SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 40
Downloaden Sie, um offline zu lesen
รายวิชาโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ พื้นฐาน
บทที่ 1 โครงสร้างโลก
ณัฐพงษ์ บุญปอง
(B.Ed./M.Ed.)Bodindecha (Sing Singhaseni) School
เคยสงสัยหรือไม่ว่า...
- โลกที่เราอยู่ทุกวันนี้มีกาเนิดมาอย่างไร?
- มีโครงสร้างเป็นอย่างไร?
- จะมีวิธีใดบ้างที่จะศึกษาโครงสร้างโลกได้?
Earth - Part of Solar system
- 4,600 million years ago
Solar system (Chapter 7)
12,755 kms
12,711 kms
1.1 การศึกษาโครงสร้าง
ทางตรง
การขุดเจาะสารวจ
- ชั้นหินโอฟีโอไลต์
- หินภูเขาไฟ
อปก. ทางเคมี อุกกาบาต
หินดวงจันทร์
รัสเซีย
19 ปี
12.3 กม.
ทางอ้อม
ใช้ความรู้ทางธรณีฟิสิกส์
- การใช้เครื่องมือวัดคลื่นแผ่นดินไหว
- การวัดความเป็นแม่เหล็กของโลก
- การวัดค่าแรงโน้มถ่วงบริเวณผิวโลก
ศึกษาจากคลื่นไหวสะเทือน เช่น การทดลองนิวเคลียร์
ขณะเกิดแผ่นดินไหว
คลื่นไหวสะเทือน แบ่งเป็น 2 ประเภท คือ
คลื่นในตัวกลาง
คลื่นพื้นผิว
คลื่นปฐมภูมิ
(Primary wave, P wave)
คลื่นทุติยภูมิ
(Secondary wave, S wave)
คลื่นเรลีย์ (LR) คลื่นเลิฟ (LQ)
Seismic wave
P wave
- ผ่านตัวกลางได้ทั้ง (s) (l) และ (g)
- คลื่นตามยาว
-   4-7 km/s
คลื่นเส้นตรง คลื่นจุด
S wave
- ผ่านตัวกลางเฉพาะ (s) เท่านั้น
- คลื่นตามขวาง
-   2-5 km/s
คลื่นเส้นตรง คลื่นจุด
: P wave > S wave
เมื่อคลื่นทั้ง 2 เคลื่อนที่ผ่านไปยังส่วนต่าง ๆ ของโลกก็
จะเกิดการหักเหหรือเกิดการสะท้อนตรงบริเวณรอยต่อของ
โครงสร้างโลก ที่ประกอบด้วยธาตุ สารต่าง ๆ หรือหิน ที่มี
คุณสมบัติแตกต่างกัน จากหลักการดังกล่าวนามาวิเคราะห์
หาโครงสร้างของโลกได้ ตัวอย่างเช่น
 ถ้าโครงสร้างภายในโลกประกอบด้วยของแข็งที่เป็นเนื้อ
เดียวกันตลอด P wave & S wave จะเคลื่อนที่ด้วย  คงที่ ผิว
โลกไปยังแก่นโลก
 ที่ระดับความลึก ประมาณ 100-400 kms เรียกว่า ชั้นฐาน
ธรณีภาค P wave & S wave จะเคลื่อนที่ด้วย  ไม่คงที่
ชั้นนี้เรียกว่า บริเวณความเร็วต่า (low velocity zone)
ที่ระดับความลึก ประมาณ 2,900 kms P wave & S wave จะ
เคลื่อนที่ด้วย  ที่ลดลงอย่างมาก, S wave ไม่สามารถเคลื่อนที่
ต่อไปได้ เพราะแก่นโลกชั้นนอกมีสถานะเป็น (l)
ที่ระดับความลึก ประมาณ 660 และ 5,140 kms
P wave & S wave จะเคลื่อนที่ด้วย  ที่เพิ่มขึ้น
ที่ระดับความลึก 5,140 kms ลงไป
P wave & S wave จะเคลื่อนที่ด้วย  ที่เพิ่มขึ้นอย่างคงที่
1.2 การแบ่งโครงสร้างโลก
แบ่งออกได้ 4 ชั้น โดยใช้เกณฑ์การเปลี่ยนแปลง
ความเร็ว ของคลื่นไหวสะเทือน ดังนี้
1. ธรณีภาค (lithosphere)
2. ฐานธรณีภาค (asthenosphere)
3. มีโซสเฟียร์ (mesosphere)
4. แก่นโลก (core)
1. ธรณีภาค (lithosphere)
- คลื่น P และ S เคลื่อนผ่านด้วยความเร็วที่เพิ่มขึ้น
- หนาประมาณ 100 kms
- ประกอบด้วย หินที่เป็นของแข็ง
2. ฐานธรณีภาค (asthenosphere)
มีความเร็วไม่สม่าเสมอ แบ่งเป็น 2 บริเวณ คือ
(1) เขตคลื่นไหวสะเทือนมีความเร็วลดลง (low velocity zone)
ลึก 100-400 kms ประกอบด้วยหินเหลวหนืด
(2) เขตที่มีการเปลี่ยนแปลง (transitional zone)
ลึก 400-600 kms ประกอบด้วยหินที่แข็งมาก
21
3. มีโซสเฟียร์ (mesosphere)
ลึก 660-2,900 kms ประกอบด้วยหินหรือสารที่มีสถานะเป็นของแข็ง
มีอุณหภูมิสูงตั้งแต่ 2,250–4,500 oC
4. แก่นโลก (core)
4.1 แก่นโลกชั้นนอก คือ มีความลึกประมาณ 2,900–
5,140 กิโลเมตรจากผิวโลกเป็นบริเวณที่คลื่น P มีความเร็วเพิ่มขึ้น
