SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 73
Downloaden Sie, um offline zu lesen
ธุรกิจที่ยั่งยืน
สฤณี อาชวานันทกุล
บริษัท ปาสาละ จํากัด
27 พฤศจิกายน 2556
© สฤณี อาชวานันทกุล และ บริษัท ปาสาละ จํากัด
ปาสาละคือใคร?

“Sustainable Business Accelerator”
ปาสาละเปนบริษัท “ปลูกธุรกิจที่ยั่งยืน” แหงแรกในประเทศไทย เปาหมายของเราคือ
จุดประกายและดําเนินวาทกรรมสาธารณะเกี่ยวกับธุรกิจที่ยั่งยืน ผานการจัดสัมมนา
อบรม ประชุมเชิงปฏิบัติการ ผลิตสื่อสิ่งพิมพและออนไลน รวมทั้งผลิตงานวิจัยใน
ประเด็นความยั่งยืนในประเทศไทย และสงเสริมการวัดผลตอบแทนทางสังคม
2
บริบทโลก
“ความยั่งยืน” คืออะไร?

4
ประวัติศาสตรฉบับยอของ “การพัฒนาที่ยั่งยืน”
• 1962 “Silent Spring” โดย Rachel Carson
• 1972 “Limits to Growth” โดย
Club of Rome
• 1972 UN Conference on the Human
Environment ในกรุงสต็อคโฮลมส
• 1973 วิกฤติน้ํามันครั้งแรก
• 1987 Brundtland Commission Report : “Our Common Future”
• 1989 Montreal Agreement เพื่อกําจัดสาร CFC
5
ประวัติศาสตรฉบับยอของ “การพัฒนาที่ยั่งยืน” (ตอ)
•
•
•
•
•

1991 World Business Council on Sustainable Development กอตั้ง
1992 Earth Summit ในกรุงริโอ เดอจาไนโร
1997 Kyoto Protocol
2005 เฮอริเคน Katrina / GE launch “Ecomagination”
2010 Organisation for Economic Co-operation and Development
(OECD): Interim Green Growth Report
• 2011 United Nations Environment Programme (UNEP) Green
Economy Report
• 2011 European Commission’s EU Low Carbon Roadmap
6
การปะทะระหวางโลกทัศน หรือเท็จ vs จริง
การพัฒนาที่ยั่งยืนคืออะไร ระหวาง...
“เรืองหรูหรา” ที่
่
ไม่จําเป็ นยามตกอับ หรือ

“เรืองจําเป็ น” ต่อ
่
ความอยูรอดในยุคนี้
่

ความเปนจริง

7
ทุนนิยมอุตสาหกรรม = จากอูสูขยะ

การตลาด
เพือทิงขว ้าง
่ ้

สกัด

วัตถุดบ
ิ

ผลิต
ิ
สนค ้า

จัดจําหน่าย

บริโภค

กําจัด
ขยะ

ที่มา : www.storyofstuff.com, มูลนิธิโลกสีเขียว

8
อุดมคติ: “จากอูสูอู” (cradle to cradle)
“จากอู่ส่อ่” ในระบบนิเวศ
ู ู

“จากอู่ส่อ่” ในระบบมนุษย์
ู ู

พืช

ผลิต/ประกอบ

สาร
อาหาร
ในดิน

สัตว์
ผูย่อยสลาย
้

วัสดุ

ผลิตภัณฑ์
บริโภค

9
การพัฒนาที่ผานมาไมยั่งยืน

10
เรากําลังทะลุขีดการรองรับของธรรมชาติ
Planetary Boundaries:

∏ ‘: The Biosphere Economy, http://www.volans.com/lab/projects/biosphere-economy/
Ë
◊
¬

11
ความเสียหายจากภัยธรรมชาติ = ตนทุน
• ป 2011 ภัยธรรมชาติทั่ว
โลกกอความเสียหาย
380,000 ลานเหรียญ
สหรัฐ สูงเปน
ประวัติการณ
• ทศวรรษ 2000-2010
ภัยธรรมชาติรุนแรง
เพิ่มขึ้น 200%+ จาก
ทศวรรษกอนหนา
12
เราวัดความเสียหายและประโยชนชัดขึ้น
• ธนาคารโลก (2007) ประเมินวาการใชน้ําใตดินเกินขนาดในจีนกอความ
เสียหาย 0.3% ของจีดีพี และมลพิษอากาศและน้ํากอความเสียหาย 5.8%
ของจีดีพี
• Diao and Sarpong (2007) ประเมินวาดินเสื่อมโทรมจะกอความเสียหาย
5% ของจีดีพีเกษตรกรรมในกานาระหวางป 2006-2015
• The Economics
of Ecosystems
& Biodiversity
(TEEB) (2010)
13
TEEB : ตัวอยางมูลคาของบริการนิเวศ

ที่มา: TEEB, Mainstreaming the Economics of Nature, 2010.

14
มูลคาของการอนุรักษ vs. การถางพื้นที่

16
คนจนพึ่งพาบริการระบบนิเวศมากกวา

• เกษตรกรรม ประมง และปาไมคิดเปนสัดสวนคอนขางนอยของจีดีพี แตบริการนิเวศของธรรมชาติเปน
สวนสําคัญใน “จีดีพีคนจน”
• ‘เศรษฐกิจเขียว’ จึงจําเปนตอการลดความจนและความเหลื่อมล้ํา
17
ตัวอยางประโยชนและตนทุนของการอนุรักษ

18
ธุรกิจที่พึ่งพาพันธุกรรมธรรมชาติ

• ความเสี่ยงตอพันธุกรรมเหลานี้ = ความเสี่ยงทางธุรกิจ
• ความเสียหายทางธุรกิจที่เกิดขึ้นจากการสูญเสียความหลากหลายทางชีวภาพ
= สวนหนึ่งของ “มูลคา”
19
“ฟองสบูคารบอน” - คารบอนที่ถูกขุดขึ้นมาใชไมได

ที่มา: http://www.carbontracker.org/wastedcapital

20
ศตวรรษที่ 21: สูยุค “ธุรกิจแหงคุณคา”?

21
นักธุรกิจจํานวนมากขึ้นเรื่อยๆ มองเห็นความจําเปน

22
เหตุผลที่บริษัทอยากทําธุรกิจที่ยั่งยืน
แตละบริษัทมีเหตุผลที่แตกตางกันในการนําหลัก “การพัฒนาอยางยั่งยืน” มา
ใชในการดําเนินธุรกิจ
• แรงจูงใจทางศีลธรรม
• ลดตนทุนและลด/บริหารความเสี่ยง
• ประโยชนดานประสิทธิภาพเชิงนิเวศ (eco-efficiency)
• สรางผลิตภัณฑใหมๆ ที่แตกตางจากคูแขง (product
differentiation)
• เปนกลยุทธในการเอาตัวรอดในระยะยาว (“creative
destruction”)

เหลานี้คือ
“เหตุผลทาง
ธุรกิจ”

23
ธุรกิจที่ยั่งยืน: “สมดุล” / “สังกัด” / “ผูกพัน”

24
“Push factors” เปนทั้งวิกฤตและโอกาส
ปจจัยผลักดัน 10 ประการ
5 ประเด็นรอน

5 ผูมีสวนไดเสียสําคัญที่
ผลักดัน

ภาวะสภาพภูมิอากาศ
เปลี่ยนแปลง

ผูบริโภคที่ใสใจสิ่งแวดลอม

มลพิษและอันตรายตอ
สุขภาพ

ผูถือหุนนักเคลื่อนไหว

การตอตานโลกาภิวัตนที่ไม
เปนธรรม

ภาคประชาสังคม/เอ็นจีโอ

วิกฤตพลังงาน

ผูกํากับดูแลภาครัฐ/
นักวิทยาศาสตร

ความไววางใจของประชาชน
ในภาคธุรกิจเสื่อมถอย

ประชาชน

∏ ‘: Triple Bottom Line Reporting: A Strategic Introduction to Economic, Environmental and Social
Ë
◊
¬
Performance Measurement, David Crawford, Certified Management Accountants Canada, www.cma-canada.org

25
อ ัตราการเติบโตต่อปี (%)

“Pull factor” : ธุรกิจใหมที่ยั่งยืนโตเร็ว
╕ ŹŹŚ⌂
ⁿů Źň Θ
σ ∟
₧ Ć
ĆŃα
$583 Ţ∟
Θ
Ń

50%

40%

30%

20%

10%

ŹΘ ŚŇŢŹĺ
ŰΘ
ůΘ Ů
Śő α
$15.5 ő ŃŢ∟
Γ Θ
Ń

→← Ś
Řč
→ ŃŃą ⌂
Ŕ₧
$7 ő ŃŢ∟
Γ Θ
Ń

ů Ńč Θ
α ∟
₧ ⁿĿ Śĺ
ŔŚ⌂
$2.2
ő ŃŢ∟
Γ Θ
Ń

ŚΘ ĺ Ľ ŹŇ (ⁿŰŚδď ůŰŚΓ 2009
ř→ ∟ δ
↨
ř
ę),
ทีมา: Good Capital, Social Enterprise Expansion Fund presentation
่

26
ผูบริโภคไทยยินดี
“จายเพิ่มใหกับบริษัท
ที่รับผิดชอบตอสังคม”
เปนอันดับ 3 ของโลก

27
“Pull factor” : นักลงทุนเพื่อความยั่งยืน
• กองทุนที่ลงนามใน UN Principles of Responsible Investment : 10% ของเงินทุน
ภายใตการบริหารจัดการทั้งโลก
Key elements of Socially Responsible Investing (SRI) funds:
• Screening
• Shareholder Advocacy
• Community Investment

