SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 46
Downloaden Sie, um offline zu lesen
เทศบาลเมืองร้อยเอ็ด
แผนและผังการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่่า
จัดท่าภายใต้
โครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่่า ปีงบประมาณ ๒๕๕๙
ลิขสิทธิ์ของ
ส่านักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
เผยแพร่โดย
ส่านักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
๖๐/๑ ซอยพิบูลวัฒนา ๗ ถนนพระรามที่ ๖ แขวงสามเสนใน
เขตพญาไท กรุงเทพมหานคร ๑๐๔๐๐
จัดท่าโดย
ภาควิชาการออกแบบและวางผังชุมชนเมือง
คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร
พิมพ์ที่
บริษัท เวิลด์ปริ้น (ประเทศไทย) จ่ากัด
๒๓๐๘/๑๗ ถนนพหลโยธิน แขวงลาดยาว
เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร ๑๐๙๐๐
ค่าน่า
ปัจจุบันเมืองและชุมชนในประเทศไทยมีการเติบโตและขยายตัวมากขึ้น มีจ่านวนประชากรและ
กิจกรรมต่าง ๆ เพิ่มขึ้น ท่าให้แนวโน้มปัญหาสิ่งแวดล้อมทวีมากขึ้น เช่น มลพิษน้่า อากาศเสีย ขยะ การใช้
พลังงานเกินความจ่าเป็น รวมทั้งการปล่อยก๊าซเรือนกระจกของกิจกรรมบางประเภทซึ่งส่งผลต่อการ
เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ โดยการจัดการสิ่งแวดล้อมเมืองและชุมชนได้ให้ความส่าคัญต่อการจัดท่า
แผนการจัดการสิ่งแวดล้อมเมืองและชุมชน พื้นที่สีเขียวและนันทนาการเชิงบูรณาการที่สอดคล้องกับแนวคิด
การพัฒนาที่ยั่งยืน การเติบโตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมและสังคมคาร์บอนต่่า
ส่านักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ในฐานะหน่วยงานที่มีภารกิจ
ประการหนึ่งในการด่าเนินงานด้านการจัดการสิ่งแวดล้อมเมืองและชุมชน ได้ตระหนักถึงความส่าคัญในเรื่อง
ดังกล่าว จึงได้จัดท่า “โครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่่า” เพื่อส่งเสริมและผลักดันให้
ท้องถิ่นจัดท่าแผนการพัฒนาเมืองและผังการพัฒนาสิ่งแวดล้อมทางกายภาพเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่่าและ
สิ่งแวดล้อมเมืองที่ยั่งยืน และเพื่อให้มีเครื่องมือและกลไกที่เหมาะสมในการน่านโยบาย แผน และยุทธศาสตร์
เมืองเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม สังคมคาร์บอนต่่าและสิ่งแวดล้อมเมืองที่ยั่งยืนไปสู่การปฏิบัติ
ส่านักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม หวังเป็นอย่างยิ่งว่า แผนและผัง
การพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่่าฉบับนี้ จะเป็นประโยชน์ต่อชุมชนเมือง องค์กรปกครอง
ส่วนท้องถิ่น หน่วยงานและภาคส่วนที่เกี่ยวข้องในการร่วมผลักดันให้เมืองและชุมชนมุ่งไปสู่สังคมคาร์บอนต่่า
ได้อย่างเป็นรูปธรรมต่อไป
ส่านักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
สิงหาคม ๒๕๕๙
สารบัญ
เรื่อง หน้า
ค่าน่า
สารบัญ
บทที่ ๑ บทน่า
บทที่ ๒ แนวคิดในการพัฒนา
บทที่ ๓ ผังการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งไปสู่สังคมคาร์บอนต่่า
๓.๑ โครงการพัฒนาย่านศูนย์ราชการ
๓.๒ โครงการพัฒนาย่านตลาดทุ่งเจริญ
๓.๓ โครงการพัฒนาย่านเมืองเก่า
๓.๔ โครงการพัฒนาย่านขนส่งมวลชน
บทที่ ๔ แผนการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งไปสู่สังคมคาร์บอนต่่า
๔.๑ ยุทธศาสตร์เทศบาลเมืองร้อยเอ็ดที่เชื่อมโยงกับการพัฒนาเมืองและชุมชนคาร์บอนต่่า
๔.๒ การจัดท่าแผนการพัฒนาเมืองและชุมชน
๔.๓ แผนการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่่า
๔.๔ กิจกรรมที่เกี่ยวข้อง
ภาคผนวก
๑ - ๑
๒ - ๑
๓ - ๑
๓ - ๒
๓ - ๗
๓ - ๑๒
๓ - ๑๗
๔ - ๑
๔ - ๑
๔ - ๓
๔ - ๗
๔ - ๑๑
บทที่ ๑ บทน่า
๑ - ๑
หลักการและเหตุผล
โครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่่า ได้เริ่มด่าเนินการโดยส่านักงาน
นโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม นับตั้งแต่ปีงบประมาณ ๒๕๕๗ ซึ่งได้แผนยุทธศาสตร์
การขับเคลื่อนการพัฒนาเมืองและชุมชนสู่การเป็นเมืองสีเขียว เมืองที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม และสังคม
คาร์บอนต่่า แผนยุทธศาสตร์ฯ มีขึ้นเพื่อการเสริมสร้างศักยภาพของเทศบาลในการด่าเนินงานด้าน
สิ่งแวดล้อมเมืองและชุมชนสู่สังคมคาร์บอนต่่า การริเริ่มยุทธศาสตร์ความร่วมมืออาเซียนด้านสิ่งแวดล้อม
เมืองที่ยั่งยืน การน่าผลการประชุมและแนวทางความร่วมมือระหว่างประเทศสมาชิกอาเซียนมาก่าหนด
รูปแบบการด่าเนินงานด้านสิ่งแวดล้อมเมืองที่ยั่งยืนที่เหมาะสมกับสังคมไทย และการเดินหน้าประเทศไทย
สู่การเป็นประเทศเศรษฐกิจสังคมคาร์บอนต่่า ส่านักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและ
สิ่งแวดล้อมจึงเห็นความจ่าเป็นในการด่าเนินงานโครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่่า
ในปีงบประมาณ ๒๕๕๙ เพื่อให้มีเครื่องมือและกลไกที่เหมาะสมในการน่านโยบาย แผน และยุทธศาสตร์ที่
ได้จัดท่าไว้สู่การปฏิบัติโดยความร่วมมือของหน่วยงานและภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง และเพื่อน่าแผนฯ สู่การ
ปฏิบัติในระดับท้องถิ่นโดยให้มีแผนงาน โครงการ และจัดสรรงบประมาณด่าเนินงานอย่างเหมาะสม โดยมี
คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร เป็นที่ปรึกษาในการด่าเนินงานโครงการ
วัตถุประสงค์
๑) เพื่อให้มีเครื่องมือและกลไกที่เหมาะสมในการผลักดันการด่าเนินงานตามนโยบาย
แผน ยุทธศาสตร์ ด้านพื้นที่สีเขียว เมืองสีเขียว เมืองเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมและสังคมคาร์บอนต่่า รวมทั้ง
การด่าเนินงานตามข้อริเริ่มอาเซียนด้านสิ่งแวดล้อมเมืองที่ยั่งยืน โดยกระบวนการมีส่วนร่วม
๒) เพื่อประสานการน่าแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่เมืองสีเขียว เมืองที่
เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมและสังคมคาร์บอนต่่า ยุทธศาสตร์การขับเคลื่อนการด่าเนินงานตามข้อริเริ่มอาเซียน
ด้านสิ่งแวดล้อมเมืองที่ยั่งยืนสู่การปฏิบัติในระดับท้องถิ่น
แนวคิดในการด่าเนินงาน
สังคมคาร์บอนต่่า (Low Carbon Society) หมายถึง สังคมที่ผู้คนส่วนใหญ่หันมาร่วมมือกัน
ลดการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ในทุกรูปแบบหรือในกิจกรรมต่าง ๆ ที่เกิดจากการด่ารงชีวิตปกติ
โดยเฉพาะการลดปริมาณก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ที่ปล่อยออกมาจากกระบวนการผลิตของโรงงานหรือ
ภาคอุตสาหกรรม เพื่อจะได้อยู่ร่วมกันในสังคมที่มีคุณภาพชีวิตที่ดี สังคมคาร์บอนต่่าจึงต้องท่าให้ผู้คน
ในสังคมมีความตระหนักถึงคุณภาพชีวิตที่เกิดจากการอยู่ในสภาพแวดล้อมที่มีปริมาณคาร์บอนต่่า โดยผู้คน
ในสังคมมีความยึดโยงกับการเลือกใช้เทคโนโลยีหรือการพัฒนาเทคโนโลยีให้เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม และที่
ส่าคัญก็คือ จะต้องเป็นสังคมที่มีการวางผังเมืองให้สอดคล้องกับระบบนิเวศที่สมดุลด้วย ดังนั้น สังคม
คาร์บอนต่่า จึงมีลักษณะดังนี้ (๑) สังคมที่ต้องช่วยกันลดความต้องการใช้พลังงาน (๒) สังคมที่ต้องหลีกเลี่ยง
การใช้เชื้อเพลิงฟอสซิลหรือน้่ามัน และลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก และ (๓) สังคมต้องมีมาตรการความ
มั่นคงทางพลังงานและเป็นสังคมที่มีการพบปะหารือกันในเรื่องความต้องการของคนทุกกลุ่มในสังคม
เมืองและชุมชนสังคมคาร์บอนต่่าเป็นส่วนหนึ่งของยุทธศาสตร์การพัฒนาในระดับนานาชาติ นับตั้งแต่
การค้นพบภาวะเรือนกระจก ซึ่งเป็นผลมาจากชั้นบรรยากาศของโลก ที่มีปริมาณก๊าซมากเกินสมดุลทางธรรมชาติ
เช่น ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ จนส่งผลต่อวิกฤตการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของโลก การประชุมระดับโลก
ว่าด้วยเรื่องวิกฤตการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ จึงได้ริเริ่มขึ้นตลอดจนการก่าหนดกรอบอนุสัญญาและ
พิธีสารต่าง ๆ เพื่อแก้ไขวิกฤตการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและรับมือต่อผลกระทบที่เกิดขึ้นจากสภาพ-
ภูมิอากาศที่เปลี่ยนแปลง ประเทศไทยได้เข้าร่วมกับประชาคมโลกในการช่วยบรรเทาปัญหาจากการเปลี่ยนแปลง
สภาพภูมิอากาศ โดยมุ่งพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อมให้มีความสอดคล้องกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ได้อย่างยั่งยืน ควบคู่ไปกับการลดอัตราการปลดปล่อยก๊าซเรือนกระจก ที่ไม่ส่งผลกระทบต่ออัตราการเพิ่มขึ้นของ
ผลิตภัณฑ์มวลชนในประเทศ และไม่สูญเสียขีดความสามารถในการพัฒนาและการแข่งขันของทุกภาคส่วนและ
ทุกระดับ
การบรรลุถึงเมืองและชุมชนสังคมคาร์บอนต่่า จึงเป็นยุทธศาสตร์การพัฒนาที่เกี่ยวเนื่องกับมิติอัน
หลากหลายของเมืองและชุมชน การพัฒนาเมืองที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมต้องอาศัยนโยบายและแผนการพัฒนา
ตลอดจนการปรับกระบวนทัศน์การพัฒนาและขับเคลื่อน เพื่อเตรียมความพร้อมไปสู่การเป็นเศรษฐกิจและสังคม
คาร์บอนต่่าในทุกระดับเชื่อมโยงกัน การสร้างแผนนโยบายความเป็นเมืองและชุมชนสังคมคาร์บอนต่่า ต้องถูก
ด่าเนินการขึ้นในระดับประเทศ เพื่อตอบสนองต่อยุทธศาสตร์ด้านสิ่งแวดล้อม สังคม และเศรษฐกิจที่ยั่งยืนในระดับ
โลกและระดับอาเซียน และในขณะเดียวกันการขับเคลื่อนไปสู่ความเป็นเมืองและชุมชนสังคมคาร์บอนต่่าก็ต้อง
อาศัยกลไกการปฏิบัติในมิติทางวัฒนธรรม การเมือง การบริหารจัดการ และการมีส่วนร่วมในระดับท้องถิ่นเพื่อ
ผลักดันให้เป็นเมืองสีเขียว เมืองที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม และสังคมคาร์บอนต่่าสามารถสัมฤทธิ์ผลเป็นรูปธรรม
ภาพที่ ๑ - ๑ มิติของการพัฒนาเมืองคาร์บอนต่่าในท้องถิ่น
๑ - ๒
การด่าเนินงานโครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่่า ถูกวางอยู่บนมิติที่ครอบคลุม
ภาพกว้างของการพัฒนาเมืองในระดับประเทศโดยการขับเคลื่อนทางสิ่งแวดล้อม สังคม และเศรษฐกิจ เพื่อให้มี
เครื่องมือและกลไกที่เหมาะสมต่อการผลักดันการด่าเนินงานตามนโยบาย แผน ยุทธศาสตร์ ด้านพื้นที่สีเขียว
เมืองสีเขียว เมืองเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมและสังคมคาร์บอนต่่า รวมทั้งการด่าเนินงานตามข้อริเริ่มอาเซียน
ด้านสิ่งแวดล้อมเมืองที่ยั่งยืน ดังนั้น กระบวนการศึกษา การประเมินผล และการวางแผนจากบนลงสู่เบื้องล่าง
(Top-Down Process of Development) ถูกน่ามาใช้เพื่อท่าการทบทวนวิสัยทัศน์ ยุทธศาสตร์ และแผนที่เส้นทาง
(Road Map) ของการพัฒนาเมือง/ชุมชนเพื่อมุ่งสู่การเติบโตอย่างเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมและเป็นสังคมคาร์บอนต่่า
ที่ยั่งยืน เพื่อท่าการประเมิน ปรับปรุง และเสนอแนะกลไกและเครื่องมือที่มีประสิทธิภาพและมีความเป็นไปได้จริง
ต่อการควบคุมและพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่่า ตลอดจนการก่าหนดภาคภาคีที่เกี่ยวข้องและ
หน้าที่รับผิดชอบร่วมกัน การด่าเนินงานดังกล่าวนี้ผ่านกระบวนการมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วนเป็นส่าคัญ
การมุ่งไปสู่สังคมคาร์บอนต่่าประกอบด้วยมิติของการพัฒนาดังที่กล่าวถึงซึ่งได้แก่ สภาพแวดล้อม
คาร์บอนต่่า เศรษฐกิจคาร์บอนต่่า และวัฒนธรรมคาร์บอนต่่า มิติในเชิงนโยบายและแผนเหล่านั้นได้สร้างกรอบ
แนวทางของการวางแผนและการพัฒนาเมืองและชุมชนคาร์บอนต่่า ดังนี้
ภาพที่ ๑ - ๒ กรอบแนวทางการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่่า
อย่างไรก็ตาม โครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่่ายังได้รับการด่าเนินงาน
บนพื้นฐานของการพัฒนาเมืองและชุมชนในระดับพื้นที่โดยการขับเคลื่อนในทางสังคม วัฒนธรรม การเมือง
การบริหารจัดการ และการมีส่วนร่วมเพื่อประสานการน่าแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาเมืองและชุมชนสู่เมืองสีเขียว
เมืองที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมและสังคมคาร์บอนต่่า กระบวนการวางแผนจากล่างขึ้นสู่ด้านบน (Bottom-Up
Process of Development) ถูกน่ามาใช้ควบคู่กันเพื่อการขับเคลื่อนโครงการน่าร่องไปสู่ความเป็นเมืองและชุมชน
สังคมคาร์บอนต่่า แนวปฏิบัติด้านการจัดการพื้นที่สีเขียว/ชุมชนอย่างยั่งยืนและลดภาวะโลกร้อนและมาตรฐาน
พื้นที่สีเขียวในเมือง ร่วมกับการศึกษาลักษณะเฉพาะของเมืองและชุมชนในแต่ละแห่ง เช่น ภูมิศาสตร์และ
ประวัติศาสตร์ ลักษณะทางสังคมและเศรษฐกิจ โครงสร้างทางสิ่งแวดล้อม เมือง และชุมชน ตลอดจนบริบททาง
วัฒนธรรม การเมือง และการมีส่วนร่วมของภาคภาคีที่เกี่ยวข้องในท้องถิ่น
ภาพที่ ๑ – ๓ แสดงกรอบแนวคิดการด่าเนินงานการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่่า
ซึ่งค่านึงถึงการประยุกต์ใช้แนวคิดการพัฒนาเมืองคาร์บอนต่่าให้เข้ากับบริบทของเมืองและชุมชนในแต่ละแห่ง
เครื่องมือในการขับเคลื่อนเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่่าถูกน่ามาพิจารณาร่วม เพื่อจัดท่าแผนและผัง
แนวคิดของการออกแบบและพัฒนาเมือง ชุมชน กิจกรรม ภายใต้วิสัยทัศน์เฉพาะตัวในแต่ละเทศบาล ซึ่งสามารถ
น่าไปใช้ก่าหนดแนวทางการน่าแผนไปปฏิบัติ โครงการ และการจัดสรรงบประมาณ ตลอดจนการด่าเนินงานจริง
ในกิจกรรมน่าร่องต่าง ๆ เพื่อพัฒนาไปสู่การเป็นเมืองและชุมชนที่เติบโตอย่างเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมและ
เป็นสังคมคาร์บอนต่่าที่ยั่งยืน การสร้างเครือข่ายภาคประชาชน เอกชน และภาครัฐในระดับท้องถิ่นต่อการ
ด่าเนินงานพัฒนาเมืองและชุมชน คือ กลไกส่าคัญต่อการด่าเนินงานในส่วนนี้
ภาพที่ ๑ – ๓ กรอบแนวคิดการด่าเนินงานการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่่า
การเสริมสร้างศักยภาพการด่าเนินงานของภาคภาคีต่าง ๆ ในการวางแผนและพัฒนาเมืองและชุมชน
เพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่่า เป็นกลไกส่าคัญของโครงการฯ การเสริมสร้างศักยภาพของภาคภาคีต่าง ๆ เป็นหนึ่งใน
กลไกส่าคัญต่อการก่าหนดเครื่องมือในการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่่าในระดับประเทศ
รวมทั้งการจัดท่าและผลักดันแผนพัฒนาสิ่งแวดล้อมเมืองเพื่อมุ่งสู่สิ่งแวดล้อมเมืองที่ยั่งยืนในระดับพื้นที่
การเสริมสร้างศักยภาพการด่าเนินงานของภาคภาคีต่าง ๆ ในการวางแผนและพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่
สังคมคาร์บอนต่่า ถูกด่าเนินการโดยการให้ความรู้ ประสบการณ์ และปรับทัศนคติต่อการพัฒนาเมืองและชุมชน
โครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่่า จึงมุ่งเน้นการขับเคลื่อนเชิงปฏิบัติการ
ในทุกภาคส่วนและทุกระดับ โดยมุ่งหมายให้ภาครัฐ ส่วนกลางที่เกี่ยวเนื่อง เล็งเห็นความส่าคัญของการพัฒนาเมือง
สีเขียว เมืองที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม สิ่งแวดล้อมเมืองที่ยั่งยืน และสังคมคาร์บอนต่่า และบูรณาการเข้าเป็นส่วน
หนึ่งของยุทธศาสตร์และแผนพัฒนาในระดับต่าง ๆ ในขณะเดียวกันการขับเคลื่อนเชิงปฏิบัติการในระดับท้องถิ่น
มีขึ้นเพื่อผลักดันให้เกิดการด่าเนินงานโครงการน่าร่อง กิจกรรม การเชื่อมโยงการพัฒนาเมืองและชุมชน ตลอดจน
การบรรจุแผนงานเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่่า ให้เข้ากับกลไกระดับจังหวัดและระดับชุมชนอย่างยั่งยืน
สภาพแวดล้อมคาร์บอนต่่า
เศรษฐกิจคาร์บอนต่่า
วัฒนธรรมคาร์บอนต่่า
(๑) การเติบโตอย่างชาญฉลาด
(๒) การเดินทางที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม
(๓) การรักษาและฟื้นฟูความหลากหลายทางชีวภาพ
(๔) การเพิ่มพื้นที่สีเขียวเพื่อดูดซับก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์
(๕ )การจัดการความเสี่ยงต่อภัยพิบัติ
(๑) เศรษฐกิจและอุตสาหกรรมคาร์บอนต่่า
(๒) การประหยัดพลังงานและการใช้พลังงานทางเลือก
(๓) การประหยัดพลังงานอาคาร
(๑) วิถีชีวิตคาร์บอนต่่า
(๒) การเดินเท้าและการปั่นจักรยาน
(๓) การจัดการขยะอย่างยั่งยืน
(๔) การจัดการน้่าในเมือง
บทที่ ๒ แนวคิดในการพัฒนาเมืองและ
ชุมชนเพื่อมุ่งไปสู่สังคมคาร์บอนต่่า
เทศบาลเมืองร้อยเอ็ด
การศึกษาสภาพทั่วไปในระดับมหภาค
การพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่่าต้อง
อาศัยข้อมูลทั้งในระดับมหภาค และระดับพื้นที่เพื่อให้ได้มาซึ่ง
แนวทางการพัฒนาที่ตอบรับกับบริบทการเติบโตของเมืองได้อย่างถูกต้อง
ดังนี้
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือมีพื้นที่ประมาณ ๑๖๘,๘๕๔ ตาราง
กิโลเมตร หรือ ๑๐๕.๕ ล้านไร่ คิดเป็นพื้นที่ประมาณ ๑ ใน ๓ ของ
ประเทศ ประกอบด้วย ๑๙ จังหวัด ได้แก่ เลย หนองคาย นครพนม
