SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 35
Downloaden Sie, um offline zu lesen
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ - ๖ เล่ม ๓
703
แนวการจัดกิจกรรมกระบวนการเรียนรู้
เพื่อสร้างคุณลักษณะ
ดี เก่ง มีสุข
๖
หน่วยการเรียนรู้ที่
มรดกไทย
เรื่อง สารเคมีที่ใช้ในชีวิตประจำ�วัน
สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
ชั้น ป.๔ - ๖
คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง
704
การวิเคราะห์แผนผังจากสาระการเรียนรู้
มรดกไทย
(สารที่ใช้ใน
ชีวิตประจำ�วัน)
การกำ�จัดแมลง
และศัตรูพืช
การจำ�แนกสาร
การเปลี่ยนแปลงสาร
สารปรุงรสอาหาร
สารแต่งสีอาหาร
สารทำ�ความสะอาด
การแยกสารเนื้อผสม
การแยกสารเนื้อเดียว
การแยกสาร
การละลายสาร
การเกิดสารใหม่
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ - ๖ เล่ม ๓
705
๑.	มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ว ๓.๑	 เข้าใจสมบัติของสาร ความสัมพันธ์ระหว่างสมบัติของสารกับโครงสร้างและแรงยึดเหนี่ยว
ระหว่างอนุภาค มีกระบวนการสืบเสาะ หาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนำ�ความรู้ไปใช้ประโยชน์
ตัวชี้วัด
ป. ๖/๑	 ทดลองและอธิบายสมบัติของแข็ง ของเหลว และแก๊ส
ป. ๖/๒	 จำ�แนกสารเป็นกลุ่มโดยใช้สถานะหรือเกณฑ์อื่นที่กำ�หนดเอง
ป. ๖/๓	 ทดลองและอธิบายวิธีการแยกสารบางชนิดที่ผสมกัน โดยการร่อน การตกตะกอน การกรอง
การระเหิด การระเหยแห้ง
ป. ๖/๔	 สำ�รวจและจำ�แนกประเภทของสารต่างๆ ที่ใช้ในชีวิตประจำ�วัน โดยใช้สมบัติและการใช้ประโยชน์
ของสารเป็นเกณฑ์
ป. ๖/๕	 อภิปรายเลือกใช้สารแต่ละประเภทได้อย่างถูกต้องและปลอดภัย
มาตรฐาน ว ๓.๒	 เข้าใจหลักการและธรรมชาติของการเปลี่ยนแปลงสถานะของสาร การเกิดสารละลาย การ
เกิดปฏิกิริยา มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนำ�ความรู้ไปใช้ประโยชน์
ตัวชี้วัด
ป. ๖/๑	 ทดลองและอธิบายสมบัติของสาร เมื่อสารเกิดการละลายและเปลี่ยนสถานะ
ป. ๖/๒	 วิเคราะห์และอธิบายการเปลี่ยนแปลงที่ทำ�ให้เกิดสารใหม่และมีสมบัติเปลี่ยนแปลงไป
ป. ๖/๓	 อภิปรายการเปลี่ยนแปลงของสารที่ก่อให้เกิดผลต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
๒.	กำ�หนดสาระสำ�คัญของการเรียนรู้
	 ๑.	 การเปลี่ยนแปลงของสาร ได้แก่ การเปลี่ยนสถานะ การเกิดสารละลาย และการเกิดสารใหม่
	 ๒.	 เมื่อสารเกิดการเปลี่ยนแปลงเป็นสารละลายและเปลี่ยนสถานะ สารนั้นยังคงแสดงสมบัติของสารเดิมอยู่
ถ้าเป็นการเกิดสารใหม่ สมบัติของสารจะเปลี่ยนแปลงไปจากเดิม
	 ๓.	 การทำ�ให้สารเกิดการเปลี่ยนแปลงก่อให้เกิดผลต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อมและสามารถนำ�ไปใช้ประโยชน์
ในชีวิตประจำ�วันได้
	 ๔.	 สารบางชนิดที่ผสมกันอยู่ ถ้าต้องแยกออกจากกัน ต้องใช้วิธีการเหมาะสม เช่น การร่อนด้วยตะแกรง
การกรอง การทำ�ให้ตกตะกอน การโครมาโตรกราฟฟี การระเหิด การระเหยแห้ง
แผนการจัดการเรียนรู้
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖ มรดกไทย
เรื่อง สารที่ใช้ในชีวิตประจำ�วัน ระยะเวลาในการสอน ๑๓ ชั่วโมงป.๖
คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง
706
	 ๕.	 สารต่างๆ ที่ใช้ในชีวิตประจำ�วันมีหลายประเภท การนำ�สารแต่ละประเภทไปใช้ประโยชน์ ต้องเลือกใช้
ด้วยวิธีที่ถูกต้อง ปลอดภัย และตระหนักถึงสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
๓.	คุณลักษณะที่ต้องการพัฒนา
	 ๑.	 ให้ผู้เรียนเป็นคนดีโดยสร้างให้ผู้เรียนมีคุณลักษณะด้านคุณธรรมจริยธรรมที่พึงประสงค์ด้านความมุ่งมั่น
ขยันหมั่นเพียร ประหยัด อดออม มีความซื่อสัตย์
	 ๒.	 ให้ผู้เรียนเป็นคนเก่ง โดยมีความรู้ความเข้าใจ
	 	 –	 การละลายสาร
	 	 –	 การเกิดสารใหม่
	 	 –	 การแยกสารเนื้อผสม
	 	 –	 การแยกสารเนื้อเดียว
	 	 –	 การจำ�แนกประเภทสารในชีวิตประจำ�วัน
	 	 –	 สารปรุงรสอาหาร สารแต่งสีอาหาร สารทำ�ความสะอาด สารกำ�จัดแมลงและศัตรูพืช
	 ๓.	 ให้ผู้เรียนมีความสุข โดย
	 	 –	 เห็นคุณค่า และมีเจตนคติที่ดีต่อวิทยาศาสตร์ และสร้างผลงานอย่างสร้างสรรค์
	 	 –	 ภูมิใจในผลงานของตนเอง ชื่นชมผลงานของผู้อื่น
	 	 –	 มีความสนุกในการเรียนรู้ การทดลอง
๔.	การวางแผนการจัดกิจกรรมแบบบูรณาการ
คณิตศาสตร์
การบันทึกข้อมูล
การทดลอง
การงานอาชีพ
และเทคโนโลยี
ออกแบบประดิษฐ์
เครื่องกรองนํ้าอย่างง่าย
ศิลปะ
วาดภาพการทดลอง
ภาษาอังกฤษ
คำ�ศัพท์เกี่ยวกับสารที่ใช้
ในชีวิตประจำ�วัน
มรดกไทย
(สารที่ใช้ใน
ชีวิตประจำ�วัน)
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ - ๖ เล่ม ๓
707
๘
๗
๖
๕ ๔
๓
๒
๑
๕.	การวางแผนการจัดการเรียนรู้
๖.	รายละเอียดของกิจกรรม
	 ๑.	 ครูสนทนากับนักเรียนเกี่ยวกับสารที่ใช้ในชีวิตประจำ�วันในด้านการละลายนํ้าไม่ละลายนํ้าการเกิดสารใหม่
การแยกสาร การจำ�แนกสารที่ใช้ในชีวิตประจำ�วัน และการใช้สารให้ปลอดภัยต่อร่างกาย
	 ๒.	 นักเรียนร่วมกันอภิปรายสารในชีวิตประจำ�วันได้แก่การเปลี่ยนแปลงสารการแยกสารและการจำ�แนกสาร
ในชีวิตประจำ�วัน และการใช้สารให้ปลอดภัยต่อร่างกาย เขียนเป็น Mind Mapping
	 ๓.	 นักเรียนสืบค้นข้อมูลเรื่อง การเปลี่ยนแปลงของสาร การแยกสาร การใช้สารในชีวิตประจำ�วัน
	 ๔.	 นักเรียนปฏิบัติการทดลองเรื่อง
	 	 –	 การละลายสาร
	 	 –	 การเกิดสารใหม่
	 	 –	 การแยกสารเนื้อเดียว การแยกสารเนื้อผสม
	 	 –	 การตรวจสอบสารปรุงแต่งอาหาร
	 ๕.	 นักเรียนนำ�เสนอผลการทดลอง และสรุป นักเรียนปฏิบัติตามกิจกรรมใบงานที่ครูมอบหมาย
	 ๖.	 นักเรียนสร้างชิ้นงานตามความสนใจ
ครูสนทนากับนักเรียน
เกี่ยวกับสารในชีวิตประจำ�วัน
ในด้านการละลายนํ้าไม่ละลายนํ้า
–ซักถามการเกิดสารใหม่
–ซักถามการแยกสาร
–ซักถามการจำ�แนกสาร
นักเรียนปฏิบัติ
การทดลองเรื่อง
–การละลายสาร
–การเกิดสารใหม่
–การแยกสาร
–การทดสอบ
	 สารปรุงแต่งอาหาร
นักเรียนนำ�เสนอผลการ
ทดลอง
–	 นักเรียนปฏิบัติตาม
	 กิจกรรมใบงาน
	 ที่ครูมอบหมาย
นักเรียนสร้างชิ้นงานตาม
ความสนใจทำ�โครงงาน
	