28
“บริษัทที่รับผิดชอบ” สรางผลตอบแทนสูงกวาบริษัทอื่น

29
“Pull factor” : “ตลาดคนจน” $5 ลานลาน
• ทั่วโลกมีคนที่มีรายไดต่ํากวา $2 ตอวัน
2.6 พันลานคน  รายไดนอย แตมี
จํานวนมาก
• ถาบุก “ตลาดคนจน” สําเร็จ ก็จะได
กําไรและชวยสังคม (ชวยคนจน) ไป
พรอมกัน

30
Green is the new Black

31
จาก CSR สู CSV (creating shared value)
CSR

 คุณคา: การทําดี






CSV

 คุณคา: ประโยชนตอสังคมและ

สิ่งแวดลอมเทียบกับตนทุนที่เสียไป
การเปนพลเมือง, การกุศล, ความยั่งยืน  ธุรกิจกับชุมชนสรางคุณคารวมกัน
ทําตามอําเภอใจ หรือเปนปฏิกิริยาตอแรง  เปนหัวใจของความสามารถในการแขงขัน
กดดันจากภายนอก
แยกจากการมุงทํากําไรสูงสุด
 เปนหัวใจของการทํากําไรสูงสุด
วาระถูกกําหนดดวยภาระการรายงานและ  วาระถูกกําหนดจากภายในองคกร
รสนิยมสวนตัว
ผลกระทบถูกจํากัดดวยรอยเทาธุรกิจและงบ  ปรับเปลี่ยนงบการลงทุนและการใชจาย

ซีเอสอาร
ของทั้งบริษัท

ที่มา: ผูเขียนแปลจาก Michael Porter และ Mark Kramer, “Creating Shared Value,” Harvard Business Review, JanuaryFebruary 2011. ดาวนโหลดไดจาก http://www.fsg.org/tabid/191/ArticleId/241/Default.aspx

32
จาก “การจัดการ” สู “การรวมมือ”
การจัดการผูมีสวนไดเสีย
 ไมเปนเอกภาพ แบงตามสายงาน
 เนนการบริหารจัดการความสัมพันธ

การรวมมือกับผูมีสวนไดเสีย
 บูรณาการทั้งองคกร
 เนนการสรางความสัมพันธ

 เนนการบริหารความเสี่ยงและลดแรงกดดัน  เนนการสรางโอกาสและผลประโยชน

จากภายนอก
รวมกัน
 เชื่อมโยงกับเปาหมายทางธุรกิจระยะสั้น  เชื่อมโยงกับเปาหมายทางธุรกิจระยะยาว
 ปฏิบัติอยางไมเปนเอกภาพ เชน ฝายลูกคา  มีแนวทางปฏิบัติเปนเอกภาพทั้งองคกร
สัมพันธดูแลลูกคาดวยแนวทางหนึ่ง ฝาย
ผลักดันดวยเปาหมายทางธุรกิจ พันธกิจ
ชุมชนสัมพันธดูแลชุมชนดวยอีกแนวหนึ่ง
ทางสังคม และคุณคาขององคกร
ขึ้นอยูกับความสนใจของแตละฝายและ
สไตลของผูจัดการแตละคน
ที่มา: ผูเขียนแปลจาก Michael Porter และ Mark Kramer, “Creating Shared Value,” Harvard Business Review, JanuaryFebruary 2011. ดาวนโหลดไดจาก http://www.fsg.org/tabid/191/ArticleId/241/Default.aspx

33
“ระดับ” ของธุรกิจที่ยั่งยืน
1. ลดตนทุน/บริหาร
ความเสี่ยง

2. เปลี่ยนวัฒนธรรม
องคกร/ดึงคูคาดวย

3. สรางและขาย
ผลิตภัณฑที่ยั่งยืน

4. “ยั่งยืนสมบูรณ”
(zero footprint)

34
Interface: “mission zero”
• บริษัทพรมแบบ modular ชั้นนําของโลก เริ่มเปลี่ยนโมเดลธุรกิจใหเปน
ธุรกิจที่ยั่งยืนในป 1994
• ตั้งเปาหมาย zero footprint ภายในป 2020 ณ ปลายป 2010 ทําไดแลว
ประมาณ 60%
• พลังงานหมุนเวียน 30% + ประสิทธิภาพในการใชพลังงาน  ลดพลังงาน
ตอหนวยของผลิตภัณฑลงได 43% และลดคารบอน 35% ตั้งแตป 1996
• เอาเงินที่ประหยัดไดไปลงทุนกับการวิจัยและพัฒนา ทํา Life Cycle
Assessment กับผลิตภัณฑทุกชนิด ฯลฯ
• ใชซังขาวโพดทําพรม + เพิ่มประสิทธิภาพในการใชวัสดุ  ลดของเสียจาก
โรงงานได 76% ตั้งแตป 1996

35
Interface: ผูนําดานความยั่งยืน
ยอดขายและกําไรจากการดําเนินงานโตปละ 10%+

“The new course we're on at
Interface ... is to pioneer the next
Industrial Revolution: one that is
kinder and gentler to the earth.”
– Ray Anderson
∏ ‘: The Sustainability Survey 2009, Globescan: http://www.globescan.com/news_archives/tss_release01/
Ë
◊
¬

36
GE: ความสําเร็จของ Ecomagination
• บริษัทจีอีเปลี่ยนจุดยืน 180 องศา ตั้งเปาเปน “บริษัทเขียว” ชั้นนํา
• ผลิตภัณฑยั่งยืนยี่หอ “Ecomagination” ทํารายไดกวา $18 พันลาน คิด
เปน 10% ของรายไดทั้งบริษัท
• ในป 2009 ลดปริมาณคารบอนตอรายไดลงกวา 41% จากระดับป 2005 ทําไดเกินเปาหมายที่ตั้งไว 30% และลดปริมาณคารบอนที่ปลอยลงได 13%
• ทําดวยการปรับปรุงการจัดการโรงงาน ใชเทคโนโลยีเพิ่มประสิทธิภาพ
พลังงาน พลังงานหมุนเวียน
• ตั้งเปาลดการใชน้ํา 20% จากระดับป 2008 และจะลดปริมาณการปลอย
คารบอน (absolute level) ลง 1% ภายใน 2012
37
GE: Ecomagination smart grid

38
Campbell Soup: ซุปโซเดียมต่ํา
• อาหารที่ใสเกลือมากมีสวนกอใหเกิดความดัน
โลหิตสูง เพิ่มความเสี่ยงที่จะเปนโรคหัวใจ
• Campbell Soup ยักษใหญในอุตสาหกรรม
อาหาร รวมโครงการรวมระหวางภาครัฐกับ
เอกชนชื่อ “National Salt Reduction
Initiative” ตั้งเปาลดระดับเกลือในอาหาร
• บริษัทเปดเผยขอมูลโภชนาการอยางละเอียด
และประกาศเปาหมายรายไดจากการขายซุป
โซเดียมต่ํา
• ปจจุบันรายไดจากซุปโซเดียมต่ําของบริษัทคิด
เปน 30% ของรายไดรวม
39
CEMEX: บานเพื่อคนจน
• CEMEX บริษัทขายวัสดุกอสรางที่ใหญที่สุดในโลก ริเริ่ม
โครงการ “Patrimonio Hoy” ในป 1998 เพื่อบุกตลาดผูมี
รายไดนอย
• ใชนวัตกรรม “วงจรออม-กู” และชวยเรื่องชางและสถาปนิก
ชวยใหคนจนสรางบานไดเร็วกวาปกติ 3 เทา และถูกกวา 3
เทา
• ในเวลา 1 ทศวรรษ ปลอยกูไมโครเครดิต $135 ลาน ชวยให
คนกวา 1.3 ลานคนในทวีปอเมริกาใตมีบานที่มีคุณภาพ
• 29% ของลูกคาใชบานทําธุรกิจขนาดเล็ก
• ไดรับรางวัล 2006 World Business Award จาก the
International Chamber of Commerce และ United
Nations HABITAT Business Award ในป 2009

40
วิถี “ไตรกําไรสุทธิ” ของ Novo Nordisk
• กอตั้งป 1923 ที่เดนมารก ปจจุบันเปนผูนําโลกดานการดูแลผูปวยโรคเบาหวาน
• พนักงาน 30,000 คน มีสํานักงานใน 76 ประเทศทั่วโลก
• โครงการ Changing Diabetes ตอกรกับเบาหวานในประเทศกําลังพัฒนา เนนดาน
การปองกันและเขาถึงยา

41
วิถีของ Novo Nordisk (ตอ)

• โครงการ TakeAction! สนับสนุนใหพนักงานของบริษัททํางาน
อาสาในเวลางาน โดยเฉพาะดานการใหความรูเรื่องการปองกัน
โรคเบาหวานในชุมชนทองถิ่น
42
Odwalla: ความรับผิดชอบตอปญหา
บริษัทอาหาร เนนน้ําผลไม ถูกซื้อกิจการโดยโคคา-โคลาในป 2001
วันที่ 30 ต.ค. 1996 เจาหนาที่กระทรวงสาธารณสุขแจงบริษัทวาพบความเชื่อมโยง
ระหวางแบคทีเรียอีโคไล กับน้ําแอปเปลของบริษัท ตอมายืนยันในวันที่ 5 พฤศจิกายน
วาสาเหตุมาจากการใชแอปเปลเนา (น้ําผลไมไมไดผานกระบวนการพาสเจอรไรซ
เพราะผลิตน้ําผลไมสด)
หลังจากนั้นมีเด็กคนหนึ่งที่ดื่มน้ําแอปเปลตาย คนอีก 60 กวาคนที่ดื่มน้ําผลไมของ
บริษัทลมปวย ยอดขายบริษัทตกลง 90% และราคาหุนดิ่ง 34% มีผูบริโภคยื่นฟอง
บริษัท 20 คดี
กอนที่จะไดรับการยืนยันจากทางการวาน้ําแอปเปลมีเชื้ออีโคไล Odwalla รับมือกับ
ปญหาทันที ซีอีโอ Stephen Williamson สั่งเรียกคืนผลิตภัณฑทั้งหมดที่มีสวนผสม
ของน้ําแอปเปลและแครอท ครอบคลุมรานคาปลีกกวา 4,600 แหงใน 7 มลรัฐ
การเรียกคืนครั้งนี้บริษัทเสียคาใชจาย 6.5 ลานเหรียญสหรัฐ เรียกคืนทั้งหมดภายใน
48 ชั่วโมง

