SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 12
Downloaden Sie, um offline zu lesen
การรับรู้ด้านสุนทรียภาพเมือง:
โดย วิยดา ทรงกิตติภักดี
วิทยานิพนธ์การวางแผนภาคและเมืองมหาบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลับ
สุนทรีภาพ
- การรับรู้ทางความรู้สึก (Sense perception) (Buamgarten)
- การรับรู้ความงาม แบบอัตวิสัย (Subjective) (Whittick, A. 1974)
- ความเข้าใจและความรู้สึกของแต่ละบุคคลต่อความงามใน
ธรรมชาติหรืองานศิลปะ (ราชบัณฑิตยสถาน, 2539)
เมือง ภูมิทัศน์เมือง และการรับรู้
“ความงาม คือ การได้รับรู้ความสัมพันธ์ที่กลมกลืนระหว่างสิ่งต่างๆ
ที่เรามองเห็น”
Henry Vincent Hubbard
American landscape architect and planner
แนวคิดนี้นามาประยุกต์ใช้อธิบายความเชื่อมโยง
ระหว่าง เมือง กับธรรมชาติที่มนุษย์รับรู้
ความสัมพันธ์แต่ละส่วนของเมือง
เมือง ภูมิทัศน์เมือง และการรับรู้
เมือง กับ วิถีชีวิตของผู้คืน (Spreiregen, P.D., 1965)
การพิจารณาสุนทรียภาพเมือง 3 ประเด็น
1) ความสัมพันธ์ระดับเมือง กับ ธรรมชาติ
2) ความสัมพันธ์ระดับภายในเมือง >>> องค์ประกอบแต่ละส่วน
ของเมือง
3) วิถีชีวิตประจาวันของคนในเมือง
องค์ประกอบทางกายภาพของเมือง
สุนทรียภาพเมืองเกิดจากความสัมพันธ์ขององค์ประกอบเมือง
1) สภาพภูมิประเทศและธรรมชาติ >>> การตั้งถิ่นฐานสอดคล้อง
กับธรรมชาติ และการใช้สอย
2) รูปทรง ขนาด และความหนาแน่นของเมือง >>> พื้นที่เปิ ดโล่ง
3) ลักษณะของเนื้อเมือง >>> รูปทรงที่ว่าง ขนาด ช่องเปิ ด วัสดุ
4) พื้นที่เมืองและที่ว่าง
5) เส้นทาง
6) Street Furniture
7) ย่าน
ภูมิทัศน์เมือง (Townscape)
พิจารณาจาก 4 องค์ประกอบหลักทางกายภาพ
1) สถาปัตยกรรม >>> ความกลมกลืน ประวัติศาสตร์ รูปทรง
2) ทัศนียภาพ >>> มุมมองจากถนน ระเบียบ ไม่บดบังอาคารสาคัญ
3) ภูมิสถาปัตยกรรม >>> พืชพันธุ์พื้นเมือง พื้นที่ป่าไม้เมือง
4) Street Furniture >>> ระเบียบ โทนสี ไม่บดบัง สังเกตง่าย
การรับรู้ภูมิทัศน์เมือง
พิจารณาจาก 2 ลักษณะ (Williams, S.H., 1954)
1) ผู้รับรู้อยู่นิ่งกับที่
2) ผู้รับรู้เคลื่อนที่
การรับรู้ภูมิทัศน์เมือง
พิจารณาจาก 2 ลักษณะ (Williams, S.H., 1954)
1) ผู้รับรู้อยู่นิ่งกับที่
- Panoramas ภาพโดยรวม ความสัมพันธ์ระหว่างเมืองกับภูมิ
ประเทศ
- Skyline ภาพรวมเมืองเน้นระนาบแนวนอนมองจากระดับ
พื้นดิน
- Vista มองเฉพาะพื้นที่มีองค์ประกอบที่มีการจัดวาง แนวแกน
การรับรู้ภูมิทัศน์เมือง
พิจารณาจาก 2 ลักษณะ (Williams, S.H., 1954)
2) ผู้รับรู้เคลื่อนที่
- รับรู้ทัศนียภาพอย่างต่อเนื่องเป็นลาดับ (Serial vision)
ทาให้เห็นความสัมพันธ์ ต่อเนื่องของรูปทรงอาคาร ที่ว่าง และเส้นทาง
ซึ่งลาดับภาพที่ต่อเนื่องแต่ละฉาก
จะส่งผลต่อการรับรู้ และความรู้สึกที่แตกต่างกันไป
“เมื่อนาภาพทั้งหมดมาลาดับต่อเนื่อง จะทาให้เกิดภาพเมือง
ในจินตนาการของผู้รับรู้” (Cullen, G., 1995)
สุนทรียภาพภูมิทัศน์เมือง
คือ ?
จะวัดคุณค่าสุนทรียภาพภูมิทัศน์เมือง
แบบภววิสัย (Objective) ได้อย่างไร?
- กิจกรรมการโหวต
- และการให้ค่าคะแนน
2nd assignment