นักเรียนนำ�เสนอผลงานของตนเอง
–	 ครูและนักเรียนร่วมกันแสดง
	 ความคิดเห็นและให้ข้อเสนอแนะ
ครูและนักเรียนประเมิน
ชิ้นงานนำ�ผลงานมาจัดแสดง
    ในชั้นเรียนและแลกเปลี่ยน
             ความรู้ซึ่งกันและกัน
ให้นักเรียนสืบค้นข้อมูลการ
เปลี่ยนแปลงของสารการแยกสาร
         และการจำ�แนกสาร
                 การใช้สารให้ปลอดภัย
              นักเรียนอภิปรายสารในชีวิต
         ประจำ�วันมีการเปลี่ยนแปลงสาร
การแยกสารและจำ�แนกสารได้อย่างไรให้
นักเรียนเขียนMindMapping
มรดกไทย
(สารที่ใช้ใน
ชีวิตประจำ�วัน)
คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง
708
	 ๗.	 นักเรียนนำ�เสนอผลงานของตนเอง ครูและนักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็น และให้ข้อเสนอแนะ
	 ๘.	 ครูและนักเรียนประเมินชิ้นงาน
	 ๙.	 นำ�ผลงานมาจัดและแสดงในชั้นเรียน และแลกเปลี่ยนความรู้ซึ่งกันและกัน
๗.	รายการอุปกรณ์ประกอบหนังสือวิทยาศาสตร์ ประถมศึกษาปีที่ ๔ - ๖
	 เรื่อง สารและสมบัติของสาร
ที่ รายการ จำ�นวน/ห้อง จำ�นวน/กลุ่ม
ราคา
โดยประมาณ
หมายเหตุ
๑ เส้นเอ็น ๑ ม้วน ๖๐ cm. ๕๐
๒ เส้นด้าย ๑ หลอด ๖๐ cm. ๕๐
๓ แถบยางยืด ๑ ห่อ ๖๐ cm. ๓๐
๔ ชุดทดลองการถ่ายโอนความร้อน ๑ ชุด ๑๕๐
๕ สายไฟ และคลิปปากจระเข้ ๑ ชุด ๓๐
๖ ถ่านไฟฉายพร้อมกระบะใส่ไฟฉาย ๑ ชุด ๑๐๐
๗ กระดาษลิตมัสสีแดง ๑ หลอด ๓ แผ่น ๘๐
๘ กระดาษลิตมัสสีนํ้าเงิน ๑ หลอด ๓ แผ่น ๘๐
๙ กระบอกตวง ๑๐๐ ml ๑ อัน ๒๑๐
๑๐ บีกเกอร์ ๒๕๐ ml Pyrex ๑ ใบ
ธรรมดา ๑ ใบ
๑๐๗
๗๘
๑๑ บีกเกอร์ ๑๐๐ ml ๕ ใบ ๓๖๕
๑๒ หลอดทดลอง ๑๐ ml ๕ หลอด ๕๐
๑๓ หลอดหยด ๒ อัน ๖
๑๔ ช้อนตักสารเบอร์ ๒ ๑ อัน ๒
๑๕ ลูกโป่งแบบต่างๆ ๑ ถุง ๕๐
๑๖ ผงฟู ๑ ถุง ๕๐
๑๗ กระดาษอะลูมิเนียม ๑๐ × ๑๐ cm. ๗๕
๑๘ ตะเกียงแอลกอฮอล์, ที่กั้นลม, ตะแกรงลวด ๑ ชุด ๙๑
๑๙ เทอร์มอมิเตอร์ ๑ อัน ๑๐๐
๒๐ สายวัด ๑ เส้น ๒๐
๒๑ แท่งแก้วคน ๑ อัน ๑๒
๒๒ กรวยแก้ว ๑ อัน ๔๗
๒๓ กระดาษกรอง wattman No. ๙๓ ๑ กล่อง ๑ แผ่น ๑๓๒
๒๔ เครื่องชั่ง ๑ เครื่อง ๕๑๐
๒๕ ถุงพลาสติก ½ Kg. ๒ ถุง ๕๐
๒๖ หลอดดูดพลาสติก ๑ ห่อ ๑ หลอด ๒๐
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ - ๖ เล่ม ๓
709
ที่ รายการ จำ�นวน/ห้อง จำ�นวน/กลุ่ม
ราคา
โดยประมาณ
หมายเหตุ
๒๗ ไม้จิ้มฟัน ๑ ห่อ ๕ อัน ๑๒
๒๘ จานหลุมพลาสติก ๑ จาน ๒๐
๒๙ ลวดหนีบกระดาษ ๑ กล่อง ๕ ตัว ๑๕
๓๐ แคลเซียมไฮดรอกไซด์ ๒๕๐ กรัม ๒๓
๓๑ กระบอกตวง ๑๐ ml ๑ อัน ๑๖๕
๓๒ โซดาซักผ้า ๑ ขวด ๓๕
๓๓ ถ้วยยูรีกา ๑ ใบ ๔๕
๓๔ นํ้าส้มสายชู ๑ ขวด ๒๐
๓๕ มะนาว ๓ ผล ๒๕
๓๖ นํ้าอัดลม ๑ ขวด ๑๒
๓๗ สบู่ ๑ ก้อน ๑๐
๓๘ ผงซักฟอก ๑ ห่อ ๑๐
๓๙ ซอสมะเขือเทศ ๑ ขวด ๓๐
๔๐ นํ้ายาทำ�ความสะอาดสุขภัณฑ์ชนิดนํ้า ๑ ขวด ๖๐
๔๑ นํ้ายาทำ�ความสะอาดสุขภัณฑ์ชนิดผง ๑ ขวด ๖๐
๔๒ นํ้าปลา ๑ ขวด ๑๕
๔๓ แชมพูสระผม ๑ ขวด ๒๐
รวม ๓,๑๒๒ บาท
๘.	การประเมินตามสภาพจริง
กิจกรรม/พฤติกรรม/ผลงานที่ต้องประเมิน วิธีการ เครื่องมือ
๑.	 สังเกตการเข้าร่วมกิจกรรม การเข้าร่วมปฏิบัติกิจกรรม การสังเกต แบบสังเกต การสัมภาษณ์
๒.	ตรวจผลงานเป็นกลุ่ม รายบุคคล ความถูกต้อง
	 ความสมบูรณ์ ความสะอาด ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
ตรวจผลงาน ใบกิจกรรม
๓.	การนำ�เสนอผลงาน การรายงาน การสังเกต แบบประเมินผลงาน
ผู้ประเมิน
–	 นักเรียนและเพื่อนนักเรียน
–	 ครู
–	 ผู้ปกครอง หรือผู้ที่เกี่ยวข้องอื่นๆ
คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง
710
๙.	สรุปผลการเรียนการสอน
............................................................................................................................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................................................................................................................................
w w w w w w w w
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ - ๖ เล่ม ๓
711
กลุ่มสาระการเรียนรู้
วิทยาศาสตร์
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖ มรดกไทย
เรื่อง การละลาย
ชื่อ..................................................................................................................ชั้น............................................เลขที่.................................
แผ่นที่
๑
ใบกิจกรรม
คำ�ชี้แจง	 ผลที่สังเกตได้จากการทำ�กิจกรรมเป็นดังนี้
ตารางบันทึกผลการทดลอง
สารที่ใช้ทดลอง การเปลี่ยนแปลงที่สังเกตได้
ชนิดของสารผสม
สารเนื้อเดียว สารเนื้อผสม
หลอดที่ ๑
นํ้าตาล + นํ้า
...........................................................................................................................
...........................................................................................................................
........................................
........................................
........................................
........................................
หลอดที่ ๒
เกลือ + นํ้า
...........................................................................................................................
...........................................................................................................................
........................................
........................................
........................................
........................................
หลอดที่ ๓
ทราย + นํ้า
...........................................................................................................................
...........................................................................................................................
........................................
........................................
........................................
........................................
หลอดที่ ๔
ดิน + นํ้า
...........................................................................................................................
...........................................................................................................................
........................................
........................................
........................................
........................................
สรุปผลการทดลองเกี่ยวกับการละลายได้ว่าอย่างไร
.................................................................................................................................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................................................................................................................................
w w w w w w w w
คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง
712
กลุ่มสาระการเรียนรู้
วิทยาศาสตร์
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖ มรดกไทย
เรื่อง การเกิดสารใหม่
ชื่อ..................................................................................................................ชั้น............................................เลขที่.................................
แผ่นที่
๒
ใบกิจกรรม
คำ�ชี้แจง	 ผลที่สังเกตได้จากการทำ�กิจกรรมเป็นดังนี้
ตารางบันทึกผลการทดลอง
วิธีทดลอง การเปลี่ยนแปลงที่สังเกตได้
ใส่ผงฟูลงในนํ้าส้มสายชู ..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
หยดสารละลายแอมโมเนียหอม
ลงในสารละลายจุนสี
..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
หยดนํ้าปูนใสลงใน
สารละลายผงฟู
..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
ผสมปุ๋ยแอมโมเนียมกับปูนขาว ..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
สรุปผลการทดลองเกี่ยวกับการเกิดสารใหม่ได้ว่าอย่างไไร
.................................................................................................................................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................................................................................................................................
w w w w w w w w
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ - ๖ เล่ม ๓
713
กลุ่มสาระการเรียนรู้
วิทยาศาสตร์
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖ มรดกไทย
เรื่อง การแยกสารเนื้อผสม
ชื่อ..................................................................................................................ชั้น............................................เลขที่.................................
แผ่นที่
๓
ใบกิจกรรม
คำ�ชี้แจง	 ผลที่สังเกตได้จากการทำ�กิจกรรมเป็นดังนี้
ตารางบันทึกผลการทดลอง
การทดลอง
ลักษณะของนํ้าที่สังเกตได้
ภาชนะใบที่ ๑ ภาชนะใบที่ ๒
๑.	 ตักนํ้าจากแหล่งนํ้าใส่ในภาชนะ ๒ ใบ
๒.	แกว่งสารส้มในภาชนะใบที่ ๑ จำ�นวน ๑๐ ครั้ง
	 ภาชนะใบที่ ๒ ไม่ได้แกว่งสารส้ม ตั้งไว้ ๑๐ นาที
สรุปผลการทดลองได้ว่าอย่างไร
.................................................................................................................................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................................................................................................................................
คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง
714
ตอนที่ ๒	 ตารางบันทึกผลการทดลอง
สารเนื้อผสม วิธีการที่ใช้แยกสาร ผลที่ได้
๑.	 ขนมสาคูถั่วดำ� ........................................................................................................
........................................................................................................
........................................................................................................
........................................................................................................
๒.	พิมเสนกับเกลือ ........................................................................................................
........................................................................................................
........................................................................................................
........................................................................................................
๓.	ดินกับนํ้า ........................................................................................................
........................................................................................................
........................................................................................................
........................................................................................................
๔.	นํ้าขุ่นจากคลอง ........................................................................................................
........................................................................................................
........................................................................................................
........................................................................................................
๕.	นํ้ามันกับนํ้า ........................................................................................................
........................................................................................................
........................................................................................................
........................................................................................................
สรุปผลการทดลองเกี่ยวกับการแยกสารเนื้อผสมได้ว่าอย่างไร
.................................................................................................................................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................................................................................................................................
w w w w w w w w
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ - ๖ เล่ม ๓
715
กลุ่มสาระการเรียนรู้
วิทยาศาสตร์
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖ มรดกไทย
เรื่อง การแยกสารเนื้อเดียวหรือสารละลาย
ชื่อ..................................................................................................................ชั้น............................................เลขที่.................................
แผ่นที่
๔
ใบกิจกรรม
คำ�ชี้แจง	 ผลที่สังเกตได้จากการทำ�กิจกรรมเป็นดังนี้
ตารางบันทึกผลการทดลอง
สารที่ใช้ทดลอง วิธีการที่ใช้แยกสาร ผลที่ได้
สารละลายเกลือ
สารละลายนํ้าตาล
สรุปผลการทดลองเกี่ยวกับการแยกสารเนื้อเดียวได้ว่าอย่างไร
.................................................................................................................................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................................................................................................................................
w w w w w w w w
คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง
716
กลุ่มสาระการเรียนรู้
วิทยาศาสตร์
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖ มรดกไทย
เรื่อง การจำ�แนกประเภทของสารที่ใช้ในชีวิตประจำ�วัน
ชื่อ..................................................................................................................ชั้น............................................เลขที่.................................
แผ่นที่
๕
ใบกิจกรรม
คำ�ชี้แจง	 ผลที่สังเกตได้จากการทำ�กิจกรรมเป็นดังนี้
ตอนที่ ๑	 ตารางบันทึกข้อมูลและผลการทดลอง
ชื่อสาร การใช้ประโยชน์
สมบัติของสาร
ความเป็นกรด - เบส อื่นๆ
	 ๑.	 ............................................................................ ........................................................... ........................................................... ...........................................................
	 ๒.	 ............................................................................ ........................................................... ........................................................... ...........................................................
	 ๓.	 ............................................................................ ........................................................... ........................................................... ...........................................................
	 ๔.	 ............................................................................ ........................................................... ........................................................... ...........................................................
	 ๕.	 ............................................................................ ........................................................... ........................................................... ...........................................................
	 ๖.	 ............................................................................ ........................................................... ........................................................... ...........................................................
	 ๗.	 ............................................................................ ........................................................... ........................................................... ...........................................................
	 ๘.	 ............................................................................ ........................................................... ........................................................... ...........................................................
	 ๙.	 ............................................................................ ........................................................... ........................................................... ...........................................................
	 ๑๐.	 ............................................................................ ........................................................... ........................................................... ...........................................................
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ - ๖ เล่ม ๓
717
ตอนที่ ๒
	 ๑.	 เกณฑ์ที่ใช้ในการจำ�แนกคือ
		...........................................................................................................................................................................................................................................................................
	 	 ...........................................................................................................................................................................................................................................................................
	 ๒.	 จำ�แนกได้เป็นกี่ประเภท
		...........................................................................................................................................................................................................................................................................
	 	 ...........................................................................................................................................................................................................................................................................
	 ๓.	 แผนภาพการจำ�แนกสารเป็นดังนี้
w w w w w w w w
คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง
718
กลุ่มสาระการเรียนรู้
วิทยาศาสตร์
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖ มรดกไทย
เรื่อง สารปรุงรสและสารแต่งสีอาหาร
ชื่อ..................................................................................................................ชั้น............................................เลขที่.................................
แผ่นที่
๖
ใบกิจกรรม
คำ�ชี้แจง	 ผลที่สังเกตได้จากการทำ�กิจกรรมเป็นดังนี้
ตารางบันทึกผลการทดลอง
เวลา
การเปลี่ยนแปลงที่สังเกตได้
ชิ้นเนื้อดิบแช่ในนํ้าส้มสายชู ๒.๕% ชิ้นเนื้อดิบแช่ในนํ้า
สรุปผลการทดลองได้ว่าอย่างไร
.................................................................................................................................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................................................................................................................................
w w w w w w w w
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ - ๖ เล่ม ๓
719
กลุ่มสาระการเรียนรู้
วิทยาศาสตร์
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖ มรดกไทย
เรื่อง สารทำ�ความสะอาด
ชื่อ..................................................................................................................ชั้น............................................เลขที่.................................
แผ่นที่
๗
ใบกิจกรรม
คำ�ชี้แจง	 ผลที่สังเกตได้จากการทำ�กิจกรรมเป็นดังนี้
	 ๑.	 สารทำ�ความสะอาดถ้าจำ�แนกตามลักษณะการนำ�ไปใช้ประโยชน์ จะจำ�แนกได้กี่ประเภท อะไรบ้าง
	 	 ๑.	 ...................................................................................................................................................................................................................................................................
	 	 ๒.	...................................................................................................................................................................................................................................................................
	 	 ๓.	 ...................................................................................................................................................................................................................................................................
	 	 ๔.	 ...................................................................................................................................................................................................................................................................
	 ๒.	 สารทำ�ความสะอาดมีทั้งชนิดที่เป็น.......................................................................................เป็น........................................................................................