43
Odwalla: ความรับผิดชอบตอปญหา (ตอ)
บริษัทไมเคยปฏิเสธหรือบายเบี่ยงความรับผิดชอบ ซีอีโอแสดงความเสียใจตอผูบริโภค
ที่ไดรับผลกระทบและสัญญาวาบริษัทจะรับผิดชอบคาใชจายดานการรักษาพยาบาล
ทั้งหมด
ยอมรับวากระบวนการผลิตผิดพลาด ตัดสินใจเปลี่ยนกระบวนการผลิตน้ําผลไมทันที
ไปใช “flash pasteurization” เพื่อฆาเชื้อโรค ขณะที่รักษารสชาติของน้ําผลไมเอาไว
หลังจากเกิดเรื่องเพียงไมกี่เดือน บริษัทก็มีระบบการตรวจสอบคุณภาพและความ
ปลอดภัยใหม ผูเชี่ยวชาญบางคนมองวาเปนระบบที่ครอบคลุมและดีที่สุดใน
อุตสาหกรรมน้ําผลไม
เริ่มขายน้ําแอปเปลใหมตนเดือน ธ.ค. ตอมาจายคาปรับ 1.5 ลานเหรียญสหรัฐ ใน
คดีอาญาขอหาขายน้ําผลไมปนเปอนแบคทีเรีย
บิดาของเด็กที่เสียชีวิตกลาวกับสื่อวา “ผมไมโทษบริษัท ...พวกเขาทําทุกอยางเทาที่ทํา
ไดแลว”
44
The Body Shop: business as activist

45
The Body Shop: business as activist
“All through history, there have always
been movements where business was
not just about the accumulation of
proceeds but also for the public good.”
- Anita Roddick

“I want to work for a company
that contributes to and is part of
the community. I want
something not just to invest in. I
want something to believe in.”
- Anita Roddick

46
จาก “การตลาด” สู “การตลาดเชิงสังคม”
ตัวอยางอื่นๆ
• IBM รีไซเคิลคอมพิวเตอรและชิ้นสวนคอมพิวเตอร นําไปใชในธุรกิจลีสซิ่ง
คอมพิวเตอร สรางรายไดเพิ่มกวา $2 ลานในระยะเวลาไมถึง 3 ป อัตรา
กําไร 50%
• หุนของ Rhodia บริษัทเคมีฝรั่งเศส พุง 20% ใน 1 วัน เมื่อประกาศในป
2005 วาไดรับอนุมัติใหทําโครงการ CDM ที่จะเพิ่มกําไรกวาปละ $300 ลาน
• กําไรของ DuPont เพิ่มกวา $240 ลานตอป จากการลดปริมาณคารบอนที่
ใชเงินลงทุนทั้งหมด $120 ลาน
• Krafts Food ประหยัดคาใชจายได 20% จากการเพิ่มประสิทธิภาพในการ
ใชพลังงาน
48
ยุคแหงผูมีสวนไดเสีย : กรณีศึกษา Nike
ปญหาการใชแรงงานเด็กในโรงงานผลิตรองเทาไนกี้
โฆษณา vs. ความจริง
ความทาทายที่ไนกี้ประสบ
• แคมเปญรณรงคเปดโปงการใชแรงงานเด็กและตอตานบริษัทแพรหลาย
อยางรวดเร็ว มหาวิทยาลัยและนักวิชาการจํานวนมากรววมแคมเปญ
รวมทั้งกลุมตอตานโลกาภิวัตน และกลุมตอตานโรงงานนรก
• อยางไรก็ดี แคมเปญเหลานี้ไมสงผลตอรายไดของบริษัท – รายไดของ
บริษัทเพิ่มจาก 6,400 ลานเหรียญสหรัฐในป 1996 เปนเกือบ 17,000
ลานเหรียญสหรัฐในป 2007
ความทาทายที่ไนกี้ประสบ (ตอ)
• กลุมจับตาแรงงานเวียดนาม (Vietnam Labor Watch) รายงานวา
โรงงานผลิตรองเทาไนกี้ละเมิดกฎหมายคาแรงขั้นต่ําและการทํางาน
ลวงเวลา จนถึงป 1996 ก็ยังมีอยู
• ตลอดทศวรรษ 1990 ไนกี้เผชิญเสียงวิพากษวิจารณอยางหนัก กรณีใช
แรงงานเด็กในโรงงานที่ไนกี้จางผลิตลูกฟุตบอล ในประเทศกัมพูชาและ
ปากีสถาน
• ในป 2001 สารคดี BBC เปดโปงการใชแรงงานเด็กและสภาพการทํางาน
อันเลวรายในโรงงานกัมพูชาแหงหนึ่งที่รับจางไนกี้ผลิต สารคดีเรื่องนี้
ติดตามชีวิตของเด็กผูหญิง 6 คน ทํางาน 16 ชั่วโมงตอวัน 7 วันตอสัปดาห
ความทาทายที่ไนกี้ประสบ (ตอ)
• ไนกี้จางโรงงานกวา 600 แหง ผลิตสินคา ใน 46 ประเทศ มีแรงงาน
รวมกันมากกวา 800,000 คน
• ความยากประการหนึ่งคือโรงงานรับจางผลิตมักจะผลิตใหกับแบรนดหลาย
เจา ยากที่จะรักษามาตรฐาน
จากจุดบอด สูความโปรงใส
วิธีแกปญหาของไนกี้
• ในป 1997 บริษัทเขารวมกลุมอุตสากรรมสิ่งทอของทําเนียบขาว (White
House Apparel Industry Group) – เนนเรื่องแรงงานและสิทธิ
มนุษยชน
• ออกแนวปฏิบัติชุดใหมวาดวยคาแรงและสภาพการทํางาน – โรงงาน
รับจางผลิตตองไมใหคนทํางานเกิน 60 ชั่วโมงตอสัปดาห
• เปดโรงงานใหผูตรวจสอบภายนอก และจับมือเปนพันธมิตรกับองคกร
พัฒนาเอกชนชื่อ Fair Labor Association
• วางระบบตรวจสอบคูคาและใหคะแนนการปฏิบัติตามมาตรฐานแรงงาน
• ในป 2007 เปดเผยชื่อและที่อยูของโรงงานรับจางผลิตทั่วโลกตอ
สาธารณะโดยสมัครใจ
วิธีแกปญหาของไนกี้ (ตอ)
“รองเทาคูนี้ยั่งยืนกวาปที่แลวอยางไร?”
• ทีมงานดานซีเอสอารและความยั่งยืนของบริษัททํางานรวมกับทีมนัก
ออกแบบรองเทา
• เปาหมายหลักดานความยั่งยืนของไนกี้:
1. ผลิตสินคาตางๆ โดยลดของเสียมากกวาเดิม
2. ใชสารพิษในกระบวนการผลิตนอยลง
3. เลือกวัสดุที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอมมากขึ้น
4. ออกแบบสินคาดวยนวัตกรรมดานความยั่งยืน
• ประกาศเปาเชิงปริมาณและรายงานความคืบหนาทุกป
Nike - Solutions
ยุคแหงผูมีสวนไดเสีย : กรณีศึกษา GAR
Goldern Agri-Resources (GAR)
• บริษัทน้ํามันปาลมใหญเปนอันดับสองของโลก
• กิจกรรมหลักของบริษัทในอินโดนีเซียคือ การเพาะพันธุ และเก็บเกี่ยวตนปาลม
น้ํามัน แปรรูปผลปาลมใหเปนน้ํามันปาลมดิบ และกลั่นน้ํามันปาลมดิบใหกลายเปน
ผลิตภัณฑที่เพิ่มมูลคาอื่นๆ
• ถูกกระทบจากแคมเปญของกรีนพีซ (Greenpeace) ในค.ศ. 2010 ที่เผยแพรขอมูล
อุตสาหกรรมน้ํามันปาลมวากอใหเกิดการทําลายปาและสูญเสียความหลากหลายทาง
ชีวภาพ โดยพุงเปาไปยังสินคาบริโภคตางๆ เชน Nestle และผูคาปลีก และ
กลาวหา Sinar Mas Group คูแขงของ GAR วาบุกรุกปาอยางผิดกฎหมายและปรับ
พื้นที่โดยการเผา
• ลูกคาหลายรายยกเลิกการซื้อน้ํามันปาลมจาก GAR เชน Nestle, Unilever และ
Burger King
Goldern Agri-Resources (GAR)
• GAR ประกาศนโยบาย 4 ดานดังนี้
1. ระงับการขยายการเกษตรไปยังพื้นที่ปาพรุ High carbon stock forests
และ High conservation value forests
2. การขยายพื้นที่ตองไดรับความยินยอมจากชนกลุมนอยและชุมชนทองถิ่น
3. ทําตามหลักการของ Roundtable on Sustainable Palm Oil (RSPO) (มี
สวนแบงการตลาดโลกมากถึง 52%)
4. ทําตามกฎหมายของอินโดนีเซีย
Goldern Agri-Resources (GAR)
• ผลการดําเนินงานหลังจากการออกนโยบายไปแลว 2 ป Greenomics NGO ทองถิ่น
ไดติดตามผลแลวพบวา
– ยังมีการแผวถางพื้นที่บางสวนออกนอกอาณาเขตที่ไดรับอนุญาต
– GAR ลดปริมาณพื้นที่แผวถางปาลงเปนจํานวนมาก แตก็ยังไมสามารถทําตามเปาหมายที่จะ
สรางรอยเทาปาไมใหเปน 0 ได
– Greenomics ไดกลาวขอบคุณและชมเชยประธานบริษัทลูกแหงหนึ่งของ GAR ที่เขารวมสาน
เสวนาอยางตอเนื่องในเรื่องนโยบายการอนุรักษปา และใหขอมูลในหลายๆ สวน