อุดรธานี หนองบัวล่าภู สกลนคร ขอนแก่น กาฬสินธุ์ มุกดาหาร ชัยภูมิ
มหาสารคาม ร้อยเอ็ด ยโสธร อ่านาจเจริญ นครราชสีมา บุรีรัมย์ สุรินทร์
ศรีสะเกษ อุบลราชธานี เป็นภาคที่มีพื้นที่ใหญ่ที่สุดในประเทศไทย เป็น
พื้นที่ที่มีประชากรและพื้นที่ทางการเกษตรมากที่สุดเมื่อเทียบกับ
ภาคอื่น ๆ ของประเทศ เป็นแหล่งโบราณสถานและมีศิลปวัฒนธรรมอันมี
ลักษณะเฉพาะ อีกทั้งที่ตั้งของภาคยังมีความได้เปรียบในด้านการ
เชื่อมโยงเศรษฐกิจระหว่าง ไทย ลาว กัมพูชา และจีนตอนใต้
ด้วยลักษณะดังกล่าวของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ท่าให้
รัฐบาลมีนโยบายที่จะพัฒนาให้เป็นสะพานเศรษฐกิจ เชื่อมโยงอินโดจีน
ตามแนวตะวันออก - ตะวันตก (East - West Economic Corridor)โดย
เน้นพัฒนาบทบาทและศักยภาพของพื้นที่ ควบคู่ไปกับการยกระดับ
คุณภาพในการด่ารงชีวิตของทรัพยากรมนุษย์ให้สูงขึ้นได้พร้อมกัน โดยมี
ยุทธศาสตร์การพัฒนาพื้นที่ ดังนี้
๑. การกระจายความเจริญ (Decentralization) ยุทธศาสตร์การ
พัฒนาโดยการกระจายความเจริญของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
คือ ส่งเสริมการพัฒนาไปยังพื้นที่เมืองนครราชสีมา เมืองอุดรธานี
และเมืองอุบลราชธานี เพื่อให้มีศูนย์กลางความเจริญเพิ่มขึ้น
ในทิศทางอื่น ในปริมณฑลของเมืองศูนย์กลางหลักของขอนแก่น
๒. การพัฒนาที่สมดุลและยั่งยืน (Balanced and Sustainable
Development)
๓. การส่งเสริมเทคโนโลยี (Technology)
๔. การพัฒนาแบบกลุ่มเมืองและเครือข่ายการพัฒนา (Cluster and
Network Development)
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบกลุ่มเมืองของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ได้รวมระบบกลุ่มเมืองเป็น ๕ กลุ่ม คือ
− กลุ่มนครราชสีมา ชัยภูมิ บุรีรัมย์ และสุรินทร์
− กลุ่มขอนแก่น มหาสารคาม ร้อยเอ็ด และกาฬสินธุ์
− กลุ่มอุบลราชธานี ยโสธร ศรีสะเกษ และอ่านาจเจริญ
− กลุ่มอุดรธานี หนองคาย เลย และหนองบัวล่าภู
− กลุ่มมุกดาหาร สกลนคร และนครพนม
๕. การพัฒนาภายใต้แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง (Sufficiency
Economy)
จากผังภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ปี พ.ศ. ๒๖๐๐ ที่มียุทธศาสตร์การพัฒนา
แบบการพัฒนาแบบกลุ่มเมืองและเครือข่ายการพัฒนา จังหวัดร้อยเอ็ด
ได้ถูกจัดให้ร่วมอยู่ในผังอนุภาค ร่วมกับจังหวัดขอนแก่น มหาสารคาม และ
กาฬสินธุ์ ซึ่งถูกก่าหนดแนวทางการพัฒนาไว้ให้เป็นเมืองศูนย์กลางการ
ท่องเที่ยว การบริการระดับภาค การศึกษา สาธารณสุข การขนส่ง ปศุสัตว์
และพลังงานทดแทน
แผนโครงการพัฒนาที่เกี่ยวข้องในระดับภาค โดยโครงการ
พัฒนาตามกลุ่มจังหวัด ซึ่งได้ก่าหนดกลุ่มจังหวัด ได้แก่ จังหวัดร้อยเอ็ด
ขอนแก่น มหาสารคาม และกาฬสินธุ์ โดยมีวิสัยทัศน์ของกลุ่มจังหวัด คือ
“ศูนย์กลางการค้า การบริการ อุตสาหกรรมเกษตร และสังคมน่าอยู่”
ซึ่งกลุ่มจังหวัดได้ตั้งยุทธศาสตร์เพื่อการพัฒนารวม ๓ ยุทธศาสตร์ ได้แก่
ยุทธศาสตร์ที่ ๑ ยกระดับการผลิต เพื่อพัฒนาเศรษฐกิจแบบเข้มแข็งและ
แข่งขันได้
ยุทธศาสตร์ที่ ๒ การพัฒนาทุนมนุษย์และสังคมเพื่อคุณภาพชีวิตที่ดี
ยุทธศาสตร์ที่ ๓ การบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมเพื่อ
การพัฒนาที่ยั่งยืน
๒ - ๑
ภาพที่ ๒ - ๑ แสดงผังภาคตะวันออกเฉียงเหนือ โดยมียุทธศาสตร์
การพัฒนาระบบกลุ่มเมือง จังหวัดขอนแก่น อยู่ในกลุ่มพัฒนาร่วมกับ
จังหวัดร้อยเอ็ด มหาสารคาม และกาฬสินธุ์ (ผังภาคตะวันออกเฉียงเหนือ,
๒๖๐๐)
โครงการส่าคัญ ได้แก่
๑) โครงการจัดตั้งศูนย์รวบรวมและกระจายสินค้าบริการ และการส่งออก
แบบครบวงจร (Distribution Center)
๒) โครงการพัฒนาและส่งเสริมการผลิตข้าวหอมมะลิปลอดภัยจากสารพิษ
และข้าวหอมมะลิอินทรีย์
๓) โครงการก่าหนดพื้นที่ที่มีศักยภาพในการเพาะปลูกพืชพลังงานทดแทน
๔) โครงการส่งเสริมการท่าสัญญาซื้อขายผลผลิตล่วงหน้า เพื่อสร้างความ
มั่นใจด้านราคา และรายได้ให้กับเกษตรกร
๕) โครงการก่าหนดพื้นที่ที่เหมาะสมในการรองรับอุตสาหกรรมพลังงาน
ทดแทน (Ethanol) เพื่อให้สอดคล้องกับแหล่งเพาะปลูก และลดต้นทุน
ด้านขนส่ง
๖) โครงการพัฒนาระบบขนส่งตามเส้นทางเชื่อมระหว่างตะวันออกกับ
ตะวันตก (East & West Economic Corridor) ให้ได้มาตรฐาน
๗) โครงการบ่ารุงรักษาถนนที่มุ่งสู่ประตูการค้าหลัก เช่น เส้นทางหมายเลข
๙ และ ๑๒
๒ - ๒
ลักษณะภูมิประเทศ
ภูมิประเทศโดยทั่วไปเป็นที่ราบสูง มีความสูงจาก
ระดับน้่าทะเลปานกลาง ๑๓๐–๑๖๐ เมตร ซึ่งสภาพพื้นที่และลักษณะ
ภูมิประเทศของจังหวัดร้อยเอ็ด สามารถแบ่งได้ ดังนี้
๑. บริเวณภูเขาตอนเหนือของจังหวัด สภาพภูมิประเทศเป็นพื้นที่ป่าไม้
และภูเขาเตี้ยๆ อยู่ในพื้นที่อ่าเภอหนองพอก อ่าเภอโพธิ์ชัย อ่าเภอโพน-
ทอง และอ่าเภอเมยวดี
๒. บริเวณที่ราบสูง สภาพภูมิประเทศเป็นพื้นที่ลูกคลื่นลอยตื้น
อยู่บริเวณตอนกลางของจังหวัดในเขตท้องที่อ่าเภอเสลภูมิ อ่าเภออาจ-
สามารถ อ่าเภอเมืองสรวง อ่าเภอจตุรพักตรพิมาน อ่าเภอธวัชบุรี
อ่าเภอเมืองร้อยเอ็ด อ่าเภอเชียงขวัญ และอ่าเภอทุ่งเขาหลวง
ลักษณะทางสังคมและเศรษฐกิจ
จากข้อมูลทะเบียนราษฎร์ พ.ศ.๒๕๕๖ จังหวัดร้อยเอ็ด
มีจ่านวนประชากรทั้งสิ้น ๑,๓๐๘,๙๕๘ คน เป็นชาย ๖๕๔,๕๐๘ คน และ
หญิง ๖๕๕,๗๕๑ คน มีอัตราการเพิ่มขึ้นของประชากรร้อยละ ๓ ของภาค
เป็นอันดับที่ ๘ ของภาค อ่าเภอเมืองร้อยเอ็ด มีประชากรมากที่สุด คือ
จ่านวน ๑๕๖,๕๗๙ คน คิดเป็นร้อยละ ๑๑.๙๖ ของประชากรทั้งจังหวัด
รองลงมา คือ อ่าเภอเสลภูมิ ๑๒๒,๐๒๐ คน คิดเป็นร้อยละ ๙.๓๒
รายได้เฉลี่ยต่อคนต่อปีสูงที่สุด คือ อ่าเภอเมืองร้อยเอ็ด จ่านวน
๑๐๖,๗๔๑ บาท และอ่าเภอที่มีรายได้เฉลี่ยต่อคนต่อปีน้อยที่สุด คือ อ่าเภอ
จังหาร จ่านวน ๖๒,๗๕๗ บาท รายได้ของคนจังหวัดร้อยเอ็ดเฉลี่ยต่อคนต่อปี
จ่านวน ๗๘,๒๗๐ บาท
แผนพัฒนาจังหวัดร้อยเอ็ด ๔ ปี (พ.ศ.๒๕๕๗-๒๕๖๐)
วิสัยทัศน์ “ร้อยเอ็ดศูนย์กลางการผลิตและส่งออกข้าวหอมมะลิคุณภาพดี
และเมืองน่าอยู่ของภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนกลาง ”
พันธกิจ
๑. ส่งเสริมและพัฒนาการผลิตข้าวหอมมะลิเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มในการแข่งขัน
เพิ่มศักยภาพการบริหารทรัพยากรทางการเกษตรให้เป็นเกษตรปลอดภัย
เกษตรอินทรีย์เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมและเป็นแหล่งผลิตอาหารปลอดภัย
๒. สนับสนุนและผลักดันให้จังหวัดมีความโดดเด่นเป็นศูนย์กลางการค้า
การลงทุน การท่องเที่ยวเชื่อมโยงการบริการสินค้าผลิตภัณฑ์ชุมชน
วัฒนธรรมค่านิยมและประเพณีที่ดีงามสามารถผสมผสานกับการ
เปลี่ยนแปลงของสังคมสมัยใหม่ได้อย่างกลมกลืน
๓. สร้างโอกาส สร้างอาชีพ รายได้ให้ประชาชนและส่งเสริมให้มีการด่าเนิน
ชีวิตตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง พัฒนาคุณภาพชีวิตให้มีความมั่นคงมั่งคั่ง
ยั่งยืน เพื่อสร้างภูมิคุ้มกันรองรับการเปลี่ยนแปลงอย่างมีประสิทธิภาพ
สรุปบทบาทของพื้นที่ศึกษาในระดับมหภาค
จังหวัดร้อยเอ็ดเป็นเมืองล่าดับ ๓ ของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
เป็นเมืองศูนยกลางระดับจังหวัด มีความส่าคัญด้านการบริหารราชการระดับ
จังหวัด จัดเป็นเมืองชุมทางที่ส่าคัญแห่งหนึ่งของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
เนื่องจากมีท่าเลที่ตั้งอยู่เกือบกึ่งกลางของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จึงท่าให้
มีเส้นทางคมนาคมติดต่อกับจังหวัดต่าง ๆ เช่น เส้นทางไปจังหวัด
มหาสารคามและเส้นทางไปจังหวัดกาฬสินธุ์ ส่งผลให้เมืองร้อยเอ็ดมีการ
ขยายตัวทางเศรษฐกิจทางด้านการค้าพาณิชย์และบริการค่อนข้างสูง
ทั้งอาคารพาณิชย์ศูนย์บริการ ร้านอาหารและสถานบริการต่าง ๆ โดยสรุป
บทบาทของพื้นที่ได้ ดังนี้
๑. เป็นจังหวัดที่มีพื้นที่ในเขตทุ่งกุลาร้องไห้มากที่สุด เนื่องจากทุ่งกุลาร้องไห้
ถือว่าเป็นพื้นที่ผลิตข้าวหอมมะลิชั้นดีที่สุดและมีเอกลักษณ์ความหอม
เฉพาะตัว เป็นที่ต้องการของตลาดทั้งในและต่างประเทศ สามารถพัฒนาและ
ส่งเสริมให้เป็นศูนย์กลางการผลิตและจ่าหน่ายข้าวหอมมะลิสู่ตลาดโลกได้
๒. เป็นจังหวัดที่มีแหล่งท่องเที่ยวในเชิงประวัติศาสตร์โบราณสถาน/
โบราณวัตถุ แหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติ มุ่งเน้นส่งเสริมการท่องเที่ยว
ในเชิงวิถีพุทธด้านวัฒนธรรม ประเพณี และศาสนา ซึ่งปัจจุบันก่าลังได้รับ
ความสนใจจากนักท่องเที่ยวเป็นอย่างมาก
๓. เป็นจังหวัดที่มีความสงบเรียบร้อย ประชาชนมีความปลอดภัยในชีวิตและ
ทรัพย์สิน รวมทั้งไม่มีปัญหาด้านอาชญากรรมที่รุนแรง
เป้าประสงค์
๑. ผลิตภัณฑ์มวลรวมของจังหวัด (GPP) เติบโตเพิ่มขึ้นร้อยละ ๔ ต่อปี
๒. ประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดีตามเกณฑ์ความจ่าเป็นพื้นฐาน (จปฐ.)
อย่างน้อยร้อยละ ๙๐ ของจ่านวนตัวชี้วัด
ประเด็นยุทธศาสตร์
๑. พัฒนากระบวนการผลิตข้าวหอมมะลิและสินค้าการเกษตรแบบครบวงจร
๒. ส่งเสริมและพัฒนาการท่องเที่ยว การบริการการค้าและการลงทุน
๓. ยกระดับคุณภาพชีวิตและเสริมสร้างความเข้มแข็งของครอบครัว ชุมชน
และสังคม
๔. บริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมให้มีคุณภาพและยั่งยืน
๕. รักษาความมั่นคงภายในและการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี
จังหวัดร้อยเอ็ดตั้งอยู่ตอนกลางของภาคตะวันออกเฉียง
เหนือของประเทศไทย ทิศเหนือติดกับจังหวัดกาฬสินธุ์และมุกดาหาร
ทิศใต้ติดกับจังหวัดสุรินทร์และศรีสะเกษ ทิศตะวันออกติดจังหวัด
ยโสธร ทิศตะวันตกติดจังหวัดมหาสารคาม อยู่ห่างจาก
กรุงเทพมหานคร ระยะทาง ๕๑๒ กิโลเมตร ประกอบด้วย ๒๐ อ่าเภอ
มีพื้นที่ ๘,๒๙๙.๔๖ ตารางกิโลเมตร จัดเป็นล่าดับที่ ๑๐ ของภาคและ
ล่าดับที่ ๒๓ ของประเทศ
ภาพที่ ๒ - ๒ แสดงต่าแหน่งที่ตั้งจังหวัดร้อยเอ็ด
๓. บริเวณที่ราบลุ่ม ครอบคลุมพื้นที่ตอนล่างของจังหวัด ในท้องที่อ่าเภอ
ปทุมรัตต์ อ่าเภอเกษตรวิสัย อ่าเภอสุวรรณภูมิ อ่าเภอพนมไพร อ่าเภอโพน-
ทราย และอ่าเภอหนองฮี ซึ่งเป็นที่ราบต่่ารูปกระทะ ที่เรียกว่า
“ทุ่งกุลาร้องไห้” สภาพพื้นที่ลาดเทจากทางทิศตะวันตกไปทางทิศตะวันออก
เฉียงใต้เข้าหาแม่น้่ามูล
การจัดท่าแผนผังการพัฒนาเมืองและชุมชนเทศบาลเมือง
ร้อยเอ็ดเพื่อมุ่งไปสู่สังคมคาร์บอนต่่า ได้มีการวิเคราะห์ลักษณะทาง
กายภาพ สังคม เศรษฐกิจ และยุทธศาสตร์เดิมของพื้นที่ พร้อมทั้งน่ามา
ผนวกกับแนวคิดสังคมคาร์บอนต่่า เพื่อจัดท่าแผนและผังที่ครอบคลุม
ใน ๓ มิติ คือ สภาพแวดล้อมคาร์บอนต่่า เศรษฐกิจคาร์บอนต่่า และ
วัฒนธรรมคาร์บอนต่่า โดยแนวคิดในการท่าแผนผัง ประกอบด้วย
๔ แนวคิด ดังนี้
๑) เมืองกระชับ
๒) โครงข่ายแหล่งน้่าและพื้นที่สีเขียว
๓) โครงข่ายสีเขียว (Green corridor)
๔) การคมนาคมคาร์บอนต่่า
๑) แนวคิดเมืองกระชับ เสนอแนะให้มีการควบคุมการพัฒนาของเมือง
ให้อยู่ในวงแหวนของคูเมือง และรองรับการขยายตัวของเมือง
ให้สามารถอยู่ภายในวงแหวนรอบที่ ๒ เนื่องจากรัศมีการเข้าถึงของ
แหล่งสาธารณูปโภคและสาธารณูปการสามารถเข้าถึงได้ด้วย
การเดินเท้าและการใช้รถยนต์ในระยะสั้น ซึ่งหากไม่มีการควบคุม
ในอนาคตอาจมีแนวโน้มการขยายตัวของเมืองออกไปตามถนนสายหลัก
ทั้ง ๓ เส้น เพราะเป็นเส้นถนนผ่านเข้าออกเมืองและมีพาณิชยกรรม
แห่งใหม่เกิดขึ้นทางด้านทิศตะวันตกของเมือง
๒) โครงข่ายแหล่งน้่าและพื้นที่สีเขียว เสนอแนะให้มีการรักษาต้นไม้
เดิมและเพิ่มต้นไม้ใหม่ในพื้นที่ เช่น พื้นที่ทหารและพื้นที่สีเขียวในส่วน
สาธารณะและย่านราชการ เป็นต้น และในส่วนพื้นที่อุตสาหกรรมด้าน
ฝั่งตะวันตกของเมืองที่เป็นอุตสาหกรรมเบาและคลังเก็บสินค้านั้น
เสนอแนะให้มีการจัดการวางผังที่สอดคล้องกับอุตสาหกรรมเขียว ทั้งนี้
ควรหาพื้นที่สีเขียวเพื่อดูดซับก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์จากแหล่ง
อุตสาหกรรมมากขึ้น
๓) โครงข่ายสีเขียว ควรส่งเสริมให้มีการเดินทางโดยการเดินเท้า และใช้
จักรยาน เสนอแนะให้มีการพัฒนาถนนหลักและถนนสายรอง ให้มีความ
น่าเดินควบคู่ไปกับการสร้างโครงข่ายสีเขียว มีการปรับปรุงภูมิทัศน์แต่ละ
เส้นทางให้มีความเหมาะสมต่อการใช้งานและเพิ่มพื้นที่สีเขียวเพื่อช่วย
ดูดซับก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์
ภาพที่ ๒ - ๓ แสดงผังการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่่า
เทศบาลเมืองร้อยเอ็ด
ภาพที่ ๒ - ๔ แสดงผังโครงข่ายแหล่งน้่าและพื้นที่สีเขียวคาร์บอนต่่า
เทศบาลเมืองร้อยเอ็ด
ภาพที่ ๒ - ๕ แสดงผังโครงข่ายสีเขียวคาร์บอนต่่า เทศบาลเมืองร้อยเอ็ด
๔) การคมนาคมคาร์บอนต่่า ส่งเสริมให้มีการเดินทางโดยการเดินเท้า
การใช้จักรยาน และการคมนาคมขนส่งมวลชนสาธารณะ เช่น รถพลังงาน
ไฟฟ้าโซล่าเซลล์ เป็นต้น ซึ่งการให้บริการระบบขนส่งมวลชนสาธารณะจะ
อยู่ในบริเวณชุมชนเมืองที่มีความหนาแน่น เพื่อสนับสนุนให้ประชาชนใช้
บริการและลดการพึ่งพาการเดินทางด้วยรถยนต์ การให้แสงสว่างอาจใช้
เป็นเสาไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ เป็นต้น รวมทั้งมีการปรับปรุงภูมิทัศน์
และรูปแบบการสัญจรให้แตกต่างกันไปในแต่ละเส้นทางเพื่อความ
เหมาะสมในการใช้งาน
การพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งไปสู่สังคมคาร์บอนต่่าถูก
ด่าเนินการให้สอดคล้องกับสถานการณ์ ความต้องการ ปัญหา และจุดยืน
ที่เมืองร้อยเอ็ดได้วางไว้ โดยส่งเสริมยุทธศาสตร์ของท้องถิ่นที่มีอยู่เดิม
ให้บูรณาการไปสู่ความเป็นเมืองคาร์บอนต่่า เศรษฐกิจคาร์บอนต่่า และ
วัฒนธรรมคาร์บอนต่่า ซึ่งสะท้อนมาจากแนวคิดในการพัฒนาเมืองและ
ชุมชนเพื่อมุ่งไปสู่สังคมคาร์บอนต่่า กรอบแนวคิด ๕ ด้านถูกจัดท่าขึ้น
ได้แก่
ศูนย์กลางเมืองกระชับ
การคมนาคมขนส่งคาร์บอนต่่า
โครงข่ายสีเขียวคาร์บอนต่่า
เศรษฐกิจคาร์บอนต่่า
วัฒนธรรมคาร์บอนต่่า
๒ - ๓
แนวคิดในการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งไปสู่สังคม
คาร์บอนต่่า เทศบาลเมืองร้อยเอ็ด
บทที่ ๓ ผังการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งไปสู่สังคมคาร์บอนต่่า
เทศบาลเมืองร้อยเอ็ด
แนวคิดการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งไปสู่สังคมคาร์บอนต่่า ได้แก่
ศูนย์กลางเมืองกระชับ สนับสนุนให้มีเมืองหลายศูนย์กลาง พื้นที่ศูนย์กลางเมืองสนับสนุนให้มีการเติบโตอย่าง
ชาญฉลาด มีความกระชับ ใช้ที่ดินแบบผสมผสาน เช่น บริเวณพื้นที่ย่านศูนย์ราชการควรวางแนวคิดในการ
จัดการพื้นที่เพื่อรองรับอาคารโรงแรมส่าหรับการจัดสัมมนา พักผ่อน หรือเป็นอาคารที่มีการรองรับกิจกรรม
อย่างหลากหลาย เพื่อเป็นการจูงใจให้เกิดการลงทุนในการพัฒนาเศรษฐกิจของเมือง พร้อมกันนี้ ควรมีการ
ควบคุมการพัฒนาของเมืองให้อยู่ในโครงข่ายวงแหวนของคูเมือง และรองรับการขยายตัวของเมืองให้สามารถ
อยู่ภายในวงแหวนรอบที่ ๒ เพื่อลดการพึ่งพารถยนต์ และเพื่อความสะดวกสบายในการเข้าถึงสาธารณูปโภค
สาธารณูปการ
การคมนาคมขนส่งคาร์บอนต่่า สนับสนุนให้มีการเดินทางที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม เช่น การเดินเท้า การใช้
จักรยาน การใช้รถขนส่งสาธารณะ จัดเตรียมที่จอดรถของส่วนรวมแต่ละพื้นที่ในย่าน เพื่อส่งเสริมให้เกิดการ
ใช้ระบบขนส่งร่วมกัน เช่น รถรับส่งระบบไฟฟ้าเพื่อเป็นการลดปัญหาการจราจรติดขัด และยังเป็นการลดการ
ผลิตก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ การปรับปรุงภูมิทัศน์ ๒ ข้างถนนเพื่อให้เอื้อต่อคนเดินเท้าและปั่นจักรยาน ปรับ
ผิวถนนให้ต่างระดับเพื่อชะลอความเร็วรถยนต์ในบางเส้นทางที่ต้องการส่งเสริมการเดินเท้า ปลูกต้นไม้เพื่อ
สร้างบรรยากาศในการเดิน เช่น บริเวณถนนสายหลักเมืองร้อยเอ็ด (ถนนสันติสุข) ถนนสีเขียวชุมชนทุ่งเจริญ
เป็นต้น
โครงข่ายสีเขียวคาร์บอนต่่า สนับสนุนให้มีการเชื่อมโยงพื้นที่สีเขียวใจกลางเมือง โดยพื้นที่น่าร่อง คือ พื้นที่
ย่านเมืองเก่า เสนอให้มีการเชื่อมโยงพื้นที่สีเขียวที่มีอยู่กับพื้นที่สีเขียวใหม่ที่ก่าลังจะเกิดขึ้นเพื่อสร้างความ
น่าเดินให้กับย่าน และในส่วนพื้นที่ย่านราชการให้มีการปรับปรุงพื้นที่สีเขียว ในบริเวณพื้นที่ที่ติดต่อ
ประสานงานกับทางราชการโดยไม่มีรั้ว ซึ่งเป็นการท่าให้พื้นที่สีเขียวมีมากขึ้น เป็นต้นแบบของโครงข่ายการ
เดินเท้าและโครงข่ายสีเขียวให้แก่เมือง พร้อมกันนี้ควรสนับสนุนและส่งเสริมให้มีการพัฒนาและฟื้นฟูพื้นที่
สีเขียวและพื้นทีริมน้่าให้มีศักยภาพ โดยอาศัยความร่วมมือของคนในชุมชนให้ชุมชนเป็นผู้ดูแล
เศรษฐกิจคาร์บอนต่่า โครงการน่าร่องในพื้นที่ตลาดทุ่งเจริญ เนื่องจากเป็นย่านพาณิชยกรรมเก่าที่ส่าคัญของ
เมือง โดยส่งเสริมการใช้เซลล์แสงอาทิตย์มาใช้ในตลาด ลดปริมาณการใช้พลังงานไฟฟ้า สร้างพลังงานไฟฟ้าเอง