	 	 และเป็น........................................................................................................................................................................................................................................................
	 ๓.	 ข้อควรปฏิบัติอย่างเคร่งครัดในการใช้ทำ�ความสะอาดห้องนํ้าและเครื่องสุขภัณฑ์ คือ
		...........................................................................................................................................................................................................................................................................
	 	 ...........................................................................................................................................................................................................................................................................
		...........................................................................................................................................................................................................................................................................
	 	 ...........................................................................................................................................................................................................................................................................
		...........................................................................................................................................................................................................................................................................
	 	 ...........................................................................................................................................................................................................................................................................
คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง
720
ตอนที่ ๒	 ตารางบันทึกผลการทดลอง
การทดลอง การเปลี่ยนแปลงที่สังเกตได้
๑.	 หยดนํ้ามันพืชลงในนํ้าแล้วเขย่า ...........................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................
๒.	หยดแชมพูสระผสม นํ้าสบู่ นํ้ายาล้างจาน และ
นํ้าผงซักฟอก ลงในกล่องที่ ๒ ๓ ๔ และ ๕
แล้วเขย่า และเปรียบเทียบกับกล่องที่ ๑
...........................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................
๓.	เทของเหลวออกจากกล่องพลาสติกทั้ง ๕ กล่อง
เติมนํ้าให้เต็มแล้วเทออกทำ�ซํ้า๒-๓ครั้งเปรียบ
เทียบคราบนํ้ามันที่ติดอยู่ในกล่องพลาสติก
...........................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................
สรุปผลการทดลองได้ว่าอย่างไร
.................................................................................................................................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................................................................................................................................
w w w w w w w w
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ - ๖ เล่ม ๓
721
กลุ่มสาระการเรียนรู้
วิทยาศาสตร์
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖ มรดกไทย
เรื่อง สารกำ�จัดแมลงและศัตรูพืช
ชื่อ..................................................................................................................ชั้น............................................เลขที่.................................
แผ่นที่
๘
ใบกิจกรรม
คำ�ชี้แจง	 ผลที่สังเกตได้จากการทำ�กิจกรรมเป็นดังนี้
บ้านนักเรียนคนที่
ระยะเวลาที่ใช้
สารกำ�จัดแมลง ๑ กระป๋อง
คิดเป็นจำ�นวน
กระป๋อง / เดือน
คิดเป็นจำ�นวน
กระป๋อง / ปี (× ๑๒ เดือน)
๑.
๒.
๓.
๔.
๕.
สรุปเกี่ยวกับการใช้สารกำ�จัดแมลงและศัตรูพืชได้ว่าอย่างไร
.................................................................................................................................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................................................................................................................................
w w w w w w w w
คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง
722
ใบความรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสาตร์
เรื่อง สารละลาย
เนื้อหาสาระสำ�หรับนักเรียน
การละลายเกิดจากสารอย่างน้อย ๒ ชนิด มาผสมกันซึ่งอาจจะเป็น
	 ของแข็งกับของเหลว (นํ้า) เช่น นํ้าเกลือ นํ้าเชื่อม
	 ของเหลวกับของเหลว (นํ้า) เช่น แอลกอฮอล์เช็ดแผล
	 ของแข็งกับของแข็ง เช่น นาก (ทองคำ� + ทองแดง) ทองเหลือง (ทองแดง + สังกะสี)
	 ของเหลว (นํ้า) กับแก๊ส เช่น นํ้าอัดลม
	 แก๊สกับแก๊ส เช่น อากาศบริสุทธิ์ (ปราศจากฝุ่นละออง)
สารบางชนิดละลายในนํ้าได้ดีจะมองเห็นเป็นเนื้อเดียวกับนํ้าเรียกสารที่มองเห็นเป็นเนื้อเดียวนี้ว่า สารละลาย
ซึ่งมีลักษณะเหมือนกันทุกส่วน โดยไม่สามารถบอกได้ว่าส่วนใดเป็นสารอะไรและเมื่อนำ�ส่วนใดส่วนหนึ่งของสารผสมนี้
ไปทดสอบสมบัติต่างๆ จะแสดงสมบัติเหมือนกันทุกประการ ตัวอย่างเช่น นํ้าเกลือ นํ้าเชื่อม นํ้าโซดา
สารบางชนิดเมื่อนำ�ไปละลายในนํ้าจะลายได้บางส่วน ส่วนใหญ่จะไม่ละลาย เนื้อสารจะไม่เหมือนกันทุกส่วน
เรียกสารที่มีลักษณะเช่นนี้ว่า สารเนื้อผสม
สารเนื้อผสมที่มีอนุภาคเล็กๆ กระจายอยู่ในของเหลวหรือแก๊ส เรียกว่า สารแขวนลอย เช่น นํ้าคลอง นํ้าโคลน
ความรู้ส่วนนี้สำ�หรับครู
๑.	 สารละลายเกิดจากสารอย่างน้อย ๒ ชนิด มาผสมกันซึ่งอาจจะเป็นของแข็งกับของเหลว ของเหลวกับ
ของเหลวของแข็งกับของแข็งแก๊สกับแก๊สสารบางชนิดผสมกันได้ดีจนมองเห็นเป็นเนื้อเดียวเรียกสารที่มองเห็นเป็นเนื้อ
เดียวนี้ว่า สารละลาย ซึ่งมีลักษณะเหมือนกันทุกส่วนไม่สามารถบอกได้ว่าส่วนใดเป็นสารอะไรโดยทั่วไปสารละลายมีทั้ง
ที่เป็นของแข็งของเหลวและแก๊สตัวอย่างสารละลายที่มีสถานะเป็นของเหลวเช่นนํ้าเกลือนํ้าเชื่อมสารละลายที่มีสถานะ
เป็นของแข็ง เช่น นาก ทองเหลือง สารละลายที่มีสถานะเป็นแก๊ส เช่น อากาศบริสุทธิ์ที่ปราศจากฝุ่นละอองและควัน
	 สารละลายจึงประกอบด้วยตัวละลายและตัวทำ�ละลาย เช่น
	 	 นํ้าเกลือ ประกอบด้วย เกลือเป็นตัวละลายและนํ้าเป็นตัวทำ�ละลาย
	 	 นาก ประกอบด้วย ทองคำ�เป็นตัวละลายและนํ้าเป็นตัวทำ�ละลาย
	 	 อากาศ ประกอบด้วย แก๊สออกซิเจนและแก๊สอื่นๆ เป็นตัวละลายและแก๊สไนโตรเจนเป็นตัวทำ�ละลาย
	 การชี้บ่งว่า สารใดเป็นตัวละลายและสารใดเป็นตัวทำ�ละลายมีหลักในการพิจารณาดังนี้
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ - ๖ เล่ม ๓
723
	 ๑.	 ถ้าตัวละลายและตัวทำ�ละลายมีสถานะต่างกัน สารที่มี
สถานะเดียวกันกับสารละลายจัดเป็นตัวทำ�ละลายและ
สารที่มีสถานะต่างไปจากสารละลายจัดเป็นตัวละลาย
	 ๒.	ถ้าตัวทำ�ละลายและตัวละลายมีสถานะเดียวกันสารที่
มีปริมาณน้อยกว่าจัดเป็นตัวละลาย สารที่มีปริมาณ
มากกว่าเรียกว่าตัวทำ�ละลาย
	 สารละลายยังแสดงสมบัติของสารเดิมและสามารถทำ�ให้
กลับเป็นสารเดิมได้ด้วยวิธีที่แตกต่างกันซึ่งขึ้นอยู่กับสมบััติของสารที่เป็น
ส่วนประกอบ
๒.	ปัจจุบันนิยมใช้ผงซักฟอกในการซักล้างกันอย่างกว้างขวาง
ผงซักฟอกประกอบด้วยสารหลายชนิดผสมกันอยู่ผงซักฟอกบางชนิด
จุลินทรีย์ไม่สามารถย่อยสลายได้จะก่อให้เกิดการซักล้าง จะทำ�ให้สาหร่าย
และวัชพืชต่างๆในนํ้าเจริญงอกงามและแพร่พันธ์ุอย่างรวดเร็วเมื่อสาหร่าย
เหล่านี้ตายจะถูกย่อยสลายด้วยแบคทีเรียชนิดใช้ออกซิเจนทำ�ให้นํ้าขาด
ออกซิเจนและสัตว์นํ้าไม่สามารถมีชีวิตอยู่ได้ก่อให้เกิดปัญหาทั้งทางภาวะ
มลพิษ ระบบนิเวศ การชลประทาน การเกษตร ตลอดจนการคมนาคม
๓.	 ในปัจจุบันเกษตรกรใช้ปุ๋ยและสารกำ�จัดศัตรูพืชมากเกิน
ความจำ�เป็นซึ่งบางชนิดสลายตัวยากและกระจายตกค้างอยู่บนดินเมื่อถูก
ฝนชะล้างลงไปในแม่นํ้าลำ�คลองทำ�ให้สัตว์นํ้าได้รับอันตรายถึงตายถ้าได้รับ
ในปริมาณมากแต่ถ้ามีปริมาณไม่มากพอก็จะสะสมอยู่ในตัวสัตว์เมื่อคนกิน
สัตว์เหล่านั้นเข้าไป สารกำ�จัดศัตรูพืชก็จะเข้าไปสะสมอยู่ในร่างกายได้
๔.	 นํ้ากระด้าง คือ นํ้าที่ไม่ทำ�ฟองกับสบู่ โดยทั่วไปจะพบว่ามี
สารหลายชนิดละลายอยู่ในนํ้า เช่น แคลเซียมคลอไรด์ แมกนีเซียมคลอ
ไรด์ แคลเซียมซัลเฟต แมกนีเซียมซัลเฟต แคลเซียมไฮโดรเจนคาร์บอเนต
แมกนีเซียมไฮโดรเจน-คาร์บอเนต ซึ่งสารเหล่านี้เมื่อทำ�ปฏิกิริยากับสบู่จะ
เกิดตะกอน ทำ�ให้เสื้อผ้าสกปรกและถ้าดื่มนํ้ากระด้างเป็นประจำ�จะทำ�ให้
เป็นนิ่วได้
	 นํ้ากระด้างมี ๒ ชนิด คือ
	 –	 นํ้ากระด้างชั่วคราวเป็นนํ้ากระด้างที่มีแคลเซียมไฮโดรเจน
คาร์บอเนต และแมกนีเซียมไฮโดรเจนคาร์บอเนตละลาย
อยู่สามารถทำ�ให้หายกระด้างได้โดยการต้ม
	 –	 นํ้ากระด้างถาวร เป็นนํ้ากระด้างที่มีแคลเซียมคลอไรด์
แมกนีเซียมคลอไรด์แคลเซียมซัลเฟตและแมกนีเซียม
ซัลเฟตละลายอยู่ทำ�ให้หายกระด้างโดยการเติมโซดาซักผ้า
ลงในนํ้ากระด้าง แล้วกรองตะกอนออก
คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง
724
๕.	 ฝนกรดเกิดจากนํ้าฝนละลายแก๊สที่เป็น
ออกไซด์ของกำ�มะถัน ได้แก่ ซัลเฟอร์ไดออกไซด์ ซัลเฟอร์
ไตรออกไซด์และแก๊สที่เป็นออกไซด์ของไนโตรเจน ได้แก่
ไนโตรเจนไดออกไซด์ที่มีอยู่ในอากาศบริเวณที่เป็นโรงงาน
อุตสาหกรรมเช่นโรงไฟฟ้าถ่านหินโรงแยกแก๊สเกิดเป็นกรด
กำ�มะถัน หรือกรดซัลฟิวริกและกรดไนตริกซึ่งเป็นอันตราย
ต่อพืชและต่อมนุษย์
ข้อเสนอแนะ
๑.	 ถ้าไม่มีนํ้าคลองให้ใช้ดินละเอียดละลายในนํ้า
๒.	ทรายที่นำ�มาใช้ในการทดลองควรล้างด้วยนํ้าเพื่อแยกเศษผงที่ปะปนอยู่ออกให้หมดเพื่อว่าเมื่อใส่ลงในนํ้าจะ
ทำ�ให้นํ้าส่วนบนใส
๓.	 การทำ�เครื่องกรองนํ้าอย่างง่ายครูควรมอบหมายให้นักเรียนช่วยกันทำ�เป็นกลุ่มแล้วมานำ�เสนอพร้อมทั้งให้
ทดลองกรองนํ้าเพื่อดูประสิทธิภาพในการทำ�งานของเครื่องกรองด้วย
ประเมินผล
๑.	 ประเมินจากการร่วมอภิปรายทั้งภายในกลุ่มและในชั้นเรียน
๒.	ประเมินจากการบันทึกผลและสรุปผลการทำ�กิจกรรม
๓.	 ประเมินจากรายงานการสืบค้นข้อมูล
๔.	 ประเมินจากแบบทดสอบ
ตัวอย่างแบบทดสอบ
๔.๑	 จงเสนอแนะแนวทางการป้องกันอันตรายที่เกิดจากการละลายของสารต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
เฉลย
การป้องกันอันตรายที่เกิดจากการละลายของสารต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อมมีดังนี้
๑.	 ใช้ผงซักฟอกหรือสารซักล้างในปริมาณที่พอเหมาะ เพื่อให้เหลือสารซักล้างในนํ้าทิ้งน้อยที่สุด
๒.	ลดการใช้ปุ๋ยเคมีและสารกำ�จัดศัตรูพืช
๓.	 โรงงานอุตสาหกรรมควรมีเครื่องกำ�จัดแก๊สที่เป็นอันตรายก่อนออกสู่บรรยากาศ
๔.	 จัดระบบปรับคุณภาพของนํ้าหรือสร้างบ่อพักสำ�หรับรับนํ้าที่ระบายจากบ้านเรือนมาผ่านกระบวนการเพื่อ
ลดปริมาณสารที่ไม่พึงประสงค์ทั้งหลายก่อนแล้วจึงระบายลงสู่แม่นํ้าลำ�คลอง โดยประชาชนทุกคนควรมีส่วนรับผิดชอบ
ร่วมกับหน่วยงานของรัฐ
w w w w w w w w
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ - ๖ เล่ม ๓
725
ใบความรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์
เรื่อง การเปลี่ยนแปลงของสาร
เนื้อหาสาระสำ�หรับนักเรียน
เมื่อผสมสาร ๒ ชนิด เข้าด้วยกัน ถ้ามีการเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้น เช่น มีแก๊สเกิดขึ้น สีของสารเปลี่ยนไป มีตะกอน
หรือมีกลิ่นเกิดขึ้นบางครั้งอาจมีความร้อน เสียง หรือแสงเกิดขึ้นด้วย ลักษณะต่างๆ เหล่านี้คือ การเกิดสารใหม่ หรือเรียก
อีกอย่างว่า การเกิดปฏิกิริยาเคมีหรือการเปลี่ยนแปลงทางเคมี สารใหม่ที่เกิดขึ้นจะมีสมบัติแตกต่างไปจากสารเดิมและไม่
สามารถทำ�ให้กลับเป็นสารเดิมได้
การเกิดสารใหม่หรือการเกิดปฏิกิริยาเคมีอาจเกิดขึ้นเองหรือมนุษย์ทำ�ให้เกิดขึ้น สารใหม่ที่ได้สามารถนำ�ไปใช้
ประโยชน์ในด้านต่างๆ ได้มากมาย แต่ถ้าใช้หรือเก็บรักษาไม่ถูกต้องและไม่ระมัดระวังก็อาจเกิดอันตรายได้ ซึ่งจะมีผลต่อ
สิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
ข้อเสนอแนะ
๑.	 จุนสีที่ใช้ควรเป็นชนิดผงละเอียดและสะอาดถ้าเป็นก้อนควรบดให้ละเอียดโดยใช้โกร่งบดเพื่อจะตวงโดยใช้
ช้อนตวงได้
๒.	แอมโมเนียหอม ซึ่งได้จากร้านขายยาทั่วไป
๓.	 การเตรียมนํ้าปูนใสเพื่อเก็บไว้ใช้ได้นานๆ ควรเตรียมในกล่องพลาสติกที่มีฝาปิดมิดชิด เพื่อไม่ให้แก๊ส
คาร์บอนไดออกไซด์ในอากาศเข้าทำ�ปฏิกิริยาได้ โดยตักปูนขาวใส่ในกล่องพลาสติกขนาดใดก็ได้ ประมาณของกล่อง เติม
นํ้าให้เกือบเต็มกล่องใช้แท่งแก้วคนให้ทั่วสักครู่จึงปิดฝากล่องแล้วตั้งไว้ข้ามคืนเมื่อต้องการใช้ก็เปิดฝากล่องแล้วรินหรือ
ดูดเฉพาะส่วนที่ใสออกมา แล้วรีบปิดฝากล่องทันทีเมื่อใช้เสร็จเพื่อเก็บไว้ใช้ต่อไป
ประเมินผล
๑.	 ประเมินจากความร่วมมือในการทำ�การทดลองและอภิปรายผลการทดลอง
๒.	ประเมินจากการบันทึกผลและลงข้อสรุปการทำ�กิจกรรม
๓.	 ประเมินจากแบบทดสอบ
ตัวอย่างแบบทดสอบ (ดูเฉลยท้ายบท)
๑.	 การเปลี่ยนแปลงของสารมีกี่ลักษณะอะไรบ้าง
๒.	การเปลี่ยนแปลงลักษณะใดสามารถทำ�ให้กลับคืนเป็นสารเดิมได้
๓.	นาเกลือเป็นการเปลี่ยนแปลงของสารลักษณะใด
๔.	 การเผาถ่านไม้เพื่อให้ความร้อนการเกิดฝนกรดเป็นการเปลี่ยนแปลงของสารลักษณะใด
๕.	 จงยกตัวอย่างเหตุการณ์ที่เกิดจากการทำ�ให้สารเกิดการเปลี่ยนแปลงแล้วมีผลต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง
726
เนื้อหาสาระสำ�หรับนักเรียน
เมื่อผสมสารเข้าด้วยกัน สารผสมที่ได้อาจจะเป็นสารเนื้อผสมหรือสารละลายซึ่งเป็นสารเนื้อเดียว สารเนื้อผสม
อาจจะเป็นของแข็งผสมกับของแข็็งของแข็งผสมกับของเหลวของเหลวผสมกับของเหลวส่วนสารละลายอาจจะเกิดจาก
ของแข็งละลายในของเหลว ของเหลวละลายในของเหลว ของแข็งละลายในของแข็ง หรือแก๊สละลายในของเหลว
การแยกสารเนื้อผสมอาจทำ�ได้โดยวิธีต่างๆ กัน ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับสมบัติของสารที่เป็นส่วนประกอบ
–	 ถ้าส่วนประกอบของสารเนื้อผสมเป็นของแข็งที่มีขนาดใหญ่และมีลักษณะแตกต่างกันชัดเจนใช้วิธีเลือกออก
หรือหยิบออก
–	 ถ้าส่วนประกอบของสารเนื้อผสมเป็นของแข็งที่มีขนาดแตกต่างกันแยกโดยการร่อน
–	 ถ้าส่วนประกอบของสารเนื้อผสมชนิดหนึ่งเป็นสารที่ระเหิดได้แยกโดยการระเหิด
–	 ถ้าส่วนประกอบของสารเนื้อผสมเป็นของแข็งกับของเหลวแยกโดยการกรองด้วยกระดาษกรองทั้งนี้ของแข็ง
ต้องมีขนาดใหญ่จนไม่สามารถลอดผ่านกระดาษกรองได้
–	 ถ้าส่วนประกอบของสารเนื้อผสมเป็นของแข็งกับของเหลวในลักษณะที่เป็นสารแขวนลอยแยกโดยวิธี การ
ทำ�ให้ตกตะกอน
–	 ถ้าส่วนประกอบของสารเนื้อผสมเป็นของเหลวแยกโดยวิธีตั้งไว้ให้แยกชั้นแล้วรินหรือซ้อนออกจากกัน
ประเมินผล
๑.	 ประเมินผลจากการอภิปรายภายในกลุ่มและในชั้นเรียน
๒.	ประเมินจากการบันทึกผลการทดลอง
๓.	 ประเมินจากรายงานการทำ�โครงงาน
๔.	 ประเมินจากแบบทดสอบ
ตัวอย่างแบบทดสอบ
๔.๑	 วิธีแยกพิมเสนอออกจากเกลือ นอกจากจะใช้วิธีการระเหิดแล้วอาจใช้วิธีอื่นได้หรือไม่ (เกลือละลายในนํ้า
แต่พิมเสนไม่ละลาย)
๔.๒	 ในการทำ�ขนมที่มีแป้งเป็นส่วนผสมจะต้องทำ�การร่อนแป้งก่อนเพื่อวัตถุประสงค์อะไร
เฉลย
๔.๑	 วิธีแยกพิมเสนออกจากเกลือนอกจากโดยวิธีการระเหิด แล้วอาจแยกโดยวิธีการนำ�สารผสมไปละลาย
นํ้า พิมเสนไม่ละลายในนํ้า แต่เกลือละลายได้ในนํ้าจึงแยกพิมเสนออกโดยการกรองด้วยกระดาษกรอง
พิมเสนจะติดอยู่บนกระดาษกรอง ส่วนสารละลายที่กรองได้จะมีเกลือละลายอยู่ ซึ่งนำ�มาแยกเกลือออก
จากสารละลาย โดยวิธีการระเหยแห้ง
๔.๒	 ในการทำ�ขนมที่มีแป้งส่วนผสมจะต้องทำ�การร่อนแป้งก่อนเพื่อแยกแป้งที่มีก้อนขนาดใหญ่ออกเหลือแต่
แป้งเม็ดละเอียด ซึ่งจะทำ�ให้เนื้อขนมละเอียดและนุ่ม
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ - ๖ เล่ม ๓
727
เนื้อหาสาระสำ�หรับนักเรียน
สารละลายเป็นสารเนื้อเดียวที่เกิดจากสารอย่างน้อย ๒ ชนิด ผสมกัน อาจเป็นของแข็งกับของเหลว เช่น
นํ้าเกลือ นํ้าเชื่อม
ของเหลวกับของเหลวเช่น แอลกอฮอล์ ๗๐% ใช้เช็ดแผลเป็นสารผสมระหว่างเอทิลแอลกอฮอล์ ๗๐ ส่วน
กับนํ้า ๓๐ ส่วน โดยปริมาตร
แก๊สกับของเหลว เช่น นํ้าอัดลม ซึ่งอัดแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ที่มีความดันสูงลงไปในนํ้าหวาน
ของแข็งกับของแข็งเช่นนากทองเหลืองซึ่งนากเป็นสารผสมระหว่างทองคำ�กับทองแดงส่วนทองเหลืองเป็น
ส่วนผสมระหว่างทองแดงกับสังกะสี
การแยกสารละลายแต่ละชนิดขึ้นอยู่กับสมบัติของสารที่เป็นส่วนประกอบจึงต้องแยกด้วยวิธีการต่างๆ กัน
เนื้อหาสาระสำ�หรับนักเรียน
สารที่ใช้ในชีวิตประจำ�วันมีมากมายเป็นทั้งเครื่องอุปโภคและบริโภคสารต่างๆ เหล่านี้ล้วนมีองค์ประกอบเป็น
สารเคมีเมื่อพิจารณาตามการนำ�ไปใช้ประโยชน์และสมบัติความเป็นกรดเบสของสาร สามารถจำ�แนกเป็นประเภทใหญ่ๆ
ได้แก่ สารปรุงรสอาหาร และสารแต่งสีอาหาร สารทำ�ความสะอาด สารกำ�จัดแมลงและศัตรูพืช
การใช้สารในชีวิตประจำ�วันต้องเลือกใช้ให้ตรงตามวัตถุประสงค์และต้องใช้อย่างถูกต้อง เพื่อความปลอดภัย
ต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
ความเป็นกรด - เบส จัดเป็นสมบัติเฉพาะตัวอย่างหนึ่งของสาร การทดสอบความเป็นกรด - เบส สามารถ
ใช้กระดาษลิตมัสหรือนํ้าสีที่สกัดจากพืชธรรมชาติ
สารที่มีสมบัติเป็นกรดจะเปลี่ยนสีกระดาษลิตมัสสีนํ้าเงินเป็นสีแดง สารที่ใช้ในชีวิตประจำ�วันที่มีสมบัติเป็น
กรด เช่น นํ้ามะนาว นํ้าส้มสายชู นํ้ามะขาม นํ้าผลไม้ต่างๆ
สารที่มีสมบัติเป็นเบสจะเปลี่ยนสีกระดาษลิตมัสสีแดงเป็นสีนํ้าเงินสารที่ใช้ในชีวิตประจำ�วันที่มีสมบัติเป็นเบส
เช่น นํ้าสบู่ นํ้าผงซักฟอก นํ้าขี้เถ้า นํ้ายาล้างจาน แต่นํ้ายาล้างจานชนิดที่ผสมนะนาวจะสมบัติเป็นกรด
สารที่มีสมบัติเป็นกลางจะไม่เปลี่ยนสีกระดาษลิตมัสทั้งสีแดงและสีนํ้าเงิน เช่น นํ้า นํ้าเกลือ นํ้าเชื่อม
นอกจากจะใช้กระดาษลิตมัสตรวจสอบความเป็นกรด - เบส ของสารแล้วยังมีอุปกรณ์อื่นๆ ที่ใช้ตรวจสอบ
ความเป็นกรด - เบสของสารอีก เช่น กระดาษ pH
นักวิทยาศาสตร์ใช้เลข ๐ - ๑๔ แสดงค่าความเป็น กรด - เบส ของสารซึ่งเรียกค่านี้ว่า ค่า pH
กระดาษลิตมัส
pH มิเตอร์ กระดาษ pH
	 ๐	 ๗	 ๑๔
	 กรด	 กลาง	 เบส
คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง
728
การประเมินผล
๑.	 ประเมินผลจากความร่วมมือในการรวบรวมข้อมูลภายในกลุ่ม
๒.	ประเมินผลจากความตั้งใจในการนำ�เสนอข้อมูลในชั้นเรียน
๓.	 ประเมินจากแบบทดสอบ
ตัวอย่างแบบทดสอบ
๓.๑	 สารที่ใช้ในชีวิตประจำ�วันแบ่งเป็นประเภทใหญ่ๆ ได้แก่อะไรบ้าง
๓.๒	เกณฑ์ที่นักเรียนคิดว่าจะนำ�มาใช้จำ�แนกสารในชีวิตประจำ�วัน มีอะไรบ้าง
เฉลย
๓.๑	 สารที่ใช้ในชีวิตประจำ�วันแบ่งเป็นประเภทใหญ่ๆ ได้แก่
	 –	 สารปรุงรสและสารแต่งสีอาหาร
	 –	 สารทำ�ความสะอาด
	 –	 สารกำ�จัดแมลงและศัตรูพืช
๓.๒	 เกณฑ์ที่นำ�มาใช้ในการจำ�แนกสารในชีวิตประจำ�วันอาจเป็นดังนี้
	 –	 กินได้/กินไม่ได้
	 –	 มีสี/ไม่มีสี
	 –	 เป็นกรด/เบส/กลาง
	 –	 ใช้ในครัว/ใช้ในห้องนํ้า
w w w w w w w w
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ - ๖ เล่ม ๓
729
ใบความรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์
เรื่อง ความเป็นกรดเป็นด่าง
สารที่สมบัติเป็นกรดจะมีค่า pH อยู่ระหว่าง ๐-๖ สารที่มีสมบััติเป็นเบสมีค่า pH อยู่ระหว่าง ๘ - ๑๔ สารที่มี
สมบัติเป็นกลางมีค่า pH เท่ากับ ๗
ความรู้ส่วนนี้สำ�หรับครู
ความเป็นกรด - เบส จัดเป็นสมบัติเฉพาะตัวอย่างหนึ่งของสารซึ่งสามารถทดสอบได้ด้วยกระดาษลิตมัส นํ้าสี
ที่สกัดจากพืชธรรมชาติยูนิเวอแซลอินดิเคเตอร์ กระดาษ pH  pH มิเตอร์ สารที่ใช้ตรวจสอบความเป็นกรด - เบส เรียกว่า
อินดิเคเตอร์ (indicator)
สารที่มีสมบัติเป็นกรด (acid) คือสารที่เมื่อนำ�มาละลายนํ้าแล้วสามารถแตกตัวให้ไฮโดรเจนไอออน (H+) เช่น
กรดนํ้าส้ม หรือกรดแอซีติก (acetic acid) มีสูตรโมเลกุลคือ CH3 COOH เมื่อนำ�มาละลายนํ้าจะแตกตัวให้ H+ ดังนี้
	 CH3 COOH	 →	 CH3 COO– + H+
นํ้าส้มสายชูจึงมีสมบัติเป็นกรดเมื่อทดสอบด้วยกระดาษลิตมัส
จะเปลี่ยนสีกระดาษลิตมัสจากสีนํ้าเงินเป็นสีแดง เมื่อทดสอบด้วย pH มิเตอร์
จะได้ตัวเลขที่มีค่าตํ่ากว่า ๗ และเมื่อทดสอบด้วยกระดาษ pH จะเปลี่ยนสี
กระดาษ pH จากเหลืองเป็นส้มหรือแดง ตามลำ�ดับ ความเข้มข้นของกรด สีของ
กระดาษ pH ที่เปลี่ยนไปเมื่อนำ�มาเปรียบเทียบกับแถบสีบนตลับก็จะทราบค่า
pH ของสารนั้น
สารที่มีสมบัติเป็นเบส(base)คือสารที่เมื่อนำ�มาละลายนํ้าแล้วสามารถ
แตกตัวให้ไฮดรอกไซด์ไอออน (OH) เช่น นํ้าขี้เถ้า มีชื่อทางเคมีว่า โพแทสเซียม
ไฮดรอกไซด์ (potassiumhydroxide, KOH) เมื่อนำ�มาละลายนํ้าจะแตกตัวให้
OH– ดังนี้
	 KOH	 → 	K+ + OH–
คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง
730
นํ้าขี้เถ้าจึงมีสมบัติเป็นเบสเมื่อทดสอบด้วยกระดาษลิตมัสจะเปลี่ยนสีกระดาษลิตมัสจากสีแดงเป็นสีนํ้าเงิน
เมื่อทดสอบด้วย pH มิเตอร์จะได้ตัวเลขที่มีค่ามากกว่า ๗ และเมื่อทดสอบด้วยกระดาษ pH จะเปลี่ยนสีกระดาษ pH จาก
สีเหลืองเป็นสีเขียวหรือนํ้าเงินตามลำ�ดับความเข้มข้นของเบส และเมื่อนำ�สีที่ได้จากการทดสอบมาเปรียบเทียบกับแถบ
สีบนตลับก็จะทราบค่า pH ของสารที่ทดสอบได้
ข้อเสนอแนะ
๑.	 รายชื่อสารที่ใช้ในชีวิตประจำ�วันที่สำ�รวจได้จากบ้านของนักเรียนแต่ละกลุ่มอาจจะมากน้อยไม่เท่ากันและ
ไม่เหมือนกันบางกลุ่มอาจจะสำ�รวจมาได้มาก บางกลุ่มอาจจะได้น้อยขึ้นอยู่กับครอบครัวของนักเรียนแต่ละคนใน
แต่ละกลุ่ม
๒.	ครูควรนำ�สารต่างๆ มาทำ�ให้เป็นสารละลายใส่ไว้ในบีกเกอร์ สำ�หรับให้นักเรียนใช้ร่วมกันทั้งห้องเพื่อ
ประหยัดเวลาและเพื่อความปลอดภัยของนักเรียน โดยเตรียมสารไว้ประมาณ ๓ ชุด/ห้องเรียนและควรใส่ไม้จิ้มฟันไว้ใน
บีกเกอร์สารละลายแต่ละชนิดชนิดละ ๑ อัน เพื่อป้องกันการปนเปื้อนจากสารอื่น
w w w w w w w w
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง สารเคมีที่ใช้ในชีวิตประจำวัน+ป.6+290+dltvscip6+P4 6 u06
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง สารเคมีที่ใช้ในชีวิตประจำวัน+ป.6+290+dltvscip6+P4 6 u06
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง สารเคมีที่ใช้ในชีวิตประจำวัน+ป.6+290+dltvscip6+P4 6 u06
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง สารเคมีที่ใช้ในชีวิตประจำวัน+ป.6+290+dltvscip6+P4 6 u06
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง สารเคมีที่ใช้ในชีวิตประจำวัน+ป.6+290+dltvscip6+P4 6 u06
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง สารเคมีที่ใช้ในชีวิตประจำวัน+ป.6+290+dltvscip6+P4 6 u06
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง สารเคมีที่ใช้ในชีวิตประจำวัน+ป.6+290+dltvscip6+P4 6 u06