อย่างช้า ๆ ในขณะที่คลื่น S ไม่สามารถเคลื่อนที่ผ่านได้เนื่องจาก
แก่นโลกชั้นนอกประกอบด้วยสารที่มีสถานะเป็นของเหลว
4.2 แก่นโลกชั้นใน คือ คลื่น S จะสามารถเคลื่อนที่ได้อีก
ครั้งและคลื่นไหวสะเทือนทั้งสองนี้จะมีความเร็วค่อนข้างคงที่
เนื่องจากแก่นโลกชั้นในประกอบด้วยของแข็งที่มีเนื้อเดียวกันมี
ความลึกประมาณ 5,140 จนถึงจุดศูนย์กลางของโลก (6,371)
1
2
ยังแบ่งโครงสร้างโลกโดยส่วนประกอบทางกายภาพและ
ทางเคมีของหิน รวมทั้งสารต่าง ๆ ออกได้เป็น 3 ชั้น ได้แก่
1. ชั้นเปลือกโลก (Crust)
2. ชั้นเนื้อโลก (Mantle)
3. ชั้นแก่นโลก (Core)
1) เปลือกโลกภาคพื้นทวีป (continental crust) หมายถึง ส่วน
ที่เป็นแผ่นดินทั้งหมด หนาประมาณ 35-40 กม. บางบริเวณอาจหนาถึง
70 กม. เช่น เทือกเขาหิมาลัย ประกอบด้วยธาตุซิลิคอน (Si) และ
อะลูมิเนียม (Al) เป็นส่วนใหญ่
2) เปลือกโลกภาคพื้นมหาสมุทร (oceanic crust) หมายถึง
เปลือกโลกส่วนที่ถูกปกคลุมด้วยน้้า หนาประมาณ 5-10 กม. ประกอบด้วย
ธาตุซิลิคอน (Si) และแมกนีเซียม (Mg) เป็นส่วนใหญ่
1. ชั้นเปลือกโลก (Crust) แบ่งออกได้เป็น 2 บริเวณ
จากการศึกษาคลื่นไหวสะเทือน สรุปได้ว่า เปลือกโลกประกอบด้วย 2 ชั้น คือ
1. ชั้นบน ประกอบด้วย หินแกรนิต ที่เรียกว่า หินไซอัล (sial)
2. ชั้นล่าง เป็นชั้นที่มีหินบะซอลต์ ที่เรียกว่า หินไซมา (sima)
2. เนื้อโลก (Mantle) หนาประมาณ 2,895 กิโลเมตร
ประกอบด้วย แร่ธาตุที่เป็นของแข็ง มีแร่โอลิวีน (Olivine) จานวนมาก
(อปก. Mg Fe และซิลิกา, (Mg, Fe)2SiO4)
เนื้อโลกส่วนอื่น ๆ จะเป็นหินที่มีแร่ที่มี อปก
ภายในที่มีคุณสมบัติแข็ง ความหนาแน่นสูง
ทนต่อความดันและอุณหภูมิที่เกิดขึ้นภายใน
เนื้อโลกได้
มีหินหนืดที่เรียกว่า แมกมาซึ่งหมุนวนอยู่ภายในโลก
อย่างช้า ๆ ชั้นเนื้อโลกที่อยู่ถัดลงไปอีกเป็นชั้นล่างสุดอยู่ที่
ความลึกตั้งแต่ 350 – 2,900 กิโลเมตร เป็นชั้นที่เป็น
ของแข็งร้อนแต่แน่นและหนืดกว่า ตอนบนมีอุณหภูมิสูง
ตั้งแต่ประมาณ 2,250 – 4,500 ๐C
รอยต่อระหว่างเปลือกโลกกับเนื้อโลก หรือแนวแบ่งเขตโมโฮโรวิซิก
แนวแบ่งเขตโมโฮโรวิซิก (Mohorovicic discontinuity)
คือ พื้นผิวที่อยู่ระหว่างชั้นเปลือกโลกและชั้นเนื้อโลก ซึ่งไม่สามารถ
ศึกษาระดับความลึกของชั้นรอยต่อได้ จึงต้องอาศัยความรู้จาก
ความเร็วของคลื่นไหวสะเทือนที่มีความเร็วเพิ่มขึ้น
P wave เพิ่มเป็น 8 กม./วินาที
S wave เพิ่มเป็น 4.5 กม./วินาที
ทาให้ทราบรอยต่อ ว่ามีความหนาประมาณ 0.1-0.5 กม.
มีความดันสูง 3-4 ล้านเท่าของ atm ที่ระดับน้าทะเล
แบ่งออกเป็น 2 ส่วน คือ
3.1 แก่นโลกชั้นนอก (Outer Core) มีความลึกตั้งแต่
2,900–5,140 กิโลเมตร จากผิวโลก คลื่น P มีความเร็วเพิ่มขึ้น
อย่างช้า ๆ ในขณะที่คลื่น S ไม่สามารถเคลื่อนที่ผ่านชั้น
ดังกล่าวได้ มี เหล็กและนิกเกิล ในสภาพหลอมละลาย
3. แก่นโลก (Core)
3.2 แก่นโลกชั้นใน (Inner Core) ลึกถัดจากชั้นนอกลงไป
ถึงใจกลางโลก ที่ระดับความลึกประมาณ 5,140 กิโลเมตรจาก
ผิวโลก คลื่น P จะมีความเร็วเพิ่มขึ้น และเกิดคลื่น S เคลื่อนที่
อีกครั้งและคลื่นสั่นสะเทือนทั้ง 2 จะเคลื่อนที่ไปยังจุดศูนย์กลาง
ของโลก เนื่องจากองค์ประกอบคล้ายแก่นโลกชั้นนอกแต่อยู่ใน
สภาพของแข็ง มีความดันและอุณหภูมิสูงมากถึง 6,000 C
จากการที่แก่นโลกมีธาตุเหล็กเป็นองค์ประกอบจานวนมาก
ทาให้นักวิทยาศาสตร์สันนิษฐานว่า สนามแม่เหล็กโลกน่าจะ
เกิดขึ้นจากกระบวนการต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นในแก่นโลก
P wave shadow zone
S wave shadow zone
The End

