนของนักเรียนชั้น ม.4-5 (บทที่1)สำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนของนักเรียนชั้น ม.4-5 (บทที่1)
สำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนของนักเรียนชั้น ม.4-5 (บทที่1)
 
มิกทกิ้
มิกทกิ้มิกทกิ้
มิกทกิ้
 

Mehr von พัน พัน

Mehr von พัน พัน (20)

เรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการเรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการ
 
เรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซีเรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซี
 
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
 
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษรการเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
 
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
 
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์
 
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัยระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
 
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศเรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
 
เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
การปริ้น
การปริ้นการปริ้น
การปริ้น
 
Office
OfficeOffice
Office
 
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
 
ยาเสพติด
ยาเสพติดยาเสพติด
ยาเสพติด
 

สำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนของนักเรียนชั้น ม.4 5

  • 1. โครงงานสํารวจ เรื่อง สํารวจพฤติกรรมการใชสมารทโฟนของ นักเรียนชั้น ม.4-5 จัดทําโดย นายพฤฒพงศ ชาญวิทยา ม.5/2 เลขที่ 3 นางสาวขวัญจิรา โพธิ์ลอม ม.5/2 เลขที่ 28 นางสาวณัฐฐา ศรีอินทร ม.5/2 เลขที่ 30 นางสาวพิมพลภัส กลมทุกสิ่ง ม.5/2 เลขที่ 31 นางสาวเกสรา วัจนะ ม.5/2 เลขที่ 38 รายวิชา IS โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร กาญจนบุรี ภาคเรียนที่ 2
  • 2. ก คํานํา โครงงานเรื่องนี้จัดทําขึ้นเพื่อสืบคนขอมูลเกี่ยวกับขอดี ขอเสีย หรือผลกระทบ จากการ ใชโทรศัพท และสํารวจพฤติกรรมการใชสมารทโฟนของนักเรียน ม.4-5 ทั้งการเลนอินเตอรเน็ต การถายรูป การทํางาน หรือ การเลนเกม กลุมของขาพเจาหวังเปนอยางยิ่งวาการทําโครงงานสํารวจดี จะมีประโยชนตอผูที่ไดศึกษาและ สนใจ รวมทั้งนําไปปรับใชในชีวิตประจําวันไดอยางถูกตอง คณะผูจัดทํา