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบ
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบ
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบssuserf8d051
 
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง วรจรไฟฟ้า+ป.6+290+dltvscip6+P...
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง วรจรไฟฟ้า+ป.6+290+dltvscip6+P...ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง วรจรไฟฟ้า+ป.6+290+dltvscip6+P...
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง วรจรไฟฟ้า+ป.6+290+dltvscip6+P...Prachoom Rangkasikorn
 
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการแบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการsomdetpittayakom school
 
ข้อสอบวิทย์
ข้อสอบวิทย์ข้อสอบวิทย์
ข้อสอบวิทย์weerawato
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2dnavaroj
 
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมแบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมJariya Jaiyot
 
ข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะKodchaporn Siriket
 
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1KruKaiNui
 
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมกระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมJariya Jaiyot
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)Napadon Yingyongsakul
 
การจัดหมู่
การจัดหมู่การจัดหมู่
การจัดหมู่supamit jandeewong
 
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 7 การออสโมซิส
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 7 การออสโมซิสแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 7 การออสโมซิส
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 7 การออสโมซิสWann Rattiya
 
เฉลยแบบฝึกหัด17.5โครงสร้างdna
เฉลยแบบฝึกหัด17.5โครงสร้างdnaเฉลยแบบฝึกหัด17.5โครงสร้างdna
เฉลยแบบฝึกหัด17.5โครงสร้างdnaWan Ngamwongwan
 
แบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงานแบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงานpacharawalee
 
โครงสร้างของดอกไม้
โครงสร้างของดอกไม้โครงสร้างของดอกไม้
โครงสร้างของดอกไม้dnavaroj
 
เกณฑ์การประเมินรูบริคส์
เกณฑ์การประเมินรูบริคส์เกณฑ์การประเมินรูบริคส์
เกณฑ์การประเมินรูบริคส์Lamai Fungcholjitt
 
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบโครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบThanyamon Chat.
 
1.กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ PPT เเก้ไขได้ ล่าสุด.pptx
1.กระบวนการทางวิทยาศาสตร์  PPT เเก้ไขได้ ล่าสุด.pptx1.กระบวนการทางวิทยาศาสตร์  PPT เเก้ไขได้ ล่าสุด.pptx
1.กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ PPT เเก้ไขได้ ล่าสุด.pptxTinnakritWarisson
 

Was ist angesagt? (20)

ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบ
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบ
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบ
 
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง วรจรไฟฟ้า+ป.6+290+dltvscip6+P...
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง วรจรไฟฟ้า+ป.6+290+dltvscip6+P...ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง วรจรไฟฟ้า+ป.6+290+dltvscip6+P...
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง วรจรไฟฟ้า+ป.6+290+dltvscip6+P...
 
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการแบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
 
การแยกสาร (Purification)
การแยกสาร (Purification)การแยกสาร (Purification)
การแยกสาร (Purification)
 
ข้อสอบวิทย์
ข้อสอบวิทย์ข้อสอบวิทย์
ข้อสอบวิทย์
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
 
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมแบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
 
ข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะ
 
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
 
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมกระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
 
การจัดหมู่
การจัดหมู่การจัดหมู่
การจัดหมู่
 
แผนBioม.6 2
แผนBioม.6 2แผนBioม.6 2
แผนBioม.6 2
 
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 7 การออสโมซิส
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 7 การออสโมซิสแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 7 การออสโมซิส
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 7 การออสโมซิส
 
เฉลยแบบฝึกหัด17.5โครงสร้างdna
เฉลยแบบฝึกหัด17.5โครงสร้างdnaเฉลยแบบฝึกหัด17.5โครงสร้างdna
เฉลยแบบฝึกหัด17.5โครงสร้างdna
 
แบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงานแบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงาน
 
โครงสร้างของดอกไม้
โครงสร้างของดอกไม้โครงสร้างของดอกไม้
โครงสร้างของดอกไม้
 
เกณฑ์การประเมินรูบริคส์
เกณฑ์การประเมินรูบริคส์เกณฑ์การประเมินรูบริคส์
เกณฑ์การประเมินรูบริคส์
 
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบโครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
 
1.กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ PPT เเก้ไขได้ ล่าสุด.pptx
1.กระบวนการทางวิทยาศาสตร์  PPT เเก้ไขได้ ล่าสุด.pptx1.กระบวนการทางวิทยาศาสตร์  PPT เเก้ไขได้ ล่าสุด.pptx
1.กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ PPT เเก้ไขได้ ล่าสุด.pptx
 

Ähnlich wie ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง สารเคมีที่ใช้ในชีวิตประจำวัน+ป.6+290+dltvscip6+P4 6 u06

ชุดการเรียน
ชุดการเรียนชุดการเรียน
ชุดการเรียนKay Pakham
 
นำเสนอผลการใช้หลักสูตร
นำเสนอผลการใช้หลักสูตรนำเสนอผลการใช้หลักสูตร
นำเสนอผลการใช้หลักสูตรAor_1234
 
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)Miss.Yupawan Triratwitcha
 
เอกสารประกอบการอบรมวิเคราะห์ข้อสอบโอเน็ต นม6
เอกสารประกอบการอบรมวิเคราะห์ข้อสอบโอเน็ต นม6เอกสารประกอบการอบรมวิเคราะห์ข้อสอบโอเน็ต นม6
เอกสารประกอบการอบรมวิเคราะห์ข้อสอบโอเน็ต นม6กมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
แผนการจัดการเรียนรู้Biogang
แผนการจัดการเรียนรู้Biogangแผนการจัดการเรียนรู้Biogang
แผนการจัดการเรียนรู้BiogangWichai Likitponrak
 
แบบเสนอโครงการจัดการเรียนรู้'งานเกษตร ช่วงชั้นที่ 3 4
แบบเสนอโครงการจัดการเรียนรู้'งานเกษตร ช่วงชั้นที่ 3 4แบบเสนอโครงการจัดการเรียนรู้'งานเกษตร ช่วงชั้นที่ 3 4
แบบเสนอโครงการจัดการเรียนรู้'งานเกษตร ช่วงชั้นที่ 3 4Koksi Vocation
 
แบบเสนอโครงการจัดการเรียนรู้'งานเกษตร ช่วงชั้นที่ 3 4
แบบเสนอโครงการจัดการเรียนรู้'งานเกษตร ช่วงชั้นที่ 3 4แบบเสนอโครงการจัดการเรียนรู้'งานเกษตร ช่วงชั้นที่ 3 4
แบบเสนอโครงการจัดการเรียนรู้'งานเกษตร ช่วงชั้นที่ 3 4Koksi Vocation
 
แบบเสนอโครงการจัดการเรียนรู้'งานบ้าน งานประดิษฐ์ ช่วงชั้นที่ 3-4
แบบเสนอโครงการจัดการเรียนรู้'งานบ้าน งานประดิษฐ์ ช่วงชั้นที่ 3-4แบบเสนอโครงการจัดการเรียนรู้'งานบ้าน งานประดิษฐ์ ช่วงชั้นที่ 3-4
แบบเสนอโครงการจัดการเรียนรู้'งานบ้าน งานประดิษฐ์ ช่วงชั้นที่ 3-4Koksi Vocation
 
เอกสารประกอบการอบรมวิเคราะห์ข้อสอบ
เอกสารประกอบการอบรมวิเคราะห์ข้อสอบเอกสารประกอบการอบรมวิเคราะห์ข้อสอบ
เอกสารประกอบการอบรมวิเคราะห์ข้อสอบกมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
แผนการจัดการเรียนรู้แบบวัฏจักรการเรียนรู้
แผนการจัดการเรียนรู้แบบวัฏจักรการเรียนรู้แผนการจัดการเรียนรู้แบบวัฏจักรการเรียนรู้
แผนการจัดการเรียนรู้แบบวัฏจักรการเรียนรู้citylong117
 
แบบทดสอบรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
แบบทดสอบรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อแบบทดสอบรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
แบบทดสอบรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อkrupornpana55
 
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหา
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหารายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหา
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหาWichai Likitponrak
 
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อแบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อkrupornpana55
 
กิจกรรมการพัฒนาการอ่านคิดวิเคราะห์และเขียน 4
กิจกรรมการพัฒนาการอ่านคิดวิเคราะห์และเขียน 4กิจกรรมการพัฒนาการอ่านคิดวิเคราะห์และเขียน 4
กิจกรรมการพัฒนาการอ่านคิดวิเคราะห์และเขียน 4supphawan
 
การนำเสนอการปรับปรุงหลักสูตรสถานศึกษา 2551
การนำเสนอการปรับปรุงหลักสูตรสถานศึกษา 2551การนำเสนอการปรับปรุงหลักสูตรสถานศึกษา 2551
การนำเสนอการปรับปรุงหลักสูตรสถานศึกษา 2551ดอกหญ้า ธรรมดา
 
โครงงานกลุ่มที่ 6
โครงงานกลุ่มที่ 6โครงงานกลุ่มที่ 6
โครงงานกลุ่มที่ 60892827602
 

Ähnlich wie ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง สารเคมีที่ใช้ในชีวิตประจำวัน+ป.6+290+dltvscip6+P4 6 u06 (20)

ชุดการเรียน
ชุดการเรียนชุดการเรียน
ชุดการเรียน
 
นำเสนอผลการใช้หลักสูตร
นำเสนอผลการใช้หลักสูตรนำเสนอผลการใช้หลักสูตร
นำเสนอผลการใช้หลักสูตร
 
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
 
เอกสารประกอบการอบรมวิเคราะห์ข้อสอบโอเน็ต นม6
เอกสารประกอบการอบรมวิเคราะห์ข้อสอบโอเน็ต นม6เอกสารประกอบการอบรมวิเคราะห์ข้อสอบโอเน็ต นม6
เอกสารประกอบการอบรมวิเคราะห์ข้อสอบโอเน็ต นม6
 
แผนการจัดการเรียนรู้Biogang
แผนการจัดการเรียนรู้Biogangแผนการจัดการเรียนรู้Biogang
แผนการจัดการเรียนรู้Biogang
 
แบบเสนอโครงการจัดการเรียนรู้'งานเกษตร ช่วงชั้นที่ 3 4
แบบเสนอโครงการจัดการเรียนรู้'งานเกษตร ช่วงชั้นที่ 3 4แบบเสนอโครงการจัดการเรียนรู้'งานเกษตร ช่วงชั้นที่ 3 4
แบบเสนอโครงการจัดการเรียนรู้'งานเกษตร ช่วงชั้นที่ 3 4
 
แบบเสนอโครงการจัดการเรียนรู้'งานเกษตร ช่วงชั้นที่ 3 4
แบบเสนอโครงการจัดการเรียนรู้'งานเกษตร ช่วงชั้นที่ 3 4แบบเสนอโครงการจัดการเรียนรู้'งานเกษตร ช่วงชั้นที่ 3 4
แบบเสนอโครงการจัดการเรียนรู้'งานเกษตร ช่วงชั้นที่ 3 4
 
แบบเสนอโครงการจัดการเรียนรู้'งานบ้าน งานประดิษฐ์ ช่วงชั้นที่ 3-4
แบบเสนอโครงการจัดการเรียนรู้'งานบ้าน งานประดิษฐ์ ช่วงชั้นที่ 3-4แบบเสนอโครงการจัดการเรียนรู้'งานบ้าน งานประดิษฐ์ ช่วงชั้นที่ 3-4
แบบเสนอโครงการจัดการเรียนรู้'งานบ้าน งานประดิษฐ์ ช่วงชั้นที่ 3-4
 
เอกสารประกอบการอบรมวิเคราะห์ข้อสอบ
เอกสารประกอบการอบรมวิเคราะห์ข้อสอบเอกสารประกอบการอบรมวิเคราะห์ข้อสอบ
เอกสารประกอบการอบรมวิเคราะห์ข้อสอบ
 
Science dep curr2551
Science dep curr2551Science dep curr2551
Science dep curr2551
 
แผนการจัดการเรียนรู้แบบวัฏจักรการเรียนรู้
แผนการจัดการเรียนรู้แบบวัฏจักรการเรียนรู้แผนการจัดการเรียนรู้แบบวัฏจักรการเรียนรู้
แผนการจัดการเรียนรู้แบบวัฏจักรการเรียนรู้
 
มาตรฐาน
มาตรฐานมาตรฐาน
มาตรฐาน
 
แบบทดสอบรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
แบบทดสอบรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อแบบทดสอบรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
แบบทดสอบรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
 
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหา
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหารายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหา
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหา
 
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อแบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
 
กิจกรรมการพัฒนาการอ่านคิดวิเคราะห์และเขียน 4
กิจกรรมการพัฒนาการอ่านคิดวิเคราะห์และเขียน 4กิจกรรมการพัฒนาการอ่านคิดวิเคราะห์และเขียน 4
กิจกรรมการพัฒนาการอ่านคิดวิเคราะห์และเขียน 4
 
การนำเสนอการปรับปรุงหลักสูตรสถานศึกษา 2551
การนำเสนอการปรับปรุงหลักสูตรสถานศึกษา 2551การนำเสนอการปรับปรุงหลักสูตรสถานศึกษา 2551
การนำเสนอการปรับปรุงหลักสูตรสถานศึกษา 2551
 
สาระที่2 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
สาระที่2 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อมสาระที่2 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
สาระที่2 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
 
โครงงานกลุ่มที่ 6
โครงงานกลุ่มที่ 6โครงงานกลุ่มที่ 6
โครงงานกลุ่มที่ 6
 
โครงงานกลุ่มที่ 6.doc
โครงงานกลุ่มที่ 6.docโครงงานกลุ่มที่ 6.doc
โครงงานกลุ่มที่ 6.doc
 

Mehr von Prachoom Rangkasikorn

129+hisp2+dltv54+550224+b+สไลด์ พระมหากษัตริย์ไทยป.2 (4 หน้า)
129+hisp2+dltv54+550224+b+สไลด์ พระมหากษัตริย์ไทยป.2 (4 หน้า)129+hisp2+dltv54+550224+b+สไลด์ พระมหากษัตริย์ไทยป.2 (4 หน้า)
129+hisp2+dltv54+550224+b+สไลด์ พระมหากษัตริย์ไทยป.2 (4 หน้า)Prachoom Rangkasikorn
 
120+hisp2+dltv54+550210+a+สไลด์ ความภูมิใจในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)
120+hisp2+dltv54+550210+a+สไลด์ ความภูมิใจในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)120+hisp2+dltv54+550210+a+สไลด์ ความภูมิใจในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)
120+hisp2+dltv54+550210+a+สไลด์ ความภูมิใจในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)Prachoom Rangkasikorn
 
116+hisp2+dltv54+550203+a+สไลด์ โบราณวัตถุป.2 (1 หน้า)
116+hisp2+dltv54+550203+a+สไลด์ โบราณวัตถุป.2 (1 หน้า)116+hisp2+dltv54+550203+a+สไลด์ โบราณวัตถุป.2 (1 หน้า)
116+hisp2+dltv54+550203+a+สไลด์ โบราณวัตถุป.2 (1 หน้า)Prachoom Rangkasikorn
 
114+hisp2+dltv54+550127+a+สไลด์ โบราณสถาน ป.2 (1 หน้า)
114+hisp2+dltv54+550127+a+สไลด์ โบราณสถาน ป.2 (1 หน้า)114+hisp2+dltv54+550127+a+สไลด์ โบราณสถาน ป.2 (1 หน้า)
114+hisp2+dltv54+550127+a+สไลด์ โบราณสถาน ป.2 (1 หน้า)Prachoom Rangkasikorn
 
106+hisp2+dltv54+550106+a+สไลด์ ภูมิปัญญาด้านอาหารป.2 (1 หน้า)
106+hisp2+dltv54+550106+a+สไลด์ ภูมิปัญญาด้านอาหารป.2 (1 หน้า)106+hisp2+dltv54+550106+a+สไลด์ ภูมิปัญญาด้านอาหารป.2 (1 หน้า)
106+hisp2+dltv54+550106+a+สไลด์ ภูมิปัญญาด้านอาหารป.2 (1 หน้า)Prachoom Rangkasikorn
 
091+hisp2+dltv54+541209+a+สไลด์ วัฒนธรรมในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)
091+hisp2+dltv54+541209+a+สไลด์ วัฒนธรรมในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)091+hisp2+dltv54+541209+a+สไลด์ วัฒนธรรมในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)
091+hisp2+dltv54+541209+a+สไลด์ วัฒนธรรมในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)Prachoom Rangkasikorn
 
083+hisp2+dltv54+541125+a+สไลด์ บุคคลสำคัญของไทยป.2 (1 หน้า)
083+hisp2+dltv54+541125+a+สไลด์ บุคคลสำคัญของไทยป.2 (1 หน้า)083+hisp2+dltv54+541125+a+สไลด์ บุคคลสำคัญของไทยป.2 (1 หน้า)
083+hisp2+dltv54+541125+a+สไลด์ บุคคลสำคัญของไทยป.2 (1 หน้า)Prachoom Rangkasikorn
 
066+hisp2+dltv54+540923+a+ใบความรู้ วัฒนธรรมกับการดำเนินชีวิตป.2 (1หน้า)
066+hisp2+dltv54+540923+a+ใบความรู้ วัฒนธรรมกับการดำเนินชีวิตป.2 (1หน้า)066+hisp2+dltv54+540923+a+ใบความรู้ วัฒนธรรมกับการดำเนินชีวิตป.2 (1หน้า)
066+hisp2+dltv54+540923+a+ใบความรู้ วัฒนธรรมกับการดำเนินชีวิตป.2 (1หน้า)Prachoom Rangkasikorn
 
062+hisp2+dltv54+540916+a+ใบความรู้ เหตุการณ์สำคัญกับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)
062+hisp2+dltv54+540916+a+ใบความรู้ เหตุการณ์สำคัญกับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)062+hisp2+dltv54+540916+a+ใบความรู้ เหตุการณ์สำคัญกับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)
062+hisp2+dltv54+540916+a+ใบความรู้ เหตุการณ์สำคัญกับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)Prachoom Rangkasikorn
 
058+hisp2+dltv54+540909+a+ใบความรู้ การสื่อสารจากอดีตถึงปัจจุบันป.2 (1หน้า)
058+hisp2+dltv54+540909+a+ใบความรู้ การสื่อสารจากอดีตถึงปัจจุบันป.2 (1หน้า)058+hisp2+dltv54+540909+a+ใบความรู้ การสื่อสารจากอดีตถึงปัจจุบันป.2 (1หน้า)
058+hisp2+dltv54+540909+a+ใบความรู้ การสื่อสารจากอดีตถึงปัจจุบันป.2 (1หน้า)Prachoom Rangkasikorn
 
054+hisp2+dltv54+540902+a+ใบความรู้ การดำรงชีวิตของคนในปัจจุบันป.2 (1หน้า)
054+hisp2+dltv54+540902+a+ใบความรู้ การดำรงชีวิตของคนในปัจจุบันป.2 (1หน้า)054+hisp2+dltv54+540902+a+ใบความรู้ การดำรงชีวิตของคนในปัจจุบันป.2 (1หน้า)
054+hisp2+dltv54+540902+a+ใบความรู้ การดำรงชีวิตของคนในปัจจุบันป.2 (1หน้า)Prachoom Rangkasikorn
 
050+hisp2+dltv54+540826+a+ใบความรู้ การดำเนินชีวิตของคนในอดีตป.2 (1หน้า)
050+hisp2+dltv54+540826+a+ใบความรู้ การดำเนินชีวิตของคนในอดีตป.2 (1หน้า)050+hisp2+dltv54+540826+a+ใบความรู้ การดำเนินชีวิตของคนในอดีตป.2 (1หน้า)
050+hisp2+dltv54+540826+a+ใบความรู้ การดำเนินชีวิตของคนในอดีตป.2 (1หน้า)Prachoom Rangkasikorn
 
046+hisp2+dltv54+540819+a+ใบความรู้ โรงเรียนของเรากับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)
046+hisp2+dltv54+540819+a+ใบความรู้ โรงเรียนของเรากับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)046+hisp2+dltv54+540819+a+ใบความรู้ โรงเรียนของเรากับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)
046+hisp2+dltv54+540819+a+ใบความรู้ โรงเรียนของเรากับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)Prachoom Rangkasikorn
 
042+hisp2+dltv54+540805+a+ใบความรู้ การแสวงหาความรู้เกี่ยวกับโรงเรียนป.2 (1หน้า)
042+hisp2+dltv54+540805+a+ใบความรู้ การแสวงหาความรู้เกี่ยวกับโรงเรียนป.2 (1หน้า)042+hisp2+dltv54+540805+a+ใบความรู้ การแสวงหาความรู้เกี่ยวกับโรงเรียนป.2 (1หน้า)
042+hisp2+dltv54+540805+a+ใบความรู้ การแสวงหาความรู้เกี่ยวกับโรงเรียนป.2 (1หน้า)Prachoom Rangkasikorn
 
039+hisp2+dltv54+540729+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และโรงเรียนป....
039+hisp2+dltv54+540729+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และโรงเรียนป....039+hisp2+dltv54+540729+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และโรงเรียนป....
039+hisp2+dltv54+540729+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และโรงเรียนป....Prachoom Rangkasikorn
 
035+hisp2+dltv54+540722+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และครอบครัวป....
035+hisp2+dltv54+540722+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และครอบครัวป....035+hisp2+dltv54+540722+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และครอบครัวป....
035+hisp2+dltv54+540722+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และครอบครัวป....Prachoom Rangkasikorn
 
028+hisp2+dltv54+540701+a+ใบความรู้ การศึกษาวันสำคัญในปฏิทินป.2 (1หน้า)
028+hisp2+dltv54+540701+a+ใบความรู้ การศึกษาวันสำคัญในปฏิทินป.2 (1หน้า)028+hisp2+dltv54+540701+a+ใบความรู้ การศึกษาวันสำคัญในปฏิทินป.2 (1หน้า)
028+hisp2+dltv54+540701+a+ใบความรู้ การศึกษาวันสำคัญในปฏิทินป.2 (1หน้า)Prachoom Rangkasikorn
 
024+hisp2+dltv54+540624+a+ใบความรู้ การใช้ปฏิทินป.2 (1หน้า)
024+hisp2+dltv54+540624+a+ใบความรู้ การใช้ปฏิทินป.2 (1หน้า)024+hisp2+dltv54+540624+a+ใบความรู้ การใช้ปฏิทินป.2 (1หน้า)
024+hisp2+dltv54+540624+a+ใบความรู้ การใช้ปฏิทินป.2 (1หน้า)Prachoom Rangkasikorn
 
016+hisp2+dltv54+540610+a+ใบความรู้ ความสำคัญของเวลาป.2 (1หน้า)
016+hisp2+dltv54+540610+a+ใบความรู้ ความสำคัญของเวลาป.2 (1หน้า)016+hisp2+dltv54+540610+a+ใบความรู้ ความสำคัญของเวลาป.2 (1หน้า)
016+hisp2+dltv54+540610+a+ใบความรู้ ความสำคัญของเวลาป.2 (1หน้า)Prachoom Rangkasikorn
 
013+hisp2+dltv54+540603+b+ใบความรู้ ฉันเป็นใครป.2 (4หน้า)
013+hisp2+dltv54+540603+b+ใบความรู้ ฉันเป็นใครป.2 (4หน้า)013+hisp2+dltv54+540603+b+ใบความรู้ ฉันเป็นใครป.2 (4หน้า)
013+hisp2+dltv54+540603+b+ใบความรู้ ฉันเป็นใครป.2 (4หน้า)Prachoom Rangkasikorn
 

Mehr von Prachoom Rangkasikorn (20)

129+hisp2+dltv54+550224+b+สไลด์ พระมหากษัตริย์ไทยป.2 (4 หน้า)
129+hisp2+dltv54+550224+b+สไลด์ พระมหากษัตริย์ไทยป.2 (4 หน้า)129+hisp2+dltv54+550224+b+สไลด์ พระมหากษัตริย์ไทยป.2 (4 หน้า)
129+hisp2+dltv54+550224+b+สไลด์ พระมหากษัตริย์ไทยป.2 (4 หน้า)
 
120+hisp2+dltv54+550210+a+สไลด์ ความภูมิใจในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)
120+hisp2+dltv54+550210+a+สไลด์ ความภูมิใจในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)120+hisp2+dltv54+550210+a+สไลด์ ความภูมิใจในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)
120+hisp2+dltv54+550210+a+สไลด์ ความภูมิใจในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)
 
116+hisp2+dltv54+550203+a+สไลด์ โบราณวัตถุป.2 (1 หน้า)
116+hisp2+dltv54+550203+a+สไลด์ โบราณวัตถุป.2 (1 หน้า)116+hisp2+dltv54+550203+a+สไลด์ โบราณวัตถุป.2 (1 หน้า)
116+hisp2+dltv54+550203+a+สไลด์ โบราณวัตถุป.2 (1 หน้า)
 
114+hisp2+dltv54+550127+a+สไลด์ โบราณสถาน ป.2 (1 หน้า)
114+hisp2+dltv54+550127+a+สไลด์ โบราณสถาน ป.2 (1 หน้า)114+hisp2+dltv54+550127+a+สไลด์ โบราณสถาน ป.2 (1 หน้า)
114+hisp2+dltv54+550127+a+สไลด์ โบราณสถาน ป.2 (1 หน้า)
 
106+hisp2+dltv54+550106+a+สไลด์ ภูมิปัญญาด้านอาหารป.2 (1 หน้า)
106+hisp2+dltv54+550106+a+สไลด์ ภูมิปัญญาด้านอาหารป.2 (1 หน้า)106+hisp2+dltv54+550106+a+สไลด์ ภูมิปัญญาด้านอาหารป.2 (1 หน้า)
106+hisp2+dltv54+550106+a+สไลด์ ภูมิปัญญาด้านอาหารป.2 (1 หน้า)
 
091+hisp2+dltv54+541209+a+สไลด์ วัฒนธรรมในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)
091+hisp2+dltv54+541209+a+สไลด์ วัฒนธรรมในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)091+hisp2+dltv54+541209+a+สไลด์ วัฒนธรรมในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)
091+hisp2+dltv54+541209+a+สไลด์ วัฒนธรรมในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)
 
083+hisp2+dltv54+541125+a+สไลด์ บุคคลสำคัญของไทยป.2 (1 หน้า)
083+hisp2+dltv54+541125+a+สไลด์ บุคคลสำคัญของไทยป.2 (1 หน้า)083+hisp2+dltv54+541125+a+สไลด์ บุคคลสำคัญของไทยป.2 (1 หน้า)
083+hisp2+dltv54+541125+a+สไลด์ บุคคลสำคัญของไทยป.2 (1 หน้า)
 
066+hisp2+dltv54+540923+a+ใบความรู้ วัฒนธรรมกับการดำเนินชีวิตป.2 (1หน้า)
066+hisp2+dltv54+540923+a+ใบความรู้ วัฒนธรรมกับการดำเนินชีวิตป.2 (1หน้า)066+hisp2+dltv54+540923+a+ใบความรู้ วัฒนธรรมกับการดำเนินชีวิตป.2 (1หน้า)
066+hisp2+dltv54+540923+a+ใบความรู้ วัฒนธรรมกับการดำเนินชีวิตป.2 (1หน้า)
 
062+hisp2+dltv54+540916+a+ใบความรู้ เหตุการณ์สำคัญกับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)
062+hisp2+dltv54+540916+a+ใบความรู้ เหตุการณ์สำคัญกับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)062+hisp2+dltv54+540916+a+ใบความรู้ เหตุการณ์สำคัญกับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)
062+hisp2+dltv54+540916+a+ใบความรู้ เหตุการณ์สำคัญกับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)
 
058+hisp2+dltv54+540909+a+ใบความรู้ การสื่อสารจากอดีตถึงปัจจุบันป.2 (1หน้า)
058+hisp2+dltv54+540909+a+ใบความรู้ การสื่อสารจากอดีตถึงปัจจุบันป.2 (1หน้า)058+hisp2+dltv54+540909+a+ใบความรู้ การสื่อสารจากอดีตถึงปัจจุบันป.2 (1หน้า)
058+hisp2+dltv54+540909+a+ใบความรู้ การสื่อสารจากอดีตถึงปัจจุบันป.2 (1หน้า)
 
054+hisp2+dltv54+540902+a+ใบความรู้ การดำรงชีวิตของคนในปัจจุบันป.2 (1หน้า)
054+hisp2+dltv54+540902+a+ใบความรู้ การดำรงชีวิตของคนในปัจจุบันป.2 (1หน้า)054+hisp2+dltv54+540902+a+ใบความรู้ การดำรงชีวิตของคนในปัจจุบันป.2 (1หน้า)
054+hisp2+dltv54+540902+a+ใบความรู้ การดำรงชีวิตของคนในปัจจุบันป.2 (1หน้า)
 
050+hisp2+dltv54+540826+a+ใบความรู้ การดำเนินชีวิตของคนในอดีตป.2 (1หน้า)
050+hisp2+dltv54+540826+a+ใบความรู้ การดำเนินชีวิตของคนในอดีตป.2 (1หน้า)050+hisp2+dltv54+540826+a+ใบความรู้ การดำเนินชีวิตของคนในอดีตป.2 (1หน้า)
050+hisp2+dltv54+540826+a+ใบความรู้ การดำเนินชีวิตของคนในอดีตป.2 (1หน้า)
 
046+hisp2+dltv54+540819+a+ใบความรู้ โรงเรียนของเรากับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)
046+hisp2+dltv54+540819+a+ใบความรู้ โรงเรียนของเรากับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)046+hisp2+dltv54+540819+a+ใบความรู้ โรงเรียนของเรากับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)
046+hisp2+dltv54+540819+a+ใบความรู้ โรงเรียนของเรากับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)
 
042+hisp2+dltv54+540805+a+ใบความรู้ การแสวงหาความรู้เกี่ยวกับโรงเรียนป.2 (1หน้า)
042+hisp2+dltv54+540805+a+ใบความรู้ การแสวงหาความรู้เกี่ยวกับโรงเรียนป.2 (1หน้า)042+hisp2+dltv54+540805+a+ใบความรู้ การแสวงหาความรู้เกี่ยวกับโรงเรียนป.2 (1หน้า)
042+hisp2+dltv54+540805+a+ใบความรู้ การแสวงหาความรู้เกี่ยวกับโรงเรียนป.2 (1หน้า)
 
039+hisp2+dltv54+540729+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และโรงเรียนป....
039+hisp2+dltv54+540729+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และโรงเรียนป....039+hisp2+dltv54+540729+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และโรงเรียนป....
039+hisp2+dltv54+540729+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และโรงเรียนป....
 
035+hisp2+dltv54+540722+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และครอบครัวป....
035+hisp2+dltv54+540722+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และครอบครัวป....035+hisp2+dltv54+540722+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และครอบครัวป....
035+hisp2+dltv54+540722+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และครอบครัวป....
 
