SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 65
Downloaden Sie, um offline zu lesen
804701 Urban and Regional Planning Theory
Urban and Regional Planning in Thailand:
Thai National Policy and Globalization
โดย สฤษดิ์ ติยะวงศ์สุวรรณ
การวางแผนภาคและเมืองในประเทศไทย: นโยบายชาติของประเทศไทย และกระแสโลกาภิวัฒน์
ข้อสังเกตบางประการทางประวัติศาสตร์
ของการเปลี่ยนแปลงการเมืองการปกครอง
ที่ส่งผลต่อความเป็นชุมชนกับการฟื้นฟูเมืองในประเทศไทย
วารสารวิชาการประจาคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร
หน้าจั่วว่าด้วยประวัติศาสตร์สถาปัตยกรรมและสถาปัตยกรรมไทย
ฉบับที่ 9 พ.ศ.2554 หน้า 137-157
เรื่อง
โดย สฤษดิ์ ติยะวงศ์สุวรรณ
INGALLS HOCKEY RINK,
YALE UNIVERSITY
Dulles International Airport
(for Washington D.C.)
Eero Saarinen
“เมื่อแรกนั้นคนสร้างเมือง ต่อมาเมืองจึงสร้างคน...
ดูที่เมืองก็จะรู้ว่าชาวเมืองมีนิสัยอย่างไร”
Eero Saarinen (1910-1961) สถาปนิกนักผังเมือง
“เมืองของต่างประเทศบางเมืองทาไมถึงดูมีความเรียบร้อย
ความสะอาด ความร่มรื่นของเมือง ไม่วุ่นวายและหนาแน่น
เกินไป
ดูแล้วน่าอยู่
แล้วทาไมบ้านของเรา เมืองของเราถึงไม่
สร้างเมืองให้มีลักษณะนี้บ้าง”
บทความขยายกรอบแนวคิดด้านองค์กรชุมชนฟื้นฟูเมือง
จากบทความเรื่อง
“วิวัฒนาการองค์กรชุมชนฟื้นฟูเมืองในประเทศ
ไทย”
วารสารวิชาการหน้าจั่วว่าด้วยประวัติศาสตร์สถาปัตยกรรมและสถาปัตยกรรมไทย ฉบับ
ที่ 8 พ.ศ.2554 หน้า 163-177กระบวนการวิเคราะห์เนื้อหา (Content analysis)
ประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของ
ประเทศไทย
ในมุมมองของสาขาวิชาต่างๆ
เพื่อค้นหาความเชื่อมโยงที่ส่งผลต่อความเป็นชุมชนและองค์กรชุมชน
ในความตื่นตัวการมีส่วนร่วมในกระบวนการวางแผนฟื้นฟูที่อยู่อาศัย
และทรัพยากรเชิงพื้นที่ของตนเอง
ประเด็นการนาเสนอ
1. ความเป็นมาและความสาคัญของประเด็นศึกษา
2. การเปลี่ยนแปลงการเมืองการปกครอง: กรณีศึกษา
สหรัฐอเมริกา
3. การเปลี่ยนแปลงการเมืองการปกครองของประเทศไทย
กับความเป็นชุมชนและการฟื้นฟูเมือง
4. ความสัมพันธ์ระหว่างการเปลี่ยนแปลงการเมืองการ
ปกครอง
กับกระบวนการวางแผนฟื้นฟูเมือง
5. การอภิปรายผลการศึกษาและข้อเสนอแนะ
1. ความเป็นมาและความสาคัญของประเด็นศึกษา
1.1 มนุษย์ สังคม และการใช้ทรัพยากรร่วมกัน
1.2 โศกนาฎกรรมทรัพยากรสาธารณะ (Tragedy of the
common)1.3 กระบวนการมีส่วนร่วมของประชาชนในการตัดสินใจ
ร่วมกัน
ในการบริหารจัดการทรัพยากรสาธารณะ
1.1 มนุษย์ สังคม และการใช้ทรัพยากรร่วมกัน
-การแบ่งหน้าที่กันทางาน
-การจัดสรรทรัพยากรให้กับสมาชิก >>> การรวมกลุ่มทางสังคม
-บางครั้ง คนหนึ่งได้ แต่คนหนึ่งเสีย >>> ความจากัดของ
ทรัพยากร
(พัทยา สายหู, 2540 เรื่อง กลไกทางสังคม)
-ความขัดแย้งระหว่างกลุ่มได้กับกลุ่มเสียผลประโยชน์
-ข้อตกลงทางสังคมร่วมกัน >>> วัฒนธรรม สังคม และการเมือง
-กระบวนความเป็นเมือง (Urbanization) >>> การจัดการเชิง
พื้นที่
-นับเป็นหนึ่งในทรัพยากรสาธารณะ
ต้องมีการตกลงกันของสังคมแห่งนั้นด้วยเช่นกัน
1.1 มนุษย์ สังคม และการใช้ทรัพยากรร่วมกัน
-ตัดสินใจ ผลประโยชน์ส่วนตัวสูงสุด
-ไม่สนผลกระทบระยะยาว
-สูญเสียทรัพยากรอย่างถาวร
สถานการณ์ทรัพยากรจากัด
ความต้องการใช้ไม่จากัด
-การบริหารจัดการเมืองมีสิ่งนี้เสมอ
การสร้างตรรกะร่วมกัน/บรรทัดฐาน
สิ่งสาคัญในการสร้างความรับผิดชอบ
1.3 กระบวนการมีส่วนร่วมของประชาชนในการตัดสินใจร่วมกัน
ในการบริหารจัดการทรัพยากรสาธารณะ
-การเปลี่ยนแปลงการเมืองการปกครอง
>>> นโยบายจัดการทรัพยากรสาธารณะไม่ยุติธรรม
ริดรอนสิทธิเสรีภาพมนุษยชน >>> ขัดแย้ง >>> รุนแรง
เพื่อเรียกร้องสิทธิในทรัพยากร และแนวคิดบริหารจัดการ
1.3 กระบวนการมีส่วนร่วมของประชาชนในการตัดสินใจร่วมกัน