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

บทที่ 1 บทนำสู่การสำรวจรังวัด
บทที่ 1 บทนำสู่การสำรวจรังวัดบทที่ 1 บทนำสู่การสำรวจรังวัด
บทที่ 1 บทนำสู่การสำรวจรังวัด
Chattichai
 
Land use plan and land management eng
Land use plan and land management engLand use plan and land management eng
Land use plan and land management eng
Bayar Tsend
 
บทที่ 10 งานโครงข่ายสามเหลี่ยม
บทที่ 10 งานโครงข่ายสามเหลี่ยมบทที่ 10 งานโครงข่ายสามเหลี่ยม
บทที่ 10 งานโครงข่ายสามเหลี่ยม
Chattichai
 
Elements of urban design
Elements of urban designElements of urban design
Elements of urban design
Sadhika Farzana
 
ศิลปะก่อนประวัติศาสตร์
ศิลปะก่อนประวัติศาสตร์ศิลปะก่อนประวัติศาสตร์
ศิลปะก่อนประวัติศาสตร์
พัน พัน
 
องค์ประกอบศิลป์
องค์ประกอบศิลป์องค์ประกอบศิลป์
องค์ประกอบศิลป์
actioncutpro
 
Urban design criteria the holistic approach for design assessment
Urban design criteria the holistic approach for design assessmentUrban design criteria the holistic approach for design assessment
Urban design criteria the holistic approach for design assessment
Nik Latogan
 

Was ist angesagt? (20)

Image of the City
Image of the CityImage of the City
Image of the City
 
T guide1
T guide1T guide1
T guide1
 
บทที่ 1 บทนำสู่การสำรวจรังวัด
บทที่ 1 บทนำสู่การสำรวจรังวัดบทที่ 1 บทนำสู่การสำรวจรังวัด
บทที่ 1 บทนำสู่การสำรวจรังวัด
 
Land use plan and land management eng
Land use plan and land management engLand use plan and land management eng
Land use plan and land management eng
 
ทัศนศิลป์
ทัศนศิลป์ทัศนศิลป์
ทัศนศิลป์
 
ศิลปะยุคกลาง
ศิลปะยุคกลางศิลปะยุคกลาง
ศิลปะยุคกลาง
 
City planning theories post war
City planning theories post warCity planning theories post war
City planning theories post war
 
บทที่ 10 งานโครงข่ายสามเหลี่ยม
บทที่ 10 งานโครงข่ายสามเหลี่ยมบทที่ 10 งานโครงข่ายสามเหลี่ยม
บทที่ 10 งานโครงข่ายสามเหลี่ยม
 
7 1 แนวคิดการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว
7 1  แนวคิดการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว7 1  แนวคิดการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว
7 1 แนวคิดการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว
 
Smart city กับการขับเคลื่อนเศรษฐกิจ
Smart city กับการขับเคลื่อนเศรษฐกิจSmart city กับการขับเคลื่อนเศรษฐกิจ
Smart city กับการขับเคลื่อนเศรษฐกิจ
 
การตั้งถิ่นฐานและลักษณะที่อยู่อาศัย
การตั้งถิ่นฐานและลักษณะที่อยู่อาศัยการตั้งถิ่นฐานและลักษณะที่อยู่อาศัย
การตั้งถิ่นฐานและลักษณะที่อยู่อาศัย
 
Elements of urban design
Elements of urban designElements of urban design
Elements of urban design
 
Chiang Mai MICE City Profile (Thai)
Chiang Mai MICE City Profile (Thai)Chiang Mai MICE City Profile (Thai)
Chiang Mai MICE City Profile (Thai)
 
Кевин Линч. "Образ города", 1961
Кевин Линч. "Образ города", 1961Кевин Линч. "Образ города", 1961
Кевин Линч. "Образ города", 1961
 
PRINCIPLES OF INTELLIGENT URBANISM (PIU)
PRINCIPLES OF INTELLIGENT URBANISM (PIU)PRINCIPLES OF INTELLIGENT URBANISM (PIU)
PRINCIPLES OF INTELLIGENT URBANISM (PIU)
 