ส่งเสริมการหมุนเวียนทรัพยากรกลับมาใช้ใหม่ เพื่อเป็นการใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด และเป็นการ
ลดปริมาณของเสียที่เกิดขึ้นให้น้อยที่สุด โดยใช้หลักการของ ๔Rs (Reduce, Reuse, Recycle, Repair) ลดการ
เกิดขยะตั้งแต่ต้นทางท่าให้ปริมาณขยะที่ต้องน่าไปก่าจัดลดลง หรือเหลือน้อยที่สุด ด่าเนินการสร้างนโยบาย
ธนาคารขยะ น่าขยะจากร้านค้า ที่อยู่อาศัย มาแลกผลผลิตของตลาด ส่งเสริมการซื้อขายสินค้า สนับสนุนการใช้
ถุงผ้าหรือใช้ภาชนะที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม พร้อมกันนี้ควรส่งเสริมให้มีการเพิ่มศักยภาพของ
ทรัพยากรธรรมชาติในพื้นที่ เพื่อพัฒนาให้เป็นแหล่งกิจกรรมภายในชุมชนและเป็นแหล่งท่องเที่ยวในพื้นที่
เพื่อส่งเสริมเศรษฐกิจชุมชน
วิถีชีวิตคาร์บอนต่่า ส่งเสริมให้มีการสร้าง Low Carbon Lifestyles ให้กับชุมชน โดยการปรับเปลี่ยนวิธีการใช้
ชีวิต เช่น วิถีการเดิน วิถีการปั่นจักรยาน วิถีการใช้พลังงานทางเลือก มีการอยู่อาศัยที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม เช่น
พื้นที่อาคารควรมีการปลูกไม้ยืนต้นเพื่อให้ร่มเงา ใช้วัสดุที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมในการสร้างบ้านเรือน ติดตั้ง
เซลล์แสงอาทิตย์เพื่อน่าพลังงานมาใช้ในอาคาร เพื่อเป็นการประหยัดพลังงานและใช้พลังงานทางเลือก เป็นต้น
นอกจากนี้ยังควรจัดตั้งศูนย์การเรียนรู้คาร์บอนต่่าเมืองร้อยเอ็ด และส่งเสริมการท่องเที่ยวเรียนรู้วิถีชีวิตชุมชน
เพื่อให้ชุมชนเห็นถึงความความส่าคัญของการใช้ชีวิตคาร์บอนต่่าอีกด้วย
โดยโครงการน่าร่องการพัฒนาเมืองเพื่อให้มุ่งไปสู่สังคมคาร์บอนต่่า ประกอบด้วย ๔ โครงการ ดังนี้
๑. โครงการวางผังออกแบบพัฒนาพื้นที่ ย่านศูนย์ราชการ
๒. โครงการวางผังออกแบบพัฒนาพื้นที่ ย่านตลาดทุ่งเจริญ
๓. โครงการวางผังออกแบบพัฒนาพื้นที่ ย่านเมืองเก่า
๔. โครงการวางผังออกแบบพัฒนาพื้นที่ ย่านขนส่งมวลชน
๓ - ๑
๓.๑ โครงการพัฒนาย่านศูนย์ราชการ
ย่านศูนย์ราชการอยู่บริเวณตอนล่างของบึงพลาญชัย ซึ่งมีศักยภาพในการรองรับกับการขยายตัวของเมืองในอนาคต และสามารถรองรับกิจกรรมต่าง ๆ ของเมืองได้หลากหลาย พร้อมกับยังสามารถเป็นต้นแบบ
ของการพัฒนาเมืองและชุมชนคาร์บอนต่่าได้ในอนาคต ดังนั้นจึงได้มีการก่าหนดการเชื่อมโยงพื้นที่ว่างจากส่วนราชการเข้าด้วยกัน ก่าหนดรูปแบบของพื้นที่จอดรถร่วมของเมือง และพัฒนาพื้นที่รอบคูเมืองให้มีความเชื่อมโยง
และต่อเนื่องของพื้นที่สีเขียวเพื่อให้เกิดกิจกรรมของเมืองในการพักผ่อนของประชาชน
การพัฒนาพื้นที่ให้มีสะพานข้ามคูเมืองพร้อมทางปั่นจักรยานในแต่ละ
ส่วนเพื่อการเชื่อมโยงกิจกรรมของแต่ละฝั่งถนนเข้าด้วยกัน พร้อมขยายพื้นที่ริมน้่า
รอบคูเมือง ให้มีพื้นที่สีเขียวและพื้นที่โล่งในการส่งเสริมกิจกรรมของชุมชน เช่น
ลานออกก่าลังกาย เส้นทางปั่นจักรยาน พื้นที่จอดรถยนต์ ทางเดินริมคูเมือง ศาลา
พักผ่อน ที่นั่งต่าง ๆ
ภาพที่ ๓ - ๑ แสดงทัศนียภาพตามแนวทางการพัฒนาพื้นที่บริเวณคูเมือง
ปรับปรุงพื้นที่สีเขียวของส่วน ราชการ โดยไม่กั้นรั้วระหว่าง
พื้นที่ของแต่ละส่วนที่ติดต่อประสานงานกับทางราชการ ซึ่งจะส่งผลให้
มีพื้นที่สีเขียวเพิ่มขึ้นและยังมีพื้นที่โล่งที่จะสามารถพัฒนาได้ในอนาคต
ภาพที่ ๓ - ๓ แสดงทัศนียภาพตามแนวทางการพัฒนาพื้นที่บริเวณคูเมือง
ภาพที่ ๓ – ๒ แสดงทัศนียภาพตามแนวทางการพัฒนาพื้นที่บริเวณคูเมือง
๓ - ๒
ภาพที่ ๓ - ๔ แสดงทัศนียภาพตามแนวทางการพัฒนาปรับปรุงพื้นที่บ้านพักอาศัยของข้าราชการ ภาพที่ ๓ - ๖ แสดงทัศนียภาพการพัฒนาย่านศูนย์ราชการ
ภาพที่ ๓ - ๕ แสดงทัศนียภาพการพัฒนาย่านศูนย์ราชการ
๓ - ๓
A โครงการพัฒนาย่านศูนย์ราชการ
 โครงการฟื้นฟูและปรับปรุงภูมิทัศน์
A1 รอบบึงพลาญชัย
A2 รอบคูเมือง
 โครงการยกเลิกรั้วล้อมรอบส่วนราชการ เพื่อเชื่อมโยงพื้นที่สีเขียว
A3 บริเวณรอบส่วนราชการ
 จัดระเบียบที่จอดรถ และจุดจอดรถระบบพลังงานไฟฟ้าในชุมชน
A4 พื้นที่ราชการ
 โครงการตัดถนน เพื่อสร้างความเชื่อมโยงของการคมนาคมให้
ต่อเนื่องกัน เพิ่มทางเท้า และทางจักรยาน
A5 พื้นที่ราชการ
 ปรับปรุงพื้นที่พักอาศัย ให้เป็นพื้นที่เปิดโล่ง และเชื่อมโยงพื้นที่
สีเขียว
A6 ที่พักอาศัยข้าราชการ
ยุทธศาสตร์ ๕ การพัฒนาด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ยุทธศาสตร์ ๑ การพัฒนาด้านโครงสร้างพื้นฐาน
ภาพที่ ๓ - ๗ แสดงผังพื้นที่โครงการการพัฒนาพื้นที่ย่านศูนย์ราชการ
ภาพที่ ๓ - ๘ ต่าแหน่งโครงการพัฒนาย่านศูนย์ราชการ
ยุทธศาสตร์ของเทศบาลที่เกี่ยวข้อง
สรุปโครงการพัฒนา
๓ - ๔
• ฟื้นฟูและปรับปรุงภูมิทัศน์
A1 รอบบึงพลาญชัย
A2 รอบคูเมือง
• ยกเลิกรั้วล้อมรอบส่วนราชการ เพื่อเชื่อมโยงพื้นที่สีเขียว
A3 รอบส่วนราชการ
หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
ส่านักการช่าง ส่านักการคลัง กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม
หน่วยงานสนับสนุน
กระทรวงมหาดไทย กระทรวงคมนาคม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและ
สิ่งแวดล้อม ส่านักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ส่านักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจังหวัด ส่านักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ผู้เกี่ยวข้องในพื้นที่
สวนสมเด็จพระศรีนครินทร์ ศาลากลางจังหวัดร้อยเอ็ด ศาลจังหวัดร้อยเอ็ด ส่วนที่พักราชการ
โรงเรียนสตรีร้อยเอ็ด ฯลฯ
สภาพแวดล้อมคาร์บอนต่่า
A โครงการพัฒนาย่านศูนย์ราชการ
แนวทางด่าเนินงาน
๑. การบรรจุนโยบายด้านการพัฒนาเมืองและชุมชนไปสู่การเติบโตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมและสังคมคาร์บอนต่่าเข้าสู่
แผนยุทธศาสตร์ของการพัฒนาและสร้างต้นแบบโครงการเมืองและชุมชนที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมและคาร์บอนต่่า
- จัดท่าข้อบัญญัติท้องถิ่นโดยองค์กรปกครองบริหารส่วนท้องถิ่น โดยอาศัยอ่านาจตามพระราชบัญญัติ
เทศบาล พ.ศ. ๒๕๔๙ มาตรา ๖๐ ถึง ๙๕
- น่าร่องการเพิ่มพื้นที่สีเขียวและพันธุ์ไม้ท้องถิ่นในแปลงที่ดินของรัฐ รวมทั้งจัดท่าฐานข้อมูลพื้นที่สีเขียว และ
ฐานข้อมูลทะเบียนพันธุ์ไม้ใหญ่ทรงคุณค่าในเมือง
๒. การพัฒนาเมืองที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม โดยการวางผังเมืองที่ผสมผสานวัฒนธรรม สังคม และระบบนิเวศเข้าด้วยกัน
- วางแผนและผังพัฒนาเมืองที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมภายใต้โครงการพันธมิตรเพื่อการพัฒนาตามผังเมือง
โดยมีคณะกรรมการโครงการพันธมิตรเพื่อการพัฒนาตามผังเมืองระดับจังหวัดเป็นองค์กรขับเคลื่อน ร่วมกับ
กรมโยธาธิการและผังเมือง องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น
- วางแผนและพัฒนาพื้นที่เฉพาะเพื่อการพัฒนาส่วนของเมืองจากการอนุรักษ์บ่ารุงรักษาทรัพยากรธรรมชาติ
ที่มีคุณค่า
๓. การปรับปรุงและด่าเนินการกลไกทางกฎหมาย กฎ/ระเบียบ เกณฑ์มาตรฐานที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้เหมาะสมต่อการ
พัฒนาเมืองและชุมชนคาร์บอนต่่า
- ควบคุมให้เป็นไปตามแผนผังก่าหนดการใช้ประโยชน์ที่ดิน โครงข่ายคมนาคมและขนส่งในเขตผังเมืองและ
พื้นที่เฉพาะของการพัฒนา โดยพระราชบัญญัติการผังเมือง พ.ศ. ๒๕๑๘
๔. การส่งเสริมและสร้างเครือข่ายความร่วมมือ ในการดูแลรักษาสภาพแวดล้อม
- ส่งเสริมการเพิ่มพื้นที่สีเขียวเพื่อดูดซับก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ที่เกิดจากกระบวนการผลิตอย่างต่อเนื่อง เช่น
ริมถนน ลานจอดรถ สวนหย่อม ทางเชื่อมจุดต่าง ๆ เป็นต้น โดยเลือกปลูกพันธุ์ไม้ให้เหมาะกับการจัดการ
ปัญหามลพิษ
๓ - ๕
กิจกรรมน่าร่องที่ด่าเนินการได้ในระยะสั้น
กิจกรรมน่าร่องที่ด่าเนินการได้ในระยะกลาง
กิจกรรมน่าร่องที่ด่าเนินการได้ในระยะยาว
• จัดระเบียบที่จอดรถ และจุดจอดรถระบบพลังงานไฟฟ้าในชุมชน
A4 พื้นที่ราชการ
• ตัดถนน เพื่อสร้างความเชื่อมโยงของการคมนาคมให้ต่อเนื่องกัน เพิ่มทางเท้า และทางจักรยาน
A5 พื้นที่ราชการ
หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
ส่านักการช่าง งานสวนสาธารณะ กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม
หน่วยงานสนับสนุน
กระทรวงคมนาคม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ส่านักงานทรัพยากรธรรมชาติและ
สิ่งแวดล้อมจังหวัด องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ผู้เกี่ยวข้องในพื้นที่
ศาลากลางจังหวัดร้อยเอ็ด สวนสมเด็จพระศรีนครินทร์ สถานีต่ารวจเมืองร้อยเอ็ด ศาลจังหวัดร้อยเอ็ด
ตลาดสดเทศบาลเมืองร้อยเอ็ด โรงเรียนเมืองร้อยเอ็ด ฯลฯ
วัฒนธรรมคาร์บอนต่่า
A โครงการพัฒนาย่านศูนย์ราชการ
• ปรับปรุงพื้นที่พักอาศัย ให้เป็นพื้นที่เปิดโล่ง และเชื่อมโยงพื้นที่สีเขียว
A6 พื้นที่พักอาศัยข้าราชการ
แนวทางด่าเนินงาน
๑. การวางแผนและพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานการขนส่งที่มีประสิทธิภาพสูงและลดการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์
- วางแผนและผังการพัฒนาพื้นที่สาธารณะที่สนับสนุนการเดินเท้า และเอื้อประโยชน์ต่อระบบการ
ขนส่งที่อนุรักษ์พลังงาน สามารถเดินทางได้ในระยะสั้น และสามารถใช้ยานพาหนะที่ไม่ใช้พลังงาน
หรือใช้พลังงานต่่า
๒. การพัฒนาเมืองที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม โดยการวางผังเมืองที่ผสมผสานวัฒนธรรม สังคม และระบบนิเวศ
เข้าด้วยกัน
- วางแผนและพัฒนาพื้นที่เฉพาะเพื่อการพัฒนาส่วนของเมือง เพื่อการแก้ไขปรับปรุงสภาพความ
เสื่อมโทรมทางกายภาพเศรษฐกิจ สังคม และสภาพแวดล้อม ตลอดจนการพัฒนาขึ้นใหม่
๔. การปรับนโยบายการลงทุนภาครัฐเพื่อให้เอื้อต่อโครงสร้างพื้นฐานของเมืองคาร์บอนต่่า
- ขอเงินทุนหมุนเวียนส่าหรับการกู้ยืม และ/หรือร่วมลงทุนจากกองทุนสิ่งแวดล้อมส่าหรับส่วนราชการ
รัฐวิสาหกิจ หรือเอกชน เพื่อการก่อสร้างและด่าเนินการที่เกี่ยวเนื่องทางสิ่งแวดล้อม
๒. การส่งเสริมและสร้างความร่วมมือในการเดินทางที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
- จัดตั้งกลุ่ม องค์กร สนับสนุนการเดินเท้าและการใช้จักรยานในชีวิตประจ่าวัน รวมถึงการรณรงค์การ
เดินทางที่ประหยัดพลังงานและเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมในทุกรูปแบบ สร้างทัศนคติในการเดินทาง
ซึ่งหากมีการเดินทางไกลควรใช้บริการรถสาธารณะ
๓. การขับเคลื่อนการปฏิบัติโดยบรรจุเรื่องเมืองคาร์บอนต่่าในแผนแม่บทและแผนปฏิบัติการขององค์กร
ระดับต่าง ๆ
- พัฒนาเมืองที่ให้ความส่าคัญกับการเดินเท้าและการใช้จักรยานรวมถึงระบบขนส่งมวลชน ควบคุม
ลดความเร็วของการจราจรและเรียกคืนพื้นที่เพื่อการเดินเท้า (Traffic Taming) การปิดถนนเพื่อการ
เดินเท้า การสร้างความร่มรื่นในการเดินเท้าในศูนย์กลางเมือง และการสนับสนุนให้มีการใช้จักรยาน
๓ - ๖
ย่านตลาดทุ่งเจริญ ตั้งอยู่บริเวณด้านทิศตะวันออกของบึงพลาญชัย ซึ่งเป็นแหล่งพาณิชยกรรมเดิมของเมืองที่เป็นศูนย์รวมของกิจกรรม
ทั้งศาสนสถาน สถานศึกษา ตลาด โรงแรม และชุมชนพักอาศัย และยังประกอบด้วยป่าไม้ แหล่งน้่า และทรัพยากรธรรมชาติของเมือง มีศักยภาพ
ในการพัฒนาพื้นที่เพื่อให้คนในชุมชนสามารถเข้าไปใช้งานและร่วมอนุรักษ์ฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติ โดยได้ให้ความส่าคัญกับการเดินเท้าเป็นอันดับ
แรก รวมถึงได้ส่งเสริมการใช้จักรยานในชีวิตประจ่าวัน ส่งเสริมการเข้าถึงพื้นที่ริมน้่า เชื่อมโยงพื้นที่สีเขียว ทั้งในสถานที่ราชการ สถานศึกษา วัด
และชุมชน เพื่อให้ประชาชนสามารถเข้าถึงการใช้งานแหล่งทรัพยากรเหล่านั้นได้อย่างเต็มประสิทธิภาพ พร้อมทั้งเสริมสร้างวิถีชีวิตและความ
เข้มแข็งของชุมชน เพื่อให้ร้อยเอ็ดเป็นสังคมที่มุ่งสู่เมืองคาร์บอนต่่า
ภาพที่ ๓ - ๙ ผังแสดงพื้นที่โครงการในการพัฒนาย่านตลาดทุ่งเจริญ
๓.๒ โครงการพัฒนาย่านตลาดทุ่งเจริญ
๓ - ๗
ภาพที่ ๓ - ๑๑ แสดงทัศนียภาพพื้นที่สีเขียวในชุมชน
ภาพที่ ๓ - ๑๓ แสดงทัศนียภาพพื้นที่ถนนสันติสุข
ภาพที่ ๓ - ๑๐ แสดงทัศนียภาพย่านพาณิชย์กรรมใหม่เมืองร้อยเอ็ด (Market Village)
ภาพที่ ๓ - ๑๔ แสดงสภาพก่อนการพัฒนาพื้นที่ (ขวา) ริมคลอง (ซ้าย) ถนนสันติสุข
ภาพที่ ๓ - ๑๒ แสดงทัศนียภาพพื้นที่คลองคูเมือง
๓ - ๘
B โครงการพัฒนาย่าน
ตลาดทุ่งเจริญ
 พัฒนาแหล่งท่องเที่ยว (ศูนย์การเรียนรู้คาร์บอนต่่า)
B7 พื้นที่ด้านหลังพิพิธภัณฑ์สถานแห่งชาติร้อยเอ็ด
 พัฒนาพื้นที่พาณิชย์กรรมและที่อยู่อาศัย
(จัดกลุ่มอาคารพักอาศัย และพัฒนาพื้นที่ว่าง)
B8 บริเวณตลาดทุ่งเจริญ
B9 บ้านกลางเมืองร้อยเอ็ด
B10 บริเวณพาณิชย์กรรมใหม่เมืองร้อยเอ็ด
 พัฒนาพื้นที่ว่างสาธารณะและพื้นที่สีเขียว
B4 บริเวณคูเมือง
B5 บริเวณริมคลองคูเมือง
B6 ชุมชนพระอารามหลวง
ยุทธศาสตร์ ๕ การพัฒนาด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ยุทธศาสตร์ ๖ การพัฒนาด้านการบริหารการเมืองการปกครอง
ภาพที่ ๓ - ๑๕ แสดงผังพื้นที่โครงการการพัฒนาพื้นที่บริเวณย่านศูนย์ราชการ
ภาพที่ ๓ – ๑๖
ต่าแหน่งโครงการการ
พัฒนาย่านศูนย์ราชการ
ยุทธศาสตร์ของเทศบาลที่เกี่ยวข้อง
สรุปโครงการพัฒนา
 โครงการถนนสีเขียว
B1 ถนนสายหลัก
B2 ถนนสีเขียวชุมชนทุ่งเจริญ
B3 ถนนสายรอง
ภาพที่ ๓ – ๑๗ แสดงผังการ
พัฒนาพื้นที่ถนน
๓ - ๙
Roi Et urban development - การพัฒนาเมืองร้อยเอ็ด เมืองคาร์บอนต่ำ เมืองที่ยั่งยืน เมืองที่เป็นมิตร
Roi Et urban development - การพัฒนาเมืองร้อยเอ็ด เมืองคาร์บอนต่ำ เมืองที่ยั่งยืน เมืองที่เป็นมิตร
Roi Et urban development - การพัฒนาเมืองร้อยเอ็ด เมืองคาร์บอนต่ำ เมืองที่ยั่งยืน เมืองที่เป็นมิตร
Roi Et urban development - การพัฒนาเมืองร้อยเอ็ด เมืองคาร์บอนต่ำ เมืองที่ยั่งยืน เมืองที่เป็นมิตร
Roi Et urban development - การพัฒนาเมืองร้อยเอ็ด เมืองคาร์บอนต่ำ เมืองที่ยั่งยืน เมืองที่เป็นมิตร
Roi Et urban development - การพัฒนาเมืองร้อยเอ็ด เมืองคาร์บอนต่ำ เมืองที่ยั่งยืน เมืองที่เป็นมิตร
Roi Et urban development - การพัฒนาเมืองร้อยเอ็ด เมืองคาร์บอนต่ำ เมืองที่ยั่งยืน เมืองที่เป็นมิตร
Roi Et urban development - การพัฒนาเมืองร้อยเอ็ด เมืองคาร์บอนต่ำ เมืองที่ยั่งยืน เมืองที่เป็นมิตร
Roi Et urban development - การพัฒนาเมืองร้อยเอ็ด เมืองคาร์บอนต่ำ เมืองที่ยั่งยืน เมืองที่เป็นมิตร
Roi Et urban development - การพัฒนาเมืองร้อยเอ็ด เมืองคาร์บอนต่ำ เมืองที่ยั่งยืน เมืองที่เป็นมิตร
Roi Et urban development - การพัฒนาเมืองร้อยเอ็ด เมืองคาร์บอนต่ำ เมืองที่ยั่งยืน เมืองที่เป็นมิตร
Roi Et urban development - การพัฒนาเมืองร้อยเอ็ด เมืองคาร์บอนต่ำ เมืองที่ยั่งยืน เมืองที่เป็นมิตร
Roi Et urban development - การพัฒนาเมืองร้อยเอ็ด เมืองคาร์บอนต่ำ เมืองที่ยั่งยืน เมืองที่เป็นมิตร
Roi Et urban development - การพัฒนาเมืองร้อยเอ็ด เมืองคาร์บอนต่ำ เมืองที่ยั่งยืน เมืองที่เป็นมิตร
Roi Et urban development - การพัฒนาเมืองร้อยเอ็ด เมืองคาร์บอนต่ำ เมืองที่ยั่งยืน เมืองที่เป็นมิตร
Roi Et urban development - การพัฒนาเมืองร้อยเอ็ด เมืองคาร์บอนต่ำ เมืองที่ยั่งยืน เมืองที่เป็นมิตร
Roi Et urban development - การพัฒนาเมืองร้อยเอ็ด เมืองคาร์บอนต่ำ เมืองที่ยั่งยืน เมืองที่เป็นมิตร
Roi Et urban development - การพัฒนาเมืองร้อยเอ็ด เมืองคาร์บอนต่ำ เมืองที่ยั่งยืน เมืองที่เป็นมิตร
Roi Et urban development - การพัฒนาเมืองร้อยเอ็ด เมืองคาร์บอนต่ำ เมืองที่ยั่งยืน เมืองที่เป็นมิตร
Roi Et urban development - การพัฒนาเมืองร้อยเอ็ด เมืองคาร์บอนต่ำ เมืองที่ยั่งยืน เมืองที่เป็นมิตร
Roi Et urban development - การพัฒนาเมืองร้อยเอ็ด เมืองคาร์บอนต่ำ เมืองที่ยั่งยืน เมืองที่เป็นมิตร
Roi Et urban development - การพัฒนาเมืองร้อยเอ็ด เมืองคาร์บอนต่ำ เมืองที่ยั่งยืน เมืองที่เป็นมิตร
Roi Et urban development - การพัฒนาเมืองร้อยเอ็ด เมืองคาร์บอนต่ำ เมืองที่ยั่งยืน เมืองที่เป็นมิตร
Roi Et urban development - การพัฒนาเมืองร้อยเอ็ด เมืองคาร์บอนต่ำ เมืองที่ยั่งยืน เมืองที่เป็นมิตร
Roi Et urban development - การพัฒนาเมืองร้อยเอ็ด เมืองคาร์บอนต่ำ เมืองที่ยั่งยืน เมืองที่เป็นมิตร
Roi Et urban development - การพัฒนาเมืองร้อยเอ็ด เมืองคาร์บอนต่ำ เมืองที่ยั่งยืน เมืองที่เป็นมิตร
Roi Et urban development - การพัฒนาเมืองร้อยเอ็ด เมืองคาร์บอนต่ำ เมืองที่ยั่งยืน เมืองที่เป็นมิตร
Roi Et urban development - การพัฒนาเมืองร้อยเอ็ด เมืองคาร์บอนต่ำ เมืองที่ยั่งยืน เมืองที่เป็นมิตร