ในการบริหารจัดการทรัพยากรสาธารณะ
-เดิม Top-down Planning >>> ไล่รื้อ
-ต่อต้าน ไม่เหมาะสม ผลกระทบทางสังคมและเศรษฐกิจ
1.3 กระบวนการมีส่วนร่วมของประชาชนในการตัดสินใจร่วมกัน
ในการบริหารจัดการทรัพยากรสาธารณะ
ไปสู่ Bottom-up Planning
กระบวนการวางแผนแบบมีส่วนร่วมของชุมชน
1.3 กระบวนการมีส่วนร่วมของประชาชนในการตัดสินใจร่วมกัน
ในการบริหารจัดการทรัพยากรสาธารณะ
เพื่อการตัดสินใจ >>> บริหารทรัพยากรสาธารณะร่วมกัน
สื่อสารสองทาง >>> สร้างความเข้าใจ ปรับบรรทัดฐานทางสังคม
1.3 กระบวนการมีส่วนร่วมของประชาชนในการตัดสินใจร่วมกัน
ในการบริหารจัดการทรัพยากรสาธารณะ
บทบาทภาครัฐกับนักวางแผน >>> อานวยเชิงเทคนิคและกระบวนการ
กระบวนการวางแผน >>> การเมือง
2. การเปลี่ยนแปลงการเมืองการปกครอง: กรณีศึกษาสหรัฐอเมริกา
2.1 การเปลี่ยนแปลงนโยบายในการฟื้นฟูเมืองของสหรัฐอเมริกา
2.2 การเปลี่ยนแปลงกระบวนการวางแผนฟื้นฟูเมืองในสหรัฐอเมริกา
2.1 การเปลี่ยนแปลงนโยบายในการฟื้นฟูเมืองของสหรัฐอเมริกา
การปกครองแบบเดิม >>> ผู้ว่าการ Governor จาก UK
>>> สภานิคม Colonial Assemble
จากการเลือกตั้ง
สภานิคม มีอานาจกว่า ผู้ว่าการ
เนื่องจากสามารถควบคุมรายจ่ายภาครัฐได้
2.1 การเปลี่ยนแปลงนโยบายในการฟื้นฟูเมืองของสหรัฐอเมริกา
1760 UK >>> ระดมภาษีจาก USA >>> ทาสงคราม
เกิดความไม่พอใจของชาว USA >>> ต่อต้าน
เนื่องจากไม่มีชาว USA มีส่วนร่วมในการตัดสินใจ
สงครามการเมือง ประกาศอิสรภาพ 1776 > อาณานิคม > มลรัฐ
2.1 การเปลี่ยนแปลงนโยบายในการฟื้นฟูเมืองของสหรัฐอเมริกา
1950-1960 Community Development Movement
The Hosing Act of 1949 > สุขภาวะ มาตรฐานของการอยู่อาศัย
เน้นกายภาพ และขับเคลื่อนวางแผนโดยผู้เชี่ยวชาญเท่านั้น
2.1 การเปลี่ยนแปลงนโยบายในการฟื้นฟูเมืองของสหรัฐอเมริกา
ภาคประชาชนต่อสู้เพื่อการบริหารจัดการด้วยตนเอง
ผลกระทบของนโยบายการฟื้นฟูเมืองที่เน้นแต่กายภาพ
เรียกร้องสิทธิความเป็นพลเมือง Civil Right Movement > จราจล
2.1 การเปลี่ยนแปลงนโยบายในการฟื้นฟูเมืองของสหรัฐอเมริกา
Urban Movement >>> The War on Poverty
โครงการดาเนินการโดยชุมชน >>> มุมมองใหม่ของการฟื้นฟูเมือง
กระบวนการวางแผนผ่านกลไกทางสังคม >>> องค์กรชุมชน
2.1 การเปลี่ยนแปลงนโยบายในการฟื้นฟูเมืองของสหรัฐอเมริกา
เกิดองค์กรชุมชนจานวนมาก > พัฒนาเมืองหลากหลาย
การฟื้นฟูเมืองเริ่มต้น > ผู้มีรายได้น้อย > ประชาธิปไตย ฉันทามติ
หุ้นส่วน > กระบวนการวางแผนเน้นเชิงกลยุทธในการปฏิบัติ
Carlsbad, California, Low Income Housing
2.2 การเปลี่ยนแปลงกระบวนการวางแผนฟื้นฟูเมืองใน
สหรัฐอเมริกา
การทบทวนวรรณกรรม
ด้านการฟื้นฟูเชิงกระบวนการ
Carmon, N. (1999)
Three generations of urban renewal policies:
analysis and policy implications.
Geoforum, 30, 145-158.
เป็นการศึกษาพัฒนาการของการฟื้นฟูเมือง (Urban Renewal)
จากการเปลี่ยนแปลงนโยบายด้านการฟื้นฟูเมือง
โดยใช้เกณฑ์แบ่งด้านความแตกต่างของผู้ดาเนินการ (Main Actors)
ซึ่งเป็นผู้กาหนดนโยบายการฟื้นฟูเมือง
ซึ่งทฤษฎีนี้สามารถอธิบายพัฒนาการได้ทั้งอเมริกาและยุโรป
การทบทวนวรรณกรรม
ด้านการฟื้นฟูเชิงกระบวนการ
ยุคที่หนึ่ง: ยุคแห่งการรื้อถอน (ค.ศ.1930-1960)
(the era of the bulldozer - physical determinism and emphasis on the built environment)
มุ่งเน้นการฟื้นฟูความเสื่อมโทรมโดยการเปลี่ยนแปลงเชิงกายภาพ
รื้อถอน สลัม ปรับพื้นที่การใช้ประโยชน์ที่ดินให้เหมาะสมมากขึ้น
ซึ่งถูกวิพากษ์อย่างรุนแรงถึงความไม่เหมาะสมคาว่าฟื้นฟู
การทบทวนวรรณกรรม
ด้านการฟื้นฟูเชิงกระบวนการ
ยุคที่สอง: ยุคแห่งการฟื้นฟูความเป็นละแวกบ้าน (ค.ศ.1960-1980)
(neighborhood rehabilitation – a comprehensive approach emphasizing social problems)
-ดึงผู้อยู่อาศัยในพื้นที่มีส่วนในการตัดสินใจ (Decision-Making Process)