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

บทที่ 6 ดาวฤกษ์ (star)
บทที่ 6   ดาวฤกษ์ (star)บทที่ 6   ดาวฤกษ์ (star)
บทที่ 6 ดาวฤกษ์ (star)Pinutchaya Nakchumroon
 
ธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบwebsite22556
 
Astronomy 03
Astronomy 03Astronomy 03
Astronomy 03Chay Kung
 
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 2_บทที่ 5 ทรัพยากรธรณี
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 2_บทที่ 5 ทรัพยากรธรณีโลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 2_บทที่ 5 ทรัพยากรธรณี
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 2_บทที่ 5 ทรัพยากรธรณีsoysuwanyuennan
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)สำเร็จ นางสีคุณ
 
แบบทดสอบเซลล์
แบบทดสอบเซลล์แบบทดสอบเซลล์
แบบทดสอบเซลล์Wichai Likitponrak
 
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะแบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะJariya Jaiyot
 
5.แหล่งน้ำgs ผิวดินบาดาลใช้ประโยชน์
5.แหล่งน้ำgs ผิวดินบาดาลใช้ประโยชน์5.แหล่งน้ำgs ผิวดินบาดาลใช้ประโยชน์
5.แหล่งน้ำgs ผิวดินบาดาลใช้ประโยชน์Wichai Likitponrak
 
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1Wijitta DevilTeacher
 
บทที่ 6 ดาวฤกษ์
บทที่ 6 ดาวฤกษ์บทที่ 6 ดาวฤกษ์
บทที่ 6 ดาวฤกษ์Ta Lattapol
 
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศSupaluk Juntap
 
ระบบขับถ่าย ม.2
ระบบขับถ่าย ม.2ระบบขับถ่าย ม.2
ระบบขับถ่าย ม.2Sukanya Nak-on
 
ธรณีประวัติ
ธรณีประวัติธรณีประวัติ
ธรณีประวัติพัน พัน
 
ฟิสิกส์นิวเคลียร์
ฟิสิกส์นิวเคลียร์ฟิสิกส์นิวเคลียร์
ฟิสิกส์นิวเคลียร์Chanthawan Suwanhitathorn
 
บทที่4โลกของเราม 2
บทที่4โลกของเราม 2บทที่4โลกของเราม 2
บทที่4โลกของเราม 2Wichai Likitponrak
 
เฉลยแบบทดสอบย่อยครั้งที่ 1 เรื่องกล้องและเซลล์
เฉลยแบบทดสอบย่อยครั้งที่ 1 เรื่องกล้องและเซลล์เฉลยแบบทดสอบย่อยครั้งที่ 1 เรื่องกล้องและเซลล์
เฉลยแบบทดสอบย่อยครั้งที่ 1 เรื่องกล้องและเซลล์Phattarawan Wai
 

Was ist angesagt? (20)

บทที่ 6 ดาวฤกษ์ (star)
บทที่ 6   ดาวฤกษ์ (star)บทที่ 6   ดาวฤกษ์ (star)
บทที่ 6 ดาวฤกษ์ (star)
 
ธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบ
 
Astronomy 03
Astronomy 03Astronomy 03
Astronomy 03
 
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 2_บทที่ 5 ทรัพยากรธรณี
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 2_บทที่ 5 ทรัพยากรธรณีโลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 2_บทที่ 5 ทรัพยากรธรณี
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 2_บทที่ 5 ทรัพยากรธรณี
 
หน่วยที่ 1 ไฟฟ้าฟ้าสถิต
หน่วยที่ 1 ไฟฟ้าฟ้าสถิตหน่วยที่ 1 ไฟฟ้าฟ้าสถิต
หน่วยที่ 1 ไฟฟ้าฟ้าสถิต
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
 