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

แบบเสนอเค้าโครงร่างโครงงาน
แบบเสนอเค้าโครงร่างโครงงานแบบเสนอเค้าโครงร่างโครงงาน
แบบเสนอเค้าโครงร่างโครงงานnoeypornnutcha
 
การเขียนบรรณานุกรม
การเขียนบรรณานุกรมการเขียนบรรณานุกรม
การเขียนบรรณานุกรมSupaporn Khiewwan
 
5 ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
5 ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี5 ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
5 ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีSircom Smarnbua
 
โครงการในพระราชดำริฝนหลวง
โครงการในพระราชดำริฝนหลวงโครงการในพระราชดำริฝนหลวง
โครงการในพระราชดำริฝนหลวงTanwalai Kullawong
 
บทที่3 วิธีดำเนินงาน
บทที่3 วิธีดำเนินงานบทที่3 วิธีดำเนินงาน
บทที่3 วิธีดำเนินงานChamp Wachwittayakhang
 
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนาวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนาThongsawan Seeha
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์deliverykill
 
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศเรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศพัน พัน
 
ปัญหาสิ่งแวดล้อม
ปัญหาสิ่งแวดล้อมปัญหาสิ่งแวดล้อม
ปัญหาสิ่งแวดล้อมTangkwa Pawarisa
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Sitanan Norapong
 
โครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุด
โครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุดโครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุด
โครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุดพัน พัน
 
รายงานคอมพิวเตอร์
รายงานคอมพิวเตอร์รายงานคอมพิวเตอร์
รายงานคอมพิวเตอร์Pimrada Seehanam
 
หลัการเขียนโครงการ
หลัการเขียนโครงการหลัการเขียนโครงการ
หลัการเขียนโครงการKaratz Mee
 
โครงงาน สมุนไพรลดความอ้วน
โครงงาน สมุนไพรลดความอ้วนโครงงาน สมุนไพรลดความอ้วน
โครงงาน สมุนไพรลดความอ้วนMai Natthida
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องKittichai Pinlert
 
การเรียนรู้แบบโครงงาน
การเรียนรู้แบบโครงงานการเรียนรู้แบบโครงงาน
การเรียนรู้แบบโครงงานmon2419
 

Was ist angesagt? (20)

แบบเสนอเค้าโครงร่างโครงงาน
แบบเสนอเค้าโครงร่างโครงงานแบบเสนอเค้าโครงร่างโครงงาน
แบบเสนอเค้าโครงร่างโครงงาน
 
โครงงาน 5 บท
โครงงาน  5 บทโครงงาน  5 บท
โครงงาน 5 บท
 
การเขียนบรรณานุกรม
การเขียนบรรณานุกรมการเขียนบรรณานุกรม
การเขียนบรรณานุกรม
 
5 ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
5 ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี5 ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
5 ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
โครงการในพระราชดำริฝนหลวง
โครงการในพระราชดำริฝนหลวงโครงการในพระราชดำริฝนหลวง
โครงการในพระราชดำริฝนหลวง
 
บทที่3 วิธีดำเนินงาน
บทที่3 วิธีดำเนินงานบทที่3 วิธีดำเนินงาน
บทที่3 วิธีดำเนินงาน
 
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนาวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศเรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ปัญหาสิ่งแวดล้อม
ปัญหาสิ่งแวดล้อมปัญหาสิ่งแวดล้อม
ปัญหาสิ่งแวดล้อม
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
แผนคอมพิวเตอร์เพื่องานอาชีพ1
แผนคอมพิวเตอร์เพื่องานอาชีพ1แผนคอมพิวเตอร์เพื่องานอาชีพ1
แผนคอมพิวเตอร์เพื่องานอาชีพ1
 
โครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุด
โครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุดโครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุด
โครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุด
 
รายงานคอมพิวเตอร์
รายงานคอมพิวเตอร์รายงานคอมพิวเตอร์
รายงานคอมพิวเตอร์
 
หลัการเขียนโครงการ
หลัการเขียนโครงการหลัการเขียนโครงการ
หลัการเขียนโครงการ
 
โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี
โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎีโครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี
โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี
 
โครงงาน สมุนไพรลดความอ้วน
โครงงาน สมุนไพรลดความอ้วนโครงงาน สมุนไพรลดความอ้วน
โครงงาน สมุนไพรลดความอ้วน
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
การเรียนรู้แบบโครงงาน
การเรียนรู้แบบโครงงานการเรียนรู้แบบโครงงาน
การเรียนรู้แบบโครงงาน
 

Ähnlich wie Roi Et urban development - การพัฒนาเมืองร้อยเอ็ด เมืองคาร์บอนต่ำ เมืองที่ยั่งยืน เมืองที่เป็นมิตร

Srisaked urban development - การพัฒนาเมืองศรีสะเกษ เมืองคาร์บอนต่ำ เมืองที่ยั...
Srisaked urban development - การพัฒนาเมืองศรีสะเกษ เมืองคาร์บอนต่ำ เมืองที่ยั...Srisaked urban development - การพัฒนาเมืองศรีสะเกษ เมืองคาร์บอนต่ำ เมืองที่ยั...
Srisaked urban development - การพัฒนาเมืองศรีสะเกษ เมืองคาร์บอนต่ำ เมืองที่ยั...Singhanat Sangsehanat
 
Khon kaen urban development - การพัฒนาเมืองขอนแก่น เมืองคาร์บอนต่ำ เมืองที่ยั...
Khon kaen urban development - การพัฒนาเมืองขอนแก่น เมืองคาร์บอนต่ำ เมืองที่ยั...Khon kaen urban development - การพัฒนาเมืองขอนแก่น เมืองคาร์บอนต่ำ เมืองที่ยั...
Khon kaen urban development - การพัฒนาเมืองขอนแก่น เมืองคาร์บอนต่ำ เมืองที่ยั...Singhanat Sangsehanat
 
คู่มือ การพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่ำ - การศึกษา การออกแบบ ...
คู่มือ การพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่ำ - การศึกษา การออกแบบ ...คู่มือ การพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่ำ - การศึกษา การออกแบบ ...
คู่มือ การพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่ำ - การศึกษา การออกแบบ ...Singhanat Sangsehanat
 
โครงการพระราชดำริการใช้ประโยชน์จากขยะ
โครงการพระราชดำริการใช้ประโยชน์จากขยะโครงการพระราชดำริการใช้ประโยชน์จากขยะ
โครงการพระราชดำริการใช้ประโยชน์จากขยะPoramate Minsiri
 
คู่มือแนวทางการลดคัดแยก และใช้ประโยชน์ขยะมูลฝอย
คู่มือแนวทางการลดคัดแยก และใช้ประโยชน์ขยะมูลฝอยคู่มือแนวทางการลดคัดแยก และใช้ประโยชน์ขยะมูลฝอย
คู่มือแนวทางการลดคัดแยก และใช้ประโยชน์ขยะมูลฝอยSarit Tiyawongsuwan
 
ส่วนที่ 3 ยุทธศาสตร์การจัดการขยะมูลฝอยของจังหวัดขอนแก่น
ส่วนที่ 3 ยุทธศาสตร์การจัดการขยะมูลฝอยของจังหวัดขอนแก่นส่วนที่ 3 ยุทธศาสตร์การจัดการขยะมูลฝอยของจังหวัดขอนแก่น
ส่วนที่ 3 ยุทธศาสตร์การจัดการขยะมูลฝอยของจังหวัดขอนแก่นNatta Noname101
 
ผังเมืองรวมเมืองท่าโขลง คลองหลวง-รังสิต จังหวัดปทุมธานี พ.ศ.2552
ผังเมืองรวมเมืองท่าโขลง คลองหลวง-รังสิต จังหวัดปทุมธานี พ.ศ.2552ผังเมืองรวมเมืองท่าโขลง คลองหลวง-รังสิต จังหวัดปทุมธานี พ.ศ.2552
ผังเมืองรวมเมืองท่าโขลง คลองหลวง-รังสิต จังหวัดปทุมธานี พ.ศ.2552ดิเรก ดวงเพ็ชร์
 
Design and technology 3 unit 1
Design and technology 3 unit 1Design and technology 3 unit 1
Design and technology 3 unit 1Chompooh Cyp
 
รายงานผลการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาสามปี (พ.ศ.2560-2562) ผลการดำเนินงานประจ...
รายงานผลการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาสามปี (พ.ศ.2560-2562) ผลการดำเนินงานประจ...รายงานผลการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาสามปี (พ.ศ.2560-2562) ผลการดำเนินงานประจ...
รายงานผลการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาสามปี (พ.ศ.2560-2562) ผลการดำเนินงานประจ...Kanjana thong
 
2562 final-project -1
2562 final-project -12562 final-project -1
2562 final-project -1ssuser8b25961
 
เทคโนโลยีการสื่อสารตามแนวพระราชดำริ
เทคโนโลยีการสื่อสารตามแนวพระราชดำริเทคโนโลยีการสื่อสารตามแนวพระราชดำริ
เทคโนโลยีการสื่อสารตามแนวพระราชดำริsoonthon100
 
ความก้าวหน้าการดำเนินงานเทคโนโลยีการผลิตที่สะอาดสำหรับโรงงานอุตสาหกรรมในพื้นท...
ความก้าวหน้าการดำเนินงานเทคโนโลยีการผลิตที่สะอาดสำหรับโรงงานอุตสาหกรรมในพื้นท...ความก้าวหน้าการดำเนินงานเทคโนโลยีการผลิตที่สะอาดสำหรับโรงงานอุตสาหกรรมในพื้นท...
ความก้าวหน้าการดำเนินงานเทคโนโลยีการผลิตที่สะอาดสำหรับโรงงานอุตสาหกรรมในพื้นท...Dr.Choen Krainara
 
ผังเมืองกับพื้นที่เสี่ยงภัย
ผังเมืองกับพื้นที่เสี่ยงภัยผังเมืองกับพื้นที่เสี่ยงภัย
ผังเมืองกับพื้นที่เสี่ยงภัยS-Paranee
 
ผังเมืองกับพื้นที่เสี่ยงภัย
ผังเมืองกับพื้นที่เสี่ยงภัยผังเมืองกับพื้นที่เสี่ยงภัย
ผังเมืองกับพื้นที่เสี่ยงภัยS-Paranee
 
ผังเมืองกับพื้นที่เสี่ยงภัย
ผังเมืองกับพื้นที่เสี่ยงภัยผังเมืองกับพื้นที่เสี่ยงภัย
ผังเมืองกับพื้นที่เสี่ยงภัยS-Paranee
 
ผังเมืองกับพื้นที่เสี่ยงภัย
ผังเมืองกับพื้นที่เสี่ยงภัยผังเมืองกับพื้นที่เสี่ยงภัย
ผังเมืองกับพื้นที่เสี่ยงภัยS-Paranee
 

Ähnlich wie Roi Et urban development - การพัฒนาเมืองร้อยเอ็ด เมืองคาร์บอนต่ำ เมืองที่ยั่งยืน เมืองที่เป็นมิตร (20)

Srisaked urban development - การพัฒนาเมืองศรีสะเกษ เมืองคาร์บอนต่ำ เมืองที่ยั...
Srisaked urban development - การพัฒนาเมืองศรีสะเกษ เมืองคาร์บอนต่ำ เมืองที่ยั...Srisaked urban development - การพัฒนาเมืองศรีสะเกษ เมืองคาร์บอนต่ำ เมืองที่ยั...
Srisaked urban development - การพัฒนาเมืองศรีสะเกษ เมืองคาร์บอนต่ำ เมืองที่ยั...
 