-การสร้างการมีส่วนร่วมสูงสุดที่จะเป็นไปได้
-ผ่านการซ่อมแซมขึ้นมาใหม่ของสิ่งก่อสร้างและสิ่งแวดล้อมแบบองค์รวม
* ภาครัฐยังเป็นแกนหลักสาหรับการดาเนินการอยู่
การทบทวนวรรณกรรม
ด้านการฟื้นฟูเชิงกระบวนการ
ยุคที่สาม: ยุคแห่งการคืนชีวิตให้กับเมือง (ค.ศ.1980-1999)
(revitalization, especially in city centers – a business-like approach emphasizing economic development)
-จากการประเมินนโยบายการฟื้นฟูยุคที่สอง ปัญหาเมืองเพิ่มขึ้น คนจนไม่ได้ลดลง
-เกิดแนวคิดของกระบวนการฟื้นฟูเมืองขึ้น (Process of Revitalization)
แบ่งได้เป็น 2 กลุ่ม
1. การรวมกลุ่มฟื้นฟูเมืองระหว่างชาวเมืองระดับปัจเจกบุคคลกับภาครัฐ (Public-Individual Partnership)
 การปรับเปลี่ยนพื้นที่ (Gentrification)
 การฟื้นฟูโดยผู้อยู่อาศัยในพื้นที่ (Upgrading by Incumbent Resident)
 การฟื้นฟูโดยผู้ย้ายถิ่น (Upgrading by Immigrants)
2. การรวมกลุ่มฟื้นฟูเมืองระหว่างนักลงทุนรายใหญ่กับภาครัฐ (Public-Private Partnership)
การทบทวนวรรณกรรม
ด้านการฟื้นฟูเชิงกระบวนการ
ยุคที่สาม: ยุคแห่งการคืนชีวิตให้กับเมือง (ค.ศ.1980-1999)
1. การรวมกลุ่มฟื้นฟูเมืองระหว่างปัจเจกบุคคลกับภาครัฐ (Public-Individual Partnership)
การปรับเปลี่ยนพื้นที่ (Gentrification)
การไหลกลับสู่เมืองของชนชั้นกลาง ด้วยการสนับสนุนด้านต่างๆ เช่น การลดภาษี การปรับปรุงโครงสร้างพื้นฐาน
มีงานวิจัยต่างๆอธิบายถึงการปรับเปลี่ยนพื้นที่เกินจริง
ส่งผลให้กระบวนการนี้มีการลดความสาคัญลง !!!
การทบทวนวรรณกรรม
ด้านการฟื้นฟูเชิงกระบวนการ
ยุคที่สาม: ยุคแห่งการคืนชีวิตให้กับเมือง (ค.ศ.1980-1999)
1. การรวมกลุ่มฟื้นฟูเมืองระหว่างปัจเจกบุคคลกับภาครัฐ (Public-Individual Partnership)
การฟื้นฟูโดยผู้อยู่อาศัยในพื้นที่ (Upgrading by Incumbent Resident)
-เกิดจากมิติของงานพัฒนาชุมชน (Community Development)
-เป็นกระบวนการเกิดขึ้นของย่านพื้นที่ (Zones of Emergence)
-การรวมชาวเมืองเป็นกลุ่มองค์กรเพื่อดาเนินการด้านปรับปรุงที่อยู่อาศัยและสิ่งแวดล้อม
-สร้างเครือข่ายของกิจกรรมการฟื้นฟู
-การประสานการทางานระหว่างองค์กรชุมชน หน่วยงานท้องถิ่น และกลุ่มองค์กรไม่แสวงผลกาไร
การทบทวนวรรณกรรม
ด้านการฟื้นฟูเชิงกระบวนการ
ยุคที่สาม: ยุคแห่งการคืนชีวิตให้กับเมือง (ค.ศ.1980-1999)
1. การรวมกลุ่มฟื้นฟูเมืองระหว่างปัจเจกบุคคลกับภาครัฐ (Public-Individual Partnership)
การฟื้นฟูโดยผู้ย้ายถิ่น (Upgrading by Immigrants)
-การย้ายถิ่นเข้าเมือง จนเกิดการตั้งถิ่นฐานจนเป็นสาเหตุของความเสื่อมโทรมของเมือง
-เกิดการปรับแนวคิดจากเหตุของความเสื่อมโทรม เป็นแหล่งแรงงานทักษะ กลุ่มการศึกษาสูง
-งานวิจัยอธิบายว่าสิ่งนี้เป็นเหตุกระตุ้นการจ้างงานและระบบเศรษฐกิจ จนเกิดการฟื้นฟูที่อยู่อาศัยเพื่อรองรับ
การทบทวนวรรณกรรม
ด้านการฟื้นฟูเชิงกระบวนการ
ยุคที่สาม: ยุคแห่งการคืนชีวิตให้กับเมือง (ค.ศ.1980-1999)
2. การรวมกลุ่มฟื้นฟูเมืองระหว่างนักลงทุนเอกชนรายใหญ่กับภาครัฐ (Public-Private Partnership)
-ส่วนใหญ่เป็นการฟื้นฟูองค์ประกอบหลักของเมือง เช่น ห้างสรรพสินค้าขนาดใหญ่ ศูนย์ประชุม ที่อยู่อาศัยมีชื่อเสียง
-มักเป็นกระบวนการเชิงพาณิชย์ ผ่านการปฏิบัติการพัฒนาเมือง
-ส่วนใหญ่จะเกิดความขัดแย้งของความสนใจร่วมของชาวเมือง ผลที่เกิดขึ้นคือ ชาวเมืองเพิกเฉยต่อโครงการเหล่านี้
2.2 การเปลี่ยนแปลงกระบวนการวางแผนฟื้นฟูเมืองใน
สหรัฐอเมริกา
การเรียกร้องสิทธิและการเคลื่อนไหวภาคประชาชน
มีตั้งแต่ 1950
“การเปลี่ยนแปลงกระบวนการวางแผน >>> การมีส่วนร่วม
ชุมชน”
“การเปลี่ยนแปลงนโยบายการเงินและกฎหมายการมีส่วนร่วม”
มาจากความขัดแย้งอย่างรุนแรง อาณานิคม >>> 1760
การพัฒนาชุมชน >>> 1950
3. การเปลี่ยนแปลงการเมืองการปกครองของประเทศไทย