แบบทดสอบเซลล์
แบบทดสอบเซลล์แบบทดสอบเซลล์
แบบทดสอบเซลล์
 
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะแบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
 
Physics atom part 3
Physics atom part 3Physics atom part 3
Physics atom part 3
 
5.แหล่งน้ำgs ผิวดินบาดาลใช้ประโยชน์
5.แหล่งน้ำgs ผิวดินบาดาลใช้ประโยชน์5.แหล่งน้ำgs ผิวดินบาดาลใช้ประโยชน์
5.แหล่งน้ำgs ผิวดินบาดาลใช้ประโยชน์
 
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
 
โลกของเรา (The Earth)
โลกของเรา (The Earth)โลกของเรา (The Earth)
โลกของเรา (The Earth)
 
บทที่ 6 ดาวฤกษ์
บทที่ 6 ดาวฤกษ์บทที่ 6 ดาวฤกษ์
บทที่ 6 ดาวฤกษ์
 
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
 
ระบบขับถ่าย ม.2
ระบบขับถ่าย ม.2ระบบขับถ่าย ม.2
ระบบขับถ่าย ม.2
 
ธรณีประวัติ
ธรณีประวัติธรณีประวัติ
ธรณีประวัติ
 
ฟิสิกส์นิวเคลียร์
ฟิสิกส์นิวเคลียร์ฟิสิกส์นิวเคลียร์
ฟิสิกส์นิวเคลียร์
 
Earthscience
EarthscienceEarthscience
Earthscience
 
บทที่4โลกของเราม 2
บทที่4โลกของเราม 2บทที่4โลกของเราม 2
บทที่4โลกของเราม 2
 
เฉลยแบบทดสอบย่อยครั้งที่ 1 เรื่องกล้องและเซลล์
เฉลยแบบทดสอบย่อยครั้งที่ 1 เรื่องกล้องและเซลล์เฉลยแบบทดสอบย่อยครั้งที่ 1 เรื่องกล้องและเซลล์
เฉลยแบบทดสอบย่อยครั้งที่ 1 เรื่องกล้องและเซลล์
 

Andere mochten auch

Astronomy 01
Astronomy 01Astronomy 01
Astronomy 01Chay Kung
 
(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท พื้นฐานโลกดาราศาสตร์และอวกาศ
(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท พื้นฐานโลกดาราศาสตร์และอวกาศ(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท พื้นฐานโลกดาราศาสตร์และอวกาศ
(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท พื้นฐานโลกดาราศาสตร์และอวกาศKruPa Jggdd
 
(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท เพิ่มเติมโลกดาราศาสตร์และอวกาศ1
(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท เพิ่มเติมโลกดาราศาสตร์และอวกาศ1(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท เพิ่มเติมโลกดาราศาสตร์และอวกาศ1
(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท เพิ่มเติมโลกดาราศาสตร์และอวกาศ1KruPa Jggdd
 
(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท เพิ่มเติมโลกดาราศาสตร์และอวกาศ2
(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท เพิ่มเติมโลกดาราศาสตร์และอวกาศ2(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท เพิ่มเติมโลกดาราศาสตร์และอวกาศ2
(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท เพิ่มเติมโลกดาราศาสตร์และอวกาศ2KruPa Jggdd
 
เล่มที่ 3 แนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้
เล่มที่ 3 แนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้เล่มที่ 3 แนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้
เล่มที่ 3 แนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้Chay Kung
 
เล่ม 6 แนวทางการพัฒนาและประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน ตามหลักสูตรแกนกล...
เล่ม 6 แนวทางการพัฒนาและประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน ตามหลักสูตรแกนกล...เล่ม 6 แนวทางการพัฒนาและประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน ตามหลักสูตรแกนกล...
เล่ม 6 แนวทางการพัฒนาและประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน ตามหลักสูตรแกนกล...Chay Kung
 
ตัวอย่างข้อสอบการรู้เรื่องการอ่าน สำหรับการสอบ PISA
ตัวอย่างข้อสอบการรู้เรื่องการอ่าน สำหรับการสอบ PISAตัวอย่างข้อสอบการรู้เรื่องการอ่าน สำหรับการสอบ PISA
ตัวอย่างข้อสอบการรู้เรื่องการอ่าน สำหรับการสอบ PISAChay Kung
 
เล่มที่ 2 แนวทางการจัดการเรียนรู้
เล่มที่ 2 แนวทางการจัดการเรียนรู้เล่มที่ 2 แนวทางการจัดการเรียนรู้
เล่มที่ 2 แนวทางการจัดการเรียนรู้Chay Kung
 
แนวทางการตรวจสอบองค์ประกอบหลักสูตรสถานศึกษา
แนวทางการตรวจสอบองค์ประกอบหลักสูตรสถานศึกษาแนวทางการตรวจสอบองค์ประกอบหลักสูตรสถานศึกษา
แนวทางการตรวจสอบองค์ประกอบหลักสูตรสถานศึกษาChay Kung
 
เล่มที่ 1 แนวทางการบริหารจัดการหลักสูตร
เล่มที่ 1 แนวทางการบริหารจัดการหลักสูตรเล่มที่ 1 แนวทางการบริหารจัดการหลักสูตร
เล่มที่ 1 แนวทางการบริหารจัดการหลักสูตรChay Kung
 