Khon kaen urban development - การพัฒนาเมืองขอนแก่น เมืองคาร์บอนต่ำ เมืองที่ยั...
Khon kaen urban development - การพัฒนาเมืองขอนแก่น เมืองคาร์บอนต่ำ เมืองที่ยั...Khon kaen urban development - การพัฒนาเมืองขอนแก่น เมืองคาร์บอนต่ำ เมืองที่ยั...
Khon kaen urban development - การพัฒนาเมืองขอนแก่น เมืองคาร์บอนต่ำ เมืองที่ยั...
 
คู่มือ การพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่ำ - การศึกษา การออกแบบ ...
คู่มือ การพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่ำ - การศึกษา การออกแบบ ...คู่มือ การพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่ำ - การศึกษา การออกแบบ ...
คู่มือ การพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่ำ - การศึกษา การออกแบบ ...
 
โครงการพระราชดำริการใช้ประโยชน์จากขยะ
โครงการพระราชดำริการใช้ประโยชน์จากขยะโครงการพระราชดำริการใช้ประโยชน์จากขยะ
โครงการพระราชดำริการใช้ประโยชน์จากขยะ
 
Work1 608_29
Work1 608_29Work1 608_29
Work1 608_29
 
คู่มือแนวทางการลดคัดแยก และใช้ประโยชน์ขยะมูลฝอย
คู่มือแนวทางการลดคัดแยก และใช้ประโยชน์ขยะมูลฝอยคู่มือแนวทางการลดคัดแยก และใช้ประโยชน์ขยะมูลฝอย
คู่มือแนวทางการลดคัดแยก และใช้ประโยชน์ขยะมูลฝอย
 
ต่าย
ต่ายต่าย
ต่าย
 
ส่วนที่ 3 ยุทธศาสตร์การจัดการขยะมูลฝอยของจังหวัดขอนแก่น
ส่วนที่ 3 ยุทธศาสตร์การจัดการขยะมูลฝอยของจังหวัดขอนแก่นส่วนที่ 3 ยุทธศาสตร์การจัดการขยะมูลฝอยของจังหวัดขอนแก่น
ส่วนที่ 3 ยุทธศาสตร์การจัดการขยะมูลฝอยของจังหวัดขอนแก่น
 
ผังเมืองรวมเมืองท่าโขลง คลองหลวง-รังสิต จังหวัดปทุมธานี พ.ศ.2552
ผังเมืองรวมเมืองท่าโขลง คลองหลวง-รังสิต จังหวัดปทุมธานี พ.ศ.2552ผังเมืองรวมเมืองท่าโขลง คลองหลวง-รังสิต จังหวัดปทุมธานี พ.ศ.2552
ผังเมืองรวมเมืองท่าโขลง คลองหลวง-รังสิต จังหวัดปทุมธานี พ.ศ.2552
 
Design and technology 3 unit 1
Design and technology 3 unit 1Design and technology 3 unit 1
Design and technology 3 unit 1
 
รายงานผลการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาสามปี (พ.ศ.2560-2562) ผลการดำเนินงานประจ...
รายงานผลการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาสามปี (พ.ศ.2560-2562) ผลการดำเนินงานประจ...รายงานผลการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาสามปี (พ.ศ.2560-2562) ผลการดำเนินงานประจ...
รายงานผลการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาสามปี (พ.ศ.2560-2562) ผลการดำเนินงานประจ...
 
2562 final-project -1
2562 final-project -12562 final-project -1
2562 final-project -1
 
GREEN RESEARCH Issue March 26
GREEN RESEARCH Issue March 26GREEN RESEARCH Issue March 26
GREEN RESEARCH Issue March 26
 
แนวทางการพัฒนาจริยธรรมของพยาบาล
แนวทางการพัฒนาจริยธรรมของพยาบาลแนวทางการพัฒนาจริยธรรมของพยาบาล
แนวทางการพัฒนาจริยธรรมของพยาบาล
 
เทคโนโลยีการสื่อสารตามแนวพระราชดำริ
เทคโนโลยีการสื่อสารตามแนวพระราชดำริเทคโนโลยีการสื่อสารตามแนวพระราชดำริ
เทคโนโลยีการสื่อสารตามแนวพระราชดำริ
 
ความก้าวหน้าการดำเนินงานเทคโนโลยีการผลิตที่สะอาดสำหรับโรงงานอุตสาหกรรมในพื้นท...
ความก้าวหน้าการดำเนินงานเทคโนโลยีการผลิตที่สะอาดสำหรับโรงงานอุตสาหกรรมในพื้นท...ความก้าวหน้าการดำเนินงานเทคโนโลยีการผลิตที่สะอาดสำหรับโรงงานอุตสาหกรรมในพื้นท...
ความก้าวหน้าการดำเนินงานเทคโนโลยีการผลิตที่สะอาดสำหรับโรงงานอุตสาหกรรมในพื้นท...
 
ผังเมืองกับพื้นที่เสี่ยงภัย
ผังเมืองกับพื้นที่เสี่ยงภัยผังเมืองกับพื้นที่เสี่ยงภัย
ผังเมืองกับพื้นที่เสี่ยงภัย
 
ผังเมืองกับพื้นที่เสี่ยงภัย
ผังเมืองกับพื้นที่เสี่ยงภัยผังเมืองกับพื้นที่เสี่ยงภัย
ผังเมืองกับพื้นที่เสี่ยงภัย
 
ผังเมืองกับพื้นที่เสี่ยงภัย
ผังเมืองกับพื้นที่เสี่ยงภัยผังเมืองกับพื้นที่เสี่ยงภัย
ผังเมืองกับพื้นที่เสี่ยงภัย
 
ผังเมืองกับพื้นที่เสี่ยงภัย
ผังเมืองกับพื้นที่เสี่ยงภัยผังเมืองกับพื้นที่เสี่ยงภัย
ผังเมืองกับพื้นที่เสี่ยงภัย
 

Mehr von Singhanat Sangsehanat

BMA แนวคิดการพัฒนาพื้นที่ Placemaking and PlaceMaker ตัวอย่างประสบการณ์จากลูก...
BMA แนวคิดการพัฒนาพื้นที่ Placemaking and PlaceMaker ตัวอย่างประสบการณ์จากลูก...BMA แนวคิดการพัฒนาพื้นที่ Placemaking and PlaceMaker ตัวอย่างประสบการณ์จากลูก...
BMA แนวคิดการพัฒนาพื้นที่ Placemaking and PlaceMaker ตัวอย่างประสบการณ์จากลูก...Singhanat Sangsehanat
 
ภาควิชาการออกแบบและวางผังชุมชนเมือง คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร
ภาควิชาการออกแบบและวางผังชุมชนเมือง คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากรภาควิชาการออกแบบและวางผังชุมชนเมือง คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร
ภาควิชาการออกแบบและวางผังชุมชนเมือง คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากรSinghanat Sangsehanat
 
Responsive Environment - บททบทวนทฤษฏีสภาพแวดล้อมที่ตอบสนอง การออกแบบชุมชนเมือ...
Responsive Environment - บททบทวนทฤษฏีสภาพแวดล้อมที่ตอบสนอง การออกแบบชุมชนเมือ...Responsive Environment - บททบทวนทฤษฏีสภาพแวดล้อมที่ตอบสนอง การออกแบบชุมชนเมือ...
Responsive Environment - บททบทวนทฤษฏีสภาพแวดล้อมที่ตอบสนอง การออกแบบชุมชนเมือ...Singhanat Sangsehanat
 
การออกแบบชุมชนเมือง - อะไร อย่างไร และหัวใจสำคัญ
การออกแบบชุมชนเมือง - อะไร อย่างไร และหัวใจสำคัญการออกแบบชุมชนเมือง - อะไร อย่างไร และหัวใจสำคัญ
การออกแบบชุมชนเมือง - อะไร อย่างไร และหัวใจสำคัญSinghanat Sangsehanat
 
แผนแม่บทการจัดการเชิงพื้นที่ของการท่องเที่ยว เมืองเพชรบุรี และเส้นทางเลียบชาย...
แผนแม่บทการจัดการเชิงพื้นที่ของการท่องเที่ยว เมืองเพชรบุรี และเส้นทางเลียบชาย...แผนแม่บทการจัดการเชิงพื้นที่ของการท่องเที่ยว เมืองเพชรบุรี และเส้นทางเลียบชาย...
แผนแม่บทการจัดการเชิงพื้นที่ของการท่องเที่ยว เมืองเพชรบุรี และเส้นทางเลียบชาย...Singhanat Sangsehanat
 
การฟื้นฟูชุมชนที่อยู่อาศัยจากรากฐานความต้องการของชุมชน กรณีศึกษา การวิจัยเชิง...
การฟื้นฟูชุมชนที่อยู่อาศัยจากรากฐานความต้องการของชุมชน กรณีศึกษา การวิจัยเชิง...การฟื้นฟูชุมชนที่อยู่อาศัยจากรากฐานความต้องการของชุมชน กรณีศึกษา การวิจัยเชิง...
การฟื้นฟูชุมชนที่อยู่อาศัยจากรากฐานความต้องการของชุมชน กรณีศึกษา การวิจัยเชิง...Singhanat Sangsehanat
 
องค์ความรู้ด้านการฟื้นฟูเมือง การมีส่วนร่วมของชุมชนในการพัฒนาและฟื้นฟูที่อยู่...
องค์ความรู้ด้านการฟื้นฟูเมือง การมีส่วนร่วมของชุมชนในการพัฒนาและฟื้นฟูที่อยู่...องค์ความรู้ด้านการฟื้นฟูเมือง การมีส่วนร่วมของชุมชนในการพัฒนาและฟื้นฟูที่อยู่...
องค์ความรู้ด้านการฟื้นฟูเมือง การมีส่วนร่วมของชุมชนในการพัฒนาและฟื้นฟูที่อยู่...Singhanat Sangsehanat
 
การพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่ำ
การพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่ำการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่ำ
การพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่ำSinghanat Sangsehanat
 
โครงการติดตามและประเมินผลสัมฤทธิ์การดำเนินงาน โครงการจัดทำแผนพัฒนาที่อยู่อาศั...
โครงการติดตามและประเมินผลสัมฤทธิ์การดำเนินงาน โครงการจัดทำแผนพัฒนาที่อยู่อาศั...โครงการติดตามและประเมินผลสัมฤทธิ์การดำเนินงาน โครงการจัดทำแผนพัฒนาที่อยู่อาศั...
โครงการติดตามและประเมินผลสัมฤทธิ์การดำเนินงาน โครงการจัดทำแผนพัฒนาที่อยู่อาศั...Singhanat Sangsehanat
 
BMA การกำหนดนโยบายการพัฒนาเชิงพื้นที่ กทม - ปัญหาเชิงกระบวนการ ทางออก การออกแ...
BMA การกำหนดนโยบายการพัฒนาเชิงพื้นที่ กทม - ปัญหาเชิงกระบวนการ ทางออก การออกแ...BMA การกำหนดนโยบายการพัฒนาเชิงพื้นที่ กทม - ปัญหาเชิงกระบวนการ ทางออก การออกแ...
BMA การกำหนดนโยบายการพัฒนาเชิงพื้นที่ กทม - ปัญหาเชิงกระบวนการ ทางออก การออกแ...Singhanat Sangsehanat
 
Creative Place Creative City เมืองสร้างสรรค์ ถิ่นที่สร้างสรรค์ ความหมาย ความส...
Creative Place Creative City เมืองสร้างสรรค์ ถิ่นที่สร้างสรรค์ ความหมาย ความส...Creative Place Creative City เมืองสร้างสรรค์ ถิ่นที่สร้างสรรค์ ความหมาย ความส...
Creative Place Creative City เมืองสร้างสรรค์ ถิ่นที่สร้างสรรค์ ความหมาย ความส...Singhanat Sangsehanat
 

Mehr von Singhanat Sangsehanat (11)

BMA แนวคิดการพัฒนาพื้นที่ Placemaking and PlaceMaker ตัวอย่างประสบการณ์จากลูก...
BMA แนวคิดการพัฒนาพื้นที่ Placemaking and PlaceMaker ตัวอย่างประสบการณ์จากลูก...BMA แนวคิดการพัฒนาพื้นที่ Placemaking and PlaceMaker ตัวอย่างประสบการณ์จากลูก...
BMA แนวคิดการพัฒนาพื้นที่ Placemaking and PlaceMaker ตัวอย่างประสบการณ์จากลูก...
 
ภาควิชาการออกแบบและวางผังชุมชนเมือง คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร
ภาควิชาการออกแบบและวางผังชุมชนเมือง คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากรภาควิชาการออกแบบและวางผังชุมชนเมือง คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร
ภาควิชาการออกแบบและวางผังชุมชนเมือง คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร
 
Responsive Environment - บททบทวนทฤษฏีสภาพแวดล้อมที่ตอบสนอง การออกแบบชุมชนเมือ...
Responsive Environment - บททบทวนทฤษฏีสภาพแวดล้อมที่ตอบสนอง การออกแบบชุมชนเมือ...Responsive Environment - บททบทวนทฤษฏีสภาพแวดล้อมที่ตอบสนอง การออกแบบชุมชนเมือ...
Responsive Environment - บททบทวนทฤษฏีสภาพแวดล้อมที่ตอบสนอง การออกแบบชุมชนเมือ...
 
การออกแบบชุมชนเมือง - อะไร อย่างไร และหัวใจสำคัญ
การออกแบบชุมชนเมือง - อะไร อย่างไร และหัวใจสำคัญการออกแบบชุมชนเมือง - อะไร อย่างไร และหัวใจสำคัญ
การออกแบบชุมชนเมือง - อะไร อย่างไร และหัวใจสำคัญ
 
แผนแม่บทการจัดการเชิงพื้นที่ของการท่องเที่ยว เมืองเพชรบุรี และเส้นทางเลียบชาย...
แผนแม่บทการจัดการเชิงพื้นที่ของการท่องเที่ยว เมืองเพชรบุรี และเส้นทางเลียบชาย...แผนแม่บทการจัดการเชิงพื้นที่ของการท่องเที่ยว เมืองเพชรบุรี และเส้นทางเลียบชาย...
แผนแม่บทการจัดการเชิงพื้นที่ของการท่องเที่ยว เมืองเพชรบุรี และเส้นทางเลียบชาย...
 
การฟื้นฟูชุมชนที่อยู่อาศัยจากรากฐานความต้องการของชุมชน กรณีศึกษา การวิจัยเชิง...
การฟื้นฟูชุมชนที่อยู่อาศัยจากรากฐานความต้องการของชุมชน กรณีศึกษา การวิจัยเชิง...การฟื้นฟูชุมชนที่อยู่อาศัยจากรากฐานความต้องการของชุมชน กรณีศึกษา การวิจัยเชิง...
การฟื้นฟูชุมชนที่อยู่อาศัยจากรากฐานความต้องการของชุมชน กรณีศึกษา การวิจัยเชิง...
 
องค์ความรู้ด้านการฟื้นฟูเมือง การมีส่วนร่วมของชุมชนในการพัฒนาและฟื้นฟูที่อยู่...
องค์ความรู้ด้านการฟื้นฟูเมือง การมีส่วนร่วมของชุมชนในการพัฒนาและฟื้นฟูที่อยู่...องค์ความรู้ด้านการฟื้นฟูเมือง การมีส่วนร่วมของชุมชนในการพัฒนาและฟื้นฟูที่อยู่...
องค์ความรู้ด้านการฟื้นฟูเมือง การมีส่วนร่วมของชุมชนในการพัฒนาและฟื้นฟูที่อยู่...
 
การพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่ำ
การพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่ำการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่ำ
การพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่ำ
 
โครงการติดตามและประเมินผลสัมฤทธิ์การดำเนินงาน โครงการจัดทำแผนพัฒนาที่อยู่อาศั...
โครงการติดตามและประเมินผลสัมฤทธิ์การดำเนินงาน โครงการจัดทำแผนพัฒนาที่อยู่อาศั...โครงการติดตามและประเมินผลสัมฤทธิ์การดำเนินงาน โครงการจัดทำแผนพัฒนาที่อยู่อาศั...
โครงการติดตามและประเมินผลสัมฤทธิ์การดำเนินงาน โครงการจัดทำแผนพัฒนาที่อยู่อาศั...
 
BMA การกำหนดนโยบายการพัฒนาเชิงพื้นที่ กทม - ปัญหาเชิงกระบวนการ ทางออก การออกแ...
BMA การกำหนดนโยบายการพัฒนาเชิงพื้นที่ กทม - ปัญหาเชิงกระบวนการ ทางออก การออกแ...BMA การกำหนดนโยบายการพัฒนาเชิงพื้นที่ กทม - ปัญหาเชิงกระบวนการ ทางออก การออกแ...
BMA การกำหนดนโยบายการพัฒนาเชิงพื้นที่ กทม - ปัญหาเชิงกระบวนการ ทางออก การออกแ...
 
Creative Place Creative City เมืองสร้างสรรค์ ถิ่นที่สร้างสรรค์ ความหมาย ความส...
Creative Place Creative City เมืองสร้างสรรค์ ถิ่นที่สร้างสรรค์ ความหมาย ความส...Creative Place Creative City เมืองสร้างสรรค์ ถิ่นที่สร้างสรรค์ ความหมาย ความส...
Creative Place Creative City เมืองสร้างสรรค์ ถิ่นที่สร้างสรรค์ ความหมาย ความส...
 

Roi Et urban development - การพัฒนาเมืองร้อยเอ็ด เมืองคาร์บอนต่ำ เมืองที่ยั่งยืน เมืองที่เป็นมิตร