กับความเป็นชุมชนและการฟื้นฟูเมือง
3.1 กระแสการเปลี่ยนแปลงการเมืองการปกครอง
3.2 เหตุการณ์การเปลี่ยนแปลงรูปแบบการเมืองการปกครอง
การเปลี่ยนแปลงความเป็นเมือง
และพลวัตการตื่นตัวภาคประชาชนของประเทศไทย
รัฐประหาร
หมายถึง
การใช้กาลังเข้ายึดอานาจบริหารสูงสุดโดยการเมือง
ภายในประเทศ ซึ่งทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงขั้วอานาจ
องค์กร The Center for Systemic Peace (CSP)
ข้อมูลรัฐประหารประเทศต่างๆ ทั่วโลก ช่วง 1946-2010
ประเทศไทยมีรัฐประหาร 17 ครั้ง อันดับ 4 ของโลก
(ข้อมูลวันที่ 25 เมษายน 2555)
ประเทศไทยมีรัฐประหาร ครั้งที่ 18 ครั้ง เข้าสู่อันดับ 1 ของ
โลก?
22 พฤษภาคม 2557 เวลา 16:30 น. โดยคณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช)
3.1 กระแสการเปลี่ยนแปลงการเมืองการปกครอง
การครอบครองปัจจัยการผลิต VS อานาจการบริหาร
วิวัฒนาการ
-เลิกทาส >>> เลิกไพร่ (ร.5)
3.1 กระแสการเปลี่ยนแปลงการเมืองการปกครอง
วิวัฒนาการ
-การครอบครองที่ดิน >>> กระจุกตัว
3.1 กระแสการเปลี่ยนแปลงการเมืองการปกครอง
สรุป
การเปลี่ยนแปลงการปกครอง
จะมาจาก
“นโยบายบริหารจัดการทรัพยากร
สาธารณะ”
ไม่เพียงพอ + การแทรกแซงต่างประเทศ
ต่อต้าน + เรียกร้องสิทธิ
3.2 เหตุการณ์การเปลี่ยนแปลงรูปแบบการเมืองการปกครอง
การเปลี่ยนแปลงความเป็นเมือง
และพลวัตการตื่นตัวภาคประชาชนของประเทศไทย
พ.ศ. การเปลี่ยนแปลงการเมืองของ
ไทย
การเคลื่อนไหวของประชาชน
2417 เลิกทาส
2435 ร.5 รวมศูนย์อานาจ ความไม่
พร้อมของประชาชนต่อระบอบ
ประชาธิปไตย
2448 เลิกไพร่
แต่ระบบกรรมสิทธิ์ที่ดินคงเดิม
2474 ร.7 ชะลอการปกครองแบบ
รัฐสภา ต้องการให้ประชาชน
เรียนรู้พื้นฐานการปกครอง
ระดับท้องถิ่น
พ.ศ. การเปลี่ยนแปลงการเมืองของ
ไทย
การเคลื่อนไหวของประชาชน
2475 ปฏิวัติโดยคณะราษฎร สู่ระบอบ
ประชาธิปไตย
2476 กบฏบวชเดช: ขัดแย้งแผนฯ
ของปรีดี ด้านการถือครองที่ดิน
ของประชาชนมากขึ้น
2477 สละราชสมบัติ ร.7
สมบูรณาญาสิทธิราชย์ >>>
ประชาธิปไตย
2490 รัฐประหารไล่ปรีดี
พ.ศ. การเปลี่ยนแปลงการเมืองของ
ไทย
การเคลื่อนไหวของประชาชน
2500 รัฐประหาร จากจอมพล สฤษดิ์
บูรณาการระบอบจารีตนิยม กับ
ระบอบประชาธิปไตย
เน้นบทบาทภาครัฐ
2504 แผนฯ ชาติ ฉบับที่ 1 นโยบายการฟื้นฟูเมือง พัฒนา
โครงสร้างพื้นฐาน >>>
อุตสาหกรรม >>> ไล่รื้อชุมชน
2516 การปฏิบัติกระฎุมพี: ประชาชน
เรียกร้องประชาธิปไตย
ตั้ง การเคหะแห่งชาติ
ริดรอนสิทธิมนุษยชนและสิทธิ
การตั้งถิ่นฐานชุมชน
พ.ศ. การเปลี่ยนแปลงการเมืองของ
ไทย
การเคลื่อนไหวของประชาชน
2519 ล้มล้างรัฐธรรมนูญ 2517 จาก
ทหารและสถาบันฯ
สังหารหมู่ประชาชน
การหนีเข้าป่าของกลุ่ม
ปัญญาชน
2520 รับแนวคิดการฟื้นฟูเมืองแบบ
อื่น ของภาครัฐ นอกจากการไล่
รื้อ โดยการเคหะแห่งชาติ
การกลับสู่เมืองของปัญญาชน
ช่วยเหลือเชิงกระบวนการการ
ฟื้นฟูเมืองให้กับชุมชน
2535 รัฐประหาร รสช. กันการ
เคลื่อนไหวของภาคประชาชน
ประชุมวิชาการด้านการฟื้นฟู
เมือง ระดับประเทศ
2536 ผลักดันแนวคิดบทบาทแบบ
หุ้นส่วนภาครัฐกับชุมชน
พ.ศ. การเปลี่ยนแปลงการเมืองของ
ไทย
การเคลื่อนไหวของประชาชน
2537 รัฐบาลชวน ตั้งสานักงานพัฒนา
ชุมชนเมือง (การเคหะแห่งชาติ)
ระดมแนวคิดตั้ง พอช.
(สถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน)
2538 นโยบายการเงินสนับสนุนการ
พัฒนาองค์กรชุมชน
2540 แผนฯ ชาติ ฉบับที่ 8 เน้นการมี
ส่วนร่วมของชุมชน
รัฐธรรมนูญ 2540
2542 กระจายอานาจสู่ท้องถิ่น จัดตั้ง
อปท.
พ.ศ. การเปลี่ยนแปลงการเมืองของ
ไทย
การเคลื่อนไหวของประชาชน
2543 แผนฯ 9 เน้นสถาบันครอบครัว
กับชุมชนเป็นแกนหลักการ
พัฒนาฯ
ตั้ง พอช.
2546 รัฐบาลทักษิณ ผลักดัน บ้าน
มั่นคง และ บ้านเอื้ออาทร
โครงการบ้านมั่นคง (พอช.)
โครงการบ้านเอื้ออาทร(การ
เคหะฯ)
2549 รัฐประหาร คปค.
แต่ภาคประชาชนส่วนหนึ่ง
ต่อต้าน