028+hisp2+dltv54+540701+a+ใบความรู้ การศึกษาวันสำคัญในปฏิทินป.2 (1หน้า)
028+hisp2+dltv54+540701+a+ใบความรู้ การศึกษาวันสำคัญในปฏิทินป.2 (1หน้า)028+hisp2+dltv54+540701+a+ใบความรู้ การศึกษาวันสำคัญในปฏิทินป.2 (1หน้า)
028+hisp2+dltv54+540701+a+ใบความรู้ การศึกษาวันสำคัญในปฏิทินป.2 (1หน้า)
 
024+hisp2+dltv54+540624+a+ใบความรู้ การใช้ปฏิทินป.2 (1หน้า)
024+hisp2+dltv54+540624+a+ใบความรู้ การใช้ปฏิทินป.2 (1หน้า)024+hisp2+dltv54+540624+a+ใบความรู้ การใช้ปฏิทินป.2 (1หน้า)
024+hisp2+dltv54+540624+a+ใบความรู้ การใช้ปฏิทินป.2 (1หน้า)
 
016+hisp2+dltv54+540610+a+ใบความรู้ ความสำคัญของเวลาป.2 (1หน้า)
016+hisp2+dltv54+540610+a+ใบความรู้ ความสำคัญของเวลาป.2 (1หน้า)016+hisp2+dltv54+540610+a+ใบความรู้ ความสำคัญของเวลาป.2 (1หน้า)
016+hisp2+dltv54+540610+a+ใบความรู้ ความสำคัญของเวลาป.2 (1หน้า)
 
013+hisp2+dltv54+540603+b+ใบความรู้ ฉันเป็นใครป.2 (4หน้า)
013+hisp2+dltv54+540603+b+ใบความรู้ ฉันเป็นใครป.2 (4หน้า)013+hisp2+dltv54+540603+b+ใบความรู้ ฉันเป็นใครป.2 (4หน้า)
013+hisp2+dltv54+540603+b+ใบความรู้ ฉันเป็นใครป.2 (4หน้า)
 

ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง สารเคมีที่ใช้ในชีวิตประจำวัน+ป.6+290+dltvscip6+P4 6 u06