  • 1.
  • 2. เทศบาลเมืองร้อยเอ็ด แผนและผังการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่่า จัดท่าภายใต้ โครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่่า ปีงบประมาณ ๒๕๕๙ ลิขสิทธิ์ของ ส่านักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เผยแพร่โดย ส่านักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ๖๐/๑ ซอยพิบูลวัฒนา ๗ ถนนพระรามที่ ๖ แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพมหานคร ๑๐๔๐๐ จัดท่าโดย ภาควิชาการออกแบบและวางผังชุมชนเมือง คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร พิมพ์ที่ บริษัท เวิลด์ปริ้น (ประเทศไทย) จ่ากัด ๒๓๐๘/๑๗ ถนนพหลโยธิน แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร ๑๐๙๐๐
  • 3. ค่าน่า ปัจจุบันเมืองและชุมชนในประเทศไทยมีการเติบโตและขยายตัวมากขึ้น มีจ่านวนประชากรและ กิจกรรมต่าง ๆ เพิ่มขึ้น ท่าให้แนวโน้มปัญหาสิ่งแวดล้อมทวีมากขึ้น เช่น มลพิษน้่า อากาศเสีย ขยะ การใช้ พลังงานเกินความจ่าเป็น รวมทั้งการปล่อยก๊าซเรือนกระจกของกิจกรรมบางประเภทซึ่งส่งผลต่อการ เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ โดยการจัดการสิ่งแวดล้อมเมืองและชุมชนได้ให้ความส่าคัญต่อการจัดท่า แผนการจัดการสิ่งแวดล้อมเมืองและชุมชน พื้นที่สีเขียวและนันทนาการเชิงบูรณาการที่สอดคล้องกับแนวคิด การพัฒนาที่ยั่งยืน การเติบโตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมและสังคมคาร์บอนต่่า ส่านักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ในฐานะหน่วยงานที่มีภารกิจ ประการหนึ่งในการด่าเนินงานด้านการจัดการสิ่งแวดล้อมเมืองและชุมชน ได้ตระหนักถึงความส่าคัญในเรื่อง ดังกล่าว จึงได้จัดท่า “โครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่่า” เพื่อส่งเสริมและผลักดันให้ ท้องถิ่นจัดท่าแผนการพัฒนาเมืองและผังการพัฒนาสิ่งแวดล้อมทางกายภาพเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่่าและ สิ่งแวดล้อมเมืองที่ยั่งยืน และเพื่อให้มีเครื่องมือและกลไกที่เหมาะสมในการน่านโยบาย แผน และยุทธศาสตร์ เมืองเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม สังคมคาร์บอนต่่าและสิ่งแวดล้อมเมืองที่ยั่งยืนไปสู่การปฏิบัติ ส่านักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม หวังเป็นอย่างยิ่งว่า แผนและผัง การพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่่าฉบับนี้ จะเป็นประโยชน์ต่อชุมชนเมือง องค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่น หน่วยงานและภาคส่วนที่เกี่ยวข้องในการร่วมผลักดันให้เมืองและชุมชนมุ่งไปสู่สังคมคาร์บอนต่่า ได้อย่างเป็นรูปธรรมต่อไป ส่านักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม สิงหาคม ๒๕๕๙
  • 4. สารบัญ เรื่อง หน้า ค่าน่า สารบัญ บทที่ ๑ บทน่า บทที่ ๒ แนวคิดในการพัฒนา บทที่ ๓ ผังการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งไปสู่สังคมคาร์บอนต่่า ๓.๑ โครงการพัฒนาย่านศูนย์ราชการ ๓.๒ โครงการพัฒนาย่านตลาดทุ่งเจริญ ๓.๓ โครงการพัฒนาย่านเมืองเก่า ๓.๔ โครงการพัฒนาย่านขนส่งมวลชน บทที่ ๔ แผนการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งไปสู่สังคมคาร์บอนต่่า ๔.๑ ยุทธศาสตร์เทศบาลเมืองร้อยเอ็ดที่เชื่อมโยงกับการพัฒนาเมืองและชุมชนคาร์บอนต่่า ๔.๒ การจัดท่าแผนการพัฒนาเมืองและชุมชน ๔.๓ แผนการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่่า ๔.๔ กิจกรรมที่เกี่ยวข้อง ภาคผนวก ๑ - ๑ ๒ - ๑ ๓ - ๑ ๓ - ๒ ๓ - ๗ ๓ - ๑๒ ๓ - ๑๗ ๔ - ๑ ๔ - ๑ ๔ - ๓ ๔ - ๗ ๔ - ๑๑
  • 5. บทที่ ๑ บทน่า ๑ - ๑ หลักการและเหตุผล โครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่่า ได้เริ่มด่าเนินการโดยส่านักงาน นโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม นับตั้งแต่ปีงบประมาณ ๒๕๕๗ ซึ่งได้แผนยุทธศาสตร์ การขับเคลื่อนการพัฒนาเมืองและชุมชนสู่การเป็นเมืองสีเขียว เมืองที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม และสังคม คาร์บอนต่่า แผนยุทธศาสตร์ฯ มีขึ้นเพื่อการเสริมสร้างศักยภาพของเทศบาลในการด่าเนินงานด้าน สิ่งแวดล้อมเมืองและชุมชนสู่สังคมคาร์บอนต่่า การริเริ่มยุทธศาสตร์ความร่วมมืออาเซียนด้านสิ่งแวดล้อม เมืองที่ยั่งยืน การน่าผลการประชุมและแนวทางความร่วมมือระหว่างประเทศสมาชิกอาเซียนมาก่าหนด รูปแบบการด่าเนินงานด้านสิ่งแวดล้อมเมืองที่ยั่งยืนที่เหมาะสมกับสังคมไทย และการเดินหน้าประเทศไทย สู่การเป็นประเทศเศรษฐกิจสังคมคาร์บอนต่่า ส่านักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อมจึงเห็นความจ่าเป็นในการด่าเนินงานโครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่่า ในปีงบประมาณ ๒๕๕๙ เพื่อให้มีเครื่องมือและกลไกที่เหมาะสมในการน่านโยบาย แผน และยุทธศาสตร์ที่ ได้จัดท่าไว้สู่การปฏิบัติโดยความร่วมมือของหน่วยงานและภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง และเพื่อน่าแผนฯ สู่การ ปฏิบัติในระดับท้องถิ่นโดยให้มีแผนงาน โครงการ และจัดสรรงบประมาณด่าเนินงานอย่างเหมาะสม โดยมี คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร เป็นที่ปรึกษาในการด่าเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์ ๑) เพื่อให้มีเครื่องมือและกลไกที่เหมาะสมในการผลักดันการด่าเนินงานตามนโยบาย แผน ยุทธศาสตร์ ด้านพื้นที่สีเขียว เมืองสีเขียว เมืองเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมและสังคมคาร์บอนต่่า รวมทั้ง การด่าเนินงานตามข้อริเริ่มอาเซียนด้านสิ่งแวดล้อมเมืองที่ยั่งยืน โดยกระบวนการมีส่วนร่วม ๒) เพื่อประสานการน่าแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่เมืองสีเขียว เมืองที่ เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมและสังคมคาร์บอนต่่า ยุทธศาสตร์การขับเคลื่อนการด่าเนินงานตามข้อริเริ่มอาเซียน ด้านสิ่งแวดล้อมเมืองที่ยั่งยืนสู่การปฏิบัติในระดับท้องถิ่น แนวคิดในการด่าเนินงาน สังคมคาร์บอนต่่า (Low Carbon Society) หมายถึง สังคมที่ผู้คนส่วนใหญ่หันมาร่วมมือกัน ลดการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ในทุกรูปแบบหรือในกิจกรรมต่าง ๆ ที่เกิดจากการด่ารงชีวิตปกติ โดยเฉพาะการลดปริมาณก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ที่ปล่อยออกมาจากกระบวนการผลิตของโรงงานหรือ ภาคอุตสาหกรรม เพื่อจะได้อยู่ร่วมกันในสังคมที่มีคุณภาพชีวิตที่ดี สังคมคาร์บอนต่่าจึงต้องท่าให้ผู้คน ในสังคมมีความตระหนักถึงคุณภาพชีวิตที่เกิดจากการอยู่ในสภาพแวดล้อมที่มีปริมาณคาร์บอนต่่า โดยผู้คน ในสังคมมีความยึดโยงกับการเลือกใช้เทคโนโลยีหรือการพัฒนาเทคโนโลยีให้เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม และที่ ส่าคัญก็คือ จะต้องเป็นสังคมที่มีการวางผังเมืองให้สอดคล้องกับระบบนิเวศที่สมดุลด้วย ดังนั้น สังคม คาร์บอนต่่า จึงมีลักษณะดังนี้ (๑) สังคมที่ต้องช่วยกันลดความต้องการใช้พลังงาน (๒) สังคมที่ต้องหลีกเลี่ยง การใช้เชื้อเพลิงฟอสซิลหรือน้่ามัน และลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก และ (๓) สังคมต้องมีมาตรการความ มั่นคงทางพลังงานและเป็นสังคมที่มีการพบปะหารือกันในเรื่องความต้องการของคนทุกกลุ่มในสังคม เมืองและชุมชนสังคมคาร์บอนต่่าเป็นส่วนหนึ่งของยุทธศาสตร์การพัฒนาในระดับนานาชาติ นับตั้งแต่ การค้นพบภาวะเรือนกระจก ซึ่งเป็นผลมาจากชั้นบรรยากาศของโลก ที่มีปริมาณก๊าซมากเกินสมดุลทางธรรมชาติ เช่น ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ จนส่งผลต่อวิกฤตการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของโลก การประชุมระดับโลก ว่าด้วยเรื่องวิกฤตการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ จึงได้ริเริ่มขึ้นตลอดจนการก่าหนดกรอบอนุสัญญาและ พิธีสารต่าง ๆ เพื่อแก้ไขวิกฤตการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและรับมือต่อผลกระทบที่เกิดขึ้นจากสภาพ- ภูมิอากาศที่เปลี่ยนแปลง ประเทศไทยได้เข้าร่วมกับประชาคมโลกในการช่วยบรรเทาปัญหาจากการเปลี่ยนแปลง สภาพภูมิอากาศ โดยมุ่งพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อมให้มีความสอดคล้องกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ได้อย่างยั่งยืน ควบคู่ไปกับการลดอัตราการปลดปล่อยก๊าซเรือนกระจก ที่ไม่ส่งผลกระทบต่ออัตราการเพิ่มขึ้นของ ผลิตภัณฑ์มวลชนในประเทศ และไม่สูญเสียขีดความสามารถในการพัฒนาและการแข่งขันของทุกภาคส่วนและ ทุกระดับ การบรรลุถึงเมืองและชุมชนสังคมคาร์บอนต่่า จึงเป็นยุทธศาสตร์การพัฒนาที่เกี่ยวเนื่องกับมิติอัน หลากหลายของเมืองและชุมชน การพัฒนาเมืองที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมต้องอาศัยนโยบายและแผนการพัฒนา ตลอดจนการปรับกระบวนทัศน์การพัฒนาและขับเคลื่อน เพื่อเตรียมความพร้อมไปสู่การเป็นเศรษฐกิจและสังคม คาร์บอนต่่าในทุกระดับเชื่อมโยงกัน การสร้างแผนนโยบายความเป็นเมืองและชุมชนสังคมคาร์บอนต่่า ต้องถูก ด่าเนินการขึ้นในระดับประเทศ เพื่อตอบสนองต่อยุทธศาสตร์ด้านสิ่งแวดล้อม สังคม และเศรษฐกิจที่ยั่งยืนในระดับ โลกและระดับอาเซียน และในขณะเดียวกันการขับเคลื่อนไปสู่ความเป็นเมืองและชุมชนสังคมคาร์บอนต่่าก็ต้อง อาศัยกลไกการปฏิบัติในมิติทางวัฒนธรรม การเมือง การบริหารจัดการ และการมีส่วนร่วมในระดับท้องถิ่นเพื่อ ผลักดันให้เป็นเมืองสีเขียว เมืองที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม และสังคมคาร์บอนต่่าสามารถสัมฤทธิ์ผลเป็นรูปธรรม ภาพที่ ๑ - ๑ มิติของการพัฒนาเมืองคาร์บอนต่่าในท้องถิ่น
  • 6. ๑ - ๒ การด่าเนินงานโครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่่า ถูกวางอยู่บนมิติที่ครอบคลุม ภาพกว้างของการพัฒนาเมืองในระดับประเทศโดยการขับเคลื่อนทางสิ่งแวดล้อม สังคม และเศรษฐกิจ เพื่อให้มี เครื่องมือและกลไกที่เหมาะสมต่อการผลักดันการด่าเนินงานตามนโยบาย แผน ยุทธศาสตร์ ด้านพื้นที่สีเขียว เมืองสีเขียว เมืองเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมและสังคมคาร์บอนต่่า รวมทั้งการด่าเนินงานตามข้อริเริ่มอาเซียน ด้านสิ่งแวดล้อมเมืองที่ยั่งยืน ดังนั้น กระบวนการศึกษา การประเมินผล และการวางแผนจากบนลงสู่เบื้องล่าง (Top-Down Process of Development) ถูกน่ามาใช้เพื่อท่าการทบทวนวิสัยทัศน์ ยุทธศาสตร์ และแผนที่เส้นทาง (Road Map) ของการพัฒนาเมือง/ชุมชนเพื่อมุ่งสู่การเติบโตอย่างเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมและเป็นสังคมคาร์บอนต่่า ที่ยั่งยืน เพื่อท่าการประเมิน ปรับปรุง และเสนอแนะกลไกและเครื่องมือที่มีประสิทธิภาพและมีความเป็นไปได้จริง ต่อการควบคุมและพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่่า ตลอดจนการก่าหนดภาคภาคีที่เกี่ยวข้องและ หน้าที่รับผิดชอบร่วมกัน การด่าเนินงานดังกล่าวนี้ผ่านกระบวนการมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วนเป็นส่าคัญ การมุ่งไปสู่สังคมคาร์บอนต่่าประกอบด้วยมิติของการพัฒนาดังที่กล่าวถึงซึ่งได้แก่ สภาพแวดล้อม คาร์บอนต่่า เศรษฐกิจคาร์บอนต่่า และวัฒนธรรมคาร์บอนต่่า มิติในเชิงนโยบายและแผนเหล่านั้นได้สร้างกรอบ แนวทางของการวางแผนและการพัฒนาเมืองและชุมชนคาร์บอนต่่า ดังนี้ ภาพที่ ๑ - ๒ กรอบแนวทางการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่่า อย่างไรก็ตาม โครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่่ายังได้รับการด่าเนินงาน บนพื้นฐานของการพัฒนาเมืองและชุมชนในระดับพื้นที่โดยการขับเคลื่อนในทางสังคม วัฒนธรรม การเมือง การบริหารจัดการ และการมีส่วนร่วมเพื่อประสานการน่าแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาเมืองและชุมชนสู่เมืองสีเขียว เมืองที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมและสังคมคาร์บอนต่่า กระบวนการวางแผนจากล่างขึ้นสู่ด้านบน (Bottom-Up Process of Development) ถูกน่ามาใช้ควบคู่กันเพื่อการขับเคลื่อนโครงการน่าร่องไปสู่ความเป็นเมืองและชุมชน สังคมคาร์บอนต่่า แนวปฏิบัติด้านการจัดการพื้นที่สีเขียว/ชุมชนอย่างยั่งยืนและลดภาวะโลกร้อนและมาตรฐาน พื้นที่สีเขียวในเมือง ร่วมกับการศึกษาลักษณะเฉพาะของเมืองและชุมชนในแต่ละแห่ง เช่น ภูมิศาสตร์และ ประวัติศาสตร์ ลักษณะทางสังคมและเศรษฐกิจ โครงสร้างทางสิ่งแวดล้อม เมือง และชุมชน ตลอดจนบริบททาง วัฒนธรรม การเมือง และการมีส่วนร่วมของภาคภาคีที่เกี่ยวข้องในท้องถิ่น ภาพที่ ๑ – ๓ แสดงกรอบแนวคิดการด่าเนินงานการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่่า ซึ่งค่านึงถึงการประยุกต์ใช้แนวคิดการพัฒนาเมืองคาร์บอนต่่าให้เข้ากับบริบทของเมืองและชุมชนในแต่ละแห่ง เครื่องมือในการขับเคลื่อนเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่่าถูกน่ามาพิจารณาร่วม เพื่อจัดท่าแผนและผัง แนวคิดของการออกแบบและพัฒนาเมือง ชุมชน กิจกรรม ภายใต้วิสัยทัศน์เฉพาะตัวในแต่ละเทศบาล ซึ่งสามารถ น่าไปใช้ก่าหนดแนวทางการน่าแผนไปปฏิบัติ โครงการ และการจัดสรรงบประมาณ ตลอดจนการด่าเนินงานจริง ในกิจกรรมน่าร่องต่าง ๆ เพื่อพัฒนาไปสู่การเป็นเมืองและชุมชนที่เติบโตอย่างเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมและ เป็นสังคมคาร์บอนต่่าที่ยั่งยืน การสร้างเครือข่ายภาคประชาชน เอกชน และภาครัฐในระดับท้องถิ่นต่อการ ด่าเนินงานพัฒนาเมืองและชุมชน คือ กลไกส่าคัญต่อการด่าเนินงานในส่วนนี้ ภาพที่ ๑ – ๓ กรอบแนวคิดการด่าเนินงานการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่่า การเสริมสร้างศักยภาพการด่าเนินงานของภาคภาคีต่าง ๆ ในการวางแผนและพัฒนาเมืองและชุมชน เพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่่า เป็นกลไกส่าคัญของโครงการฯ การเสริมสร้างศักยภาพของภาคภาคีต่าง ๆ เป็นหนึ่งใน กลไกส่าคัญต่อการก่าหนดเครื่องมือในการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่่าในระดับประเทศ รวมทั้งการจัดท่าและผลักดันแผนพัฒนาสิ่งแวดล้อมเมืองเพื่อมุ่งสู่สิ่งแวดล้อมเมืองที่ยั่งยืนในระดับพื้นที่ การเสริมสร้างศักยภาพการด่าเนินงานของภาคภาคีต่าง ๆ ในการวางแผนและพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่ สังคมคาร์บอนต่่า ถูกด่าเนินการโดยการให้ความรู้ ประสบการณ์ และปรับทัศนคติต่อการพัฒนาเมืองและชุมชน โครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่่า จึงมุ่งเน้นการขับเคลื่อนเชิงปฏิบัติการ ในทุกภาคส่วนและทุกระดับ โดยมุ่งหมายให้ภาครัฐ ส่วนกลางที่เกี่ยวเนื่อง เล็งเห็นความส่าคัญของการพัฒนาเมือง สีเขียว เมืองที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม สิ่งแวดล้อมเมืองที่ยั่งยืน และสังคมคาร์บอนต่่า และบูรณาการเข้าเป็นส่วน หนึ่งของยุทธศาสตร์และแผนพัฒนาในระดับต่าง ๆ ในขณะเดียวกันการขับเคลื่อนเชิงปฏิบัติการในระดับท้องถิ่น มีขึ้นเพื่อผลักดันให้เกิดการด่าเนินงานโครงการน่าร่อง กิจกรรม การเชื่อมโยงการพัฒนาเมืองและชุมชน ตลอดจน การบรรจุแผนงานเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่่า ให้เข้ากับกลไกระดับจังหวัดและระดับชุมชนอย่างยั่งยืน สภาพแวดล้อมคาร์บอนต่่า เศรษฐกิจคาร์บอนต่่า วัฒนธรรมคาร์บอนต่่า (๑) การเติบโตอย่างชาญฉลาด (๒) การเดินทางที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม (๓) การรักษาและฟื้นฟูความหลากหลายทางชีวภาพ (๔) การเพิ่มพื้นที่สีเขียวเพื่อดูดซับก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ (๕ )การจัดการความเสี่ยงต่อภัยพิบัติ (๑) เศรษฐกิจและอุตสาหกรรมคาร์บอนต่่า (๒) การประหยัดพลังงานและการใช้พลังงานทางเลือก (๓) การประหยัดพลังงานอาคาร (๑) วิถีชีวิตคาร์บอนต่่า (๒) การเดินเท้าและการปั่นจักรยาน (๓) การจัดการขยะอย่างยั่งยืน (๔) การจัดการน้่าในเมือง