ศิลปะก่อนประวัติศาสตร์
ศิลปะก่อนประวัติศาสตร์ศิลปะก่อนประวัติศาสตร์
ศิลปะก่อนประวัติศาสตร์
 
องค์ประกอบศิลป์
องค์ประกอบศิลป์องค์ประกอบศิลป์
องค์ประกอบศิลป์
 
Urban design criteria the holistic approach for design assessment
Urban design criteria the holistic approach for design assessmentUrban design criteria the holistic approach for design assessment
Urban design criteria the holistic approach for design assessment
 
การท่องเที่ยว
การท่องเที่ยวการท่องเที่ยว
การท่องเที่ยว
 
Architectural Design 1 Lectures by Dr. Yasser Mahgoub - Process
Architectural Design 1 Lectures by Dr. Yasser Mahgoub - ProcessArchitectural Design 1 Lectures by Dr. Yasser Mahgoub - Process
Architectural Design 1 Lectures by Dr. Yasser Mahgoub - Process
 

Mehr von Sarit Tiyawongsuwan

06-07 กฎหมายว่าด้วยจัดรูปที่ดินเพื่อการพัฒนาพื้นที่.pdf
06-07 กฎหมายว่าด้วยจัดรูปที่ดินเพื่อการพัฒนาพื้นที่.pdf06-07 กฎหมายว่าด้วยจัดรูปที่ดินเพื่อการพัฒนาพื้นที่.pdf
06-07 กฎหมายว่าด้วยจัดรูปที่ดินเพื่อการพัฒนาพื้นที่.pdf
Sarit Tiyawongsuwan
 
03 ภาพรวมและลำดับศักดิ์กฎหมาย.pdf
03 ภาพรวมและลำดับศักดิ์กฎหมาย.pdf03 ภาพรวมและลำดับศักดิ์กฎหมาย.pdf
03 ภาพรวมและลำดับศักดิ์กฎหมาย.pdf
Sarit Tiyawongsuwan
 
02 ภาพรวมและลำดับศักดิ์กฎหมาย 20191113.pdf
02 ภาพรวมและลำดับศักดิ์กฎหมาย 20191113.pdf02 ภาพรวมและลำดับศักดิ์กฎหมาย 20191113.pdf
02 ภาพรวมและลำดับศักดิ์กฎหมาย 20191113.pdf
Sarit Tiyawongsuwan
 
คู่มือการใช้แอพพลิเคชันธนาคารขยะรีไซเคิลอัจฉริยะ
คู่มือการใช้แอพพลิเคชันธนาคารขยะรีไซเคิลอัจฉริยะคู่มือการใช้แอพพลิเคชันธนาคารขยะรีไซเคิลอัจฉริยะ
คู่มือการใช้แอพพลิเคชันธนาคารขยะรีไซเคิลอัจฉริยะ
Sarit Tiyawongsuwan
 
เมืองอัจฉริยะกับการขับเคลื่อนเศรษฐกิจ
เมืองอัจฉริยะกับการขับเคลื่อนเศรษฐกิจเมืองอัจฉริยะกับการขับเคลื่อนเศรษฐกิจ
เมืองอัจฉริยะกับการขับเคลื่อนเศรษฐกิจ
Sarit Tiyawongsuwan
 
กระบวนการเป็นเมืองอัจฉริยะ กรณีศึกษาด้านสิ่งแวดล้อมอัจฉริยะ ประเด็นขยะเหลือศูนย์
กระบวนการเป็นเมืองอัจฉริยะ กรณีศึกษาด้านสิ่งแวดล้อมอัจฉริยะ ประเด็นขยะเหลือศูนย์กระบวนการเป็นเมืองอัจฉริยะ กรณีศึกษาด้านสิ่งแวดล้อมอัจฉริยะ ประเด็นขยะเหลือศูนย์
กระบวนการเป็นเมืองอัจฉริยะ กรณีศึกษาด้านสิ่งแวดล้อมอัจฉริยะ ประเด็นขยะเหลือศูนย์
Sarit Tiyawongsuwan
 
กระบวนการวางแผนแบบมีส่วนร่วมในการพัฒนาเมืองอัจฉริยะ
กระบวนการวางแผนแบบมีส่วนร่วมในการพัฒนาเมืองอัจฉริยะกระบวนการวางแผนแบบมีส่วนร่วมในการพัฒนาเมืองอัจฉริยะ
กระบวนการวางแผนแบบมีส่วนร่วมในการพัฒนาเมืองอัจฉริยะ
Sarit Tiyawongsuwan
 