  • 3. ข กิตติกรรมประกาศ โครงงานนี้สําเร็จลุลวงไดดวยความกรุณาจาก ครูทรงศักดิ์ โพธิ์เอี่ยม ครูผูสอนรายวิชา IS2 ที่คอย ใหคําเสนอแนะ แนวคิด คลอดจนการแกไขขอบกพรองตางๆ มาโดยตลอด จนโครงงานฉบับนี้เสร็จ สมบูรณ คณะผูจัดทําจึงขอกราบขอบพระคุณเปนอยางสูง ขอกราบขอบพระคุณคุณพอ คุณแม ผูปกครอง ที่คอยใหคําปรึกษาตางๆ รวมทั้งคอยเปนกําลังใจที่ดี เสมอมา ขอขอบคุณเพื่อนๆ ที่คอยชวยเหลือ ใหคําแนะนํา ในการทําโครงงานชิ้นนี้ สุดทายขอขอบใจนองๆ ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 ที่ใหความรวมมือในการสํารวจครั้งนี้ คณะผูจัดทํา
  • 4. ค สารบัญ เรื่อง หนา คํานํา ก กิตติกรรมประกาศ ข สารบัญ ค สารบัญตาราง ง บทที่ 1 บทนํา 1-2 1.1 ที่มาและความสําคัญของโครงงาน 1 1.2 การบูรณาการการใชหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 1-2 1.3วัตถูประสงค 2 1.4 ขอบเขตของโครงงาน 2 1.5 ผลที่คาดวาจะไดรับ 2 บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวของ 3-5 บทที่ 3 วิธีการดําเนินงาน 6-7 บทที่ 4 ผลการศึกษา 8-9 บทที่ 5 สรุป อภิปราย ขอเสนอแนะ 10-11 บรรณานุกรม 12 ภาคผนวก 13-15
  • 5. ง สารบัญตาราง เรื่อง หนา ตารางที่ 4.1 ระยะเวลาการใชสมารทโฟนใน 1 วัน 8 ตารางที่ 4.2 เหตุผลสวนมากในการใชสมารทโฟนใน 1 วัน 8 ตารางที่ 4.3 อาการของนักเรียนที่ไมไดใชสมารทโฟน ภายใน 1 วัน 9
  • 6. 1 บทที่ 1 บทนํา 1.1 ที่มาและความสําคัญของโครงงาน 1ในโลกปจจุบันไมวาจะเดินทางไปทางไหนกับครอบครัว เพื่อน พี่นอง หรือวามองไปที่คนรอบขาง มักจะเห็นแตละคนตางนั่งกมหนาอยูกับหนาจออุปกรณสื่อสารของตัวเองกันแทบทั้งสิ้น จึงทําใหเกิดศัพท บัญญัติใหมในโลกออนไลนชื่อ “สังคมกมหนา4 ” ซึ่งเปนปรากฏการณที่มีผลกระทบ ของทั่วโลกอยูไมนอย หากเรายังปลอยปละละเลยใหสังคมเปนเชนนี้ตอไป1 จากพฤติกรรมทางสังคมของผูคนในยุค Social Network ที่ผูคนตางกมหนาอยูกันอุปกรณ พกพา สวนตัว ไมวาจะเปนโทรศัพทมือถือ ไอแพด ไอโฟนแท็บเล็ต ตางๆ ซึ่งเราจะพบเห็นอยูไดทั่วไปวาผูคน เหลานี้ตาง งวนอยูกับการ แชท ผานไลน กับเพื่อนหรือกลุมเพื่อน การโพสตภาพอาหารที่กําลังจะทาน หรือ ทานเสร็จแลวผานหนาจอเฟสบุค หรือการกด Like กับเพื่อนที่โพสตกิจกรรมในกลุมเกือบจะทุกวินาที ทํา ใหไมไดสนใจพูดคุยกันในรานอาหาร เปนภาพที่ชินตา สําหรับสังคมบานเรา แมแตเวลาขามถนนหรืออยูกลางถนน ก็ยังจองมองไปที่ จอภาพ มากกวาที่จะระมัดระวังตัวจากภยันตรายรอบขาง บางทีไดรับสัญญาณก็ไมรับรู เพราะ สิ่งที่สําคัญ ที่สุดคือ ปฏิสัมพันธที่อยูบนโลกไซเบอร ไมใชปฏิสัมพันธกับโล กแหงความเปนจริง หรือไมไดอยูกับสติ เปนปราการดานสําคัญในการมีปฏิสัมพันธกับสิ่งรอบตัวสักเทาไหรแลว ดังนั้นกลุมของขาพเจาจึงตองการสํารวจพฤติกรรมของนักเรียนชั้น ม .4-5 และหาสาเหตุของ พฤติกรรมการใชสมารทโฟนของเด็กนักเรียนชั้น ม.4-5 ในโรงเรียนของเรา 1.2 การบูรณาการการใชหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงกับการสํารวจพฤติกรรมการใชสมารโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5 