  • 7. บทที่ ๒ แนวคิดในการพัฒนาเมืองและ ชุมชนเพื่อมุ่งไปสู่สังคมคาร์บอนต่่า เทศบาลเมืองร้อยเอ็ด การศึกษาสภาพทั่วไปในระดับมหภาค การพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่่าต้อง อาศัยข้อมูลทั้งในระดับมหภาค และระดับพื้นที่เพื่อให้ได้มาซึ่ง แนวทางการพัฒนาที่ตอบรับกับบริบทการเติบโตของเมืองได้อย่างถูกต้อง ดังนี้ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือมีพื้นที่ประมาณ ๑๖๘,๘๕๔ ตาราง กิโลเมตร หรือ ๑๐๕.๕ ล้านไร่ คิดเป็นพื้นที่ประมาณ ๑ ใน ๓ ของ ประเทศ ประกอบด้วย ๑๙ จังหวัด ได้แก่ เลย หนองคาย นครพนม อุดรธานี หนองบัวล่าภู สกลนคร ขอนแก่น กาฬสินธุ์ มุกดาหาร ชัยภูมิ มหาสารคาม ร้อยเอ็ด ยโสธร อ่านาจเจริญ นครราชสีมา บุรีรัมย์ สุรินทร์ ศรีสะเกษ อุบลราชธานี เป็นภาคที่มีพื้นที่ใหญ่ที่สุดในประเทศไทย เป็น พื้นที่ที่มีประชากรและพื้นที่ทางการเกษตรมากที่สุดเมื่อเทียบกับ ภาคอื่น ๆ ของประเทศ เป็นแหล่งโบราณสถานและมีศิลปวัฒนธรรมอันมี ลักษณะเฉพาะ อีกทั้งที่ตั้งของภาคยังมีความได้เปรียบในด้านการ เชื่อมโยงเศรษฐกิจระหว่าง ไทย ลาว กัมพูชา และจีนตอนใต้ ด้วยลักษณะดังกล่าวของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ท่าให้ รัฐบาลมีนโยบายที่จะพัฒนาให้เป็นสะพานเศรษฐกิจ เชื่อมโยงอินโดจีน ตามแนวตะวันออก - ตะวันตก (East - West Economic Corridor)โดย เน้นพัฒนาบทบาทและศักยภาพของพื้นที่ ควบคู่ไปกับการยกระดับ คุณภาพในการด่ารงชีวิตของทรัพยากรมนุษย์ให้สูงขึ้นได้พร้อมกัน โดยมี ยุทธศาสตร์การพัฒนาพื้นที่ ดังนี้ ๑. การกระจายความเจริญ (Decentralization) ยุทธศาสตร์การ พัฒนาโดยการกระจายความเจริญของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ คือ ส่งเสริมการพัฒนาไปยังพื้นที่เมืองนครราชสีมา เมืองอุดรธานี และเมืองอุบลราชธานี เพื่อให้มีศูนย์กลางความเจริญเพิ่มขึ้น ในทิศทางอื่น ในปริมณฑลของเมืองศูนย์กลางหลักของขอนแก่น ๒. การพัฒนาที่สมดุลและยั่งยืน (Balanced and Sustainable Development) ๓. การส่งเสริมเทคโนโลยี (Technology) ๔. การพัฒนาแบบกลุ่มเมืองและเครือข่ายการพัฒนา (Cluster and Network Development) ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบกลุ่มเมืองของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ได้รวมระบบกลุ่มเมืองเป็น ๕ กลุ่ม คือ − กลุ่มนครราชสีมา ชัยภูมิ บุรีรัมย์ และสุรินทร์ − กลุ่มขอนแก่น มหาสารคาม ร้อยเอ็ด และกาฬสินธุ์ − กลุ่มอุบลราชธานี ยโสธร ศรีสะเกษ และอ่านาจเจริญ − กลุ่มอุดรธานี หนองคาย เลย และหนองบัวล่าภู − กลุ่มมุกดาหาร สกลนคร และนครพนม ๕. การพัฒนาภายใต้แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง (Sufficiency Economy) จากผังภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ปี พ.ศ. ๒๖๐๐ ที่มียุทธศาสตร์การพัฒนา แบบการพัฒนาแบบกลุ่มเมืองและเครือข่ายการพัฒนา จังหวัดร้อยเอ็ด ได้ถูกจัดให้ร่วมอยู่ในผังอนุภาค ร่วมกับจังหวัดขอนแก่น มหาสารคาม และ กาฬสินธุ์ ซึ่งถูกก่าหนดแนวทางการพัฒนาไว้ให้เป็นเมืองศูนย์กลางการ ท่องเที่ยว การบริการระดับภาค การศึกษา สาธารณสุข การขนส่ง ปศุสัตว์ และพลังงานทดแทน แผนโครงการพัฒนาที่เกี่ยวข้องในระดับภาค โดยโครงการ พัฒนาตามกลุ่มจังหวัด ซึ่งได้ก่าหนดกลุ่มจังหวัด ได้แก่ จังหวัดร้อยเอ็ด ขอนแก่น มหาสารคาม และกาฬสินธุ์ โดยมีวิสัยทัศน์ของกลุ่มจังหวัด คือ “ศูนย์กลางการค้า การบริการ อุตสาหกรรมเกษตร และสังคมน่าอยู่” ซึ่งกลุ่มจังหวัดได้ตั้งยุทธศาสตร์เพื่อการพัฒนารวม ๓ ยุทธศาสตร์ ได้แก่ ยุทธศาสตร์ที่ ๑ ยกระดับการผลิต เพื่อพัฒนาเศรษฐกิจแบบเข้มแข็งและ แข่งขันได้ ยุทธศาสตร์ที่ ๒ การพัฒนาทุนมนุษย์และสังคมเพื่อคุณภาพชีวิตที่ดี ยุทธศาสตร์ที่ ๓ การบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมเพื่อ การพัฒนาที่ยั่งยืน ๒ - ๑ ภาพที่ ๒ - ๑ แสดงผังภาคตะวันออกเฉียงเหนือ โดยมียุทธศาสตร์ การพัฒนาระบบกลุ่มเมือง จังหวัดขอนแก่น อยู่ในกลุ่มพัฒนาร่วมกับ จังหวัดร้อยเอ็ด มหาสารคาม และกาฬสินธุ์ (ผังภาคตะวันออกเฉียงเหนือ, ๒๖๐๐) โครงการส่าคัญ ได้แก่ ๑) โครงการจัดตั้งศูนย์รวบรวมและกระจายสินค้าบริการ และการส่งออก แบบครบวงจร (Distribution Center) ๒) โครงการพัฒนาและส่งเสริมการผลิตข้าวหอมมะลิปลอดภัยจากสารพิษ และข้าวหอมมะลิอินทรีย์ ๓) โครงการก่าหนดพื้นที่ที่มีศักยภาพในการเพาะปลูกพืชพลังงานทดแทน ๔) โครงการส่งเสริมการท่าสัญญาซื้อขายผลผลิตล่วงหน้า เพื่อสร้างความ มั่นใจด้านราคา และรายได้ให้กับเกษตรกร ๕) โครงการก่าหนดพื้นที่ที่เหมาะสมในการรองรับอุตสาหกรรมพลังงาน ทดแทน (Ethanol) เพื่อให้สอดคล้องกับแหล่งเพาะปลูก และลดต้นทุน ด้านขนส่ง ๖) โครงการพัฒนาระบบขนส่งตามเส้นทางเชื่อมระหว่างตะวันออกกับ ตะวันตก (East & West Economic Corridor) ให้ได้มาตรฐาน ๗) โครงการบ่ารุงรักษาถนนที่มุ่งสู่ประตูการค้าหลัก เช่น เส้นทางหมายเลข ๙ และ ๑๒
  • 8. ๒ - ๒ ลักษณะภูมิประเทศ ภูมิประเทศโดยทั่วไปเป็นที่ราบสูง มีความสูงจาก ระดับน้่าทะเลปานกลาง ๑๓๐–๑๖๐ เมตร ซึ่งสภาพพื้นที่และลักษณะ ภูมิประเทศของจังหวัดร้อยเอ็ด สามารถแบ่งได้ ดังนี้ ๑. บริเวณภูเขาตอนเหนือของจังหวัด สภาพภูมิประเทศเป็นพื้นที่ป่าไม้ และภูเขาเตี้ยๆ อยู่ในพื้นที่อ่าเภอหนองพอก อ่าเภอโพธิ์ชัย อ่าเภอโพน- ทอง และอ่าเภอเมยวดี ๒. บริเวณที่ราบสูง สภาพภูมิประเทศเป็นพื้นที่ลูกคลื่นลอยตื้น อยู่บริเวณตอนกลางของจังหวัดในเขตท้องที่อ่าเภอเสลภูมิ อ่าเภออาจ- สามารถ อ่าเภอเมืองสรวง อ่าเภอจตุรพักตรพิมาน อ่าเภอธวัชบุรี อ่าเภอเมืองร้อยเอ็ด อ่าเภอเชียงขวัญ และอ่าเภอทุ่งเขาหลวง ลักษณะทางสังคมและเศรษฐกิจ จากข้อมูลทะเบียนราษฎร์ พ.ศ.๒๕๕๖ จังหวัดร้อยเอ็ด มีจ่านวนประชากรทั้งสิ้น ๑,๓๐๘,๙๕๘ คน เป็นชาย ๖๕๔,๕๐๘ คน และ หญิง ๖๕๕,๗๕๑ คน มีอัตราการเพิ่มขึ้นของประชากรร้อยละ ๓ ของภาค เป็นอันดับที่ ๘ ของภาค อ่าเภอเมืองร้อยเอ็ด มีประชากรมากที่สุด คือ จ่านวน ๑๕๖,๕๗๙ คน คิดเป็นร้อยละ ๑๑.๙๖ ของประชากรทั้งจังหวัด รองลงมา คือ อ่าเภอเสลภูมิ ๑๒๒,๐๒๐ คน คิดเป็นร้อยละ ๙.๓๒ รายได้เฉลี่ยต่อคนต่อปีสูงที่สุด คือ อ่าเภอเมืองร้อยเอ็ด จ่านวน ๑๐๖,๗๔๑ บาท และอ่าเภอที่มีรายได้เฉลี่ยต่อคนต่อปีน้อยที่สุด คือ อ่าเภอ จังหาร จ่านวน ๖๒,๗๕๗ บาท รายได้ของคนจังหวัดร้อยเอ็ดเฉลี่ยต่อคนต่อปี จ่านวน ๗๘,๒๗๐ บาท แผนพัฒนาจังหวัดร้อยเอ็ด ๔ ปี (พ.ศ.๒๕๕๗-๒๕๖๐) วิสัยทัศน์ “ร้อยเอ็ดศูนย์กลางการผลิตและส่งออกข้าวหอมมะลิคุณภาพดี และเมืองน่าอยู่ของภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนกลาง ” พันธกิจ ๑. ส่งเสริมและพัฒนาการผลิตข้าวหอมมะลิเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มในการแข่งขัน เพิ่มศักยภาพการบริหารทรัพยากรทางการเกษตรให้เป็นเกษตรปลอดภัย เกษตรอินทรีย์เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมและเป็นแหล่งผลิตอาหารปลอดภัย ๒. สนับสนุนและผลักดันให้จังหวัดมีความโดดเด่นเป็นศูนย์กลางการค้า การลงทุน การท่องเที่ยวเชื่อมโยงการบริการสินค้าผลิตภัณฑ์ชุมชน วัฒนธรรมค่านิยมและประเพณีที่ดีงามสามารถผสมผสานกับการ เปลี่ยนแปลงของสังคมสมัยใหม่ได้อย่างกลมกลืน ๓. สร้างโอกาส สร้างอาชีพ รายได้ให้ประชาชนและส่งเสริมให้มีการด่าเนิน ชีวิตตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง พัฒนาคุณภาพชีวิตให้มีความมั่นคงมั่งคั่ง ยั่งยืน เพื่อสร้างภูมิคุ้มกันรองรับการเปลี่ยนแปลงอย่างมีประสิทธิภาพ สรุปบทบาทของพื้นที่ศึกษาในระดับมหภาค จังหวัดร้อยเอ็ดเป็นเมืองล่าดับ ๓ ของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เป็นเมืองศูนยกลางระดับจังหวัด มีความส่าคัญด้านการบริหารราชการระดับ จังหวัด จัดเป็นเมืองชุมทางที่ส่าคัญแห่งหนึ่งของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เนื่องจากมีท่าเลที่ตั้งอยู่เกือบกึ่งกลางของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จึงท่าให้ มีเส้นทางคมนาคมติดต่อกับจังหวัดต่าง ๆ เช่น เส้นทางไปจังหวัด มหาสารคามและเส้นทางไปจังหวัดกาฬสินธุ์ ส่งผลให้เมืองร้อยเอ็ดมีการ ขยายตัวทางเศรษฐกิจทางด้านการค้าพาณิชย์และบริการค่อนข้างสูง ทั้งอาคารพาณิชย์ศูนย์บริการ ร้านอาหารและสถานบริการต่าง ๆ โดยสรุป บทบาทของพื้นที่ได้ ดังนี้ ๑. เป็นจังหวัดที่มีพื้นที่ในเขตทุ่งกุลาร้องไห้มากที่สุด เนื่องจากทุ่งกุลาร้องไห้ ถือว่าเป็นพื้นที่ผลิตข้าวหอมมะลิชั้นดีที่สุดและมีเอกลักษณ์ความหอม เฉพาะตัว เป็นที่ต้องการของตลาดทั้งในและต่างประเทศ สามารถพัฒนาและ ส่งเสริมให้เป็นศูนย์กลางการผลิตและจ่าหน่ายข้าวหอมมะลิสู่ตลาดโลกได้ ๒. เป็นจังหวัดที่มีแหล่งท่องเที่ยวในเชิงประวัติศาสตร์โบราณสถาน/ โบราณวัตถุ แหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติ มุ่งเน้นส่งเสริมการท่องเที่ยว ในเชิงวิถีพุทธด้านวัฒนธรรม ประเพณี และศาสนา ซึ่งปัจจุบันก่าลังได้รับ ความสนใจจากนักท่องเที่ยวเป็นอย่างมาก ๓. เป็นจังหวัดที่มีความสงบเรียบร้อย ประชาชนมีความปลอดภัยในชีวิตและ ทรัพย์สิน รวมทั้งไม่มีปัญหาด้านอาชญากรรมที่รุนแรง เป้าประสงค์ ๑. ผลิตภัณฑ์มวลรวมของจังหวัด (GPP) เติบโตเพิ่มขึ้นร้อยละ ๔ ต่อปี ๒. ประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดีตามเกณฑ์ความจ่าเป็นพื้นฐาน (จปฐ.) อย่างน้อยร้อยละ ๙๐ ของจ่านวนตัวชี้วัด ประเด็นยุทธศาสตร์ ๑. พัฒนากระบวนการผลิตข้าวหอมมะลิและสินค้าการเกษตรแบบครบวงจร ๒. ส่งเสริมและพัฒนาการท่องเที่ยว การบริการการค้าและการลงทุน ๓. ยกระดับคุณภาพชีวิตและเสริมสร้างความเข้มแข็งของครอบครัว ชุมชน และสังคม ๔. บริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมให้มีคุณภาพและยั่งยืน ๕. รักษาความมั่นคงภายในและการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี จังหวัดร้อยเอ็ดตั้งอยู่ตอนกลางของภาคตะวันออกเฉียง เหนือของประเทศไทย ทิศเหนือติดกับจังหวัดกาฬสินธุ์และมุกดาหาร ทิศใต้ติดกับจังหวัดสุรินทร์และศรีสะเกษ ทิศตะวันออกติดจังหวัด ยโสธร ทิศตะวันตกติดจังหวัดมหาสารคาม อยู่ห่างจาก กรุงเทพมหานคร ระยะทาง ๕๑๒ กิโลเมตร ประกอบด้วย ๒๐ อ่าเภอ มีพื้นที่ ๘,๒๙๙.๔๖ ตารางกิโลเมตร จัดเป็นล่าดับที่ ๑๐ ของภาคและ ล่าดับที่ ๒๓ ของประเทศ ภาพที่ ๒ - ๒ แสดงต่าแหน่งที่ตั้งจังหวัดร้อยเอ็ด ๓. บริเวณที่ราบลุ่ม ครอบคลุมพื้นที่ตอนล่างของจังหวัด ในท้องที่อ่าเภอ ปทุมรัตต์ อ่าเภอเกษตรวิสัย อ่าเภอสุวรรณภูมิ อ่าเภอพนมไพร อ่าเภอโพน- ทราย และอ่าเภอหนองฮี ซึ่งเป็นที่ราบต่่ารูปกระทะ ที่เรียกว่า “ทุ่งกุลาร้องไห้” สภาพพื้นที่ลาดเทจากทางทิศตะวันตกไปทางทิศตะวันออก เฉียงใต้เข้าหาแม่น้่ามูล
  • 9. การจัดท่าแผนผังการพัฒนาเมืองและชุมชนเทศบาลเมือง ร้อยเอ็ดเพื่อมุ่งไปสู่สังคมคาร์บอนต่่า ได้มีการวิเคราะห์ลักษณะทาง กายภาพ สังคม เศรษฐกิจ และยุทธศาสตร์เดิมของพื้นที่ พร้อมทั้งน่ามา ผนวกกับแนวคิดสังคมคาร์บอนต่่า เพื่อจัดท่าแผนและผังที่ครอบคลุม ใน ๓ มิติ คือ สภาพแวดล้อมคาร์บอนต่่า เศรษฐกิจคาร์บอนต่่า และ วัฒนธรรมคาร์บอนต่่า โดยแนวคิดในการท่าแผนผัง ประกอบด้วย ๔ แนวคิด ดังนี้ ๑) เมืองกระชับ ๒) โครงข่ายแหล่งน้่าและพื้นที่สีเขียว ๓) โครงข่ายสีเขียว (Green corridor) ๔) การคมนาคมคาร์บอนต่่า ๑) แนวคิดเมืองกระชับ เสนอแนะให้มีการควบคุมการพัฒนาของเมือง ให้อยู่ในวงแหวนของคูเมือง และรองรับการขยายตัวของเมือง ให้สามารถอยู่ภายในวงแหวนรอบที่ ๒ เนื่องจากรัศมีการเข้าถึงของ แหล่งสาธารณูปโภคและสาธารณูปการสามารถเข้าถึงได้ด้วย การเดินเท้าและการใช้รถยนต์ในระยะสั้น ซึ่งหากไม่มีการควบคุม ในอนาคตอาจมีแนวโน้มการขยายตัวของเมืองออกไปตามถนนสายหลัก ทั้ง ๓ เส้น เพราะเป็นเส้นถนนผ่านเข้าออกเมืองและมีพาณิชยกรรม แห่งใหม่เกิดขึ้นทางด้านทิศตะวันตกของเมือง ๒) โครงข่ายแหล่งน้่าและพื้นที่สีเขียว เสนอแนะให้มีการรักษาต้นไม้ เดิมและเพิ่มต้นไม้ใหม่ในพื้นที่ เช่น พื้นที่ทหารและพื้นที่สีเขียวในส่วน สาธารณะและย่านราชการ เป็นต้น และในส่วนพื้นที่อุตสาหกรรมด้าน ฝั่งตะวันตกของเมืองที่เป็นอุตสาหกรรมเบาและคลังเก็บสินค้านั้น เสนอแนะให้มีการจัดการวางผังที่สอดคล้องกับอุตสาหกรรมเขียว ทั้งนี้ ควรหาพื้นที่สีเขียวเพื่อดูดซับก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์จากแหล่ง อุตสาหกรรมมากขึ้น ๓) โครงข่ายสีเขียว ควรส่งเสริมให้มีการเดินทางโดยการเดินเท้า และใช้ จักรยาน เสนอแนะให้มีการพัฒนาถนนหลักและถนนสายรอง ให้มีความ น่าเดินควบคู่ไปกับการสร้างโครงข่ายสีเขียว มีการปรับปรุงภูมิทัศน์แต่ละ เส้นทางให้มีความเหมาะสมต่อการใช้งานและเพิ่มพื้นที่สีเขียวเพื่อช่วย ดูดซับก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ภาพที่ ๒ - ๓ แสดงผังการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่่า เทศบาลเมืองร้อยเอ็ด ภาพที่ ๒ - ๔ แสดงผังโครงข่ายแหล่งน้่าและพื้นที่สีเขียวคาร์บอนต่่า เทศบาลเมืองร้อยเอ็ด ภาพที่ ๒ - ๕ แสดงผังโครงข่ายสีเขียวคาร์บอนต่่า เทศบาลเมืองร้อยเอ็ด ๔) การคมนาคมคาร์บอนต่่า ส่งเสริมให้มีการเดินทางโดยการเดินเท้า การใช้จักรยาน และการคมนาคมขนส่งมวลชนสาธารณะ เช่น รถพลังงาน ไฟฟ้าโซล่าเซลล์ เป็นต้น ซึ่งการให้บริการระบบขนส่งมวลชนสาธารณะจะ อยู่ในบริเวณชุมชนเมืองที่มีความหนาแน่น เพื่อสนับสนุนให้ประชาชนใช้ บริการและลดการพึ่งพาการเดินทางด้วยรถยนต์ การให้แสงสว่างอาจใช้ เป็นเสาไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ เป็นต้น รวมทั้งมีการปรับปรุงภูมิทัศน์ และรูปแบบการสัญจรให้แตกต่างกันไปในแต่ละเส้นทางเพื่อความ เหมาะสมในการใช้งาน การพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งไปสู่สังคมคาร์บอนต่่าถูก ด่าเนินการให้สอดคล้องกับสถานการณ์ ความต้องการ ปัญหา และจุดยืน ที่เมืองร้อยเอ็ดได้วางไว้ โดยส่งเสริมยุทธศาสตร์ของท้องถิ่นที่มีอยู่เดิม ให้บูรณาการไปสู่ความเป็นเมืองคาร์บอนต่่า เศรษฐกิจคาร์บอนต่่า และ วัฒนธรรมคาร์บอนต่่า ซึ่งสะท้อนมาจากแนวคิดในการพัฒนาเมืองและ ชุมชนเพื่อมุ่งไปสู่สังคมคาร์บอนต่่า กรอบแนวคิด ๕ ด้านถูกจัดท่าขึ้น ได้แก่ ศูนย์กลางเมืองกระชับ การคมนาคมขนส่งคาร์บอนต่่า โครงข่ายสีเขียวคาร์บอนต่่า เศรษฐกิจคาร์บอนต่่า วัฒนธรรมคาร์บอนต่่า ๒ - ๓ แนวคิดในการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งไปสู่สังคม คาร์บอนต่่า เทศบาลเมืองร้อยเอ็ด