ระบบแพลตฟอร์มข้อมูลเมืองเพื่อพัฒนาเมืองอัจฉริยะ
ระบบแพลตฟอร์มข้อมูลเมืองเพื่อพัฒนาเมืองอัจฉริยะระบบแพลตฟอร์มข้อมูลเมืองเพื่อพัฒนาเมืองอัจฉริยะ
ระบบแพลตฟอร์มข้อมูลเมืองเพื่อพัฒนาเมืองอัจฉริยะ
Sarit Tiyawongsuwan
 
ระบบขยะเหลือศูนย์และถังธนาคารขยะรีไซเคิลอัจฉริยะ
ระบบขยะเหลือศูนย์และถังธนาคารขยะรีไซเคิลอัจฉริยะระบบขยะเหลือศูนย์และถังธนาคารขยะรีไซเคิลอัจฉริยะ
ระบบขยะเหลือศูนย์และถังธนาคารขยะรีไซเคิลอัจฉริยะ
Sarit Tiyawongsuwan
 
01 กลไกระบบสารสนเทศเพื่อการพัฒนาเมืองอัจฉริยะ
01 กลไกระบบสารสนเทศเพื่อการพัฒนาเมืองอัจฉริยะ01 กลไกระบบสารสนเทศเพื่อการพัฒนาเมืองอัจฉริยะ
01 กลไกระบบสารสนเทศเพื่อการพัฒนาเมืองอัจฉริยะ
Sarit Tiyawongsuwan
 
คู่มือแนวทางการลดคัดแยก และใช้ประโยชน์ขยะมูลฝอย
คู่มือแนวทางการลดคัดแยก และใช้ประโยชน์ขยะมูลฝอยคู่มือแนวทางการลดคัดแยก และใช้ประโยชน์ขยะมูลฝอย
คู่มือแนวทางการลดคัดแยก และใช้ประโยชน์ขยะมูลฝอย
Sarit Tiyawongsuwan
 

Mehr von Sarit Tiyawongsuwan (20)

Urban-Transport Planning_20221208.pdf
Urban-Transport Planning_20221208.pdfUrban-Transport Planning_20221208.pdf
Urban-Transport Planning_20221208.pdf
 
08-09 กฎหมายการผังเมือง.pdf
08-09 กฎหมายการผังเมือง.pdf08-09 กฎหมายการผังเมือง.pdf
08-09 กฎหมายการผังเมือง.pdf
 
06-07 กฎหมายว่าด้วยจัดรูปที่ดินเพื่อการพัฒนาพื้นที่.pdf
06-07 กฎหมายว่าด้วยจัดรูปที่ดินเพื่อการพัฒนาพื้นที่.pdf06-07 กฎหมายว่าด้วยจัดรูปที่ดินเพื่อการพัฒนาพื้นที่.pdf
06-07 กฎหมายว่าด้วยจัดรูปที่ดินเพื่อการพัฒนาพื้นที่.pdf
 
04-05 พรบ การจัดสรรที่ดิน.pdf
04-05 พรบ การจัดสรรที่ดิน.pdf04-05 พรบ การจัดสรรที่ดิน.pdf
04-05 พรบ การจัดสรรที่ดิน.pdf
 
03 ภาพรวมและลำดับศักดิ์กฎหมาย.pdf
03 ภาพรวมและลำดับศักดิ์กฎหมาย.pdf03 ภาพรวมและลำดับศักดิ์กฎหมาย.pdf
03 ภาพรวมและลำดับศักดิ์กฎหมาย.pdf
 
02 ภาพรวมและลำดับศักดิ์กฎหมาย 20191113.pdf
02 ภาพรวมและลำดับศักดิ์กฎหมาย 20191113.pdf02 ภาพรวมและลำดับศักดิ์กฎหมาย 20191113.pdf
02 ภาพรวมและลำดับศักดิ์กฎหมาย 20191113.pdf
 
หลักสูตรการจัดการบัณฑิต สาขาวิชานวัตกรรมการพัฒนาเมืองและพื้นที่รอบสถานีขนส่งม...
หลักสูตรการจัดการบัณฑิต สาขาวิชานวัตกรรมการพัฒนาเมืองและพื้นที่รอบสถานีขนส่งม...หลักสูตรการจัดการบัณฑิต สาขาวิชานวัตกรรมการพัฒนาเมืองและพื้นที่รอบสถานีขนส่งม...
หลักสูตรการจัดการบัณฑิต สาขาวิชานวัตกรรมการพัฒนาเมืองและพื้นที่รอบสถานีขนส่งม...
 
