SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 14
ความหมายของเพลงกล่อมเด็ก

       เพลงกล่อมเด็กเป็นวัฒนธรรมท้องถิ่นอย่างหนึ่งที่สะท้อนให้
เห็นถึงความเชื่อและค่านิยมของคนในท้องถินต่างๆ คนทุกชาติทุก
                                          ่
ภาษาในโลกมีบทเพลงกล่อมเด็กด้วยกันทั้งนั้น สันนิษฐานว่าเพลง
กล่อมเด็กมีวิวัฒนาการจากการเล่านิทานให้เด็กฟังก่อนนอน ดังนั้น
เพลงกล่อมเด็กบางเพลงจึงมีลักษณะเนื้อร้องที่เป็นเรื่องเป็นราว เช่น
จันทรโครพ ไชยเชษฐ์ พระรถเสน เป็นต้น การที่ต้องมีเพลงกล่อม
เด็กก็เพื่อให้เด็กเกิดความเพลิดเพลิน หลับง่าย และเกิดความอบอุ่น
ใจ

ลักษณะของเพลงกล่อมเด็ก

       ลักษณะกลอนของเพลงกล่อมเด็กจะเป็นกลอนชาวบ้านไม่มี
แบบแผนแน่นอน เพียงแต่มีสัมผัสคล้องจองกันบ้าง ถ้อยคำาที่ใช้ใน
บางครั้งอาจไม่มีความหมาย เนื้อเรื่องจะเกี่ยวกับธรรมชาติสิ่ง
แวดล้อม หรือเรื่องราวต่างๆ ทีเกี่ยวกับชีวิตความเป็นอยู่ ซึงสะท้อน
                             ่                            ่
ให้เห็นความรัก ความห่วงใยของแม่ที่มีต่อลูก ทั้งยังมีการสั่งสอนและ
เสียดสีสังคม สามารถแยกเป็นข้อได้ดังนี้

     เป็นบทร้อยกรองสั้นๆ มีคำาคล้องจองต่อเนื่องกันไป
     มีฉันทลักษณ์ไม่แน่นอน
     ใช้คำาง่ายๆ สั้นหรือยาวก็ได้
     มีจังหวะในการร้องและทำานองที่เรียบง่าย สนุกสนาน จดจำาได้
ง่า
 ประเภทของเนื้อเพลงกล่อมเด็ก

     แสดงความรักความห่วงใย
     กล่าวถึงสิ่งแวดล้อม
     เล่าเป็นนิทานและวรรณคดี
     เป็นการเล่าประสบการณ์
     ล้อเลียนและเสียดสีสังคม
     ความรู้เกี่ยวกับการดูแลเด็ก
เป็นคติ คำาสอน

เพลงกล่อมเด็กในแต่ละภาค

     ในประเทศไทยเรานั้นมีเพลงกล่อมเด็กอยู่ทั่วทุกภาค เนื้อร้อง
และทำานองจะต่างกันไป มีชื่อเรียกหลายอย่าง เช่น ภาคเหนือเรียก
"เพลงนอนสาหล่า" "นอนสาเดอ" ภาคกลางเรียก "เพลงกล่อมเด็ก"
"เพลงกล่อมลูก" ส่วนภาคใต้เรียก "เพลงชาน้อง" "เพลงเปล" "
เพลงน้องนอน" และ "เพลงร้องเรือ" โดยเพลงกล่อมเด็กเป็น
คติชาวบ้านประเภทใช้ภาษาเป็นสื่อที่การถ่ายทอดจากปากต่อปาก
มาแต่โบราณ เรียกว่า "มุขปาฐะ" มีลักษณะเป็นวัฒนธรรมพื้นบ้านที่มี
บทบาทและหน้าทีแสดงเอกลักษณ์ของแต่ละชุมชน
                ่

เพลงกล่อมเด็กภาคเหนือ

        สำาหรับภาคเหนือ หรือดินแดนล้านนาอันสงบสวยงาม มีเพลง
กล่อมลูกสืบทอดเป็นลักษณะแบบแผนเฉพาะของตนเองมาช้านาน
อาจารย์สิงฆะ วรรณไสย แห่งมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เรียก
ฉันทลักษณ์ของเพลงกล่อมเด็กภาคเหนือว่า "คำารำ่า" ซึ่งจัดเป็น
ลำานำาชนิดหนึ่ง หมายถึงการรำ่าพรรณนา มีเสียงไพเราะ สูงตำ่าตามสี
ยงวรรณยุกต์ของสำาเนียงภาคเหนือ นิยมใช้แต่งในการรำ่าบอกไฟขึ้น
รำ่าสร้างวิหาร รำ่าสร้างเจดีย์ รำ่าสร่างถนน ขึ้นดอยสุเทพ และแตงเป็น
คำากล่อมเด็ก

       คำากล่อมเด็กนี้ พ่อแม่ ปูย่า ตายาย ในภาคเหนือสมัยก่อนมัก
                                ่
จะใช้ขับกล่อมสอนลูกหลานขณะอุ้มเด็กนั่งชิงช้าแกว่งไกวช้าๆ จน
เด็กง่วงนอน จึงอุ้มไปวางบนที่นอนหรือในเปลแล้วแห่กล่อมต่อจน
เด็กหลับสนิท คำากล่อมเด็กนี้จึงเรียนว่า "สิกจุ้งจาโหน" ตามเสียงที่
ใช้ขึ้นต้นเพลง