  • 10. บทที่ ๓ ผังการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งไปสู่สังคมคาร์บอนต่่า เทศบาลเมืองร้อยเอ็ด แนวคิดการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งไปสู่สังคมคาร์บอนต่่า ได้แก่ ศูนย์กลางเมืองกระชับ สนับสนุนให้มีเมืองหลายศูนย์กลาง พื้นที่ศูนย์กลางเมืองสนับสนุนให้มีการเติบโตอย่าง ชาญฉลาด มีความกระชับ ใช้ที่ดินแบบผสมผสาน เช่น บริเวณพื้นที่ย่านศูนย์ราชการควรวางแนวคิดในการ จัดการพื้นที่เพื่อรองรับอาคารโรงแรมส่าหรับการจัดสัมมนา พักผ่อน หรือเป็นอาคารที่มีการรองรับกิจกรรม อย่างหลากหลาย เพื่อเป็นการจูงใจให้เกิดการลงทุนในการพัฒนาเศรษฐกิจของเมือง พร้อมกันนี้ ควรมีการ ควบคุมการพัฒนาของเมืองให้อยู่ในโครงข่ายวงแหวนของคูเมือง และรองรับการขยายตัวของเมืองให้สามารถ อยู่ภายในวงแหวนรอบที่ ๒ เพื่อลดการพึ่งพารถยนต์ และเพื่อความสะดวกสบายในการเข้าถึงสาธารณูปโภค สาธารณูปการ การคมนาคมขนส่งคาร์บอนต่่า สนับสนุนให้มีการเดินทางที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม เช่น การเดินเท้า การใช้ จักรยาน การใช้รถขนส่งสาธารณะ จัดเตรียมที่จอดรถของส่วนรวมแต่ละพื้นที่ในย่าน เพื่อส่งเสริมให้เกิดการ ใช้ระบบขนส่งร่วมกัน เช่น รถรับส่งระบบไฟฟ้าเพื่อเป็นการลดปัญหาการจราจรติดขัด และยังเป็นการลดการ ผลิตก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ การปรับปรุงภูมิทัศน์ ๒ ข้างถนนเพื่อให้เอื้อต่อคนเดินเท้าและปั่นจักรยาน ปรับ ผิวถนนให้ต่างระดับเพื่อชะลอความเร็วรถยนต์ในบางเส้นทางที่ต้องการส่งเสริมการเดินเท้า ปลูกต้นไม้เพื่อ สร้างบรรยากาศในการเดิน เช่น บริเวณถนนสายหลักเมืองร้อยเอ็ด (ถนนสันติสุข) ถนนสีเขียวชุมชนทุ่งเจริญ เป็นต้น โครงข่ายสีเขียวคาร์บอนต่่า สนับสนุนให้มีการเชื่อมโยงพื้นที่สีเขียวใจกลางเมือง โดยพื้นที่น่าร่อง คือ พื้นที่ ย่านเมืองเก่า เสนอให้มีการเชื่อมโยงพื้นที่สีเขียวที่มีอยู่กับพื้นที่สีเขียวใหม่ที่ก่าลังจะเกิดขึ้นเพื่อสร้างความ น่าเดินให้กับย่าน และในส่วนพื้นที่ย่านราชการให้มีการปรับปรุงพื้นที่สีเขียว ในบริเวณพื้นที่ที่ติดต่อ ประสานงานกับทางราชการโดยไม่มีรั้ว ซึ่งเป็นการท่าให้พื้นที่สีเขียวมีมากขึ้น เป็นต้นแบบของโครงข่ายการ เดินเท้าและโครงข่ายสีเขียวให้แก่เมือง พร้อมกันนี้ควรสนับสนุนและส่งเสริมให้มีการพัฒนาและฟื้นฟูพื้นที่ สีเขียวและพื้นทีริมน้่าให้มีศักยภาพ โดยอาศัยความร่วมมือของคนในชุมชนให้ชุมชนเป็นผู้ดูแล เศรษฐกิจคาร์บอนต่่า โครงการน่าร่องในพื้นที่ตลาดทุ่งเจริญ เนื่องจากเป็นย่านพาณิชยกรรมเก่าที่ส่าคัญของ เมือง โดยส่งเสริมการใช้เซลล์แสงอาทิตย์มาใช้ในตลาด ลดปริมาณการใช้พลังงานไฟฟ้า สร้างพลังงานไฟฟ้าเอง ส่งเสริมการหมุนเวียนทรัพยากรกลับมาใช้ใหม่ เพื่อเป็นการใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด และเป็นการ ลดปริมาณของเสียที่เกิดขึ้นให้น้อยที่สุด โดยใช้หลักการของ ๔Rs (Reduce, Reuse, Recycle, Repair) ลดการ เกิดขยะตั้งแต่ต้นทางท่าให้ปริมาณขยะที่ต้องน่าไปก่าจัดลดลง หรือเหลือน้อยที่สุด ด่าเนินการสร้างนโยบาย ธนาคารขยะ น่าขยะจากร้านค้า ที่อยู่อาศัย มาแลกผลผลิตของตลาด ส่งเสริมการซื้อขายสินค้า สนับสนุนการใช้ ถุงผ้าหรือใช้ภาชนะที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม พร้อมกันนี้ควรส่งเสริมให้มีการเพิ่มศักยภาพของ ทรัพยากรธรรมชาติในพื้นที่ เพื่อพัฒนาให้เป็นแหล่งกิจกรรมภายในชุมชนและเป็นแหล่งท่องเที่ยวในพื้นที่ เพื่อส่งเสริมเศรษฐกิจชุมชน วิถีชีวิตคาร์บอนต่่า ส่งเสริมให้มีการสร้าง Low Carbon Lifestyles ให้กับชุมชน โดยการปรับเปลี่ยนวิธีการใช้ ชีวิต เช่น วิถีการเดิน วิถีการปั่นจักรยาน วิถีการใช้พลังงานทางเลือก มีการอยู่อาศัยที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม เช่น พื้นที่อาคารควรมีการปลูกไม้ยืนต้นเพื่อให้ร่มเงา ใช้วัสดุที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมในการสร้างบ้านเรือน ติดตั้ง เซลล์แสงอาทิตย์เพื่อน่าพลังงานมาใช้ในอาคาร เพื่อเป็นการประหยัดพลังงานและใช้พลังงานทางเลือก เป็นต้น นอกจากนี้ยังควรจัดตั้งศูนย์การเรียนรู้คาร์บอนต่่าเมืองร้อยเอ็ด และส่งเสริมการท่องเที่ยวเรียนรู้วิถีชีวิตชุมชน เพื่อให้ชุมชนเห็นถึงความความส่าคัญของการใช้ชีวิตคาร์บอนต่่าอีกด้วย โดยโครงการน่าร่องการพัฒนาเมืองเพื่อให้มุ่งไปสู่สังคมคาร์บอนต่่า ประกอบด้วย ๔ โครงการ ดังนี้ ๑. โครงการวางผังออกแบบพัฒนาพื้นที่ ย่านศูนย์ราชการ ๒. โครงการวางผังออกแบบพัฒนาพื้นที่ ย่านตลาดทุ่งเจริญ ๓. โครงการวางผังออกแบบพัฒนาพื้นที่ ย่านเมืองเก่า ๔. โครงการวางผังออกแบบพัฒนาพื้นที่ ย่านขนส่งมวลชน ๓ - ๑
  • 11. ๓.๑ โครงการพัฒนาย่านศูนย์ราชการ ย่านศูนย์ราชการอยู่บริเวณตอนล่างของบึงพลาญชัย ซึ่งมีศักยภาพในการรองรับกับการขยายตัวของเมืองในอนาคต และสามารถรองรับกิจกรรมต่าง ๆ ของเมืองได้หลากหลาย พร้อมกับยังสามารถเป็นต้นแบบ ของการพัฒนาเมืองและชุมชนคาร์บอนต่่าได้ในอนาคต ดังนั้นจึงได้มีการก่าหนดการเชื่อมโยงพื้นที่ว่างจากส่วนราชการเข้าด้วยกัน ก่าหนดรูปแบบของพื้นที่จอดรถร่วมของเมือง และพัฒนาพื้นที่รอบคูเมืองให้มีความเชื่อมโยง และต่อเนื่องของพื้นที่สีเขียวเพื่อให้เกิดกิจกรรมของเมืองในการพักผ่อนของประชาชน การพัฒนาพื้นที่ให้มีสะพานข้ามคูเมืองพร้อมทางปั่นจักรยานในแต่ละ ส่วนเพื่อการเชื่อมโยงกิจกรรมของแต่ละฝั่งถนนเข้าด้วยกัน พร้อมขยายพื้นที่ริมน้่า รอบคูเมือง ให้มีพื้นที่สีเขียวและพื้นที่โล่งในการส่งเสริมกิจกรรมของชุมชน เช่น ลานออกก่าลังกาย เส้นทางปั่นจักรยาน พื้นที่จอดรถยนต์ ทางเดินริมคูเมือง ศาลา พักผ่อน ที่นั่งต่าง ๆ ภาพที่ ๓ - ๑ แสดงทัศนียภาพตามแนวทางการพัฒนาพื้นที่บริเวณคูเมือง ปรับปรุงพื้นที่สีเขียวของส่วน ราชการ โดยไม่กั้นรั้วระหว่าง พื้นที่ของแต่ละส่วนที่ติดต่อประสานงานกับทางราชการ ซึ่งจะส่งผลให้ มีพื้นที่สีเขียวเพิ่มขึ้นและยังมีพื้นที่โล่งที่จะสามารถพัฒนาได้ในอนาคต ภาพที่ ๓ - ๓ แสดงทัศนียภาพตามแนวทางการพัฒนาพื้นที่บริเวณคูเมือง ภาพที่ ๓ – ๒ แสดงทัศนียภาพตามแนวทางการพัฒนาพื้นที่บริเวณคูเมือง ๓ - ๒
  • 12. ภาพที่ ๓ - ๔ แสดงทัศนียภาพตามแนวทางการพัฒนาปรับปรุงพื้นที่บ้านพักอาศัยของข้าราชการ ภาพที่ ๓ - ๖ แสดงทัศนียภาพการพัฒนาย่านศูนย์ราชการ ภาพที่ ๓ - ๕ แสดงทัศนียภาพการพัฒนาย่านศูนย์ราชการ ๓ - ๓
  • 13. A โครงการพัฒนาย่านศูนย์ราชการ  โครงการฟื้นฟูและปรับปรุงภูมิทัศน์ A1 รอบบึงพลาญชัย A2 รอบคูเมือง  โครงการยกเลิกรั้วล้อมรอบส่วนราชการ เพื่อเชื่อมโยงพื้นที่สีเขียว A3 บริเวณรอบส่วนราชการ  จัดระเบียบที่จอดรถ และจุดจอดรถระบบพลังงานไฟฟ้าในชุมชน A4 พื้นที่ราชการ  โครงการตัดถนน เพื่อสร้างความเชื่อมโยงของการคมนาคมให้ ต่อเนื่องกัน เพิ่มทางเท้า และทางจักรยาน A5 พื้นที่ราชการ  ปรับปรุงพื้นที่พักอาศัย ให้เป็นพื้นที่เปิดโล่ง และเชื่อมโยงพื้นที่ สีเขียว A6 ที่พักอาศัยข้าราชการ ยุทธศาสตร์ ๕ การพัฒนาด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ยุทธศาสตร์ ๑ การพัฒนาด้านโครงสร้างพื้นฐาน ภาพที่ ๓ - ๗ แสดงผังพื้นที่โครงการการพัฒนาพื้นที่ย่านศูนย์ราชการ ภาพที่ ๓ - ๘ ต่าแหน่งโครงการพัฒนาย่านศูนย์ราชการ ยุทธศาสตร์ของเทศบาลที่เกี่ยวข้อง สรุปโครงการพัฒนา ๓ - ๔
  • 14. • ฟื้นฟูและปรับปรุงภูมิทัศน์ A1 รอบบึงพลาญชัย A2 รอบคูเมือง • ยกเลิกรั้วล้อมรอบส่วนราชการ เพื่อเชื่อมโยงพื้นที่สีเขียว A3 รอบส่วนราชการ หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ส่านักการช่าง ส่านักการคลัง กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม หน่วยงานสนับสนุน กระทรวงมหาดไทย กระทรวงคมนาคม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อม ส่านักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ส่านักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจังหวัด ส่านักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ผู้เกี่ยวข้องในพื้นที่ สวนสมเด็จพระศรีนครินทร์ ศาลากลางจังหวัดร้อยเอ็ด ศาลจังหวัดร้อยเอ็ด ส่วนที่พักราชการ โรงเรียนสตรีร้อยเอ็ด ฯลฯ สภาพแวดล้อมคาร์บอนต่่า A โครงการพัฒนาย่านศูนย์ราชการ แนวทางด่าเนินงาน ๑. การบรรจุนโยบายด้านการพัฒนาเมืองและชุมชนไปสู่การเติบโตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมและสังคมคาร์บอนต่่าเข้าสู่ แผนยุทธศาสตร์ของการพัฒนาและสร้างต้นแบบโครงการเมืองและชุมชนที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมและคาร์บอนต่่า - จัดท่าข้อบัญญัติท้องถิ่นโดยองค์กรปกครองบริหารส่วนท้องถิ่น โดยอาศัยอ่านาจตามพระราชบัญญัติ เทศบาล พ.ศ. ๒๕๔๙ มาตรา ๖๐ ถึง ๙๕ - น่าร่องการเพิ่มพื้นที่สีเขียวและพันธุ์ไม้ท้องถิ่นในแปลงที่ดินของรัฐ รวมทั้งจัดท่าฐานข้อมูลพื้นที่สีเขียว และ ฐานข้อมูลทะเบียนพันธุ์ไม้ใหญ่ทรงคุณค่าในเมือง ๒. การพัฒนาเมืองที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม โดยการวางผังเมืองที่ผสมผสานวัฒนธรรม สังคม และระบบนิเวศเข้าด้วยกัน - วางแผนและผังพัฒนาเมืองที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมภายใต้โครงการพันธมิตรเพื่อการพัฒนาตามผังเมือง โดยมีคณะกรรมการโครงการพันธมิตรเพื่อการพัฒนาตามผังเมืองระดับจังหวัดเป็นองค์กรขับเคลื่อน ร่วมกับ กรมโยธาธิการและผังเมือง องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น - วางแผนและพัฒนาพื้นที่เฉพาะเพื่อการพัฒนาส่วนของเมืองจากการอนุรักษ์บ่ารุงรักษาทรัพยากรธรรมชาติ ที่มีคุณค่า ๓. การปรับปรุงและด่าเนินการกลไกทางกฎหมาย กฎ/ระเบียบ เกณฑ์มาตรฐานที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้เหมาะสมต่อการ พัฒนาเมืองและชุมชนคาร์บอนต่่า - ควบคุมให้เป็นไปตามแผนผังก่าหนดการใช้ประโยชน์ที่ดิน โครงข่ายคมนาคมและขนส่งในเขตผังเมืองและ พื้นที่เฉพาะของการพัฒนา โดยพระราชบัญญัติการผังเมือง พ.ศ. ๒๕๑๘ ๔. การส่งเสริมและสร้างเครือข่ายความร่วมมือ ในการดูแลรักษาสภาพแวดล้อม - ส่งเสริมการเพิ่มพื้นที่สีเขียวเพื่อดูดซับก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ที่เกิดจากกระบวนการผลิตอย่างต่อเนื่อง เช่น ริมถนน ลานจอดรถ สวนหย่อม ทางเชื่อมจุดต่าง ๆ เป็นต้น โดยเลือกปลูกพันธุ์ไม้ให้เหมาะกับการจัดการ ปัญหามลพิษ ๓ - ๕ กิจกรรมน่าร่องที่ด่าเนินการได้ในระยะสั้น กิจกรรมน่าร่องที่ด่าเนินการได้ในระยะกลาง กิจกรรมน่าร่องที่ด่าเนินการได้ในระยะยาว
  • 15. • จัดระเบียบที่จอดรถ และจุดจอดรถระบบพลังงานไฟฟ้าในชุมชน A4 พื้นที่ราชการ • ตัดถนน เพื่อสร้างความเชื่อมโยงของการคมนาคมให้ต่อเนื่องกัน เพิ่มทางเท้า และทางจักรยาน A5 พื้นที่ราชการ หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ส่านักการช่าง งานสวนสาธารณะ กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม หน่วยงานสนับสนุน กระทรวงคมนาคม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ส่านักงานทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อมจังหวัด องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ผู้เกี่ยวข้องในพื้นที่ ศาลากลางจังหวัดร้อยเอ็ด สวนสมเด็จพระศรีนครินทร์ สถานีต่ารวจเมืองร้อยเอ็ด ศาลจังหวัดร้อยเอ็ด ตลาดสดเทศบาลเมืองร้อยเอ็ด โรงเรียนเมืองร้อยเอ็ด ฯลฯ วัฒนธรรมคาร์บอนต่่า A โครงการพัฒนาย่านศูนย์ราชการ • ปรับปรุงพื้นที่พักอาศัย ให้เป็นพื้นที่เปิดโล่ง และเชื่อมโยงพื้นที่สีเขียว A6 พื้นที่พักอาศัยข้าราชการ แนวทางด่าเนินงาน ๑. การวางแผนและพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานการขนส่งที่มีประสิทธิภาพสูงและลดการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ - วางแผนและผังการพัฒนาพื้นที่สาธารณะที่สนับสนุนการเดินเท้า และเอื้อประโยชน์ต่อระบบการ ขนส่งที่อนุรักษ์พลังงาน สามารถเดินทางได้ในระยะสั้น และสามารถใช้ยานพาหนะที่ไม่ใช้พลังงาน หรือใช้พลังงานต่่า ๒. การพัฒนาเมืองที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม โดยการวางผังเมืองที่ผสมผสานวัฒนธรรม สังคม และระบบนิเวศ เข้าด้วยกัน - วางแผนและพัฒนาพื้นที่เฉพาะเพื่อการพัฒนาส่วนของเมือง เพื่อการแก้ไขปรับปรุงสภาพความ เสื่อมโทรมทางกายภาพเศรษฐกิจ สังคม และสภาพแวดล้อม ตลอดจนการพัฒนาขึ้นใหม่ ๔. การปรับนโยบายการลงทุนภาครัฐเพื่อให้เอื้อต่อโครงสร้างพื้นฐานของเมืองคาร์บอนต่่า - ขอเงินทุนหมุนเวียนส่าหรับการกู้ยืม และ/หรือร่วมลงทุนจากกองทุนสิ่งแวดล้อมส่าหรับส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ หรือเอกชน เพื่อการก่อสร้างและด่าเนินการที่เกี่ยวเนื่องทางสิ่งแวดล้อม ๒. การส่งเสริมและสร้างความร่วมมือในการเดินทางที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม - จัดตั้งกลุ่ม องค์กร สนับสนุนการเดินเท้าและการใช้จักรยานในชีวิตประจ่าวัน รวมถึงการรณรงค์การ เดินทางที่ประหยัดพลังงานและเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมในทุกรูปแบบ สร้างทัศนคติในการเดินทาง ซึ่งหากมีการเดินทางไกลควรใช้บริการรถสาธารณะ ๓. การขับเคลื่อนการปฏิบัติโดยบรรจุเรื่องเมืองคาร์บอนต่่าในแผนแม่บทและแผนปฏิบัติการขององค์กร ระดับต่าง ๆ - พัฒนาเมืองที่ให้ความส่าคัญกับการเดินเท้าและการใช้จักรยานรวมถึงระบบขนส่งมวลชน ควบคุม ลดความเร็วของการจราจรและเรียกคืนพื้นที่เพื่อการเดินเท้า (Traffic Taming) การปิดถนนเพื่อการ เดินเท้า การสร้างความร่มรื่นในการเดินเท้าในศูนย์กลางเมือง และการสนับสนุนให้มีการใช้จักรยาน ๓ - ๖
  • 16. ย่านตลาดทุ่งเจริญ ตั้งอยู่บริเวณด้านทิศตะวันออกของบึงพลาญชัย ซึ่งเป็นแหล่งพาณิชยกรรมเดิมของเมืองที่เป็นศูนย์รวมของกิจกรรม ทั้งศาสนสถาน สถานศึกษา ตลาด โรงแรม และชุมชนพักอาศัย และยังประกอบด้วยป่าไม้ แหล่งน้่า และทรัพยากรธรรมชาติของเมือง มีศักยภาพ ในการพัฒนาพื้นที่เพื่อให้คนในชุมชนสามารถเข้าไปใช้งานและร่วมอนุรักษ์ฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติ โดยได้ให้ความส่าคัญกับการเดินเท้าเป็นอันดับ แรก รวมถึงได้ส่งเสริมการใช้จักรยานในชีวิตประจ่าวัน ส่งเสริมการเข้าถึงพื้นที่ริมน้่า เชื่อมโยงพื้นที่สีเขียว ทั้งในสถานที่ราชการ สถานศึกษา วัด และชุมชน เพื่อให้ประชาชนสามารถเข้าถึงการใช้งานแหล่งทรัพยากรเหล่านั้นได้อย่างเต็มประสิทธิภาพ พร้อมทั้งเสริมสร้างวิถีชีวิตและความ เข้มแข็งของชุมชน เพื่อให้ร้อยเอ็ดเป็นสังคมที่มุ่งสู่เมืองคาร์บอนต่่า ภาพที่ ๓ - ๙ ผังแสดงพื้นที่โครงการในการพัฒนาย่านตลาดทุ่งเจริญ ๓.๒ โครงการพัฒนาย่านตลาดทุ่งเจริญ ๓ - ๗
  • 17. ภาพที่ ๓ - ๑๑ แสดงทัศนียภาพพื้นที่สีเขียวในชุมชน ภาพที่ ๓ - ๑๓ แสดงทัศนียภาพพื้นที่ถนนสันติสุข ภาพที่ ๓ - ๑๐ แสดงทัศนียภาพย่านพาณิชย์กรรมใหม่เมืองร้อยเอ็ด (Market Village) ภาพที่ ๓ - ๑๔ แสดงสภาพก่อนการพัฒนาพื้นที่ (ขวา) ริมคลอง (ซ้าย) ถนนสันติสุข ภาพที่ ๓ - ๑๒ แสดงทัศนียภาพพื้นที่คลองคูเมือง ๓ - ๘
  • 18. B โครงการพัฒนาย่าน ตลาดทุ่งเจริญ  พัฒนาแหล่งท่องเที่ยว (ศูนย์การเรียนรู้คาร์บอนต่่า) B7 พื้นที่ด้านหลังพิพิธภัณฑ์สถานแห่งชาติร้อยเอ็ด  พัฒนาพื้นที่พาณิชย์กรรมและที่อยู่อาศัย (จัดกลุ่มอาคารพักอาศัย และพัฒนาพื้นที่ว่าง) B8 บริเวณตลาดทุ่งเจริญ B9 บ้านกลางเมืองร้อยเอ็ด B10 บริเวณพาณิชย์กรรมใหม่เมืองร้อยเอ็ด  พัฒนาพื้นที่ว่างสาธารณะและพื้นที่สีเขียว B4 บริเวณคูเมือง B5 บริเวณริมคลองคูเมือง B6 ชุมชนพระอารามหลวง ยุทธศาสตร์ ๕ การพัฒนาด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ยุทธศาสตร์ ๖ การพัฒนาด้านการบริหารการเมืองการปกครอง ภาพที่ ๓ - ๑๕ แสดงผังพื้นที่โครงการการพัฒนาพื้นที่บริเวณย่านศูนย์ราชการ ภาพที่ ๓ – ๑๖ ต่าแหน่งโครงการการ พัฒนาย่านศูนย์ราชการ ยุทธศาสตร์ของเทศบาลที่เกี่ยวข้อง สรุปโครงการพัฒนา  โครงการถนนสีเขียว B1 ถนนสายหลัก B2 ถนนสีเขียวชุมชนทุ่งเจริญ B3 ถนนสายรอง ภาพที่ ๓ – ๑๗ แสดงผังการ พัฒนาพื้นที่ถนน ๓ - ๙