คู่มือการใช้แอพพลิเคชันธนาคารขยะรีไซเคิลอัจฉริยะ
คู่มือการใช้แอพพลิเคชันธนาคารขยะรีไซเคิลอัจฉริยะคู่มือการใช้แอพพลิเคชันธนาคารขยะรีไซเคิลอัจฉริยะ
คู่มือการใช้แอพพลิเคชันธนาคารขยะรีไซเคิลอัจฉริยะ
 
เมืองอัจฉริยะกับการขับเคลื่อนเศรษฐกิจ
เมืองอัจฉริยะกับการขับเคลื่อนเศรษฐกิจเมืองอัจฉริยะกับการขับเคลื่อนเศรษฐกิจ
เมืองอัจฉริยะกับการขับเคลื่อนเศรษฐกิจ
 
กระบวนการเป็นเมืองอัจฉริยะ กรณีศึกษาด้านสิ่งแวดล้อมอัจฉริยะ ประเด็นขยะเหลือศูนย์
กระบวนการเป็นเมืองอัจฉริยะ กรณีศึกษาด้านสิ่งแวดล้อมอัจฉริยะ ประเด็นขยะเหลือศูนย์กระบวนการเป็นเมืองอัจฉริยะ กรณีศึกษาด้านสิ่งแวดล้อมอัจฉริยะ ประเด็นขยะเหลือศูนย์
กระบวนการเป็นเมืองอัจฉริยะ กรณีศึกษาด้านสิ่งแวดล้อมอัจฉริยะ ประเด็นขยะเหลือศูนย์
 
กระบวนการวางแผนแบบมีส่วนร่วมในการพัฒนาเมืองอัจฉริยะ
กระบวนการวางแผนแบบมีส่วนร่วมในการพัฒนาเมืองอัจฉริยะกระบวนการวางแผนแบบมีส่วนร่วมในการพัฒนาเมืองอัจฉริยะ
กระบวนการวางแผนแบบมีส่วนร่วมในการพัฒนาเมืองอัจฉริยะ
 
ระบบแพลตฟอร์มข้อมูลเมืองเพื่อพัฒนาเมืองอัจฉริยะ
ระบบแพลตฟอร์มข้อมูลเมืองเพื่อพัฒนาเมืองอัจฉริยะระบบแพลตฟอร์มข้อมูลเมืองเพื่อพัฒนาเมืองอัจฉริยะ
ระบบแพลตฟอร์มข้อมูลเมืองเพื่อพัฒนาเมืองอัจฉริยะ
 
ระบบขยะเหลือศูนย์และถังธนาคารขยะรีไซเคิลอัจฉริยะ
ระบบขยะเหลือศูนย์และถังธนาคารขยะรีไซเคิลอัจฉริยะระบบขยะเหลือศูนย์และถังธนาคารขยะรีไซเคิลอัจฉริยะ
ระบบขยะเหลือศูนย์และถังธนาคารขยะรีไซเคิลอัจฉริยะ
 
01 กลไกระบบสารสนเทศเพื่อการพัฒนาเมืองอัจฉริยะ
01 กลไกระบบสารสนเทศเพื่อการพัฒนาเมืองอัจฉริยะ01 กลไกระบบสารสนเทศเพื่อการพัฒนาเมืองอัจฉริยะ
01 กลไกระบบสารสนเทศเพื่อการพัฒนาเมืองอัจฉริยะ
 
CHIANG RAI ZERO WASTE
CHIANG RAI ZERO WASTE CHIANG RAI ZERO WASTE
CHIANG RAI ZERO WASTE
 
คู่มือแนวทางการลดคัดแยก และใช้ประโยชน์ขยะมูลฝอย
คู่มือแนวทางการลดคัดแยก และใช้ประโยชน์ขยะมูลฝอยคู่มือแนวทางการลดคัดแยก และใช้ประโยชน์ขยะมูลฝอย
คู่มือแนวทางการลดคัดแยก และใช้ประโยชน์ขยะมูลฝอย
 
06 Questionnaire Analysis
06 Questionnaire Analysis06 Questionnaire Analysis
06 Questionnaire Analysis
 
05 Questionnaire for Aesthetics Evaluation
05 Questionnaire for Aesthetics Evaluation05 Questionnaire for Aesthetics Evaluation
05 Questionnaire for Aesthetics Evaluation
 
04 Tool for Urban Aesthetics Evaluation
04 Tool for Urban Aesthetics Evaluation04 Tool for Urban Aesthetics Evaluation
04 Tool for Urban Aesthetics Evaluation
 
01 Introduction to Aesthetics
01 Introduction to Aesthetics01 Introduction to Aesthetics
01 Introduction to Aesthetics
 

03 Urban Aesthetics Perception