  • 1. ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ - ๖ เล่ม ๓ 703 แนวการจัดกิจกรรมกระบวนการเรียนรู้ เพื่อสร้างคุณลักษณะ ดี เก่ง มีสุข ๖ หน่วยการเรียนรู้ที่ มรดกไทย เรื่อง สารเคมีที่ใช้ในชีวิตประจำ�วัน สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้น ป.๔ - ๖
  • 2. คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง 704 การวิเคราะห์แผนผังจากสาระการเรียนรู้ มรดกไทย (สารที่ใช้ใน ชีวิตประจำ�วัน) การกำ�จัดแมลง และศัตรูพืช การจำ�แนกสาร การเปลี่ยนแปลงสาร สารปรุงรสอาหาร สารแต่งสีอาหาร สารทำ�ความสะอาด การแยกสารเนื้อผสม การแยกสารเนื้อเดียว การแยกสาร การละลายสาร การเกิดสารใหม่
  • 3. ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ - ๖ เล่ม ๓ 705 ๑. มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ว ๓.๑ เข้าใจสมบัติของสาร ความสัมพันธ์ระหว่างสมบัติของสารกับโครงสร้างและแรงยึดเหนี่ยว ระหว่างอนุภาค มีกระบวนการสืบเสาะ หาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนำ�ความรู้ไปใช้ประโยชน์ ตัวชี้วัด ป. ๖/๑ ทดลองและอธิบายสมบัติของแข็ง ของเหลว และแก๊ส ป. ๖/๒ จำ�แนกสารเป็นกลุ่มโดยใช้สถานะหรือเกณฑ์อื่นที่กำ�หนดเอง ป. ๖/๓ ทดลองและอธิบายวิธีการแยกสารบางชนิดที่ผสมกัน โดยการร่อน การตกตะกอน การกรอง การระเหิด การระเหยแห้ง ป. ๖/๔ สำ�รวจและจำ�แนกประเภทของสารต่างๆ ที่ใช้ในชีวิตประจำ�วัน โดยใช้สมบัติและการใช้ประโยชน์ ของสารเป็นเกณฑ์ ป. ๖/๕ อภิปรายเลือกใช้สารแต่ละประเภทได้อย่างถูกต้องและปลอดภัย มาตรฐาน ว ๓.๒ เข้าใจหลักการและธรรมชาติของการเปลี่ยนแปลงสถานะของสาร การเกิดสารละลาย การ เกิดปฏิกิริยา มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนำ�ความรู้ไปใช้ประโยชน์ ตัวชี้วัด ป. ๖/๑ ทดลองและอธิบายสมบัติของสาร เมื่อสารเกิดการละลายและเปลี่ยนสถานะ ป. ๖/๒ วิเคราะห์และอธิบายการเปลี่ยนแปลงที่ทำ�ให้เกิดสารใหม่และมีสมบัติเปลี่ยนแปลงไป ป. ๖/๓ อภิปรายการเปลี่ยนแปลงของสารที่ก่อให้เกิดผลต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม ๒. กำ�หนดสาระสำ�คัญของการเรียนรู้ ๑. การเปลี่ยนแปลงของสาร ได้แก่ การเปลี่ยนสถานะ การเกิดสารละลาย และการเกิดสารใหม่ ๒. เมื่อสารเกิดการเปลี่ยนแปลงเป็นสารละลายและเปลี่ยนสถานะ สารนั้นยังคงแสดงสมบัติของสารเดิมอยู่ ถ้าเป็นการเกิดสารใหม่ สมบัติของสารจะเปลี่ยนแปลงไปจากเดิม ๓. การทำ�ให้สารเกิดการเปลี่ยนแปลงก่อให้เกิดผลต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อมและสามารถนำ�ไปใช้ประโยชน์ ในชีวิตประจำ�วันได้ ๔. สารบางชนิดที่ผสมกันอยู่ ถ้าต้องแยกออกจากกัน ต้องใช้วิธีการเหมาะสม เช่น การร่อนด้วยตะแกรง การกรอง การทำ�ให้ตกตะกอน การโครมาโตรกราฟฟี การระเหิด การระเหยแห้ง แผนการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖ มรดกไทย เรื่อง สารที่ใช้ในชีวิตประจำ�วัน ระยะเวลาในการสอน ๑๓ ชั่วโมงป.๖
  • 4. คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง 706 ๕. สารต่างๆ ที่ใช้ในชีวิตประจำ�วันมีหลายประเภท การนำ�สารแต่ละประเภทไปใช้ประโยชน์ ต้องเลือกใช้ ด้วยวิธีที่ถูกต้อง ปลอดภัย และตระหนักถึงสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม ๓. คุณลักษณะที่ต้องการพัฒนา ๑. ให้ผู้เรียนเป็นคนดีโดยสร้างให้ผู้เรียนมีคุณลักษณะด้านคุณธรรมจริยธรรมที่พึงประสงค์ด้านความมุ่งมั่น ขยันหมั่นเพียร ประหยัด อดออม มีความซื่อสัตย์ ๒. ให้ผู้เรียนเป็นคนเก่ง โดยมีความรู้ความเข้าใจ – การละลายสาร – การเกิดสารใหม่ – การแยกสารเนื้อผสม – การแยกสารเนื้อเดียว – การจำ�แนกประเภทสารในชีวิตประจำ�วัน – สารปรุงรสอาหาร สารแต่งสีอาหาร สารทำ�ความสะอาด สารกำ�จัดแมลงและศัตรูพืช ๓. ให้ผู้เรียนมีความสุข โดย – เห็นคุณค่า และมีเจตนคติที่ดีต่อวิทยาศาสตร์ และสร้างผลงานอย่างสร้างสรรค์ – ภูมิใจในผลงานของตนเอง ชื่นชมผลงานของผู้อื่น – มีความสนุกในการเรียนรู้ การทดลอง ๔. การวางแผนการจัดกิจกรรมแบบบูรณาการ คณิตศาสตร์ การบันทึกข้อมูล การทดลอง การงานอาชีพ และเทคโนโลยี ออกแบบประดิษฐ์ เครื่องกรองนํ้าอย่างง่าย ศิลปะ วาดภาพการทดลอง ภาษาอังกฤษ คำ�ศัพท์เกี่ยวกับสารที่ใช้ ในชีวิตประจำ�วัน มรดกไทย (สารที่ใช้ใน ชีวิตประจำ�วัน)
  • 5. ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ - ๖ เล่ม ๓ 707 ๘ ๗ ๖ ๕ ๔ ๓ ๒ ๑ ๕. การวางแผนการจัดการเรียนรู้ ๖. รายละเอียดของกิจกรรม ๑. ครูสนทนากับนักเรียนเกี่ยวกับสารที่ใช้ในชีวิตประจำ�วันในด้านการละลายนํ้าไม่ละลายนํ้าการเกิดสารใหม่ การแยกสาร การจำ�แนกสารที่ใช้ในชีวิตประจำ�วัน และการใช้สารให้ปลอดภัยต่อร่างกาย ๒. นักเรียนร่วมกันอภิปรายสารในชีวิตประจำ�วันได้แก่การเปลี่ยนแปลงสารการแยกสารและการจำ�แนกสาร ในชีวิตประจำ�วัน และการใช้สารให้ปลอดภัยต่อร่างกาย เขียนเป็น Mind Mapping ๓. นักเรียนสืบค้นข้อมูลเรื่อง การเปลี่ยนแปลงของสาร การแยกสาร การใช้สารในชีวิตประจำ�วัน ๔. นักเรียนปฏิบัติการทดลองเรื่อง – การละลายสาร – การเกิดสารใหม่ – การแยกสารเนื้อเดียว การแยกสารเนื้อผสม – การตรวจสอบสารปรุงแต่งอาหาร ๕. นักเรียนนำ�เสนอผลการทดลอง และสรุป นักเรียนปฏิบัติตามกิจกรรมใบงานที่ครูมอบหมาย ๖. นักเรียนสร้างชิ้นงานตามความสนใจ ครูสนทนากับนักเรียน เกี่ยวกับสารในชีวิตประจำ�วัน ในด้านการละลายนํ้าไม่ละลายนํ้า –ซักถามการเกิดสารใหม่ –ซักถามการแยกสาร –ซักถามการจำ�แนกสาร นักเรียนปฏิบัติ การทดลองเรื่อง –การละลายสาร –การเกิดสารใหม่ –การแยกสาร –การทดสอบ สารปรุงแต่งอาหาร นักเรียนนำ�เสนอผลการ ทดลอง – นักเรียนปฏิบัติตาม กิจกรรมใบงาน ที่ครูมอบหมาย นักเรียนสร้างชิ้นงานตาม ความสนใจทำ�โครงงาน นักเรียนนำ�เสนอผลงานของตนเอง – ครูและนักเรียนร่วมกันแสดง ความคิดเห็นและให้ข้อเสนอแนะ ครูและนักเรียนประเมิน ชิ้นงานนำ�ผลงานมาจัดแสดง ในชั้นเรียนและแลกเปลี่ยน ความรู้ซึ่งกันและกัน ให้นักเรียนสืบค้นข้อมูลการ เปลี่ยนแปลงของสารการแยกสาร และการจำ�แนกสาร การใช้สารให้ปลอดภัย นักเรียนอภิปรายสารในชีวิต ประจำ�วันมีการเปลี่ยนแปลงสาร การแยกสารและจำ�แนกสารได้อย่างไรให้ นักเรียนเขียนMindMapping มรดกไทย (สารที่ใช้ใน ชีวิตประจำ�วัน)
  • 6. คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง 708 ๗. นักเรียนนำ�เสนอผลงานของตนเอง ครูและนักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็น และให้ข้อเสนอแนะ ๘. ครูและนักเรียนประเมินชิ้นงาน ๙. นำ�ผลงานมาจัดและแสดงในชั้นเรียน และแลกเปลี่ยนความรู้ซึ่งกันและกัน ๗. รายการอุปกรณ์ประกอบหนังสือวิทยาศาสตร์ ประถมศึกษาปีที่ ๔ - ๖ เรื่อง สารและสมบัติของสาร ที่ รายการ จำ�นวน/ห้อง จำ�นวน/กลุ่ม ราคา โดยประมาณ หมายเหตุ ๑ เส้นเอ็น ๑ ม้วน ๖๐ cm. ๕๐ ๒ เส้นด้าย ๑ หลอด ๖๐ cm. ๕๐ ๓ แถบยางยืด ๑ ห่อ ๖๐ cm. ๓๐ ๔ ชุดทดลองการถ่ายโอนความร้อน ๑ ชุด ๑๕๐ ๕ สายไฟ และคลิปปากจระเข้ ๑ ชุด ๓๐ ๖ ถ่านไฟฉายพร้อมกระบะใส่ไฟฉาย ๑ ชุด ๑๐๐ ๗ กระดาษลิตมัสสีแดง ๑ หลอด ๓ แผ่น ๘๐ ๘ กระดาษลิตมัสสีนํ้าเงิน ๑ หลอด ๓ แผ่น ๘๐ ๙ กระบอกตวง ๑๐๐ ml ๑ อัน ๒๑๐ ๑๐ บีกเกอร์ ๒๕๐ ml Pyrex ๑ ใบ ธรรมดา ๑ ใบ ๑๐๗ ๗๘ ๑๑ บีกเกอร์ ๑๐๐ ml ๕ ใบ ๓๖๕ ๑๒ หลอดทดลอง ๑๐ ml ๕ หลอด ๕๐ ๑๓ หลอดหยด ๒ อัน ๖ ๑๔ ช้อนตักสารเบอร์ ๒ ๑ อัน ๒ ๑๕ ลูกโป่งแบบต่างๆ ๑ ถุง ๕๐ ๑๖ ผงฟู ๑ ถุง ๕๐ ๑๗ กระดาษอะลูมิเนียม ๑๐ × ๑๐ cm. ๗๕ ๑๘ ตะเกียงแอลกอฮอล์, ที่กั้นลม, ตะแกรงลวด ๑ ชุด ๙๑ ๑๙ เทอร์มอมิเตอร์ ๑ อัน ๑๐๐ ๒๐ สายวัด ๑ เส้น ๒๐ ๒๑ แท่งแก้วคน ๑ อัน ๑๒ ๒๒ กรวยแก้ว ๑ อัน ๔๗ ๒๓ กระดาษกรอง wattman No. ๙๓ ๑ กล่อง ๑ แผ่น ๑๓๒ ๒๔ เครื่องชั่ง ๑ เครื่อง ๕๑๐ ๒๕ ถุงพลาสติก ½ Kg. ๒ ถุง ๕๐ ๒๖ หลอดดูดพลาสติก ๑ ห่อ ๑ หลอด ๒๐
  • 7. ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ - ๖ เล่ม ๓ 709 ที่ รายการ จำ�นวน/ห้อง จำ�นวน/กลุ่ม ราคา โดยประมาณ หมายเหตุ ๒๗ ไม้จิ้มฟัน ๑ ห่อ ๕ อัน ๑๒ ๒๘ จานหลุมพลาสติก ๑ จาน ๒๐ ๒๙ ลวดหนีบกระดาษ ๑ กล่อง ๕ ตัว ๑๕ ๓๐ แคลเซียมไฮดรอกไซด์ ๒๕๐ กรัม ๒๓ ๓๑ กระบอกตวง ๑๐ ml ๑ อัน ๑๖๕ ๓๒ โซดาซักผ้า ๑ ขวด ๓๕ ๓๓ ถ้วยยูรีกา ๑ ใบ ๔๕ ๓๔ นํ้าส้มสายชู ๑ ขวด ๒๐ ๓๕ มะนาว ๓ ผล ๒๕ ๓๖ นํ้าอัดลม ๑ ขวด ๑๒ ๓๗ สบู่ ๑ ก้อน ๑๐ ๓๘ ผงซักฟอก ๑ ห่อ ๑๐ ๓๙ ซอสมะเขือเทศ ๑ ขวด ๓๐ ๔๐ นํ้ายาทำ�ความสะอาดสุขภัณฑ์ชนิดนํ้า ๑ ขวด ๖๐ ๔๑ นํ้ายาทำ�ความสะอาดสุขภัณฑ์ชนิดผง ๑ ขวด ๖๐ ๔๒ นํ้าปลา ๑ ขวด ๑๕ ๔๓ แชมพูสระผม ๑ ขวด ๒๐ รวม ๓,๑๒๒ บาท ๘. การประเมินตามสภาพจริง กิจกรรม/พฤติกรรม/ผลงานที่ต้องประเมิน วิธีการ เครื่องมือ ๑. สังเกตการเข้าร่วมกิจกรรม การเข้าร่วมปฏิบัติกิจกรรม การสังเกต แบบสังเกต การสัมภาษณ์ ๒. ตรวจผลงานเป็นกลุ่ม รายบุคคล ความถูกต้อง ความสมบูรณ์ ความสะอาด ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ตรวจผลงาน ใบกิจกรรม ๓. การนำ�เสนอผลงาน การรายงาน การสังเกต แบบประเมินผลงาน ผู้ประเมิน – นักเรียนและเพื่อนนักเรียน – ครู – ผู้ปกครอง หรือผู้ที่เกี่ยวข้องอื่นๆ
  • 8. คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง 710 ๙. สรุปผลการเรียนการสอน ............................................................................................................................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................................................................................................................ w w w w w w w w
  • 9. ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ - ๖ เล่ม ๓ 711 กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖ มรดกไทย เรื่อง การละลาย ชื่อ..................................................................................................................ชั้น............................................เลขที่................................. แผ่นที่ ๑ ใบกิจกรรม คำ�ชี้แจง ผลที่สังเกตได้จากการทำ�กิจกรรมเป็นดังนี้ ตารางบันทึกผลการทดลอง สารที่ใช้ทดลอง การเปลี่ยนแปลงที่สังเกตได้ ชนิดของสารผสม สารเนื้อเดียว สารเนื้อผสม หลอดที่ ๑ นํ้าตาล + นํ้า ........................................................................................................................... ........................................................................................................................... ........................................ ........................................ ........................................ ........................................ หลอดที่ ๒ เกลือ + นํ้า ........................................................................................................................... ........................................................................................................................... ........................................ ........................................ ........................................ ........................................ หลอดที่ ๓ ทราย + นํ้า ........................................................................................................................... ........................................................................................................................... ........................................ ........................................ ........................................ ........................................ หลอดที่ ๔ ดิน + นํ้า ........................................................................................................................... ........................................................................................................................... ........................................ ........................................ ........................................ ........................................ สรุปผลการทดลองเกี่ยวกับการละลายได้ว่าอย่างไร ................................................................................................................................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................................................................................................................................. w w w w w w w w
  • 10. คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง 712 กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖ มรดกไทย เรื่อง การเกิดสารใหม่ ชื่อ..................................................................................................................ชั้น............................................เลขที่................................. แผ่นที่ ๒ ใบกิจกรรม คำ�ชี้แจง ผลที่สังเกตได้จากการทำ�กิจกรรมเป็นดังนี้ ตารางบันทึกผลการทดลอง วิธีทดลอง การเปลี่ยนแปลงที่สังเกตได้ ใส่ผงฟูลงในนํ้าส้มสายชู .............................................................................................................................................. .............................................................................................................................................. .............................................................................................................................................. หยดสารละลายแอมโมเนียหอม ลงในสารละลายจุนสี .............................................................................................................................................. .............................................................................................................................................. .............................................................................................................................................. หยดนํ้าปูนใสลงใน สารละลายผงฟู .............................................................................................................................................. .............................................................................................................................................. .............................................................................................................................................. ผสมปุ๋ยแอมโมเนียมกับปูนขาว .............................................................................................................................................. .............................................................................................................................................. .............................................................................................................................................. สรุปผลการทดลองเกี่ยวกับการเกิดสารใหม่ได้ว่าอย่างไไร ................................................................................................................................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................................................................................................................................. w w w w w w w w
  • 11. ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ - ๖ เล่ม ๓ 713 กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖ มรดกไทย เรื่อง การแยกสารเนื้อผสม ชื่อ..................................................................................................................ชั้น............................................เลขที่................................. แผ่นที่ ๓ ใบกิจกรรม คำ�ชี้แจง ผลที่สังเกตได้จากการทำ�กิจกรรมเป็นดังนี้ ตารางบันทึกผลการทดลอง การทดลอง ลักษณะของนํ้าที่สังเกตได้ ภาชนะใบที่ ๑ ภาชนะใบที่ ๒ ๑. ตักนํ้าจากแหล่งนํ้าใส่ในภาชนะ ๒ ใบ ๒. แกว่งสารส้มในภาชนะใบที่ ๑ จำ�นวน ๑๐ ครั้ง ภาชนะใบที่ ๒ ไม่ได้แกว่งสารส้ม ตั้งไว้ ๑๐ นาที สรุปผลการทดลองได้ว่าอย่างไร ................................................................................................................................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................................................................................................................................................
  • 12. คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง 714 ตอนที่ ๒ ตารางบันทึกผลการทดลอง สารเนื้อผสม วิธีการที่ใช้แยกสาร ผลที่ได้ ๑. ขนมสาคูถั่วดำ� ........................................................................................................ ........................................................................................................ ........................................................................................................ ........................................................................................................ ๒. พิมเสนกับเกลือ ........................................................................................................ ........................................................................................................ ........................................................................................................ ........................................................................................................ ๓. ดินกับนํ้า ........................................................................................................ ........................................................................................................ ........................................................................................................ ........................................................................................................ ๔. นํ้าขุ่นจากคลอง ........................................................................................................ ........................................................................................................ ........................................................................................................ ........................................................................................................ ๕. นํ้ามันกับนํ้า ........................................................................................................ ........................................................................................................ ........................................................................................................ ........................................................................................................ สรุปผลการทดลองเกี่ยวกับการแยกสารเนื้อผสมได้ว่าอย่างไร ................................................................................................................................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................................................................................................................................. w w w w w w w w
  • 13. ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ - ๖ เล่ม ๓ 715 กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖ มรดกไทย เรื่อง การแยกสารเนื้อเดียวหรือสารละลาย ชื่อ..................................................................................................................ชั้น............................................เลขที่................................. แผ่นที่ ๔ ใบกิจกรรม คำ�ชี้แจง ผลที่สังเกตได้จากการทำ�กิจกรรมเป็นดังนี้ ตารางบันทึกผลการทดลอง สารที่ใช้ทดลอง วิธีการที่ใช้แยกสาร ผลที่ได้ สารละลายเกลือ สารละลายนํ้าตาล สรุปผลการทดลองเกี่ยวกับการแยกสารเนื้อเดียวได้ว่าอย่างไร ................................................................................................................................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................................................................................................................................. w w w w w w w w
  • 14. คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง 716 กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖ มรดกไทย เรื่อง การจำ�แนกประเภทของสารที่ใช้ในชีวิตประจำ�วัน ชื่อ..................................................................................................................ชั้น............................................เลขที่................................. แผ่นที่ ๕ ใบกิจกรรม คำ�ชี้แจง ผลที่สังเกตได้จากการทำ�กิจกรรมเป็นดังนี้ ตอนที่ ๑ ตารางบันทึกข้อมูลและผลการทดลอง ชื่อสาร การใช้ประโยชน์ สมบัติของสาร ความเป็นกรด - เบส อื่นๆ ๑. ............................................................................ ........................................................... ........................................................... ........................................................... ๒. ............................................................................ ........................................................... ........................................................... ........................................................... ๓. ............................................................................ ........................................................... ........................................................... ........................................................... ๔. ............................................................................ ........................................................... ........................................................... ........................................................... ๕. ............................................................................ ........................................................... ........................................................... ........................................................... ๖. ............................................................................ ........................................................... ........................................................... ........................................................... ๗. ............................................................................ ........................................................... ........................................................... ........................................................... ๘. ............................................................................ ........................................................... ........................................................... ........................................................... ๙. ............................................................................ ........................................................... ........................................................... ........................................................... ๑๐. ............................................................................ ........................................................... ........................................................... ...........................................................