• Norwegian Government Pension Fund ขายหุนที่มีใน GAR และบริษัทผลิต
น้ํามันปาลมอีก 22 แหงในชวงปลายป 2012 ดวยเหตุผลดานการบริหารความเสี่ยง
อันเกิดจากสภาพอากาศเปลี่ยนแปลง
บริบทไทย
ไมมีวาทกรรมถูกทาง  คนไมตื่นตัว  ธุรกิจไมเปลี่ยนแปลง
เปรียบเทียบกรณี BP กับ CP

68
เปรียบเทียบกรณี BP กับ CP (ตอ)

69
เปรียบเทียบกรณี BP กับ CP (ตอ)
ประเด็น

BP

CP

เหตุการณ

แทนขุดเจาะน้ํามัน Deepwater Horizon ของบริษัท BP
ระเบิดในอาวเม็กซิโก เดือนเมษายน 2010

หนังสือพิมพ Sunday Times ในอังกฤษ ลงขาว “Our
taste for prawns is killing the sea”
(http://www.thesundaytimes.co.uk/sto/public/
article1220635.ece) และเนื้อหารายการ Hugh’s
Fish Fight ทางโทรทัศนชอง Channel 4 ในเดือน
กุมภาพันธ ป 2013 กลาวหาวากุงของบริษัทซีพีที่ขาย
ในซุปเปอรมารเก็ตเจาใหญในอังกฤษ ถูกเลี้ยงดวยปลา
ปนซึ่งทําจาก “ปลาเปด” (ปลาที่ไมมีมูลคาทาง
เศรษฐกิจ รวมทั้งลูกปลา) ที่ติดมากับอวนลาก

ความสําคัญ

เหตุน้ํามันรั่วในทะเลที่รุนแรงที่สุดในประวัติศาสตร
สหรัฐอเมริกา

ปลาเปดที่ขายใหกับโรงงานปลาปนมาจากเรือประมงที่
ใชอวนลาก กวาดตอนสัตวและพืชใตทองทะเลมากอน
คอยมาคัดแยกทีหลัง เปนเครื่องมือทําลายระบบนิเวศ
ทางทะเลที่รุนแรงที่สุด (และปจจุบันผิดกฎหมายยุโรป)

สิ่งที่สื่อทํา

สื่อมวลชนทั่วโลกเสนอขาวเหตุการณนี้เปนขาวใหญ ใหพื้นที่ มีสื่อไทยรายใดรายงานขาว มีเพียง Bangkok Post ซึ่ง
เฉลี่ย 22% ของพื้นที่ขาวทั้งหมดตอเนื่องนานกวา 100 วัน ลงขาวการออกมาแกตางใหซีพีของ นิวัฒน สุธีมีชัยกุล
หลังเกิดเหตุ
รองปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ
เปรียบเทียบกรณี BP กับ CP (ตอ)
ประเด็น

BP

CP

สิ่งที่รัฐทํา

ประธานาธิบดีโอบามาแตงตั้งคณะกรรมการสอบสวน รายงาน
เผยแพรบนเว็บไซต
(http://www.oilspillcommission.gov/)
ตนป 2012 สภาคองเกรสผานกฎหมายสองฉบับ : RESTORE
Act กอตั้งกองทุนฟนฟูอาวเม็กซิโก และ Pipeline Safety,
Regulatory Certainty, and Job Creation Act เพิ่ม
บทลงโทษทางแพงกรณีละเมิดกฎระเบียบดาน
ความปลอดภัย และบัญญัติใหติดตั้งวาวลปดอัตโนมัตในทอ
ิ
น้ํามันใหมๆ

เพียงหนึ่งวันหลังจากการนําเสนอขาวของ Sunday
Times ในอังกฤษ นาย นิวัฒน สุธีมีชัยกุล รอง
ปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ ออกมาปฏิเสธ
รายงานของสื่ออังกฤษ บอกวาปลาที่ใชทําอาหารกุง
นั้นไมใชลูกปลา มีแตปลาที่มีขนาดเล็ก และ “ของ
เสีย” อาทิ หัวปลา กางปลา เปนตน

สิ่งที่บริษัททํา

แตงตั้งคณะกรรมการสอบสวนภายใน เผยแพรผลการศึกษา ไมมีปฏิกิริยาใดๆ
ตอสาธารณะในเดือนกันยายน 2010 (6 เดือนหลังเกิดเหตุ)
ณ ตนป 2013 จายคาปรับและคาชดเชยตอรัฐและเอกชนที่
ไดรับผลกระทบ รวมคาฟนฟูระบบนิเวศในอาวเม็กซิโกไปแลว
ราว 11,000 ลานเหรียญสหรัฐ คาดวาจะตองจายอีก 7,800
ลานเหรียญสหรัฐ

สังคมรูตัวการ
และตนเหตุ
หรือไม

รูแลววาเกิดจากความผิดของมนุษย 5 เรื่อง และความ
ผิดพลาดทางเทคนิค 1 เรื่อง

ไมรูทั้งสองเรื่อง
แนวโนมที่นาจับตา
• ความอิ่มตัว (?) และ diminishing returns ของการทําโครงการซี
เอสอารแบบ out-process (ปลูกปา สรางฝาย ฯลฯ)
• AEC กับความทาทายระดับภูมิภาค
• ความเขมขึ้นของ push factors โดยเฉพาะวิกฤตสิ่งแวดลอม
• มาตรฐานสากล โดยเฉพาะที่บังคับใชกับผูสงออกไทย
• กฏการเปดเผยขอมูลดานความยั่งยืนของ ก.ล.ต. (เริ่ม 2014)
• ความตื่นตัว และการรวมตัว (?) ของผูบริโภคผานเว็บบอรด
โซเชียลมีเดีย ฯลฯ
สูยุค “เศรษฐกิจแหงคุณคา”?
“ In the 19th century, we were making money with money. In
the 21st century, I believe and hope that we will use values
to create value.”
- Oliver Le Grand , Chairman of the Board of
Cortal (a subsidiary of BNP Paribas)
“[There is] No Place To Hide for the Irresponsible Business”
- Financial Times headline,
29 September 2003
73

Weitere ähnliche Inhalte

Ähnlich wie Sustainable Business

Consumer Protection and Corporate Social Responsibility (CSR)
Consumer Protection and Corporate Social Responsibility (CSR)Consumer Protection and Corporate Social Responsibility (CSR)
Consumer Protection and Corporate Social Responsibility (CSR)Sarinee Achavanuntakul
 
Sustainable Business: Business Case & Case Studies
Sustainable Business: Business Case & Case StudiesSustainable Business: Business Case & Case Studies
Sustainable Business: Business Case & Case StudiesSarinee Achavanuntakul
 
การเดินทางของแนวคิด 1
การเดินทางของแนวคิด 1การเดินทางของแนวคิด 1
การเดินทางของแนวคิด 1Image plus Communication
 
รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืนปี 2558
รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืนปี 2558รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืนปี 2558
รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืนปี 2558L.P.N. Development PCL.
 
ทัศนภาพธุรกิจอนาคต2
ทัศนภาพธุรกิจอนาคต2ทัศนภาพธุรกิจอนาคต2
ทัศนภาพธุรกิจอนาคต2DrDanai Thienphut
 
Sustainability of production 4.0 การผลิตอย่างยั่งยืน 4.0
Sustainability of production 4.0 การผลิตอย่างยั่งยืน 4.0Sustainability of production 4.0 การผลิตอย่างยั่งยืน 4.0
Sustainability of production 4.0 การผลิตอย่างยั่งยืน 4.0maruay songtanin
 
สรุปผลการประชุม The world congress on zero emissions
สรุปผลการประชุม The world congress on zero emissionsสรุปผลการประชุม The world congress on zero emissions
สรุปผลการประชุม The world congress on zero emissionsSuchada Chayamporn
 
InnoCreative Manageent การจัดการนวัตกรรมเชิงสร้างสรรค์ (การท่าเรือแห่งประเทศไทย)
InnoCreative Manageent การจัดการนวัตกรรมเชิงสร้างสรรค์ (การท่าเรือแห่งประเทศไทย)InnoCreative Manageent การจัดการนวัตกรรมเชิงสร้างสรรค์ (การท่าเรือแห่งประเทศไทย)
InnoCreative Manageent การจัดการนวัตกรรมเชิงสร้างสรรค์ (การท่าเรือแห่งประเทศไทย)DrDanai Thienphut
 
เกณฑ์จริยธรรมว่าด้วยการส่งเสริมการขายยา 2558
เกณฑ์จริยธรรมว่าด้วยการส่งเสริมการขายยา 2558เกณฑ์จริยธรรมว่าด้วยการส่งเสริมการขายยา 2558
เกณฑ์จริยธรรมว่าด้วยการส่งเสริมการขายยา 2558Utai Sukviwatsirikul
 
เกณฑ์จริยธรรมว่าด้วยการส่งเสริมการขายยาของประเทศไทย เพื่อธรรมาภิบาลในระบบยา
เกณฑ์จริยธรรมว่าด้วยการส่งเสริมการขายยาของประเทศไทย  เพื่อธรรมาภิบาลในระบบยาเกณฑ์จริยธรรมว่าด้วยการส่งเสริมการขายยาของประเทศไทย  เพื่อธรรมาภิบาลในระบบยา
เกณฑ์จริยธรรมว่าด้วยการส่งเสริมการขายยาของประเทศไทย เพื่อธรรมาภิบาลในระบบยาUtai Sukviwatsirikul
 
Usana present sept 10
Usana present sept 10Usana present sept 10
Usana present sept 10topstarteam
 