Astronomy VII
Astronomy VIIAstronomy VII
Astronomy VIIChay Kung
 
Astronomy 05
Astronomy 05Astronomy 05
Astronomy 05Chay Kung
 
เล่มที่ 4 แนวทางการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
เล่มที่ 4 แนวทางการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนเล่มที่ 4 แนวทางการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
เล่มที่ 4 แนวทางการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนChay Kung
 
Plate tectonics
Plate tectonicsPlate tectonics
Plate tectonicsChay Kung
 
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑Chay Kung
 
เล่ม 5 แนวทางการพัฒนาการวัดและประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
เล่ม 5 แนวทางการพัฒนาการวัดและประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์เล่ม 5 แนวทางการพัฒนาการวัดและประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
เล่ม 5 แนวทางการพัฒนาการวัดและประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์Chay Kung
 
Astronomy 04
Astronomy 04Astronomy 04
Astronomy 04Chay Kung
 
Astronomy VI
Astronomy VIAstronomy VI
Astronomy VIChay Kung
 
สรุป วิชาโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ
สรุป วิชาโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศสรุป วิชาโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ
สรุป วิชาโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศสิปป์แสง สุขผล
 

Andere mochten auch (20)

Astronomy 01
Astronomy 01Astronomy 01
Astronomy 01
 
(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท พื้นฐานโลกดาราศาสตร์และอวกาศ
(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท พื้นฐานโลกดาราศาสตร์และอวกาศ(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท พื้นฐานโลกดาราศาสตร์และอวกาศ
(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท พื้นฐานโลกดาราศาสตร์และอวกาศ
 
(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท เพิ่มเติมโลกดาราศาสตร์และอวกาศ1
(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท เพิ่มเติมโลกดาราศาสตร์และอวกาศ1(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท เพิ่มเติมโลกดาราศาสตร์และอวกาศ1
(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท เพิ่มเติมโลกดาราศาสตร์และอวกาศ1
 
(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท เพิ่มเติมโลกดาราศาสตร์และอวกาศ2
(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท เพิ่มเติมโลกดาราศาสตร์และอวกาศ2(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท เพิ่มเติมโลกดาราศาสตร์และอวกาศ2
(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท เพิ่มเติมโลกดาราศาสตร์และอวกาศ2
 
เล่มที่ 3 แนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้
เล่มที่ 3 แนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้เล่มที่ 3 แนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้
เล่มที่ 3 แนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้
 
เล่ม 6 แนวทางการพัฒนาและประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน ตามหลักสูตรแกนกล...
เล่ม 6 แนวทางการพัฒนาและประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน ตามหลักสูตรแกนกล...เล่ม 6 แนวทางการพัฒนาและประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน ตามหลักสูตรแกนกล...
เล่ม 6 แนวทางการพัฒนาและประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน ตามหลักสูตรแกนกล...
 
Astronomy V
Astronomy VAstronomy V
Astronomy V
 
ตัวอย่างข้อสอบการรู้เรื่องการอ่าน สำหรับการสอบ PISA
ตัวอย่างข้อสอบการรู้เรื่องการอ่าน สำหรับการสอบ PISAตัวอย่างข้อสอบการรู้เรื่องการอ่าน สำหรับการสอบ PISA
ตัวอย่างข้อสอบการรู้เรื่องการอ่าน สำหรับการสอบ PISA
 
เล่มที่ 2 แนวทางการจัดการเรียนรู้
เล่มที่ 2 แนวทางการจัดการเรียนรู้เล่มที่ 2 แนวทางการจัดการเรียนรู้
เล่มที่ 2 แนวทางการจัดการเรียนรู้
 
แนวทางการตรวจสอบองค์ประกอบหลักสูตรสถานศึกษา
แนวทางการตรวจสอบองค์ประกอบหลักสูตรสถานศึกษาแนวทางการตรวจสอบองค์ประกอบหลักสูตรสถานศึกษา
แนวทางการตรวจสอบองค์ประกอบหลักสูตรสถานศึกษา
 
เล่มที่ 1 แนวทางการบริหารจัดการหลักสูตร
เล่มที่ 1 แนวทางการบริหารจัดการหลักสูตรเล่มที่ 1 แนวทางการบริหารจัดการหลักสูตร
เล่มที่ 1 แนวทางการบริหารจัดการหลักสูตร
 
Astronomy VII
Astronomy VIIAstronomy VII
Astronomy VII
 
Astronomy 05
Astronomy 05Astronomy 05
Astronomy 05
 
เล่มที่ 4 แนวทางการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
เล่มที่ 4 แนวทางการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนเล่มที่ 4 แนวทางการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
เล่มที่ 4 แนวทางการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
 
Plate tectonics
Plate tectonicsPlate tectonics
Plate tectonics
 
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
 
เล่ม 5 แนวทางการพัฒนาการวัดและประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
เล่ม 5 แนวทางการพัฒนาการวัดและประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์เล่ม 5 แนวทางการพัฒนาการวัดและประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
เล่ม 5 แนวทางการพัฒนาการวัดและประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
 