ประกอบดวย ความพอประมาณ หาขอมูลที่เกี่ยวของกับการทําโครงงานไมมากหรือนอยเกินไป ใหเหมาะกับการ ที่เราจะนํามาใชในการใหเหตุผลหรือสรุปผล 3หวง ความมีเหตุผล ใชเหตุผลการการวิเคราะหการตั้งคําถามและการสรุปขอมูลแบบการประเมิน การมีภูมิคุมกันที่ดีในตัวเอง รูจักการเลือกขอมูล คนควาและศึกษาผลกระทบจากแหลงขอมูลที่มี ความนาเชื่อถือมากพอ
  • 7. 2 เงื่อนไขความรู : (รอบรู รอบคอบ ระมัดระวัง) 2 เงื่อนไข การมีความรูในเรื่องของการใชสมารทโฟนอยางถูกวิธี มีความรอบคอบในการ ทํางานหรือเลือก ขอมูลอยางถูกตอง ควรเลือก ขอมูลที่มีความนาเชื่อถือ และระมัดระวัง ไมใหตนเองสนใจสมารโฟนมาก เกินไป เราควรสนใจสิ่งแวดลอม เพื่อไมใหเกิดอันตรายกับตนเองและคนรอบขาง เงื่อนไขคุณธรรม: (ซื่อสัตยสุจริต สติปญญา ขยันอดทน แบงปน) เราตองมีความซื่อสัตยตอตนเองที่จะไมใชสมารทโฟน ในการโกหกหลอกลวงเกี่ยวกับการสราง ขอมูล ตองใชสติปญญาในการจัดทําหรือเลือกหาขอมูลที่มี ความถูกตอง อดทนในการทํางานหรือสิ่งที่ ยั่วยวนตาง ๆรวมทั้งรูจักแบงปนขอมูลหรือคําเตือนที่ดีตอผูคนที่เลนอินเตอรเน็ต 1.3 วัตถุประสงค 1. สํารวจพฤติกรรมของนักเรียนชั้น ม. 4-5 2. หาสาเหตุสวนมากที่ทําใหผูคนติดสมารทโฟน 1.4 ขอบเขตของโครงงาน โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร กาญจนบุรี นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4-5 1.5 ผลที่คาดวาจะไดรับ 1. สาเหตุของการใชสมารทโฟนของเด็กนักเรียน 2. แนวคิดหรือความคิดเห็นของบุคคลตางๆ ที่มีตอคนที่สนใจสมารทโฟนมากกวาสน ใจคนรอบขาง
  • 8. 3 บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวของ 2.1 สมารทโฟน เปรียบเสมือนคอมพิวเตอรขนาดพกพา มีทุกอยางที่คอมพิวเตอรมี เชน CPU ความจําภายใน ฮารดดิสก (ซึ่งในโทรศัพทเรียกวา รอม ) เปนตน หากตองการติดตั้งระบบปฏิบัติการตางๆ (ระบบ XP ในคอมพิวเตอร ระบบแอนดรอยดในโทรศัพทผูใชสามารถเลือกแอปพลิเคชั่นที่ตองการใชได และสามารถสัมผัสกับประสบการณความอัจฉริยะใหมๆได แนนอนวา ปญหาที่สามารถเกิดขึ้นกับ คอมพิวเตอรนั้น ก็สามารถเกิดขึ้นไดกับสมารทโฟนไดเชนกัน ถือเปนเหตุการณปกติ เชน หากใช คอมพิวเตอรเปนระยะเวลานาน ระบบตางๆในคอมพิวเตอรก็จะเริ่มทํางานชาลง การติดตั้งแอพพลิเคชั่นที่ ไมไดมาตรฐานหรือมีพลังงานที่ไมเพียงพอก็สามารถทําใหเครื่องคางได หรือแมกระทั่งการติดไวรัสก็ สามารถสงผลใหระบบหรือขอมูลเสียหายไปได ดังนั้นผูใชควรสรางความเคยชินในการบํารุง รักษา "โทรศัพท" ของทาน 2.2 social network เปนคําที่ใชเรียกคอนเซ็ปต “โครงสรางทางสังคม ” แบบหนึ่งที่เกิดจากการ รวมตัวกันของคน ซึ่งคนสองคนจะเชื่อมตอถึงกันดวยหลายๆ ปจจัย เชน เปนเพื่อน , เปนเครือญาติ, มีความ สนใจที่เหมือนกัน , มีความเชื่อที่เหมือนกัน , รวมทั้งการรวมตัวกันเพื่อแลกเปลี่ยนความรู ความคิด หรือ ประสบการณ - social network หรือ บริการเครือขายสังคม เปนรูปแบบของเว็บไซต ในการสรางเครือขายสังคม สําหรับผูใชงานในอินเทอรเน็ต เขียนและอธิบายความสนใจ และกิจการที่ไดทํา และเชื่อมโยงกับความ สนใจและกิจกรรมของผูอื่น ในบริการเครือขายสังคมมักจะประกอบไปดวย การแช็ต สงขอความ สงอีเมล วิดีโอ เพลง อัปโหลดรูป บล็ อก การทํางานคือ คอมพิวเตอรเก็บขอมูลพวกนี้ไวในรูปฐานขอมูล sql สวน video หรือ รูปภาพ อาจเก็บเปน ไฟลก็ได บริการเครือขายสังคมที่เปนที่นิยมไดแก ไฮไฟฟ มายสเปซ เฟ ซบุก ออรกัต มัลติพลาย โดยเว็บเหลานี้มีผูใชมากมาย เชน เฟสบุคเปนเว็บไซตที่คนไทยใชมากที่สุด ในขณะ ที่ออรกัตเปนที่นิยมมากที่สุดในประเทศอินเดีย ปจจุบัน บริการเครือขายสังคม มีผลประโยชนคือหาเงินจาก การโฆษณา การเลนเกมโดยใชบัตรเติมเงิน - ในทางจิตวิทยาเครือขายสังคมเปนหนึ่งในวิธีชักจูงที่งายที่สุด เนื่องจากขอมูลที่ผานชองทางนี้ จะ ไปไดกวางและคอนขางเร็ว
  • 9. 4 - เครือขายสังคมเปนอันตรายตอความเปนสวนตัว เนื่องจากมีเหตุรายหลายประเภทที่สามารถ เกิดขึ้นไดในเครือขายสังคม ฉะนั้นจึงไมควรเผยแพรขอมูลที่เปนสวนตัว รวมถึงไปสื่อตางๆ ที่ไมเหมาะสม ถึงแมวาจะตั้งคาความเปนสวนตัวแลวก็ตาม - ความเปนสวนตัว ในปจจุบันระบบการตั้งคาความเปนสวนตัวคอนขางจะละเอียดมากขึ้น แตใน มุมหนึ่งก็เปนดาบสองคมเพราะวาการตั้งคาความเปนสวนตัวสูงก็มักจะมีผูไมหวังดีแอบเอาขอมูลปลอมหรือ ทําในทางไมดีกับบุคคลเหลานั้นได โดยโซโชวเนตเวอรคตัวใหมๆมักจะมีระ บบความเปนสวนตัวที่ละเอียด ยิ่งขึ้น ปญหาความเปนสวนตัวในหลายๆกรณีมักจะสื่อถึงจิตใจคนไดอยางมากรวมถึงระบบโซเชียล เน็ตเวิรคเว็บไซตเกาๆนั้นที่จะตองมีระบบการเพิ่มรายชื่อเพื่อนกับการรับเพื่อน - การแจงเตือนสําหรับบางเว็บไซตจะไมมีการแจงเตือนเชน วิกิพีเดี ย มายสเปซ ซึ่งการแจงเตือนคือ เมื่อมีผูใชรายอื่นเคลื่อนไหวอะไรก็จะสงขอความมาถึงเรา เว็บไซตสวนใหญจะไมมีการแจงเตือนเรื่องการ ลบเพื่อนออก - การคุมครองเด็ก ในปจจุบันนี้เว็บไซตสวนใหญยังไมคอยจะมีระบบการคุมครองเด็กเทาที่ควร เพราะยังเนนตองการโฆษณาเว็บไซต ซึ่งเปนอันตรายอยางมาก และรวมถึงทั้งแฟนเพจตางๆของเฟดบุกที่ไม คุมครองอาจจะนําพาสูความไมดีตอเด็กเปนได - การกอกวน เครือขายสังคมยอมมาพรอมกับการกอกวน เพราะเนื่องจากเกมสออนไลนเริ่มมีมา กอน และการกอกวนนั้นจะกอใหเกิ ดความโมโหการรําคาญเพียงเพื่อความสนุก เชน การสรางบัญชีผูใช ปลอม การใสภาพที่ไมเหมาะสม หรือการวาราย เปนตน 2.3 สังคมกมหนา หรือ Social Ignoreismซึ่งยืมคํายอมาจากเพื่อนชาวตางชาติวา “SI ลิซึ่ม“ และได นิยามอาการของกลุมเสพติดไวในบทความ สังคมกมหนา (Social Ignore) วาคือคนกลุมที่เปนบุคคลประเภท เสพติดขาวสารหรือเทคโนโลยี วางไมเกิน 5นาทีจะตองหยิบSmart Phone หรือ Tablet ขึ้นมาใชโดยไม สนใจคนรอบขาง นอกจากอุปกรณของตนเองตลอดเวลา