ดร.ดนัย เทียนพุฒ นวัตกรรมไอเดียเปลี่ยนเกมธุรกิจ
ดร.ดนัย เทียนพุฒ  นวัตกรรมไอเดียเปลี่ยนเกมธุรกิจดร.ดนัย เทียนพุฒ  นวัตกรรมไอเดียเปลี่ยนเกมธุรกิจ
ดร.ดนัย เทียนพุฒ นวัตกรรมไอเดียเปลี่ยนเกมธุรกิจDrDanai Thienphut
 
รายงานความยั่งยืน 2560
รายงานความยั่งยืน 2560รายงานความยั่งยืน 2560
รายงานความยั่งยืน 2560Taungza Brotherbears
 

Ähnlich wie Sustainable Business (20)

Consumer Protection and Corporate Social Responsibility (CSR)
Consumer Protection and Corporate Social Responsibility (CSR)Consumer Protection and Corporate Social Responsibility (CSR)
Consumer Protection and Corporate Social Responsibility (CSR)
 
Sustainable Business: Business Case & Case Studies
Sustainable Business: Business Case & Case StudiesSustainable Business: Business Case & Case Studies
Sustainable Business: Business Case & Case Studies
 
Green Economy: Concepts and Updates
Green Economy: Concepts and UpdatesGreen Economy: Concepts and Updates
Green Economy: Concepts and Updates
 
การเดินทางของแนวคิด 1
การเดินทางของแนวคิด 1การเดินทางของแนวคิด 1
การเดินทางของแนวคิด 1
 
รายงานTechnology seeker
รายงานTechnology seekerรายงานTechnology seeker
รายงานTechnology seeker
 
รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืนปี 2558
รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืนปี 2558รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืนปี 2558
รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืนปี 2558
 
ทัศนภาพธุรกิจอนาคต2
ทัศนภาพธุรกิจอนาคต2ทัศนภาพธุรกิจอนาคต2
ทัศนภาพธุรกิจอนาคต2
 
Responsible / Sustainable Finance
Responsible / Sustainable FinanceResponsible / Sustainable Finance
Responsible / Sustainable Finance
 
Sustainability of production 4.0 การผลิตอย่างยั่งยืน 4.0
Sustainability of production 4.0 การผลิตอย่างยั่งยืน 4.0Sustainability of production 4.0 การผลิตอย่างยั่งยืน 4.0
Sustainability of production 4.0 การผลิตอย่างยั่งยืน 4.0
 
สรุปผลการประชุม The world congress on zero emissions
สรุปผลการประชุม The world congress on zero emissionsสรุปผลการประชุม The world congress on zero emissions
สรุปผลการประชุม The world congress on zero emissions
 
InnoCreative Manageent การจัดการนวัตกรรมเชิงสร้างสรรค์ (การท่าเรือแห่งประเทศไทย)
InnoCreative Manageent การจัดการนวัตกรรมเชิงสร้างสรรค์ (การท่าเรือแห่งประเทศไทย)InnoCreative Manageent การจัดการนวัตกรรมเชิงสร้างสรรค์ (การท่าเรือแห่งประเทศไทย)
InnoCreative Manageent การจัดการนวัตกรรมเชิงสร้างสรรค์ (การท่าเรือแห่งประเทศไทย)
 
case study Cp
case study Cpcase study Cp
case study Cp
 
เกณฑ์จริยธรรมว่าด้วยการส่งเสริมการขายยา 2558
เกณฑ์จริยธรรมว่าด้วยการส่งเสริมการขายยา 2558เกณฑ์จริยธรรมว่าด้วยการส่งเสริมการขายยา 2558
เกณฑ์จริยธรรมว่าด้วยการส่งเสริมการขายยา 2558
 
เกณฑ์จริยธรรมว่าด้วยการส่งเสริมการขายยาของประเทศไทย เพื่อธรรมาภิบาลในระบบยา
เกณฑ์จริยธรรมว่าด้วยการส่งเสริมการขายยาของประเทศไทย  เพื่อธรรมาภิบาลในระบบยาเกณฑ์จริยธรรมว่าด้วยการส่งเสริมการขายยาของประเทศไทย  เพื่อธรรมาภิบาลในระบบยา
เกณฑ์จริยธรรมว่าด้วยการส่งเสริมการขายยาของประเทศไทย เพื่อธรรมาภิบาลในระบบยา
 
Usana present sept 10
Usana present sept 10Usana present sept 10
Usana present sept 10
 
ดร.ดนัย เทียนพุฒ นวัตกรรมไอเดียเปลี่ยนเกมธุรกิจ
ดร.ดนัย เทียนพุฒ  นวัตกรรมไอเดียเปลี่ยนเกมธุรกิจดร.ดนัย เทียนพุฒ  นวัตกรรมไอเดียเปลี่ยนเกมธุรกิจ
ดร.ดนัย เทียนพุฒ นวัตกรรมไอเดียเปลี่ยนเกมธุรกิจ
 
Sub report update 2560
Sub report update 2560 Sub report update 2560
Sub report update 2560
 
รายงานความยั่งยืน 2560
รายงานความยั่งยืน 2560รายงานความยั่งยืน 2560
รายงานความยั่งยืน 2560
 
Sustainable Report 2560
Sustainable Report 2560Sustainable Report 2560
Sustainable Report 2560
 
Social network direct media
Social network direct mediaSocial network direct media
Social network direct media
 