  • 15. ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ - ๖ เล่ม ๓ 717 ตอนที่ ๒ ๑. เกณฑ์ที่ใช้ในการจำ�แนกคือ ........................................................................................................................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................................................................................................................... ๒. จำ�แนกได้เป็นกี่ประเภท ........................................................................................................................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................................................................................................................... ๓. แผนภาพการจำ�แนกสารเป็นดังนี้ w w w w w w w w
  • 16. คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง 718 กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖ มรดกไทย เรื่อง สารปรุงรสและสารแต่งสีอาหาร ชื่อ..................................................................................................................ชั้น............................................เลขที่................................. แผ่นที่ ๖ ใบกิจกรรม คำ�ชี้แจง ผลที่สังเกตได้จากการทำ�กิจกรรมเป็นดังนี้ ตารางบันทึกผลการทดลอง เวลา การเปลี่ยนแปลงที่สังเกตได้ ชิ้นเนื้อดิบแช่ในนํ้าส้มสายชู ๒.๕% ชิ้นเนื้อดิบแช่ในนํ้า สรุปผลการทดลองได้ว่าอย่างไร ................................................................................................................................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................................................................................................................................. w w w w w w w w
  • 17. ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ - ๖ เล่ม ๓ 719 กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖ มรดกไทย เรื่อง สารทำ�ความสะอาด ชื่อ..................................................................................................................ชั้น............................................เลขที่................................. แผ่นที่ ๗ ใบกิจกรรม คำ�ชี้แจง ผลที่สังเกตได้จากการทำ�กิจกรรมเป็นดังนี้ ๑. สารทำ�ความสะอาดถ้าจำ�แนกตามลักษณะการนำ�ไปใช้ประโยชน์ จะจำ�แนกได้กี่ประเภท อะไรบ้าง ๑. ................................................................................................................................................................................................................................................................... ๒. ................................................................................................................................................................................................................................................................... ๓. ................................................................................................................................................................................................................................................................... ๔. ................................................................................................................................................................................................................................................................... ๒. สารทำ�ความสะอาดมีทั้งชนิดที่เป็น.......................................................................................เป็น........................................................................................ และเป็น........................................................................................................................................................................................................................................................ ๓. ข้อควรปฏิบัติอย่างเคร่งครัดในการใช้ทำ�ความสะอาดห้องนํ้าและเครื่องสุขภัณฑ์ คือ ........................................................................................................................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................................................................................................................... ...........................................................................................................................................................................................................................................................................
  • 18. คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง 720 ตอนที่ ๒ ตารางบันทึกผลการทดลอง การทดลอง การเปลี่ยนแปลงที่สังเกตได้ ๑. หยดนํ้ามันพืชลงในนํ้าแล้วเขย่า ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ๒. หยดแชมพูสระผสม นํ้าสบู่ นํ้ายาล้างจาน และ นํ้าผงซักฟอก ลงในกล่องที่ ๒ ๓ ๔ และ ๕ แล้วเขย่า และเปรียบเทียบกับกล่องที่ ๑ ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ๓. เทของเหลวออกจากกล่องพลาสติกทั้ง ๕ กล่อง เติมนํ้าให้เต็มแล้วเทออกทำ�ซํ้า๒-๓ครั้งเปรียบ เทียบคราบนํ้ามันที่ติดอยู่ในกล่องพลาสติก ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... สรุปผลการทดลองได้ว่าอย่างไร ................................................................................................................................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................................................................................................................................. w w w w w w w w
  • 19. ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ - ๖ เล่ม ๓ 721 กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖ มรดกไทย เรื่อง สารกำ�จัดแมลงและศัตรูพืช ชื่อ..................................................................................................................ชั้น............................................เลขที่................................. แผ่นที่ ๘ ใบกิจกรรม คำ�ชี้แจง ผลที่สังเกตได้จากการทำ�กิจกรรมเป็นดังนี้ บ้านนักเรียนคนที่ ระยะเวลาที่ใช้ สารกำ�จัดแมลง ๑ กระป๋อง คิดเป็นจำ�นวน กระป๋อง / เดือน คิดเป็นจำ�นวน กระป๋อง / ปี (× ๑๒ เดือน) ๑. ๒. ๓. ๔. ๕. สรุปเกี่ยวกับการใช้สารกำ�จัดแมลงและศัตรูพืชได้ว่าอย่างไร ................................................................................................................................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................................................................................................................................. w w w w w w w w
  • 20. คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง 722 ใบความรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสาตร์ เรื่อง สารละลาย เนื้อหาสาระสำ�หรับนักเรียน การละลายเกิดจากสารอย่างน้อย ๒ ชนิด มาผสมกันซึ่งอาจจะเป็น ของแข็งกับของเหลว (นํ้า) เช่น นํ้าเกลือ นํ้าเชื่อม ของเหลวกับของเหลว (นํ้า) เช่น แอลกอฮอล์เช็ดแผล ของแข็งกับของแข็ง เช่น นาก (ทองคำ� + ทองแดง) ทองเหลือง (ทองแดง + สังกะสี) ของเหลว (นํ้า) กับแก๊ส เช่น นํ้าอัดลม แก๊สกับแก๊ส เช่น อากาศบริสุทธิ์ (ปราศจากฝุ่นละออง) สารบางชนิดละลายในนํ้าได้ดีจะมองเห็นเป็นเนื้อเดียวกับนํ้าเรียกสารที่มองเห็นเป็นเนื้อเดียวนี้ว่า สารละลาย ซึ่งมีลักษณะเหมือนกันทุกส่วน โดยไม่สามารถบอกได้ว่าส่วนใดเป็นสารอะไรและเมื่อนำ�ส่วนใดส่วนหนึ่งของสารผสมนี้ ไปทดสอบสมบัติต่างๆ จะแสดงสมบัติเหมือนกันทุกประการ ตัวอย่างเช่น นํ้าเกลือ นํ้าเชื่อม นํ้าโซดา สารบางชนิดเมื่อนำ�ไปละลายในนํ้าจะลายได้บางส่วน ส่วนใหญ่จะไม่ละลาย เนื้อสารจะไม่เหมือนกันทุกส่วน เรียกสารที่มีลักษณะเช่นนี้ว่า สารเนื้อผสม สารเนื้อผสมที่มีอนุภาคเล็กๆ กระจายอยู่ในของเหลวหรือแก๊ส เรียกว่า สารแขวนลอย เช่น นํ้าคลอง นํ้าโคลน ความรู้ส่วนนี้สำ�หรับครู ๑. สารละลายเกิดจากสารอย่างน้อย ๒ ชนิด มาผสมกันซึ่งอาจจะเป็นของแข็งกับของเหลว ของเหลวกับ ของเหลวของแข็งกับของแข็งแก๊สกับแก๊สสารบางชนิดผสมกันได้ดีจนมองเห็นเป็นเนื้อเดียวเรียกสารที่มองเห็นเป็นเนื้อ เดียวนี้ว่า สารละลาย ซึ่งมีลักษณะเหมือนกันทุกส่วนไม่สามารถบอกได้ว่าส่วนใดเป็นสารอะไรโดยทั่วไปสารละลายมีทั้ง ที่เป็นของแข็งของเหลวและแก๊สตัวอย่างสารละลายที่มีสถานะเป็นของเหลวเช่นนํ้าเกลือนํ้าเชื่อมสารละลายที่มีสถานะ เป็นของแข็ง เช่น นาก ทองเหลือง สารละลายที่มีสถานะเป็นแก๊ส เช่น อากาศบริสุทธิ์ที่ปราศจากฝุ่นละอองและควัน สารละลายจึงประกอบด้วยตัวละลายและตัวทำ�ละลาย เช่น นํ้าเกลือ ประกอบด้วย เกลือเป็นตัวละลายและนํ้าเป็นตัวทำ�ละลาย นาก ประกอบด้วย ทองคำ�เป็นตัวละลายและนํ้าเป็นตัวทำ�ละลาย อากาศ ประกอบด้วย แก๊สออกซิเจนและแก๊สอื่นๆ เป็นตัวละลายและแก๊สไนโตรเจนเป็นตัวทำ�ละลาย การชี้บ่งว่า สารใดเป็นตัวละลายและสารใดเป็นตัวทำ�ละลายมีหลักในการพิจารณาดังนี้
  • 21. ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ - ๖ เล่ม ๓ 723 ๑. ถ้าตัวละลายและตัวทำ�ละลายมีสถานะต่างกัน สารที่มี สถานะเดียวกันกับสารละลายจัดเป็นตัวทำ�ละลายและ สารที่มีสถานะต่างไปจากสารละลายจัดเป็นตัวละลาย ๒. ถ้าตัวทำ�ละลายและตัวละลายมีสถานะเดียวกันสารที่ มีปริมาณน้อยกว่าจัดเป็นตัวละลาย สารที่มีปริมาณ มากกว่าเรียกว่าตัวทำ�ละลาย สารละลายยังแสดงสมบัติของสารเดิมและสามารถทำ�ให้ กลับเป็นสารเดิมได้ด้วยวิธีที่แตกต่างกันซึ่งขึ้นอยู่กับสมบััติของสารที่เป็น ส่วนประกอบ ๒. ปัจจุบันนิยมใช้ผงซักฟอกในการซักล้างกันอย่างกว้างขวาง ผงซักฟอกประกอบด้วยสารหลายชนิดผสมกันอยู่ผงซักฟอกบางชนิด จุลินทรีย์ไม่สามารถย่อยสลายได้จะก่อให้เกิดการซักล้าง จะทำ�ให้สาหร่าย และวัชพืชต่างๆในนํ้าเจริญงอกงามและแพร่พันธ์ุอย่างรวดเร็วเมื่อสาหร่าย เหล่านี้ตายจะถูกย่อยสลายด้วยแบคทีเรียชนิดใช้ออกซิเจนทำ�ให้นํ้าขาด ออกซิเจนและสัตว์นํ้าไม่สามารถมีชีวิตอยู่ได้ก่อให้เกิดปัญหาทั้งทางภาวะ มลพิษ ระบบนิเวศ การชลประทาน การเกษตร ตลอดจนการคมนาคม ๓. ในปัจจุบันเกษตรกรใช้ปุ๋ยและสารกำ�จัดศัตรูพืชมากเกิน ความจำ�เป็นซึ่งบางชนิดสลายตัวยากและกระจายตกค้างอยู่บนดินเมื่อถูก ฝนชะล้างลงไปในแม่นํ้าลำ�คลองทำ�ให้สัตว์นํ้าได้รับอันตรายถึงตายถ้าได้รับ ในปริมาณมากแต่ถ้ามีปริมาณไม่มากพอก็จะสะสมอยู่ในตัวสัตว์เมื่อคนกิน สัตว์เหล่านั้นเข้าไป สารกำ�จัดศัตรูพืชก็จะเข้าไปสะสมอยู่ในร่างกายได้ ๔. นํ้ากระด้าง คือ นํ้าที่ไม่ทำ�ฟองกับสบู่ โดยทั่วไปจะพบว่ามี สารหลายชนิดละลายอยู่ในนํ้า เช่น แคลเซียมคลอไรด์ แมกนีเซียมคลอ ไรด์ แคลเซียมซัลเฟต แมกนีเซียมซัลเฟต แคลเซียมไฮโดรเจนคาร์บอเนต แมกนีเซียมไฮโดรเจน-คาร์บอเนต ซึ่งสารเหล่านี้เมื่อทำ�ปฏิกิริยากับสบู่จะ เกิดตะกอน ทำ�ให้เสื้อผ้าสกปรกและถ้าดื่มนํ้ากระด้างเป็นประจำ�จะทำ�ให้ เป็นนิ่วได้ นํ้ากระด้างมี ๒ ชนิด คือ – นํ้ากระด้างชั่วคราวเป็นนํ้ากระด้างที่มีแคลเซียมไฮโดรเจน คาร์บอเนต และแมกนีเซียมไฮโดรเจนคาร์บอเนตละลาย อยู่สามารถทำ�ให้หายกระด้างได้โดยการต้ม – นํ้ากระด้างถาวร เป็นนํ้ากระด้างที่มีแคลเซียมคลอไรด์ แมกนีเซียมคลอไรด์แคลเซียมซัลเฟตและแมกนีเซียม ซัลเฟตละลายอยู่ทำ�ให้หายกระด้างโดยการเติมโซดาซักผ้า ลงในนํ้ากระด้าง แล้วกรองตะกอนออก
  • 22. คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง 724 ๕. ฝนกรดเกิดจากนํ้าฝนละลายแก๊สที่เป็น ออกไซด์ของกำ�มะถัน ได้แก่ ซัลเฟอร์ไดออกไซด์ ซัลเฟอร์ ไตรออกไซด์และแก๊สที่เป็นออกไซด์ของไนโตรเจน ได้แก่ ไนโตรเจนไดออกไซด์ที่มีอยู่ในอากาศบริเวณที่เป็นโรงงาน อุตสาหกรรมเช่นโรงไฟฟ้าถ่านหินโรงแยกแก๊สเกิดเป็นกรด กำ�มะถัน หรือกรดซัลฟิวริกและกรดไนตริกซึ่งเป็นอันตราย ต่อพืชและต่อมนุษย์ ข้อเสนอแนะ ๑. ถ้าไม่มีนํ้าคลองให้ใช้ดินละเอียดละลายในนํ้า ๒. ทรายที่นำ�มาใช้ในการทดลองควรล้างด้วยนํ้าเพื่อแยกเศษผงที่ปะปนอยู่ออกให้หมดเพื่อว่าเมื่อใส่ลงในนํ้าจะ ทำ�ให้นํ้าส่วนบนใส ๓. การทำ�เครื่องกรองนํ้าอย่างง่ายครูควรมอบหมายให้นักเรียนช่วยกันทำ�เป็นกลุ่มแล้วมานำ�เสนอพร้อมทั้งให้ ทดลองกรองนํ้าเพื่อดูประสิทธิภาพในการทำ�งานของเครื่องกรองด้วย ประเมินผล ๑. ประเมินจากการร่วมอภิปรายทั้งภายในกลุ่มและในชั้นเรียน ๒. ประเมินจากการบันทึกผลและสรุปผลการทำ�กิจกรรม ๓. ประเมินจากรายงานการสืบค้นข้อมูล ๔. ประเมินจากแบบทดสอบ ตัวอย่างแบบทดสอบ ๔.๑ จงเสนอแนะแนวทางการป้องกันอันตรายที่เกิดจากการละลายของสารต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม เฉลย การป้องกันอันตรายที่เกิดจากการละลายของสารต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อมมีดังนี้ ๑. ใช้ผงซักฟอกหรือสารซักล้างในปริมาณที่พอเหมาะ เพื่อให้เหลือสารซักล้างในนํ้าทิ้งน้อยที่สุด ๒. ลดการใช้ปุ๋ยเคมีและสารกำ�จัดศัตรูพืช ๓. โรงงานอุตสาหกรรมควรมีเครื่องกำ�จัดแก๊สที่เป็นอันตรายก่อนออกสู่บรรยากาศ ๔. จัดระบบปรับคุณภาพของนํ้าหรือสร้างบ่อพักสำ�หรับรับนํ้าที่ระบายจากบ้านเรือนมาผ่านกระบวนการเพื่อ ลดปริมาณสารที่ไม่พึงประสงค์ทั้งหลายก่อนแล้วจึงระบายลงสู่แม่นํ้าลำ�คลอง โดยประชาชนทุกคนควรมีส่วนรับผิดชอบ ร่วมกับหน่วยงานของรัฐ w w w w w w w w
  • 23. ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ - ๖ เล่ม ๓ 725 ใบความรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ เรื่อง การเปลี่ยนแปลงของสาร เนื้อหาสาระสำ�หรับนักเรียน เมื่อผสมสาร ๒ ชนิด เข้าด้วยกัน ถ้ามีการเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้น เช่น มีแก๊สเกิดขึ้น สีของสารเปลี่ยนไป มีตะกอน หรือมีกลิ่นเกิดขึ้นบางครั้งอาจมีความร้อน เสียง หรือแสงเกิดขึ้นด้วย ลักษณะต่างๆ เหล่านี้คือ การเกิดสารใหม่ หรือเรียก อีกอย่างว่า การเกิดปฏิกิริยาเคมีหรือการเปลี่ยนแปลงทางเคมี สารใหม่ที่เกิดขึ้นจะมีสมบัติแตกต่างไปจากสารเดิมและไม่ สามารถทำ�ให้กลับเป็นสารเดิมได้ การเกิดสารใหม่หรือการเกิดปฏิกิริยาเคมีอาจเกิดขึ้นเองหรือมนุษย์ทำ�ให้เกิดขึ้น สารใหม่ที่ได้สามารถนำ�ไปใช้ ประโยชน์ในด้านต่างๆ ได้มากมาย แต่ถ้าใช้หรือเก็บรักษาไม่ถูกต้องและไม่ระมัดระวังก็อาจเกิดอันตรายได้ ซึ่งจะมีผลต่อ สิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม ข้อเสนอแนะ ๑. จุนสีที่ใช้ควรเป็นชนิดผงละเอียดและสะอาดถ้าเป็นก้อนควรบดให้ละเอียดโดยใช้โกร่งบดเพื่อจะตวงโดยใช้ ช้อนตวงได้ ๒. แอมโมเนียหอม ซึ่งได้จากร้านขายยาทั่วไป ๓. การเตรียมนํ้าปูนใสเพื่อเก็บไว้ใช้ได้นานๆ ควรเตรียมในกล่องพลาสติกที่มีฝาปิดมิดชิด เพื่อไม่ให้แก๊ส คาร์บอนไดออกไซด์ในอากาศเข้าทำ�ปฏิกิริยาได้ โดยตักปูนขาวใส่ในกล่องพลาสติกขนาดใดก็ได้ ประมาณของกล่อง เติม นํ้าให้เกือบเต็มกล่องใช้แท่งแก้วคนให้ทั่วสักครู่จึงปิดฝากล่องแล้วตั้งไว้ข้ามคืนเมื่อต้องการใช้ก็เปิดฝากล่องแล้วรินหรือ ดูดเฉพาะส่วนที่ใสออกมา แล้วรีบปิดฝากล่องทันทีเมื่อใช้เสร็จเพื่อเก็บไว้ใช้ต่อไป ประเมินผล ๑. ประเมินจากความร่วมมือในการทำ�การทดลองและอภิปรายผลการทดลอง ๒. ประเมินจากการบันทึกผลและลงข้อสรุปการทำ�กิจกรรม ๓. ประเมินจากแบบทดสอบ ตัวอย่างแบบทดสอบ (ดูเฉลยท้ายบท) ๑. การเปลี่ยนแปลงของสารมีกี่ลักษณะอะไรบ้าง ๒. การเปลี่ยนแปลงลักษณะใดสามารถทำ�ให้กลับคืนเป็นสารเดิมได้ ๓. นาเกลือเป็นการเปลี่ยนแปลงของสารลักษณะใด ๔. การเผาถ่านไม้เพื่อให้ความร้อนการเกิดฝนกรดเป็นการเปลี่ยนแปลงของสารลักษณะใด ๕. จงยกตัวอย่างเหตุการณ์ที่เกิดจากการทำ�ให้สารเกิดการเปลี่ยนแปลงแล้วมีผลต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
  • 24. คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง 726 เนื้อหาสาระสำ�หรับนักเรียน เมื่อผสมสารเข้าด้วยกัน สารผสมที่ได้อาจจะเป็นสารเนื้อผสมหรือสารละลายซึ่งเป็นสารเนื้อเดียว สารเนื้อผสม อาจจะเป็นของแข็งผสมกับของแข็็งของแข็งผสมกับของเหลวของเหลวผสมกับของเหลวส่วนสารละลายอาจจะเกิดจาก ของแข็งละลายในของเหลว ของเหลวละลายในของเหลว ของแข็งละลายในของแข็ง หรือแก๊สละลายในของเหลว การแยกสารเนื้อผสมอาจทำ�ได้โดยวิธีต่างๆ กัน ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับสมบัติของสารที่เป็นส่วนประกอบ – ถ้าส่วนประกอบของสารเนื้อผสมเป็นของแข็งที่มีขนาดใหญ่และมีลักษณะแตกต่างกันชัดเจนใช้วิธีเลือกออก หรือหยิบออก – ถ้าส่วนประกอบของสารเนื้อผสมเป็นของแข็งที่มีขนาดแตกต่างกันแยกโดยการร่อน – ถ้าส่วนประกอบของสารเนื้อผสมชนิดหนึ่งเป็นสารที่ระเหิดได้แยกโดยการระเหิด – ถ้าส่วนประกอบของสารเนื้อผสมเป็นของแข็งกับของเหลวแยกโดยการกรองด้วยกระดาษกรองทั้งนี้ของแข็ง ต้องมีขนาดใหญ่จนไม่สามารถลอดผ่านกระดาษกรองได้ – ถ้าส่วนประกอบของสารเนื้อผสมเป็นของแข็งกับของเหลวในลักษณะที่เป็นสารแขวนลอยแยกโดยวิธี การ ทำ�ให้ตกตะกอน – ถ้าส่วนประกอบของสารเนื้อผสมเป็นของเหลวแยกโดยวิธีตั้งไว้ให้แยกชั้นแล้วรินหรือซ้อนออกจากกัน ประเมินผล ๑. ประเมินผลจากการอภิปรายภายในกลุ่มและในชั้นเรียน ๒. ประเมินจากการบันทึกผลการทดลอง ๓. ประเมินจากรายงานการทำ�โครงงาน ๔. ประเมินจากแบบทดสอบ ตัวอย่างแบบทดสอบ ๔.๑ วิธีแยกพิมเสนอออกจากเกลือ นอกจากจะใช้วิธีการระเหิดแล้วอาจใช้วิธีอื่นได้หรือไม่ (เกลือละลายในนํ้า แต่พิมเสนไม่ละลาย) ๔.๒ ในการทำ�ขนมที่มีแป้งเป็นส่วนผสมจะต้องทำ�การร่อนแป้งก่อนเพื่อวัตถุประสงค์อะไร เฉลย ๔.๑ วิธีแยกพิมเสนออกจากเกลือนอกจากโดยวิธีการระเหิด แล้วอาจแยกโดยวิธีการนำ�สารผสมไปละลาย นํ้า พิมเสนไม่ละลายในนํ้า แต่เกลือละลายได้ในนํ้าจึงแยกพิมเสนออกโดยการกรองด้วยกระดาษกรอง พิมเสนจะติดอยู่บนกระดาษกรอง ส่วนสารละลายที่กรองได้จะมีเกลือละลายอยู่ ซึ่งนำ�มาแยกเกลือออก จากสารละลาย โดยวิธีการระเหยแห้ง ๔.๒ ในการทำ�ขนมที่มีแป้งส่วนผสมจะต้องทำ�การร่อนแป้งก่อนเพื่อแยกแป้งที่มีก้อนขนาดใหญ่ออกเหลือแต่ แป้งเม็ดละเอียด ซึ่งจะทำ�ให้เนื้อขนมละเอียดและนุ่ม
  • 25. ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ - ๖ เล่ม ๓ 727 เนื้อหาสาระสำ�หรับนักเรียน สารละลายเป็นสารเนื้อเดียวที่เกิดจากสารอย่างน้อย ๒ ชนิด ผสมกัน อาจเป็นของแข็งกับของเหลว เช่น นํ้าเกลือ นํ้าเชื่อม ของเหลวกับของเหลวเช่น แอลกอฮอล์ ๗๐% ใช้เช็ดแผลเป็นสารผสมระหว่างเอทิลแอลกอฮอล์ ๗๐ ส่วน กับนํ้า ๓๐ ส่วน โดยปริมาตร แก๊สกับของเหลว เช่น นํ้าอัดลม ซึ่งอัดแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ที่มีความดันสูงลงไปในนํ้าหวาน ของแข็งกับของแข็งเช่นนากทองเหลืองซึ่งนากเป็นสารผสมระหว่างทองคำ�กับทองแดงส่วนทองเหลืองเป็น ส่วนผสมระหว่างทองแดงกับสังกะสี การแยกสารละลายแต่ละชนิดขึ้นอยู่กับสมบัติของสารที่เป็นส่วนประกอบจึงต้องแยกด้วยวิธีการต่างๆ กัน เนื้อหาสาระสำ�หรับนักเรียน สารที่ใช้ในชีวิตประจำ�วันมีมากมายเป็นทั้งเครื่องอุปโภคและบริโภคสารต่างๆ เหล่านี้ล้วนมีองค์ประกอบเป็น สารเคมีเมื่อพิจารณาตามการนำ�ไปใช้ประโยชน์และสมบัติความเป็นกรดเบสของสาร สามารถจำ�แนกเป็นประเภทใหญ่ๆ ได้แก่ สารปรุงรสอาหาร และสารแต่งสีอาหาร สารทำ�ความสะอาด สารกำ�จัดแมลงและศัตรูพืช การใช้สารในชีวิตประจำ�วันต้องเลือกใช้ให้ตรงตามวัตถุประสงค์และต้องใช้อย่างถูกต้อง เพื่อความปลอดภัย ต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม ความเป็นกรด - เบส จัดเป็นสมบัติเฉพาะตัวอย่างหนึ่งของสาร การทดสอบความเป็นกรด - เบส สามารถ ใช้กระดาษลิตมัสหรือนํ้าสีที่สกัดจากพืชธรรมชาติ สารที่มีสมบัติเป็นกรดจะเปลี่ยนสีกระดาษลิตมัสสีนํ้าเงินเป็นสีแดง สารที่ใช้ในชีวิตประจำ�วันที่มีสมบัติเป็น กรด เช่น นํ้ามะนาว นํ้าส้มสายชู นํ้ามะขาม นํ้าผลไม้ต่างๆ สารที่มีสมบัติเป็นเบสจะเปลี่ยนสีกระดาษลิตมัสสีแดงเป็นสีนํ้าเงินสารที่ใช้ในชีวิตประจำ�วันที่มีสมบัติเป็นเบส เช่น นํ้าสบู่ นํ้าผงซักฟอก นํ้าขี้เถ้า นํ้ายาล้างจาน แต่นํ้ายาล้างจานชนิดที่ผสมนะนาวจะสมบัติเป็นกรด สารที่มีสมบัติเป็นกลางจะไม่เปลี่ยนสีกระดาษลิตมัสทั้งสีแดงและสีนํ้าเงิน เช่น นํ้า นํ้าเกลือ นํ้าเชื่อม นอกจากจะใช้กระดาษลิตมัสตรวจสอบความเป็นกรด - เบส ของสารแล้วยังมีอุปกรณ์อื่นๆ ที่ใช้ตรวจสอบ ความเป็นกรด - เบสของสารอีก เช่น กระดาษ pH นักวิทยาศาสตร์ใช้เลข ๐ - ๑๔ แสดงค่าความเป็น กรด - เบส ของสารซึ่งเรียกค่านี้ว่า ค่า pH กระดาษลิตมัส pH มิเตอร์ กระดาษ pH ๐ ๗ ๑๔ กรด กลาง เบส
  • 26. คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง 728 การประเมินผล ๑. ประเมินผลจากความร่วมมือในการรวบรวมข้อมูลภายในกลุ่ม ๒. ประเมินผลจากความตั้งใจในการนำ�เสนอข้อมูลในชั้นเรียน ๓. ประเมินจากแบบทดสอบ ตัวอย่างแบบทดสอบ ๓.๑ สารที่ใช้ในชีวิตประจำ�วันแบ่งเป็นประเภทใหญ่ๆ ได้แก่อะไรบ้าง ๓.๒ เกณฑ์ที่นักเรียนคิดว่าจะนำ�มาใช้จำ�แนกสารในชีวิตประจำ�วัน มีอะไรบ้าง เฉลย ๓.๑ สารที่ใช้ในชีวิตประจำ�วันแบ่งเป็นประเภทใหญ่ๆ ได้แก่ – สารปรุงรสและสารแต่งสีอาหาร – สารทำ�ความสะอาด – สารกำ�จัดแมลงและศัตรูพืช ๓.๒ เกณฑ์ที่นำ�มาใช้ในการจำ�แนกสารในชีวิตประจำ�วันอาจเป็นดังนี้ – กินได้/กินไม่ได้ – มีสี/ไม่มีสี – เป็นกรด/เบส/กลาง – ใช้ในครัว/ใช้ในห้องนํ้า w w w w w w w w
  • 27. ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ - ๖ เล่ม ๓ 729 ใบความรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ เรื่อง ความเป็นกรดเป็นด่าง สารที่สมบัติเป็นกรดจะมีค่า pH อยู่ระหว่าง ๐-๖ สารที่มีสมบััติเป็นเบสมีค่า pH อยู่ระหว่าง ๘ - ๑๔ สารที่มี สมบัติเป็นกลางมีค่า pH เท่ากับ ๗ ความรู้ส่วนนี้สำ�หรับครู ความเป็นกรด - เบส จัดเป็นสมบัติเฉพาะตัวอย่างหนึ่งของสารซึ่งสามารถทดสอบได้ด้วยกระดาษลิตมัส นํ้าสี ที่สกัดจากพืชธรรมชาติยูนิเวอแซลอินดิเคเตอร์ กระดาษ pH pH มิเตอร์ สารที่ใช้ตรวจสอบความเป็นกรด - เบส เรียกว่า อินดิเคเตอร์ (indicator) สารที่มีสมบัติเป็นกรด (acid) คือสารที่เมื่อนำ�มาละลายนํ้าแล้วสามารถแตกตัวให้ไฮโดรเจนไอออน (H+) เช่น กรดนํ้าส้ม หรือกรดแอซีติก (acetic acid) มีสูตรโมเลกุลคือ CH3 COOH เมื่อนำ�มาละลายนํ้าจะแตกตัวให้ H+ ดังนี้ CH3 COOH → CH3 COO– + H+ นํ้าส้มสายชูจึงมีสมบัติเป็นกรดเมื่อทดสอบด้วยกระดาษลิตมัส จะเปลี่ยนสีกระดาษลิตมัสจากสีนํ้าเงินเป็นสีแดง เมื่อทดสอบด้วย pH มิเตอร์ จะได้ตัวเลขที่มีค่าตํ่ากว่า ๗ และเมื่อทดสอบด้วยกระดาษ pH จะเปลี่ยนสี กระดาษ pH จากเหลืองเป็นส้มหรือแดง ตามลำ�ดับ ความเข้มข้นของกรด สีของ กระดาษ pH ที่เปลี่ยนไปเมื่อนำ�มาเปรียบเทียบกับแถบสีบนตลับก็จะทราบค่า pH ของสารนั้น สารที่มีสมบัติเป็นเบส(base)คือสารที่เมื่อนำ�มาละลายนํ้าแล้วสามารถ แตกตัวให้ไฮดรอกไซด์ไอออน (OH) เช่น นํ้าขี้เถ้า มีชื่อทางเคมีว่า โพแทสเซียม ไฮดรอกไซด์ (potassiumhydroxide, KOH) เมื่อนำ�มาละลายนํ้าจะแตกตัวให้ OH– ดังนี้ KOH → K+ + OH–
  • 28. คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง 730 นํ้าขี้เถ้าจึงมีสมบัติเป็นเบสเมื่อทดสอบด้วยกระดาษลิตมัสจะเปลี่ยนสีกระดาษลิตมัสจากสีแดงเป็นสีนํ้าเงิน เมื่อทดสอบด้วย pH มิเตอร์จะได้ตัวเลขที่มีค่ามากกว่า ๗ และเมื่อทดสอบด้วยกระดาษ pH จะเปลี่ยนสีกระดาษ pH จาก สีเหลืองเป็นสีเขียวหรือนํ้าเงินตามลำ�ดับความเข้มข้นของเบส และเมื่อนำ�สีที่ได้จากการทดสอบมาเปรียบเทียบกับแถบ สีบนตลับก็จะทราบค่า pH ของสารที่ทดสอบได้ ข้อเสนอแนะ ๑. รายชื่อสารที่ใช้ในชีวิตประจำ�วันที่สำ�รวจได้จากบ้านของนักเรียนแต่ละกลุ่มอาจจะมากน้อยไม่เท่ากันและ ไม่เหมือนกันบางกลุ่มอาจจะสำ�รวจมาได้มาก บางกลุ่มอาจจะได้น้อยขึ้นอยู่กับครอบครัวของนักเรียนแต่ละคนใน แต่ละกลุ่ม ๒. ครูควรนำ�สารต่างๆ มาทำ�ให้เป็นสารละลายใส่ไว้ในบีกเกอร์ สำ�หรับให้นักเรียนใช้ร่วมกันทั้งห้องเพื่อ ประหยัดเวลาและเพื่อความปลอดภัยของนักเรียน โดยเตรียมสารไว้ประมาณ ๓ ชุด/ห้องเรียนและควรใส่ไม้จิ้มฟันไว้ใน บีกเกอร์สารละลายแต่ละชนิดชนิดละ ๑ อัน เพื่อป้องกันการปนเปื้อนจากสารอื่น w w w w w w w w