  • 10. 5 1) 2.4 ผลกระทบ มีผลทําใหเราใจรอน คาดหวังผลเร็วขึ้น อารมณหงุดหงิดงาย4 2) แตเดิมในยุคที่เราสื่อสารดวยการ สงจดหมายติดแสตมปตองใชเวลาเปนหลักวัน กวาที่จะสื่อสารกันไดหากวาเปนขามทวีปดวยแลวเปนหลัก สัปดาหทีเดียว แตปจจุบันสงอีเมลขามทวีปไปแลวหากมองนาฬิกาแลวคิดวา อีกฝายนาจะตองตื่นแลว และ ไมตอบมาในทันที อีกฝายก็รูสึกขุนมัวแลววาอีกฝายหายไปไหน ทําไมไมตอบ เพราะมีสมมุติฐานเบื้องตน วา โลกหมุนเร็วแลวทุกคนตองเร็วเทากัน พอเกิดความคาดหวังแลวไมสมหวัง ก็เกิดอารมณขุนมัว และบอย ๆ ครั้งก็ไมรูวา นั่นคือการเกิดโทสะขึ้นมาแลว เก็บความคับของใจกลายเปนอารมณตอไปอีก ขาดสติ ขาดความรูตัวทั่วพรอม จนอาจจะกอเกิดอันตรายตอตนเองและผูอื่น 4 นอกเหนือไปจากนี้ การที่สังคมเราเปน “สังคมกมหนา” ใจลอย จิตไปจดจออยูกับเนื้อหา “คอนเทนต” บนหนาจอสมารทโฟน และแท็บเล็ต จนไมเหลือปฏิสัมพันธกับโลกภาย นอก ทั้ง ๆ ที่บางทีอยูในภาวะที่จําเปนตองระมัดระวังตัว เชน การขามถนน หรือขับรถอยูบนทางดวน นั้นเปนสิ่งที่สะทอนจิตใจแบบใด “ความรูตัวทั่วพรอม” ยังอยู ครบดีหรือไม หรือวาจิตใจเราลอยไปอยูกับสิ่งอื่นและไมสามารถที่จะควบคุมดวยตนเองไดอีกตอไ ป แลว แนนอนวาเทคโนโลยีตาง ๆ มีคุณูปการตอการผลักดันโลกไปขางหนา แตการใชและปลอยให ฮารดแวร ซอฟตแวร แอพพลิเคชั่น ตาง ๆ มามีอิทธิพลเหนือ “ฮิวแมนแวร” หรือมนุษยผูมีศักยภาพในการ ควบคุมจิตใจตนและใชจิตใจอันหนักแนนและมีทิศทางของตนในการใชประโยชนสิ่งตาง ๆ ที่กลาวมา ที่สุด แลวเราก็กลายเปนเพียงทาสของฮารดแวรและซอฟตแวรที่เพื่อนมนุษยเราผลิตขึ้นมา แทนที่เราจะเปนนาย เราจะกลายเปนบาวไปสมบูรณแบบ
  • 11. 6 บทที่ 3 วิธีการดําเนินงาน วิธีการจัดทําโครงงาน 1. สังเกตพฤติกรรมการใชสมารทโฟนของนักเรียนชั้น ม.4-5 ในชีวิตประจําวันภายในโรงเรียน 2. ทําแบบสอบถามเพื่อสํารวจเกี่ยวกับการใชโทรศัพทในการเลนโซเชี่ยวของแตละบุคคล 3. แจกแบบสอบถามใหกับนักเรียนระดับชั้น ม.4-5 4. สรุปแบบสอบถาม 5. บันทึกผลการดําเนินงาน 6. อภิปรายผล