Sustainable Business

  • 1. ธุรกิจที่ยั่งยืน สฤณี อาชวานันทกุล บริษัท ปาสาละ จํากัด 27 พฤศจิกายน 2556 © สฤณี อาชวานันทกุล และ บริษัท ปาสาละ จํากัด
  • 2. ปาสาละคือใคร? “Sustainable Business Accelerator” ปาสาละเปนบริษัท “ปลูกธุรกิจที่ยั่งยืน” แหงแรกในประเทศไทย เปาหมายของเราคือ จุดประกายและดําเนินวาทกรรมสาธารณะเกี่ยวกับธุรกิจที่ยั่งยืน ผานการจัดสัมมนา อบรม ประชุมเชิงปฏิบัติการ ผลิตสื่อสิ่งพิมพและออนไลน รวมทั้งผลิตงานวิจัยใน ประเด็นความยั่งยืนในประเทศไทย และสงเสริมการวัดผลตอบแทนทางสังคม 2
  • 5. ประวัติศาสตรฉบับยอของ “การพัฒนาที่ยั่งยืน” • 1962 “Silent Spring” โดย Rachel Carson • 1972 “Limits to Growth” โดย Club of Rome • 1972 UN Conference on the Human Environment ในกรุงสต็อคโฮลมส • 1973 วิกฤติน้ํามันครั้งแรก • 1987 Brundtland Commission Report : “Our Common Future” • 1989 Montreal Agreement เพื่อกําจัดสาร CFC 5
  • 6. ประวัติศาสตรฉบับยอของ “การพัฒนาที่ยั่งยืน” (ตอ) • • • • • 1991 World Business Council on Sustainable Development กอตั้ง 1992 Earth Summit ในกรุงริโอ เดอจาไนโร 1997 Kyoto Protocol 2005 เฮอริเคน Katrina / GE launch “Ecomagination” 2010 Organisation for Economic Co-operation and Development (OECD): Interim Green Growth Report • 2011 United Nations Environment Programme (UNEP) Green Economy Report • 2011 European Commission’s EU Low Carbon Roadmap 6
  • 7. การปะทะระหวางโลกทัศน หรือเท็จ vs จริง การพัฒนาที่ยั่งยืนคืออะไร ระหวาง... “เรืองหรูหรา” ที่ ่ ไม่จําเป็ นยามตกอับ หรือ “เรืองจําเป็ น” ต่อ ่ ความอยูรอดในยุคนี้ ่ ความเปนจริง 7
  • 8. ทุนนิยมอุตสาหกรรม = จากอูสูขยะ การตลาด เพือทิงขว ้าง ่ ้ สกัด วัตถุดบ ิ ผลิต ิ สนค ้า จัดจําหน่าย บริโภค กําจัด ขยะ ที่มา : www.storyofstuff.com, มูลนิธิโลกสีเขียว 8
  • 9. อุดมคติ: “จากอูสูอู” (cradle to cradle) “จากอู่ส่อ่” ในระบบนิเวศ ู ู “จากอู่ส่อ่” ในระบบมนุษย์ ู ู พืช ผลิต/ประกอบ สาร อาหาร ในดิน สัตว์ ผูย่อยสลาย ้ วัสดุ ผลิตภัณฑ์ บริโภค 9
  • 11. เรากําลังทะลุขีดการรองรับของธรรมชาติ Planetary Boundaries: ∏ ‘: The Biosphere Economy, http://www.volans.com/lab/projects/biosphere-economy/ Ë ◊ ¬ 11
  • 12. ความเสียหายจากภัยธรรมชาติ = ตนทุน • ป 2011 ภัยธรรมชาติทั่ว โลกกอความเสียหาย 380,000 ลานเหรียญ สหรัฐ สูงเปน ประวัติการณ • ทศวรรษ 2000-2010 ภัยธรรมชาติรุนแรง เพิ่มขึ้น 200%+ จาก ทศวรรษกอนหนา 12
  • 13. เราวัดความเสียหายและประโยชนชัดขึ้น • ธนาคารโลก (2007) ประเมินวาการใชน้ําใตดินเกินขนาดในจีนกอความ เสียหาย 0.3% ของจีดีพี และมลพิษอากาศและน้ํากอความเสียหาย 5.8% ของจีดีพี • Diao and Sarpong (2007) ประเมินวาดินเสื่อมโทรมจะกอความเสียหาย 5% ของจีดีพีเกษตรกรรมในกานาระหวางป 2006-2015 • The Economics of Ecosystems & Biodiversity (TEEB) (2010) 13
  • 15.
  • 17. คนจนพึ่งพาบริการระบบนิเวศมากกวา • เกษตรกรรม ประมง และปาไมคิดเปนสัดสวนคอนขางนอยของจีดีพี แตบริการนิเวศของธรรมชาติเปน สวนสําคัญใน “จีดีพีคนจน” • ‘เศรษฐกิจเขียว’ จึงจําเปนตอการลดความจนและความเหลื่อมล้ํา 17
  • 19. ธุรกิจที่พึ่งพาพันธุกรรมธรรมชาติ • ความเสี่ยงตอพันธุกรรมเหลานี้ = ความเสี่ยงทางธุรกิจ • ความเสียหายทางธุรกิจที่เกิดขึ้นจากการสูญเสียความหลากหลายทางชีวภาพ = สวนหนึ่งของ “มูลคา” 19
  • 21. ศตวรรษที่ 21: สูยุค “ธุรกิจแหงคุณคา”? 21
  • 23. เหตุผลที่บริษัทอยากทําธุรกิจที่ยั่งยืน แตละบริษัทมีเหตุผลที่แตกตางกันในการนําหลัก “การพัฒนาอยางยั่งยืน” มา ใชในการดําเนินธุรกิจ • แรงจูงใจทางศีลธรรม • ลดตนทุนและลด/บริหารความเสี่ยง • ประโยชนดานประสิทธิภาพเชิงนิเวศ (eco-efficiency) • สรางผลิตภัณฑใหมๆ ที่แตกตางจากคูแขง (product differentiation) • เปนกลยุทธในการเอาตัวรอดในระยะยาว (“creative destruction”) เหลานี้คือ “เหตุผลทาง ธุรกิจ” 23
  • 24. ธุรกิจที่ยั่งยืน: “สมดุล” / “สังกัด” / “ผูกพัน” 24
  • 25. “Push factors” เปนทั้งวิกฤตและโอกาส ปจจัยผลักดัน 10 ประการ 5 ประเด็นรอน 5 ผูมีสวนไดเสียสําคัญที่ ผลักดัน ภาวะสภาพภูมิอากาศ เปลี่ยนแปลง ผูบริโภคที่ใสใจสิ่งแวดลอม มลพิษและอันตรายตอ สุขภาพ ผูถือหุนนักเคลื่อนไหว การตอตานโลกาภิวัตนที่ไม เปนธรรม ภาคประชาสังคม/เอ็นจีโอ วิกฤตพลังงาน ผูกํากับดูแลภาครัฐ/ นักวิทยาศาสตร ความไววางใจของประชาชน ในภาคธุรกิจเสื่อมถอย ประชาชน ∏ ‘: Triple Bottom Line Reporting: A Strategic Introduction to Economic, Environmental and Social Ë ◊ ¬ Performance Measurement, David Crawford, Certified Management Accountants Canada, www.cma-canada.org 25
  • 26. อ ัตราการเติบโตต่อปี (%) “Pull factor” : ธุรกิจใหมที่ยั่งยืนโตเร็ว ╕ ŹŹŚ⌂ ⁿů Źň Θ σ ∟ ₧ Ć ĆŃα $583 Ţ∟ Θ Ń 50% 40% 30% 20% 10% ŹΘ ŚŇŢŹĺ ŰΘ ůΘ Ů Śő α $15.5 ő ŃŢ∟ Γ Θ Ń →← Ś Řč → ŃŃą ⌂ Ŕ₧ $7 ő ŃŢ∟ Γ Θ Ń ů Ńč Θ α ∟ ₧ ⁿĿ Śĺ ŔŚ⌂ $2.2 ő ŃŢ∟ Γ Θ Ń ŚΘ ĺ Ľ ŹŇ (ⁿŰŚδď ůŰŚΓ 2009 ř→ ∟ δ ↨ ř ę), ทีมา: Good Capital, Social Enterprise Expansion Fund presentation ่ 26
  • 28. “Pull factor” : นักลงทุนเพื่อความยั่งยืน • กองทุนที่ลงนามใน UN Principles of Responsible Investment : 10% ของเงินทุน ภายใตการบริหารจัดการทั้งโลก Key elements of Socially Responsible Investing (SRI) funds: • Screening • Shareholder Advocacy • Community Investment 28
  • 30. “Pull factor” : “ตลาดคนจน” $5 ลานลาน • ทั่วโลกมีคนที่มีรายไดต่ํากวา $2 ตอวัน 2.6 พันลานคน  รายไดนอย แตมี จํานวนมาก • ถาบุก “ตลาดคนจน” สําเร็จ ก็จะได กําไรและชวยสังคม (ชวยคนจน) ไป พรอมกัน 30
  • 31. Green is the new Black 31
  • 32. จาก CSR สู CSV (creating shared value) CSR  คุณคา: การทําดี      CSV  คุณคา: ประโยชนตอสังคมและ สิ่งแวดลอมเทียบกับตนทุนที่เสียไป การเปนพลเมือง, การกุศล, ความยั่งยืน  ธุรกิจกับชุมชนสรางคุณคารวมกัน ทําตามอําเภอใจ หรือเปนปฏิกิริยาตอแรง  เปนหัวใจของความสามารถในการแขงขัน กดดันจากภายนอก แยกจากการมุงทํากําไรสูงสุด  เปนหัวใจของการทํากําไรสูงสุด วาระถูกกําหนดดวยภาระการรายงานและ  วาระถูกกําหนดจากภายในองคกร รสนิยมสวนตัว ผลกระทบถูกจํากัดดวยรอยเทาธุรกิจและงบ  ปรับเปลี่ยนงบการลงทุนและการใชจาย  ซีเอสอาร ของทั้งบริษัท ที่มา: ผูเขียนแปลจาก Michael Porter และ Mark Kramer, “Creating Shared Value,” Harvard Business Review, JanuaryFebruary 2011. ดาวนโหลดไดจาก http://www.fsg.org/tabid/191/ArticleId/241/Default.aspx 32
  • 33. จาก “การจัดการ” สู “การรวมมือ” การจัดการผูมีสวนไดเสีย  ไมเปนเอกภาพ แบงตามสายงาน  เนนการบริหารจัดการความสัมพันธ การรวมมือกับผูมีสวนไดเสีย  บูรณาการทั้งองคกร  เนนการสรางความสัมพันธ  เนนการบริหารความเสี่ยงและลดแรงกดดัน  เนนการสรางโอกาสและผลประโยชน จากภายนอก รวมกัน  เชื่อมโยงกับเปาหมายทางธุรกิจระยะสั้น  เชื่อมโยงกับเปาหมายทางธุรกิจระยะยาว  ปฏิบัติอยางไมเปนเอกภาพ เชน ฝายลูกคา  มีแนวทางปฏิบัติเปนเอกภาพทั้งองคกร สัมพันธดูแลลูกคาดวยแนวทางหนึ่ง ฝาย ผลักดันดวยเปาหมายทางธุรกิจ พันธกิจ ชุมชนสัมพันธดูแลชุมชนดวยอีกแนวหนึ่ง ทางสังคม และคุณคาขององคกร ขึ้นอยูกับความสนใจของแตละฝายและ สไตลของผูจัดการแตละคน ที่มา: ผูเขียนแปลจาก Michael Porter และ Mark Kramer, “Creating Shared Value,” Harvard Business Review, JanuaryFebruary 2011. ดาวนโหลดไดจาก http://www.fsg.org/tabid/191/ArticleId/241/Default.aspx 33