Astronomy 04
Astronomy 04Astronomy 04
Astronomy 04
 
Astronomy VI
Astronomy VIAstronomy VI
Astronomy VI
 
สรุป วิชาโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ
สรุป วิชาโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศสรุป วิชาโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ
สรุป วิชาโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ
 

Ähnlich wie Astronomy 02

โลกเเละการเปลี่ยนเเปลง
โลกเเละการเปลี่ยนเเปลงโลกเเละการเปลี่ยนเเปลง
โลกเเละการเปลี่ยนเเปลงAnuchitKongsui
 
วิชา ดาราศาสตร์ บทที่ 1 2 3
วิชา ดาราศาสตร์ บทที่ 1 2 3 วิชา ดาราศาสตร์ บทที่ 1 2 3
วิชา ดาราศาสตร์ บทที่ 1 2 3 น้ำ' เพชร
 
โลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงโลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงnasanunwittayakom
 
โลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงโลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงkalita123
 
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก - 2559
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก - 2559บทที่ 1 โครงสร้างของโลก - 2559
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก - 2559Pinutchaya Nakchumroon
 
โครงสร้างโลกและการกำเนิดโลก
โครงสร้างโลกและการกำเนิดโลกโครงสร้างโลกและการกำเนิดโลก
โครงสร้างโลกและการกำเนิดโลกttt ttt
 
ภูมิศาสตร์มอปลาย
ภูมิศาสตร์มอปลายภูมิศาสตร์มอปลาย
ภูมิศาสตร์มอปลายKroo Mngschool
 
โครงสร้างโลก บท1
โครงสร้างโลก บท1โครงสร้างโลก บท1
โครงสร้างโลก บท1PornPimon Kwang
 
ดวงจันทน์ของดาวพฤหัสบดี
ดวงจันทน์ของดาวพฤหัสบดีดวงจันทน์ของดาวพฤหัสบดี
ดวงจันทน์ของดาวพฤหัสบดีKrissanachai Sararam
 

Ähnlich wie Astronomy 02 (20)

โลกเเละการเปลี่ยนเเปลง
โลกเเละการเปลี่ยนเเปลงโลกเเละการเปลี่ยนเเปลง
โลกเเละการเปลี่ยนเเปลง
 
วิชา ดาราศาสตร์ บทที่ 1 2 3
วิชา ดาราศาสตร์ บทที่ 1 2 3 วิชา ดาราศาสตร์ บทที่ 1 2 3
วิชา ดาราศาสตร์ บทที่ 1 2 3
 
โลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงโลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลง
 
โลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงโลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลง
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะ
 
42101 3
42101 342101 3
42101 3
 
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก - 2559
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก - 2559บทที่ 1 โครงสร้างของโลก - 2559
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก - 2559
 
โลกของเรา
โลกของเราโลกของเรา
โลกของเรา
 
โครงสร้างโลกและการกำเนิดโลก
โครงสร้างโลกและการกำเนิดโลกโครงสร้างโลกและการกำเนิดโลก
โครงสร้างโลกและการกำเนิดโลก
 
Earth1
Earth1Earth1
Earth1
 
Earth1
Earth1Earth1
Earth1
 
Earth1
Earth1Earth1
Earth1
 
Contentastrounit4
Contentastrounit4Contentastrounit4
Contentastrounit4
 
Pim
PimPim
Pim
 
Pim
PimPim
Pim
 
ธรณีวิทยา(1)
ธรณีวิทยา(1)ธรณีวิทยา(1)
ธรณีวิทยา(1)
 
โลก1
โลก1โลก1
โลก1
 
ภูมิศาสตร์มอปลาย
ภูมิศาสตร์มอปลายภูมิศาสตร์มอปลาย
ภูมิศาสตร์มอปลาย
 
โครงสร้างโลก บท1
โครงสร้างโลก บท1โครงสร้างโลก บท1
โครงสร้างโลก บท1
 
ดวงจันทน์ของดาวพฤหัสบดี
ดวงจันทน์ของดาวพฤหัสบดีดวงจันทน์ของดาวพฤหัสบดี
ดวงจันทน์ของดาวพฤหัสบดี
 