2553 ชุมชนภาคประชาชนต่อต้าน การเคหะฯ ผลักดัน พรบ.
4. ความสัมพันธ์ระหว่างการเปลี่ยนแปลงการเมือง
การปกครองกับกระบวนการวางแผนฟื้นฟูเมือง
4.1 ลักษณะความสัมพันธ์ระหว่างผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
กับรูปแบบการดาเนินการฟื้นฟูเมือง
4.2 กรอบแนวคิดความสัมพันธ์ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
ในกระบวนการวางแผนฟื้นฟูเมืองสู่รูปแบบการดาเนินการ
4.3 สถานการณ์การจัดการเชิงพื้นที่ในการฟื้นฟูเมืองของ
ประเทศไทย
การปฏิรูปจะมีสิ่งที่ต้องคานึง 3 สิ่ง ได้แก่
1) ต้องไม่ใช่การปรับปรุงโดยไม่เปลี่ยนแปลงความสัมพันธ์เชิงอานาจ
2) แม้ยังรักษาสถาบันในระบบเก่าไว้ตามเดิม แต่หลีกไม่พ้นที่จะต้องปรับเปลี่ยน
ความสัมพันธ์เชิงอานาจของสถาบันเหล่านั้นไม่มากก็น้อย และ
3) พลังที่แข็งแกร่งที่สุดจะนาการปฏิรูป คือ พลังทางสังคม ซึ่งประเด็นอยู่ตรงที่
สังคมต้องการความสัมพันธ์เชิงอานาจใหม่ในระบบหรือไม่
“ดังนั้นความสาเร็จของการปฏิรูปจะอยู่ตรงความสามารถในการขับเคลื่อนสังคม
ไปสู่การปรับเปลี่ยนความสัมพันธ์เชิงอานาจใหม่ได้หรือไม่”
นิธิ เอียวศรีวงศ์ (ออนไลน์, 2553)
4.1 ลักษณะความสัมพันธ์ระหว่างผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
กับรูปแบบการดาเนินการฟื้นฟูเมือง
4.2 กรอบแนวคิดความสัมพันธ์ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
ในกระบวนการวางแผนฟื้นฟูเมืองสู่รูปแบบการดาเนินการ
4.3 สถานการณ์การจัดการเชิงพื้นที่ในการฟื้นฟูเมืองของ
ประเทศไทย
1) ชุมชนแฟลตดินแดง
2) ชุมชนเวิ้งนาครเขษม
4.3 สถานการณ์การจัดการเชิงพื้นที่ในการฟื้นฟูเมืองของ
ประเทศไทย
1) ชุมชนแฟลตดินแดง
แฟลตดินแดงอดีต
จากชุมชนแออัดราชวิถี
ปัจจุบัน >>>>>>>>>>>>>>
4.3 สถานการณ์การจัดการเชิงพื้นที่ในการฟื้นฟูเมืองของ
ประเทศไทย
1) ชุมชนแฟลตดินแดง
อาคารอายุกว่า 50 ปี มีสภาพทรุดโทรม เสื่อมสภาพ
4.3 สถานการณ์การจัดการเชิงพื้นที่ในการฟื้นฟูเมืองของ
ประเทศไทย
1) ชุมชนแฟลตดินแดง
วิธีการปรับปรุงที่ขาดความเข้าใจด้านสังคม
ส่งผลต่อการต่อต้านของชุมชน
4.3 สถานการณ์การจัดการเชิงพื้นที่ในการฟื้นฟูเมืองของ
ประเทศไทย
1) ชุมชนแฟลตดินแดง
นาไปสู่การปรับวิธีการสร้างความเข้าใจ
และการมีส่วนร่วมของชุมชน
4.3 สถานการณ์การจัดการเชิงพื้นที่ในการฟื้นฟูเมืองของ
ประเทศไทย
2) ชุมชนเวิ้งนาครเขษม
หมดสัญญาเช่าที่ดิน บนที่ดินกว่า 14 ไร่
ไม่ต่อสัญญา
4.3 สถานการณ์การจัดการเชิงพื้นที่ในการฟื้นฟูเมืองของ
ประเทศไทย
2) ชุมชนเวิ้งนาครเขษม
การต่อต้านของชุมชน
4.3 สถานการณ์การจัดการเชิงพื้นที่ในการฟื้นฟูเมืองของ
ประเทศไทย
2) ชุมชนเวิ้งนาครเขษม
มีส่วนร่วมของหน่วยงานต่างๆ
5. การอภิปรายผลการศึกษาและข้อเสนอแนะ
5.1 ผลกระทบการเปลี่ยนแปลงการเมืองการปกครองกับชุมชน
5.2 ความไม่มั่นคงในการตั้งถิ่นฐานของชุมชน
5.3 กลไกการรองรับในการมีส่วนร่วมของชุมชนในกระบวนการ
วางแผนฟื้นฟูเมือง
5.1 ผลกระทบการเปลี่ยนแปลงการเมืองการปกครองกับชุมชน
แม้ว่าประเทศไทยมีรัฐประหารมากระดับโลก
แต่ไม่สามารถออกแบบความสัมพันธ์เชิง
อานาจ
เพื่อจัดสรรทรัพยากรสาธารณะได้อย่างลงตัว
ไม่สามารถสร้างบ้านแปลงบ้านอย่างต่างประเทศ
ไม่ให้คุณค่าความสาคัญกับประชาชน
ไม่มีส่วนร่วม >>> ต่อต้าน
การครอบครองที่ดิน
5.2 ความไม่มั่นคงในการตั้งถิ่นฐานของชุมชน
ความไม่มั่นคง >>> ไม่ใช่เฉพาะผู้มีรายได้น้อย
ผู้มีรายได้สูงก็ไม่มั่นคง
เงื่อนไขกรรมสิทธิ์ที่ดิน
อาจจะทาให้มีความไม่มั่นคงเพิ่มมากขึ้น
และมีระบบการเมืองการปกครองเช่นเดิม
5.3 กลไกการรองรับในการมีส่วนร่วมของชุมชนในกระบวนการ
วางแผนฟื้นฟูเมือง
การหลุดพ้นจากปัญหา
ควรมีกลไกสนับสนุน
กระบวนการมีส่วนร่วมของชุมชน
ครอบคลุมทุกสาระของการพัฒนาเมือง
นับเป็นกระบวนการส่งเสริมประชาธิปไตย
ถักทอจากท้องถิ่น
ดังพระราชดารัสของ ร.7 ในปี พ.ศ.2474