  • 34. “ระดับ” ของธุรกิจที่ยั่งยืน 1. ลดตนทุน/บริหาร ความเสี่ยง 2. เปลี่ยนวัฒนธรรม องคกร/ดึงคูคาดวย 3. สรางและขาย ผลิตภัณฑที่ยั่งยืน 4. “ยั่งยืนสมบูรณ” (zero footprint) 34
  • 35. Interface: “mission zero” • บริษัทพรมแบบ modular ชั้นนําของโลก เริ่มเปลี่ยนโมเดลธุรกิจใหเปน ธุรกิจที่ยั่งยืนในป 1994 • ตั้งเปาหมาย zero footprint ภายในป 2020 ณ ปลายป 2010 ทําไดแลว ประมาณ 60% • พลังงานหมุนเวียน 30% + ประสิทธิภาพในการใชพลังงาน  ลดพลังงาน ตอหนวยของผลิตภัณฑลงได 43% และลดคารบอน 35% ตั้งแตป 1996 • เอาเงินที่ประหยัดไดไปลงทุนกับการวิจัยและพัฒนา ทํา Life Cycle Assessment กับผลิตภัณฑทุกชนิด ฯลฯ • ใชซังขาวโพดทําพรม + เพิ่มประสิทธิภาพในการใชวัสดุ  ลดของเสียจาก โรงงานได 76% ตั้งแตป 1996 35
  • 36. Interface: ผูนําดานความยั่งยืน ยอดขายและกําไรจากการดําเนินงานโตปละ 10%+ “The new course we're on at Interface ... is to pioneer the next Industrial Revolution: one that is kinder and gentler to the earth.” – Ray Anderson ∏ ‘: The Sustainability Survey 2009, Globescan: http://www.globescan.com/news_archives/tss_release01/ Ë ◊ ¬ 36
  • 37. GE: ความสําเร็จของ Ecomagination • บริษัทจีอีเปลี่ยนจุดยืน 180 องศา ตั้งเปาเปน “บริษัทเขียว” ชั้นนํา • ผลิตภัณฑยั่งยืนยี่หอ “Ecomagination” ทํารายไดกวา $18 พันลาน คิด เปน 10% ของรายไดทั้งบริษัท • ในป 2009 ลดปริมาณคารบอนตอรายไดลงกวา 41% จากระดับป 2005 ทําไดเกินเปาหมายที่ตั้งไว 30% และลดปริมาณคารบอนที่ปลอยลงได 13% • ทําดวยการปรับปรุงการจัดการโรงงาน ใชเทคโนโลยีเพิ่มประสิทธิภาพ พลังงาน พลังงานหมุนเวียน • ตั้งเปาลดการใชน้ํา 20% จากระดับป 2008 และจะลดปริมาณการปลอย คารบอน (absolute level) ลง 1% ภายใน 2012 37
  • 39. Campbell Soup: ซุปโซเดียมต่ํา • อาหารที่ใสเกลือมากมีสวนกอใหเกิดความดัน โลหิตสูง เพิ่มความเสี่ยงที่จะเปนโรคหัวใจ • Campbell Soup ยักษใหญในอุตสาหกรรม อาหาร รวมโครงการรวมระหวางภาครัฐกับ เอกชนชื่อ “National Salt Reduction Initiative” ตั้งเปาลดระดับเกลือในอาหาร • บริษัทเปดเผยขอมูลโภชนาการอยางละเอียด และประกาศเปาหมายรายไดจากการขายซุป โซเดียมต่ํา • ปจจุบันรายไดจากซุปโซเดียมต่ําของบริษัทคิด เปน 30% ของรายไดรวม 39
  • 40. CEMEX: บานเพื่อคนจน • CEMEX บริษัทขายวัสดุกอสรางที่ใหญที่สุดในโลก ริเริ่ม โครงการ “Patrimonio Hoy” ในป 1998 เพื่อบุกตลาดผูมี รายไดนอย • ใชนวัตกรรม “วงจรออม-กู” และชวยเรื่องชางและสถาปนิก ชวยใหคนจนสรางบานไดเร็วกวาปกติ 3 เทา และถูกกวา 3 เทา • ในเวลา 1 ทศวรรษ ปลอยกูไมโครเครดิต $135 ลาน ชวยให คนกวา 1.3 ลานคนในทวีปอเมริกาใตมีบานที่มีคุณภาพ • 29% ของลูกคาใชบานทําธุรกิจขนาดเล็ก • ไดรับรางวัล 2006 World Business Award จาก the International Chamber of Commerce และ United Nations HABITAT Business Award ในป 2009 40
  • 41. วิถี “ไตรกําไรสุทธิ” ของ Novo Nordisk • กอตั้งป 1923 ที่เดนมารก ปจจุบันเปนผูนําโลกดานการดูแลผูปวยโรคเบาหวาน • พนักงาน 30,000 คน มีสํานักงานใน 76 ประเทศทั่วโลก • โครงการ Changing Diabetes ตอกรกับเบาหวานในประเทศกําลังพัฒนา เนนดาน การปองกันและเขาถึงยา 41
  • 42. วิถีของ Novo Nordisk (ตอ) • โครงการ TakeAction! สนับสนุนใหพนักงานของบริษัททํางาน อาสาในเวลางาน โดยเฉพาะดานการใหความรูเรื่องการปองกัน โรคเบาหวานในชุมชนทองถิ่น 42
  • 43. Odwalla: ความรับผิดชอบตอปญหา บริษัทอาหาร เนนน้ําผลไม ถูกซื้อกิจการโดยโคคา-โคลาในป 2001 วันที่ 30 ต.ค. 1996 เจาหนาที่กระทรวงสาธารณสุขแจงบริษัทวาพบความเชื่อมโยง ระหวางแบคทีเรียอีโคไล กับน้ําแอปเปลของบริษัท ตอมายืนยันในวันที่ 5 พฤศจิกายน วาสาเหตุมาจากการใชแอปเปลเนา (น้ําผลไมไมไดผานกระบวนการพาสเจอรไรซ เพราะผลิตน้ําผลไมสด) หลังจากนั้นมีเด็กคนหนึ่งที่ดื่มน้ําแอปเปลตาย คนอีก 60 กวาคนที่ดื่มน้ําผลไมของ บริษัทลมปวย ยอดขายบริษัทตกลง 90% และราคาหุนดิ่ง 34% มีผูบริโภคยื่นฟอง บริษัท 20 คดี กอนที่จะไดรับการยืนยันจากทางการวาน้ําแอปเปลมีเชื้ออีโคไล Odwalla รับมือกับ ปญหาทันที ซีอีโอ Stephen Williamson สั่งเรียกคืนผลิตภัณฑทั้งหมดที่มีสวนผสม ของน้ําแอปเปลและแครอท ครอบคลุมรานคาปลีกกวา 4,600 แหงใน 7 มลรัฐ การเรียกคืนครั้งนี้บริษัทเสียคาใชจาย 6.5 ลานเหรียญสหรัฐ เรียกคืนทั้งหมดภายใน 48 ชั่วโมง 43
  • 44. Odwalla: ความรับผิดชอบตอปญหา (ตอ) บริษัทไมเคยปฏิเสธหรือบายเบี่ยงความรับผิดชอบ ซีอีโอแสดงความเสียใจตอผูบริโภค ที่ไดรับผลกระทบและสัญญาวาบริษัทจะรับผิดชอบคาใชจายดานการรักษาพยาบาล ทั้งหมด ยอมรับวากระบวนการผลิตผิดพลาด ตัดสินใจเปลี่ยนกระบวนการผลิตน้ําผลไมทันที ไปใช “flash pasteurization” เพื่อฆาเชื้อโรค ขณะที่รักษารสชาติของน้ําผลไมเอาไว หลังจากเกิดเรื่องเพียงไมกี่เดือน บริษัทก็มีระบบการตรวจสอบคุณภาพและความ ปลอดภัยใหม ผูเชี่ยวชาญบางคนมองวาเปนระบบที่ครอบคลุมและดีที่สุดใน อุตสาหกรรมน้ําผลไม เริ่มขายน้ําแอปเปลใหมตนเดือน ธ.ค. ตอมาจายคาปรับ 1.5 ลานเหรียญสหรัฐ ใน คดีอาญาขอหาขายน้ําผลไมปนเปอนแบคทีเรีย บิดาของเด็กที่เสียชีวิตกลาวกับสื่อวา “ผมไมโทษบริษัท ...พวกเขาทําทุกอยางเทาที่ทํา ไดแลว” 44
  • 45. The Body Shop: business as activist 45
  • 46. The Body Shop: business as activist “All through history, there have always been movements where business was not just about the accumulation of proceeds but also for the public good.” - Anita Roddick “I want to work for a company that contributes to and is part of the community. I want something not just to invest in. I want something to believe in.” - Anita Roddick 46
  • 47. จาก “การตลาด” สู “การตลาดเชิงสังคม”
  • 48. ตัวอยางอื่นๆ • IBM รีไซเคิลคอมพิวเตอรและชิ้นสวนคอมพิวเตอร นําไปใชในธุรกิจลีสซิ่ง คอมพิวเตอร สรางรายไดเพิ่มกวา $2 ลานในระยะเวลาไมถึง 3 ป อัตรา กําไร 50% • หุนของ Rhodia บริษัทเคมีฝรั่งเศส พุง 20% ใน 1 วัน เมื่อประกาศในป 2005 วาไดรับอนุมัติใหทําโครงการ CDM ที่จะเพิ่มกําไรกวาปละ $300 ลาน • กําไรของ DuPont เพิ่มกวา $240 ลานตอป จากการลดปริมาณคารบอนที่ ใชเงินลงทุนทั้งหมด $120 ลาน • Krafts Food ประหยัดคาใชจายได 20% จากการเพิ่มประสิทธิภาพในการ ใชพลังงาน 48
  • 52. ความทาทายที่ไนกี้ประสบ • แคมเปญรณรงคเปดโปงการใชแรงงานเด็กและตอตานบริษัทแพรหลาย อยางรวดเร็ว มหาวิทยาลัยและนักวิชาการจํานวนมากรววมแคมเปญ รวมทั้งกลุมตอตานโลกาภิวัตน และกลุมตอตานโรงงานนรก • อยางไรก็ดี แคมเปญเหลานี้ไมสงผลตอรายไดของบริษัท – รายไดของ บริษัทเพิ่มจาก 6,400 ลานเหรียญสหรัฐในป 1996 เปนเกือบ 17,000 ลานเหรียญสหรัฐในป 2007