Astronomy 02

  • 1. รายวิชาโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ พื้นฐาน บทที่ 1 โครงสร้างโลก ณัฐพงษ์ บุญปอง (B.Ed./M.Ed.)Bodindecha (Sing Singhaseni) School
  • 2.
  • 3.
  • 4.
  • 6. Earth - Part of Solar system - 4,600 million years ago Solar system (Chapter 7)
  • 8. 1.1 การศึกษาโครงสร้าง ทางตรง การขุดเจาะสารวจ - ชั้นหินโอฟีโอไลต์ - หินภูเขาไฟ อปก. ทางเคมี อุกกาบาต หินดวงจันทร์
  • 10. ทางอ้อม ใช้ความรู้ทางธรณีฟิสิกส์ - การใช้เครื่องมือวัดคลื่นแผ่นดินไหว - การวัดความเป็นแม่เหล็กของโลก - การวัดค่าแรงโน้มถ่วงบริเวณผิวโลก ศึกษาจากคลื่นไหวสะเทือน เช่น การทดลองนิวเคลียร์
  • 12. คลื่นไหวสะเทือน แบ่งเป็น 2 ประเภท คือ คลื่นในตัวกลาง คลื่นพื้นผิว คลื่นปฐมภูมิ (Primary wave, P wave) คลื่นทุติยภูมิ (Secondary wave, S wave) คลื่นเรลีย์ (LR) คลื่นเลิฟ (LQ) Seismic wave
  • 13.
  • 14. P wave - ผ่านตัวกลางได้ทั้ง (s) (l) และ (g) - คลื่นตามยาว -   4-7 km/s คลื่นเส้นตรง คลื่นจุด
  • 15. S wave - ผ่านตัวกลางเฉพาะ (s) เท่านั้น - คลื่นตามขวาง -   2-5 km/s คลื่นเส้นตรง คลื่นจุด
  • 16. : P wave > S wave เมื่อคลื่นทั้ง 2 เคลื่อนที่ผ่านไปยังส่วนต่าง ๆ ของโลกก็ จะเกิดการหักเหหรือเกิดการสะท้อนตรงบริเวณรอยต่อของ โครงสร้างโลก ที่ประกอบด้วยธาตุ สารต่าง ๆ หรือหิน ที่มี คุณสมบัติแตกต่างกัน จากหลักการดังกล่าวนามาวิเคราะห์ หาโครงสร้างของโลกได้ ตัวอย่างเช่น
  • 17.  ถ้าโครงสร้างภายในโลกประกอบด้วยของแข็งที่เป็นเนื้อ เดียวกันตลอด P wave & S wave จะเคลื่อนที่ด้วย  คงที่ ผิว โลกไปยังแก่นโลก  ที่ระดับความลึก ประมาณ 100-400 kms เรียกว่า ชั้นฐาน ธรณีภาค P wave & S wave จะเคลื่อนที่ด้วย  ไม่คงที่ ชั้นนี้เรียกว่า บริเวณความเร็วต่า (low velocity zone) ที่ระดับความลึก ประมาณ 2,900 kms P wave & S wave จะ เคลื่อนที่ด้วย  ที่ลดลงอย่างมาก, S wave ไม่สามารถเคลื่อนที่ ต่อไปได้ เพราะแก่นโลกชั้นนอกมีสถานะเป็น (l)
  • 18. ที่ระดับความลึก ประมาณ 660 และ 5,140 kms P wave & S wave จะเคลื่อนที่ด้วย  ที่เพิ่มขึ้น ที่ระดับความลึก 5,140 kms ลงไป P wave & S wave จะเคลื่อนที่ด้วย  ที่เพิ่มขึ้นอย่างคงที่
  • 19.
  • 20. 1.2 การแบ่งโครงสร้างโลก แบ่งออกได้ 4 ชั้น โดยใช้เกณฑ์การเปลี่ยนแปลง ความเร็ว ของคลื่นไหวสะเทือน ดังนี้ 1. ธรณีภาค (lithosphere) 2. ฐานธรณีภาค (asthenosphere) 3. มีโซสเฟียร์ (mesosphere) 4. แก่นโลก (core)
  • 21. 1. ธรณีภาค (lithosphere) - คลื่น P และ S เคลื่อนผ่านด้วยความเร็วที่เพิ่มขึ้น - หนาประมาณ 100 kms - ประกอบด้วย หินที่เป็นของแข็ง
  • 22.
  • 23. 2. ฐานธรณีภาค (asthenosphere) มีความเร็วไม่สม่าเสมอ แบ่งเป็น 2 บริเวณ คือ (1) เขตคลื่นไหวสะเทือนมีความเร็วลดลง (low velocity zone) ลึก 100-400 kms ประกอบด้วยหินเหลวหนืด (2) เขตที่มีการเปลี่ยนแปลง (transitional zone) ลึก 400-600 kms ประกอบด้วยหินที่แข็งมาก
  • 24. 21
  • 25. 3. มีโซสเฟียร์ (mesosphere) ลึก 660-2,900 kms ประกอบด้วยหินหรือสารที่มีสถานะเป็นของแข็ง มีอุณหภูมิสูงตั้งแต่ 2,250–4,500 oC