  • 12. 7 ตัวอยางแบบสอบถาม พฤติกรรมการใชสมารทโฟนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4-5 โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระศรีนครินทร กาญจนบุรี สวนที่ 1 คําชี้แจง โปรดทําเครื่องหมาย  ลงใน  หรือเติมขอความลงในชองวางตรงตามความเปนจริง ขอมูลสวนบุคคลทั่วไป 1. เพศ  ชาย  หญิง 2. กําลังศึกษาอยูระดับชั้น  ม.4  ม.5 สวนที่ 2 คําชี้แจง โปรดทําเครื่องหมาย  ลงในชองที่ตรงตามความพฤติกรรมของคุณมากที่สุด พฤติกรรมเกี่ยวกับการใชสมารทโฟน 1. คุณใชโทรศัพทประมาณกี่ชั่วโมงตอวัน  2-4 ชั่วโมง  4-6 ชั่วโมง  มากกวา 6 ชั่วโมง 2. เหตุผลสวนมากในการใชสมารทโฟนของคุณ คืออะไร  เลนเกม  ทํางาน  ถายรูป  เลนบริการทางสังคม (Facebook,Line,Instagram,Twitter)  ดูหนัง,รายการโปรด,ซีรี่ย,การตูน  อื่น ๆ (ระบุ) …………………. 3. ภายใน 1 วัน หากคุณไมไดใชสมารทโฟน คุณจะมีอาการอยางไร  ซึมเศรา  สดใส ราเริง  เฉย ๆ  หงุดหงิด  อื่น ๆ (ระบุ) ………………….
  • 13. 8 บทที่ 4 ผลการศึกษาคนควา จากการสํารวจพฤติกรรมการใชสมารทโฟนของนักเรียนชั้น ม.4-5 ไดผล ดังนี้ ตารางที่ 4.1 ระยะเวลาการใชสมารทโฟนใน 1 วัน ตารางที่ 4.2 เหตุผลสวนมากในการใชสมารทโฟนใน 1 วัน ระยะเวลาการใชสมารทโฟนใน 1 วัน ม.4 ม.5 1. นักเรียนที่ใชสมารทโฟน2-4 ชั่วโมงตอวัน 13 8 2. นักเรียนที่ใชสมารทโฟน4-6 ชั่วโมงตอวัน 12 15 3. นักเรียนที่ใชสมารทโฟน6 ชั่วโมงขึ้นไปตอวัน - 2 เหตุผล ม.4 ม.5 เลนเกมส 9 7 ทํางาน 3 7 เซลฟ 1 2 ติดโซเชี่ยล (Facebook,Line,Instagram,Twitter) 4 6 ดูหนัง,ดูรายการโปรด,ดูซีรี่ย,ดูการตูน 8 3 อื่น ๆ - -
  • 14. 9 ตารางที่ 4.3 อาการของนักเรียนที่ไมไดใชสมารทโฟน ภายใน 1 วัน อาการ ม.4 ม.5 ซึมเศรา - - สดใส รางเริง 14 13 เฉย ๆ 7 8 หงุดหงิด 4 3 อื่น ๆ - 1
  • 15. 10 บทที่ 5 สรุป อภิปราย เสนอแนะ สรุปผลการดําเนินงาน อภิปราย จากตารางที่ 4.1 ระยะเวลาการใชสมารทโฟนใน 1 วัน - นักเรียนที่ใชสมารทโฟน2-4 ชั่วโมงตอวัน ม.4 มีจํานวน 13 คน ม.5 มีจํานวน 8 คน - นักเรียนที่ใชสมารทโฟน4-6 ชั่วโมงตอวัน ม.4 มีจํานวน 12 คน ม.5 มีจํานวน 15 คน - นักเรียนที่ใชสมารทโฟน6 ชั่วโมงขึ้นไปตอวัน ม.4 ไมมีนักเรียนที่ใชสมารทโฟนนานถึง 6 ชม. ม.5 มีจํานวน 2 คน จากตารางที่ 4.2 เหตุผลสวนมากในการใชสมารทโฟนใน 1 วัน - เลนเกม ม.4 มีจํานวน 9 คน ม.5 มีจํานวน 7 คน - ทํางาน ม.4 มีจํานวน 3 คน ม.5 มีจํานวน 7 คน - ถายรูป ม.4 มีจํานวน 1 คน ม.5 มีจํานวน 2 คน - เลนบริการทางสังคม (Facebook,Line,Instagram,Twitter) ม.4 มีจํานวน 4 คน ม.5 มีจํานวน 6 คน - ดูหนัง,รายการโปรด,ซีรี่ย,การตูน ม.4 มีจํานวน 4 คน ม.5 มีจํานวน 3 คน - อื่น ๆ ม.4 ไมมีนักเรียนที่มีเหตุผลอื่น ม.5 มีจํานวน 1 คน (ใชในการโทร) จากตารางที่ 4.3 อาการของนักเรียนที่ไมไดใชสมารทโฟน ภายใน 1 วัน - มีอาการซึมเศราม.4 มีจํานวน 9 คน ม.5 มีจํานวน 7 คน - มีอาการสดใส ราเริงม.4 มีจํานวน 14 คน ม.5 มีจํานวน 13 คน - มีอาการเฉย ๆ ม.4 มีจํานวน 7 คน ม.5 มีจํานวน 8 คน - มีอาการหงุดหงิดม.4 มีจํานวน 4 คน ม.5 มีจํานวน 3 คน - มีอาการอื่น ๆม.4 ไมมีอาการอื่น ม.5 มีจํานวน 1 คน (มีอาการโมโหราย)