  • 53. ความทาทายที่ไนกี้ประสบ (ตอ) • กลุมจับตาแรงงานเวียดนาม (Vietnam Labor Watch) รายงานวา โรงงานผลิตรองเทาไนกี้ละเมิดกฎหมายคาแรงขั้นต่ําและการทํางาน ลวงเวลา จนถึงป 1996 ก็ยังมีอยู • ตลอดทศวรรษ 1990 ไนกี้เผชิญเสียงวิพากษวิจารณอยางหนัก กรณีใช แรงงานเด็กในโรงงานที่ไนกี้จางผลิตลูกฟุตบอล ในประเทศกัมพูชาและ ปากีสถาน • ในป 2001 สารคดี BBC เปดโปงการใชแรงงานเด็กและสภาพการทํางาน อันเลวรายในโรงงานกัมพูชาแหงหนึ่งที่รับจางไนกี้ผลิต สารคดีเรื่องนี้ ติดตามชีวิตของเด็กผูหญิง 6 คน ทํางาน 16 ชั่วโมงตอวัน 7 วันตอสัปดาห
  • 54. ความทาทายที่ไนกี้ประสบ (ตอ) • ไนกี้จางโรงงานกวา 600 แหง ผลิตสินคา ใน 46 ประเทศ มีแรงงาน รวมกันมากกวา 800,000 คน • ความยากประการหนึ่งคือโรงงานรับจางผลิตมักจะผลิตใหกับแบรนดหลาย เจา ยากที่จะรักษามาตรฐาน
  • 56. วิธีแกปญหาของไนกี้ • ในป 1997 บริษัทเขารวมกลุมอุตสากรรมสิ่งทอของทําเนียบขาว (White House Apparel Industry Group) – เนนเรื่องแรงงานและสิทธิ มนุษยชน • ออกแนวปฏิบัติชุดใหมวาดวยคาแรงและสภาพการทํางาน – โรงงาน รับจางผลิตตองไมใหคนทํางานเกิน 60 ชั่วโมงตอสัปดาห • เปดโรงงานใหผูตรวจสอบภายนอก และจับมือเปนพันธมิตรกับองคกร พัฒนาเอกชนชื่อ Fair Labor Association • วางระบบตรวจสอบคูคาและใหคะแนนการปฏิบัติตามมาตรฐานแรงงาน • ในป 2007 เปดเผยชื่อและที่อยูของโรงงานรับจางผลิตทั่วโลกตอ สาธารณะโดยสมัครใจ
  • 57. วิธีแกปญหาของไนกี้ (ตอ) “รองเทาคูนี้ยั่งยืนกวาปที่แลวอยางไร?” • ทีมงานดานซีเอสอารและความยั่งยืนของบริษัททํางานรวมกับทีมนัก ออกแบบรองเทา • เปาหมายหลักดานความยั่งยืนของไนกี้: 1. ผลิตสินคาตางๆ โดยลดของเสียมากกวาเดิม 2. ใชสารพิษในกระบวนการผลิตนอยลง 3. เลือกวัสดุที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอมมากขึ้น 4. ออกแบบสินคาดวยนวัตกรรมดานความยั่งยืน • ประกาศเปาเชิงปริมาณและรายงานความคืบหนาทุกป
  • 58.
  • 60.
  • 62.
  • 63. Goldern Agri-Resources (GAR) • บริษัทน้ํามันปาลมใหญเปนอันดับสองของโลก • กิจกรรมหลักของบริษัทในอินโดนีเซียคือ การเพาะพันธุ และเก็บเกี่ยวตนปาลม น้ํามัน แปรรูปผลปาลมใหเปนน้ํามันปาลมดิบ และกลั่นน้ํามันปาลมดิบใหกลายเปน ผลิตภัณฑที่เพิ่มมูลคาอื่นๆ • ถูกกระทบจากแคมเปญของกรีนพีซ (Greenpeace) ในค.ศ. 2010 ที่เผยแพรขอมูล อุตสาหกรรมน้ํามันปาลมวากอใหเกิดการทําลายปาและสูญเสียความหลากหลายทาง ชีวภาพ โดยพุงเปาไปยังสินคาบริโภคตางๆ เชน Nestle และผูคาปลีก และ กลาวหา Sinar Mas Group คูแขงของ GAR วาบุกรุกปาอยางผิดกฎหมายและปรับ พื้นที่โดยการเผา • ลูกคาหลายรายยกเลิกการซื้อน้ํามันปาลมจาก GAR เชน Nestle, Unilever และ Burger King
  • 64. Goldern Agri-Resources (GAR) • GAR ประกาศนโยบาย 4 ดานดังนี้ 1. ระงับการขยายการเกษตรไปยังพื้นที่ปาพรุ High carbon stock forests และ High conservation value forests 2. การขยายพื้นที่ตองไดรับความยินยอมจากชนกลุมนอยและชุมชนทองถิ่น 3. ทําตามหลักการของ Roundtable on Sustainable Palm Oil (RSPO) (มี สวนแบงการตลาดโลกมากถึง 52%) 4. ทําตามกฎหมายของอินโดนีเซีย
  • 65. Goldern Agri-Resources (GAR) • ผลการดําเนินงานหลังจากการออกนโยบายไปแลว 2 ป Greenomics NGO ทองถิ่น ไดติดตามผลแลวพบวา – ยังมีการแผวถางพื้นที่บางสวนออกนอกอาณาเขตที่ไดรับอนุญาต – GAR ลดปริมาณพื้นที่แผวถางปาลงเปนจํานวนมาก แตก็ยังไมสามารถทําตามเปาหมายที่จะ สรางรอยเทาปาไมใหเปน 0 ได – Greenomics ไดกลาวขอบคุณและชมเชยประธานบริษัทลูกแหงหนึ่งของ GAR ที่เขารวมสาน เสวนาอยางตอเนื่องในเรื่องนโยบายการอนุรักษปา และใหขอมูลในหลายๆ สวน • Norwegian Government Pension Fund ขายหุนที่มีใน GAR และบริษัทผลิต น้ํามันปาลมอีก 22 แหงในชวงปลายป 2012 ดวยเหตุผลดานการบริหารความเสี่ยง อันเกิดจากสภาพอากาศเปลี่ยนแปลง
  • 67. ไมมีวาทกรรมถูกทาง  คนไมตื่นตัว  ธุรกิจไมเปลี่ยนแปลง
  • 70. เปรียบเทียบกรณี BP กับ CP (ตอ) ประเด็น BP CP เหตุการณ แทนขุดเจาะน้ํามัน Deepwater Horizon ของบริษัท BP ระเบิดในอาวเม็กซิโก เดือนเมษายน 2010 หนังสือพิมพ Sunday Times ในอังกฤษ ลงขาว “Our taste for prawns is killing the sea” (http://www.thesundaytimes.co.uk/sto/public/ article1220635.ece) และเนื้อหารายการ Hugh’s Fish Fight ทางโทรทัศนชอง Channel 4 ในเดือน กุมภาพันธ ป 2013 กลาวหาวากุงของบริษัทซีพีที่ขาย ในซุปเปอรมารเก็ตเจาใหญในอังกฤษ ถูกเลี้ยงดวยปลา ปนซึ่งทําจาก “ปลาเปด” (ปลาที่ไมมีมูลคาทาง เศรษฐกิจ รวมทั้งลูกปลา) ที่ติดมากับอวนลาก ความสําคัญ เหตุน้ํามันรั่วในทะเลที่รุนแรงที่สุดในประวัติศาสตร สหรัฐอเมริกา ปลาเปดที่ขายใหกับโรงงานปลาปนมาจากเรือประมงที่ ใชอวนลาก กวาดตอนสัตวและพืชใตทองทะเลมากอน คอยมาคัดแยกทีหลัง เปนเครื่องมือทําลายระบบนิเวศ ทางทะเลที่รุนแรงที่สุด (และปจจุบันผิดกฎหมายยุโรป) สิ่งที่สื่อทํา สื่อมวลชนทั่วโลกเสนอขาวเหตุการณนี้เปนขาวใหญ ใหพื้นที่ มีสื่อไทยรายใดรายงานขาว มีเพียง Bangkok Post ซึ่ง เฉลี่ย 22% ของพื้นที่ขาวทั้งหมดตอเนื่องนานกวา 100 วัน ลงขาวการออกมาแกตางใหซีพีของ นิวัฒน สุธีมีชัยกุล หลังเกิดเหตุ รองปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ
  • 71. เปรียบเทียบกรณี BP กับ CP (ตอ) ประเด็น BP CP สิ่งที่รัฐทํา ประธานาธิบดีโอบามาแตงตั้งคณะกรรมการสอบสวน รายงาน เผยแพรบนเว็บไซต (http://www.oilspillcommission.gov/) ตนป 2012 สภาคองเกรสผานกฎหมายสองฉบับ : RESTORE Act กอตั้งกองทุนฟนฟูอาวเม็กซิโก และ Pipeline Safety, Regulatory Certainty, and Job Creation Act เพิ่ม บทลงโทษทางแพงกรณีละเมิดกฎระเบียบดาน ความปลอดภัย และบัญญัติใหติดตั้งวาวลปดอัตโนมัตในทอ ิ น้ํามันใหมๆ เพียงหนึ่งวันหลังจากการนําเสนอขาวของ Sunday Times ในอังกฤษ นาย นิวัฒน สุธีมีชัยกุล รอง ปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ ออกมาปฏิเสธ รายงานของสื่ออังกฤษ บอกวาปลาที่ใชทําอาหารกุง นั้นไมใชลูกปลา มีแตปลาที่มีขนาดเล็ก และ “ของ เสีย” อาทิ หัวปลา กางปลา เปนตน สิ่งที่บริษัททํา แตงตั้งคณะกรรมการสอบสวนภายใน เผยแพรผลการศึกษา ไมมีปฏิกิริยาใดๆ ตอสาธารณะในเดือนกันยายน 2010 (6 เดือนหลังเกิดเหตุ) ณ ตนป 2013 จายคาปรับและคาชดเชยตอรัฐและเอกชนที่ ไดรับผลกระทบ รวมคาฟนฟูระบบนิเวศในอาวเม็กซิโกไปแลว ราว 11,000 ลานเหรียญสหรัฐ คาดวาจะตองจายอีก 7,800 ลานเหรียญสหรัฐ สังคมรูตัวการ และตนเหตุ หรือไม รูแลววาเกิดจากความผิดของมนุษย 5 เรื่อง และความ ผิดพลาดทางเทคนิค 1 เรื่อง ไมรูทั้งสองเรื่อง
  • 72. แนวโนมที่นาจับตา • ความอิ่มตัว (?) และ diminishing returns ของการทําโครงการซี เอสอารแบบ out-process (ปลูกปา สรางฝาย ฯลฯ) • AEC กับความทาทายระดับภูมิภาค • ความเขมขึ้นของ push factors โดยเฉพาะวิกฤตสิ่งแวดลอม • มาตรฐานสากล โดยเฉพาะที่บังคับใชกับผูสงออกไทย • กฏการเปดเผยขอมูลดานความยั่งยืนของ ก.ล.ต. (เริ่ม 2014) • ความตื่นตัว และการรวมตัว (?) ของผูบริโภคผานเว็บบอรด โซเชียลมีเดีย ฯลฯ
  • 73. สูยุค “เศรษฐกิจแหงคุณคา”? “ In the 19th century, we were making money with money. In the 21st century, I believe and hope that we will use values to create value.” - Oliver Le Grand , Chairman of the Board of Cortal (a subsidiary of BNP Paribas) “[There is] No Place To Hide for the Irresponsible Business” - Financial Times headline, 29 September 2003 73