Weitere ähnliche Inhalte

Mehr von Sarit Tiyawongsuwan

06-07 กฎหมายว่าด้วยจัดรูปที่ดินเพื่อการพัฒนาพื้นที่.pdf
06-07 กฎหมายว่าด้วยจัดรูปที่ดินเพื่อการพัฒนาพื้นที่.pdf06-07 กฎหมายว่าด้วยจัดรูปที่ดินเพื่อการพัฒนาพื้นที่.pdf
06-07 กฎหมายว่าด้วยจัดรูปที่ดินเพื่อการพัฒนาพื้นที่.pdfSarit Tiyawongsuwan
 
04-05 พรบ การจัดสรรที่ดิน.pdf
04-05 พรบ การจัดสรรที่ดิน.pdf04-05 พรบ การจัดสรรที่ดิน.pdf
04-05 พรบ การจัดสรรที่ดิน.pdfSarit Tiyawongsuwan
 
03 ภาพรวมและลำดับศักดิ์กฎหมาย.pdf
03 ภาพรวมและลำดับศักดิ์กฎหมาย.pdf03 ภาพรวมและลำดับศักดิ์กฎหมาย.pdf
03 ภาพรวมและลำดับศักดิ์กฎหมาย.pdfSarit Tiyawongsuwan
 
02 ภาพรวมและลำดับศักดิ์กฎหมาย 20191113.pdf
02 ภาพรวมและลำดับศักดิ์กฎหมาย 20191113.pdf02 ภาพรวมและลำดับศักดิ์กฎหมาย 20191113.pdf
02 ภาพรวมและลำดับศักดิ์กฎหมาย 20191113.pdfSarit Tiyawongsuwan
 
แผนแม่บท TOD ประเทศไทย (2563).pdf
แผนแม่บท TOD ประเทศไทย (2563).pdfแผนแม่บท TOD ประเทศไทย (2563).pdf
แผนแม่บท TOD ประเทศไทย (2563).pdfSarit Tiyawongsuwan
 
หลักสูตรการจัดการบัณฑิต สาขาวิชานวัตกรรมการพัฒนาเมืองและพื้นที่รอบสถานีขนส่งม...
หลักสูตรการจัดการบัณฑิต สาขาวิชานวัตกรรมการพัฒนาเมืองและพื้นที่รอบสถานีขนส่งม...หลักสูตรการจัดการบัณฑิต สาขาวิชานวัตกรรมการพัฒนาเมืองและพื้นที่รอบสถานีขนส่งม...
หลักสูตรการจัดการบัณฑิต สาขาวิชานวัตกรรมการพัฒนาเมืองและพื้นที่รอบสถานีขนส่งม...Sarit Tiyawongsuwan
 
คู่มือการใช้แอพพลิเคชันธนาคารขยะรีไซเคิลอัจฉริยะ
คู่มือการใช้แอพพลิเคชันธนาคารขยะรีไซเคิลอัจฉริยะคู่มือการใช้แอพพลิเคชันธนาคารขยะรีไซเคิลอัจฉริยะ
คู่มือการใช้แอพพลิเคชันธนาคารขยะรีไซเคิลอัจฉริยะSarit Tiyawongsuwan
 