  • 26. 4. แก่นโลก (core) 4.1 แก่นโลกชั้นนอก คือ มีความลึกประมาณ 2,900– 5,140 กิโลเมตรจากผิวโลกเป็นบริเวณที่คลื่น P มีความเร็วเพิ่มขึ้น อย่างช้า ๆ ในขณะที่คลื่น S ไม่สามารถเคลื่อนที่ผ่านได้เนื่องจาก แก่นโลกชั้นนอกประกอบด้วยสารที่มีสถานะเป็นของเหลว 4.2 แก่นโลกชั้นใน คือ คลื่น S จะสามารถเคลื่อนที่ได้อีก ครั้งและคลื่นไหวสะเทือนทั้งสองนี้จะมีความเร็วค่อนข้างคงที่ เนื่องจากแก่นโลกชั้นในประกอบด้วยของแข็งที่มีเนื้อเดียวกันมี ความลึกประมาณ 5,140 จนถึงจุดศูนย์กลางของโลก (6,371)
  • 27. 1 2
  • 28. ยังแบ่งโครงสร้างโลกโดยส่วนประกอบทางกายภาพและ ทางเคมีของหิน รวมทั้งสารต่าง ๆ ออกได้เป็น 3 ชั้น ได้แก่ 1. ชั้นเปลือกโลก (Crust) 2. ชั้นเนื้อโลก (Mantle) 3. ชั้นแก่นโลก (Core)
  • 29.
  • 30. 1) เปลือกโลกภาคพื้นทวีป (continental crust) หมายถึง ส่วน ที่เป็นแผ่นดินทั้งหมด หนาประมาณ 35-40 กม. บางบริเวณอาจหนาถึง 70 กม. เช่น เทือกเขาหิมาลัย ประกอบด้วยธาตุซิลิคอน (Si) และ อะลูมิเนียม (Al) เป็นส่วนใหญ่ 2) เปลือกโลกภาคพื้นมหาสมุทร (oceanic crust) หมายถึง เปลือกโลกส่วนที่ถูกปกคลุมด้วยน้้า หนาประมาณ 5-10 กม. ประกอบด้วย ธาตุซิลิคอน (Si) และแมกนีเซียม (Mg) เป็นส่วนใหญ่ 1. ชั้นเปลือกโลก (Crust) แบ่งออกได้เป็น 2 บริเวณ จากการศึกษาคลื่นไหวสะเทือน สรุปได้ว่า เปลือกโลกประกอบด้วย 2 ชั้น คือ 1. ชั้นบน ประกอบด้วย หินแกรนิต ที่เรียกว่า หินไซอัล (sial) 2. ชั้นล่าง เป็นชั้นที่มีหินบะซอลต์ ที่เรียกว่า หินไซมา (sima)
  • 31. 2. เนื้อโลก (Mantle) หนาประมาณ 2,895 กิโลเมตร ประกอบด้วย แร่ธาตุที่เป็นของแข็ง มีแร่โอลิวีน (Olivine) จานวนมาก (อปก. Mg Fe และซิลิกา, (Mg, Fe)2SiO4) เนื้อโลกส่วนอื่น ๆ จะเป็นหินที่มีแร่ที่มี อปก ภายในที่มีคุณสมบัติแข็ง ความหนาแน่นสูง ทนต่อความดันและอุณหภูมิที่เกิดขึ้นภายใน เนื้อโลกได้
  • 32. มีหินหนืดที่เรียกว่า แมกมาซึ่งหมุนวนอยู่ภายในโลก อย่างช้า ๆ ชั้นเนื้อโลกที่อยู่ถัดลงไปอีกเป็นชั้นล่างสุดอยู่ที่ ความลึกตั้งแต่ 350 – 2,900 กิโลเมตร เป็นชั้นที่เป็น ของแข็งร้อนแต่แน่นและหนืดกว่า ตอนบนมีอุณหภูมิสูง ตั้งแต่ประมาณ 2,250 – 4,500 ๐C
  • 33. รอยต่อระหว่างเปลือกโลกกับเนื้อโลก หรือแนวแบ่งเขตโมโฮโรวิซิก แนวแบ่งเขตโมโฮโรวิซิก (Mohorovicic discontinuity) คือ พื้นผิวที่อยู่ระหว่างชั้นเปลือกโลกและชั้นเนื้อโลก ซึ่งไม่สามารถ ศึกษาระดับความลึกของชั้นรอยต่อได้ จึงต้องอาศัยความรู้จาก ความเร็วของคลื่นไหวสะเทือนที่มีความเร็วเพิ่มขึ้น P wave เพิ่มเป็น 8 กม./วินาที S wave เพิ่มเป็น 4.5 กม./วินาที ทาให้ทราบรอยต่อ ว่ามีความหนาประมาณ 0.1-0.5 กม.
  • 34.
  • 35. มีความดันสูง 3-4 ล้านเท่าของ atm ที่ระดับน้าทะเล แบ่งออกเป็น 2 ส่วน คือ 3.1 แก่นโลกชั้นนอก (Outer Core) มีความลึกตั้งแต่ 2,900–5,140 กิโลเมตร จากผิวโลก คลื่น P มีความเร็วเพิ่มขึ้น อย่างช้า ๆ ในขณะที่คลื่น S ไม่สามารถเคลื่อนที่ผ่านชั้น ดังกล่าวได้ มี เหล็กและนิกเกิล ในสภาพหลอมละลาย 3. แก่นโลก (Core)
  • 36. 3.2 แก่นโลกชั้นใน (Inner Core) ลึกถัดจากชั้นนอกลงไป ถึงใจกลางโลก ที่ระดับความลึกประมาณ 5,140 กิโลเมตรจาก ผิวโลก คลื่น P จะมีความเร็วเพิ่มขึ้น และเกิดคลื่น S เคลื่อนที่ อีกครั้งและคลื่นสั่นสะเทือนทั้ง 2 จะเคลื่อนที่ไปยังจุดศูนย์กลาง ของโลก เนื่องจากองค์ประกอบคล้ายแก่นโลกชั้นนอกแต่อยู่ใน สภาพของแข็ง มีความดันและอุณหภูมิสูงมากถึง 6,000 C จากการที่แก่นโลกมีธาตุเหล็กเป็นองค์ประกอบจานวนมาก ทาให้นักวิทยาศาสตร์สันนิษฐานว่า สนามแม่เหล็กโลกน่าจะ เกิดขึ้นจากกระบวนการต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นในแก่นโลก
  • 37.