  • 16. 11 จากการสรุปผลการดําเนินงาน ตารางที่ 4.1 ระยะเวลาการใชสมารทโฟนใน 1 วัน - นักเรียนที่ใชสมารทโฟน2-4 ชั่วโมงตอวัน ม.4 มีจํานวนมากกวา ม.5 - นักเรียนที่ใชสมารทโฟน4-6 ชั่วโมงตอวัน ม.4 มีจํานวนนอยกวา ม.5 - นักเรียนที่ใชสมารทโฟน6 ชั่วโมงขึ้นไปตอวัน ม.4 มีจํานวนนอบฃยกวา ม.5 จากตารางที่ 4.2 เหตุผลสวนมากในการใชสมารทโฟนใน 1 วัน - เลนเกม ม.4 มีจํานวน มากกวา ม.5 - ทํางาน ม.4 มีจํานวน นอยกวา ม.5 - ถายรูป ม.4 มีจํานวน นอยกวา ม.5 - เลนบริการทางสังคม (Facebook,Line,Instagram,Twitter) ม.4 มีจํานวนนอยกวา ม.5 - ดูหนัง,รายการโปรด,ซีรี่ย,การตูน ม.4 มีจํานวน มากกวา ม.5 - อื่น ๆ ม.4 มีจํานวนนอยกวา ม.5 จากตารางที่ 4.3 อาการของนักเรียนที่ไมไดใชสมารทโฟน ภายใน 1 วัน - มีอาการซึมเศราม.4 มีจํานวนมากกวา ม.5 - มีอาการสดใส ราเริงม.4 มีจํานวนมากกวา 14 คน ม.5 - มีอาการเฉย ๆ ม.4 มีจํานวนนอยกวา ม.5 - มีอาการหงุดหงิดม.4 มีจํานวนมากกวา ม.5 - มีอาการอื่น ๆม.4 มีจํานวนนอยกวา ม.5 ขอเสนอแนะ 1. เพิ่มจํานวนนักเรียนที่ตองสํารวจใหมีจํานวนมากขึ้นเพื่อสังเกตพฤติกรรมไดอยางชัดเจน 2. ควรเผยแพรขอมูลเกี่วกับการใชสมารทโฟนที่ ถูกตองรวมทั้งผลกระทบและขอดีข อเสียในการ ใชสมารทโฟน
  • 17. 12 บรรณานุกรม - อําพร เรืองศรี.(พ.ศ. 2553).ระบบการศึกษาไทย. คนเมื่อวันที่ 12 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557,จาก https://www.gotoknow.org/posts/174101. Assumption College Thonburi.สังคมกมหนา ตนเหตุและทางออก. คนเมื่อวันที่ 2 ธันวาคม พ.ศ.2557 จาก http://swis.act.ac.th/html_edu/cgibin/act/main_php/print_informed.php?id_count_inform=3758 ดร. รุจโรจน แกวอุไร.เราจะคิดโจทยวิจัย อะไรจากพฤติกรรม สังคมกมหนา.คนเมื่อวันที่ 2 ธันวาคม พ.ศ.2557 จาก https://www.gotoknow.org/posts/548278 กลุมภารกิจสารนิเทศ. สังคมกมหนา. คนเมื่อวันที่ 4 นันทวรรณ ผองมณี.ผลกระทบจากการใชโทรศัพทมือถือ. คนเมื่อวันที่ 15 ธันวาคม พ.ศ.2557 จาก 9 ธันวาคม พ.ศ. 2557 จาก http://www.pr.chula.ac.th/index.php/15-article/78-2014-05-19-01-32-52 http://www.ns.mahidol.ac.th/english/th/degree_bns/km_mobile.html
  • 19. 14 รูปที่ 1 การรวบรวมรูปเลมโครงงาน รูปที่ 2 การรวบรวมรูปเลมโครงงาน
  • 20. 15 รูปที่ 3 การสํารวจการใชสมารทโฟน รูปที่ 4 การสํารวจการใชสมารทโฟน
  • 21. 16 จัดทําโดย นายพฤฒพงศ ชาญวิทยา ม.5/2 เลขที่ 3 นางสาวขวัญจิรา โพธิ์ลอม ม.5/2 เลขที่ 28 นางสาวณัฐฐา ศรีอินทร ม.5/2 เลขที่ 30 นางสาวพิมพลภัส กลมทุกสิ่ง ม.5/2 เลขที่ 31 นางสาวเกสรา วัจนะ ม.5/2 เลขที่ 38