เมืองอัจฉริยะกับการขับเคลื่อนเศรษฐกิจ
เมืองอัจฉริยะกับการขับเคลื่อนเศรษฐกิจเมืองอัจฉริยะกับการขับเคลื่อนเศรษฐกิจ
เมืองอัจฉริยะกับการขับเคลื่อนเศรษฐกิจSarit Tiyawongsuwan
 
กระบวนการเป็นเมืองอัจฉริยะ กรณีศึกษาด้านสิ่งแวดล้อมอัจฉริยะ ประเด็นขยะเหลือศูนย์
กระบวนการเป็นเมืองอัจฉริยะ กรณีศึกษาด้านสิ่งแวดล้อมอัจฉริยะ ประเด็นขยะเหลือศูนย์กระบวนการเป็นเมืองอัจฉริยะ กรณีศึกษาด้านสิ่งแวดล้อมอัจฉริยะ ประเด็นขยะเหลือศูนย์
กระบวนการเป็นเมืองอัจฉริยะ กรณีศึกษาด้านสิ่งแวดล้อมอัจฉริยะ ประเด็นขยะเหลือศูนย์Sarit Tiyawongsuwan
 
กระบวนการวางแผนแบบมีส่วนร่วมในการพัฒนาเมืองอัจฉริยะ
กระบวนการวางแผนแบบมีส่วนร่วมในการพัฒนาเมืองอัจฉริยะกระบวนการวางแผนแบบมีส่วนร่วมในการพัฒนาเมืองอัจฉริยะ
กระบวนการวางแผนแบบมีส่วนร่วมในการพัฒนาเมืองอัจฉริยะSarit Tiyawongsuwan
 
ระบบแพลตฟอร์มข้อมูลเมืองเพื่อพัฒนาเมืองอัจฉริยะ
ระบบแพลตฟอร์มข้อมูลเมืองเพื่อพัฒนาเมืองอัจฉริยะระบบแพลตฟอร์มข้อมูลเมืองเพื่อพัฒนาเมืองอัจฉริยะ
ระบบแพลตฟอร์มข้อมูลเมืองเพื่อพัฒนาเมืองอัจฉริยะSarit Tiyawongsuwan
 
ระบบขยะเหลือศูนย์และถังธนาคารขยะรีไซเคิลอัจฉริยะ
ระบบขยะเหลือศูนย์และถังธนาคารขยะรีไซเคิลอัจฉริยะระบบขยะเหลือศูนย์และถังธนาคารขยะรีไซเคิลอัจฉริยะ
ระบบขยะเหลือศูนย์และถังธนาคารขยะรีไซเคิลอัจฉริยะSarit Tiyawongsuwan
 
01 กลไกระบบสารสนเทศเพื่อการพัฒนาเมืองอัจฉริยะ
01 กลไกระบบสารสนเทศเพื่อการพัฒนาเมืองอัจฉริยะ01 กลไกระบบสารสนเทศเพื่อการพัฒนาเมืองอัจฉริยะ
01 กลไกระบบสารสนเทศเพื่อการพัฒนาเมืองอัจฉริยะSarit Tiyawongsuwan
 
Smart city กับการขับเคลื่อนเศรษฐกิจ
Smart city กับการขับเคลื่อนเศรษฐกิจSmart city กับการขับเคลื่อนเศรษฐกิจ
Smart city กับการขับเคลื่อนเศรษฐกิจSarit Tiyawongsuwan
 
คู่มือแนวทางการลดคัดแยก และใช้ประโยชน์ขยะมูลฝอย
คู่มือแนวทางการลดคัดแยก และใช้ประโยชน์ขยะมูลฝอยคู่มือแนวทางการลดคัดแยก และใช้ประโยชน์ขยะมูลฝอย
คู่มือแนวทางการลดคัดแยก และใช้ประโยชน์ขยะมูลฝอยSarit Tiyawongsuwan
 
05 Questionnaire for Aesthetics Evaluation
05 Questionnaire for Aesthetics Evaluation05 Questionnaire for Aesthetics Evaluation
05 Questionnaire for Aesthetics EvaluationSarit Tiyawongsuwan
 
04 Tool for Urban Aesthetics Evaluation
04 Tool for Urban Aesthetics Evaluation04 Tool for Urban Aesthetics Evaluation
04 Tool for Urban Aesthetics EvaluationSarit Tiyawongsuwan
 

Mehr von Sarit Tiyawongsuwan (20)

06-07 กฎหมายว่าด้วยจัดรูปที่ดินเพื่อการพัฒนาพื้นที่.pdf
06-07 กฎหมายว่าด้วยจัดรูปที่ดินเพื่อการพัฒนาพื้นที่.pdf06-07 กฎหมายว่าด้วยจัดรูปที่ดินเพื่อการพัฒนาพื้นที่.pdf
06-07 กฎหมายว่าด้วยจัดรูปที่ดินเพื่อการพัฒนาพื้นที่.pdf
 
04-05 พรบ การจัดสรรที่ดิน.pdf
04-05 พรบ การจัดสรรที่ดิน.pdf04-05 พรบ การจัดสรรที่ดิน.pdf
04-05 พรบ การจัดสรรที่ดิน.pdf
 
03 ภาพรวมและลำดับศักดิ์กฎหมาย.pdf
03 ภาพรวมและลำดับศักดิ์กฎหมาย.pdf03 ภาพรวมและลำดับศักดิ์กฎหมาย.pdf
03 ภาพรวมและลำดับศักดิ์กฎหมาย.pdf
 
02 ภาพรวมและลำดับศักดิ์กฎหมาย 20191113.pdf
02 ภาพรวมและลำดับศักดิ์กฎหมาย 20191113.pdf02 ภาพรวมและลำดับศักดิ์กฎหมาย 20191113.pdf
02 ภาพรวมและลำดับศักดิ์กฎหมาย 20191113.pdf
 
แผนแม่บท TOD ประเทศไทย (2563).pdf
แผนแม่บท TOD ประเทศไทย (2563).pdfแผนแม่บท TOD ประเทศไทย (2563).pdf
แผนแม่บท TOD ประเทศไทย (2563).pdf
 
หลักสูตรการจัดการบัณฑิต สาขาวิชานวัตกรรมการพัฒนาเมืองและพื้นที่รอบสถานีขนส่งม...
หลักสูตรการจัดการบัณฑิต สาขาวิชานวัตกรรมการพัฒนาเมืองและพื้นที่รอบสถานีขนส่งม...หลักสูตรการจัดการบัณฑิต สาขาวิชานวัตกรรมการพัฒนาเมืองและพื้นที่รอบสถานีขนส่งม...
หลักสูตรการจัดการบัณฑิต สาขาวิชานวัตกรรมการพัฒนาเมืองและพื้นที่รอบสถานีขนส่งม...
 
คู่มือการใช้แอพพลิเคชันธนาคารขยะรีไซเคิลอัจฉริยะ
คู่มือการใช้แอพพลิเคชันธนาคารขยะรีไซเคิลอัจฉริยะคู่มือการใช้แอพพลิเคชันธนาคารขยะรีไซเคิลอัจฉริยะ
คู่มือการใช้แอพพลิเคชันธนาคารขยะรีไซเคิลอัจฉริยะ
 
เมืองอัจฉริยะกับการขับเคลื่อนเศรษฐกิจ
เมืองอัจฉริยะกับการขับเคลื่อนเศรษฐกิจเมืองอัจฉริยะกับการขับเคลื่อนเศรษฐกิจ
เมืองอัจฉริยะกับการขับเคลื่อนเศรษฐกิจ
 
กระบวนการเป็นเมืองอัจฉริยะ กรณีศึกษาด้านสิ่งแวดล้อมอัจฉริยะ ประเด็นขยะเหลือศูนย์
กระบวนการเป็นเมืองอัจฉริยะ กรณีศึกษาด้านสิ่งแวดล้อมอัจฉริยะ ประเด็นขยะเหลือศูนย์กระบวนการเป็นเมืองอัจฉริยะ กรณีศึกษาด้านสิ่งแวดล้อมอัจฉริยะ ประเด็นขยะเหลือศูนย์
กระบวนการเป็นเมืองอัจฉริยะ กรณีศึกษาด้านสิ่งแวดล้อมอัจฉริยะ ประเด็นขยะเหลือศูนย์
 
กระบวนการวางแผนแบบมีส่วนร่วมในการพัฒนาเมืองอัจฉริยะ
กระบวนการวางแผนแบบมีส่วนร่วมในการพัฒนาเมืองอัจฉริยะกระบวนการวางแผนแบบมีส่วนร่วมในการพัฒนาเมืองอัจฉริยะ
กระบวนการวางแผนแบบมีส่วนร่วมในการพัฒนาเมืองอัจฉริยะ
 
ระบบแพลตฟอร์มข้อมูลเมืองเพื่อพัฒนาเมืองอัจฉริยะ
ระบบแพลตฟอร์มข้อมูลเมืองเพื่อพัฒนาเมืองอัจฉริยะระบบแพลตฟอร์มข้อมูลเมืองเพื่อพัฒนาเมืองอัจฉริยะ
ระบบแพลตฟอร์มข้อมูลเมืองเพื่อพัฒนาเมืองอัจฉริยะ
 
ระบบขยะเหลือศูนย์และถังธนาคารขยะรีไซเคิลอัจฉริยะ
ระบบขยะเหลือศูนย์และถังธนาคารขยะรีไซเคิลอัจฉริยะระบบขยะเหลือศูนย์และถังธนาคารขยะรีไซเคิลอัจฉริยะ
ระบบขยะเหลือศูนย์และถังธนาคารขยะรีไซเคิลอัจฉริยะ
 
01 กลไกระบบสารสนเทศเพื่อการพัฒนาเมืองอัจฉริยะ
01 กลไกระบบสารสนเทศเพื่อการพัฒนาเมืองอัจฉริยะ01 กลไกระบบสารสนเทศเพื่อการพัฒนาเมืองอัจฉริยะ
01 กลไกระบบสารสนเทศเพื่อการพัฒนาเมืองอัจฉริยะ
 
Smart city กับการขับเคลื่อนเศรษฐกิจ
Smart city กับการขับเคลื่อนเศรษฐกิจSmart city กับการขับเคลื่อนเศรษฐกิจ
Smart city กับการขับเคลื่อนเศรษฐกิจ
 
CHIANG RAI ZERO WASTE
CHIANG RAI ZERO WASTE CHIANG RAI ZERO WASTE
CHIANG RAI ZERO WASTE
 
คู่มือแนวทางการลดคัดแยก และใช้ประโยชน์ขยะมูลฝอย
คู่มือแนวทางการลดคัดแยก และใช้ประโยชน์ขยะมูลฝอยคู่มือแนวทางการลดคัดแยก และใช้ประโยชน์ขยะมูลฝอย
คู่มือแนวทางการลดคัดแยก และใช้ประโยชน์ขยะมูลฝอย
 
06 Questionnaire Analysis
06 Questionnaire Analysis06 Questionnaire Analysis
06 Questionnaire Analysis
 
05 Questionnaire for Aesthetics Evaluation
05 Questionnaire for Aesthetics Evaluation05 Questionnaire for Aesthetics Evaluation
05 Questionnaire for Aesthetics Evaluation
 
04 Tool for Urban Aesthetics Evaluation
04 Tool for Urban Aesthetics Evaluation04 Tool for Urban Aesthetics Evaluation
04 Tool for Urban Aesthetics Evaluation
 
03 Urban Aesthetics Perception
03 Urban Aesthetics Perception03 Urban Aesthetics Perception
03 Urban Aesthetics Perception
 

Urban and regional planning in thailand