      ลักษณะเด่นของเพลงกล่อมเด็กภาคเหนือนอกจากจะขึ้นต้น
ด้วยคำาว่าสิกจุ้งจาโหนแล้วยังมักจะขึ้นต้นด้วยคำาว่า "อื่อจา" เป็นส่วน
ใหญ่ จึงเรียกเพลงกล่อมเด็กนี้ว่า เพลงอื่อลูก ทำานองและลีลาอื่อลูก
จะเป็นไปช้าๆ ด้วยนำ้าเสียงทุ้มเย็น ตามถ้อยคำาที่สรรมาเพื่อสั่งสอน
พรรณาถึงความรัก ความห่วงใยลูกน้อย จนถึงคำาปลอบ คำาขู่ ขณะยัง
ไม่ยอมหลับ ถ้อยคำาต่างๆ ในเพลงกล่อมเด็กภาคเหนือสะท้อนให้
เห็นสภาพความเป็นอยู่ สิ่งแวดล้อม และวัฒนธรรมต่างๆ ของคนใน
ภาคเหนือในอดีตจนปัจจุบันได้เป็นอย่างดี นับเป็นประโยชน์ทางอ้อม
ที่ได้รบนอกเหนือจากความอบอุ่นใจของลูกที่เป็นประโยชน์โดยตรง
       ั
ของเพลงกล่อมเด็ก

พลงกล่อมเด็กภาคอีสาน

       เพลงพื้นบ้านอีสาน มีลักษณะเด่นชัดกับการขับร้องอันเป็น
ธรรมชาติ บ่งบอกความจริงใจ ความสนุกสนาน และความสอดคล้อง
กลมกลืนกับเครื่องดนตรีประจำาท้องถิ่น คือ แคน แม้การขับกล่อมลูก
ซึ่งไม่ใช้เครื่องดนตรีใดๆ ประกอบ ก็สื่อให้ผู้ฟังรูทันทีว่าเป็นเพลง
                                                  ้
ของภาคอีสาน

        ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ หรือภาคอีสาน เป็นดินแดนที่กว้าง
ขวางและมีประชากรมากที่สุดในบรรดา 4 ภาคของไทย เพลงกล่อม
ลูกจึงมีหลายสำาเนียง ถ้าเป็นอีสานตอนเหนือจะมีสำาเนียงคล้ายลาว
ถ้าเป็นอิสานตอนใต้จะมีสำาเนียงคล้ายเขมร แต่เพลงกล่อมลูกที่แพร่
หลายและยอมรับว่าเป็นเอกลักษณ์ของอีสานจะเป็นสำาเนียงอีสาน
ตอนเหนือ และมักจะขึ้นต้นด้วยคำาว่า "นอนสาหล่า" หรือ "นอกสา
เดอ" หรือ "นอนสาแม่เยอ" มีทำานองลีลาเรียบง่ายช้าๆ และมีกลุม   ่
เสียงซำ้าๆ กันทั้งเพลงเช่นเดียวกับภาคเหนือ การใช้ถ้อยคำามีเสียง
สัมผัสคล้ายกลอนสุภาพทั่วไป และเป็นคำาพื้นบ้านที่มีความหมายใน
เชิงสั่งสอนลูกหลานด้วยความรักความผูกพัน

       ซึ่งมักจะประกอบด้วย 4 ส่วนเสมอ คือ ส่วนที่เป็นการ
ปลอบโยนการขู่และการขอโดยมุ่งให้เด็กหลับเร็วๆ นอกจากนี้ก็จะ
เป็นคำาทีแสดงสภาพสังคมด้านต่างๆ เช่น ความเป็นอยู่ บรรยากาศใน
          ่
หมู่บ้าน ค่านิยม ขนบธรรมเนียมประเพณี เป็นต้น คุณค่าของเพลง
กล่อมเด็กอีสาน จึงมีพร้อมทั้งทางด้านจิตใจและด้านการศึกษาของ
ชาติ
เพลงกล่อมเด็กภาคกลาง

        เพลงกล่อมเด็กภาคกลางเป็นทีรู้จักแพร่หลายและมีการบันทึก
                                       ่
ไว้เป็นหลักฐานมากกว่าเพลงกล่อมเด็กภาคอื่น ซึ่งสะดวกแก่การ
ศึกษาค้นคว้า การฟื้นฟู และการอนุรักษ์ โดยไม่มีชื่อเฉพาะสำาหรับ
เรียกเพลงกล่อมเด็กภาคกลาง เนื่องจากขึ้นต้นบทร้องด้วยคำาหลาก
หลายชนิดตามแต่เนื้อหาของเพลง นักวิชาการหลายท่านได้ศึกษา
แบ่งประเภทเนื่อหาของเพลงกล่อมเด็กภาคกลางไว้คล้ายกัน คือ
      ประเภทสะท้อนให้เห็นความรักความผูกพันระหว่างแม่กับลูก
ดังจะเห็นได้จากถ้อยคำาทีใช้เรียกลูกว่าเจ้าเนื้อละเอียด เจ้าเนื้ออุ่น
                            ่
เจ้าเนื้อเย็นสุดที่รักสุดสายใจ เป็นต้น
      ประเภทสะท้อนให้เห็นความเป็นอยู่ของคนไทยภาคกลางใน
ด้านต่างๆ เช่น ความเจริญทางวัตถุ ประเพณี วัฒนธรรมต่างๆ ความ
ศรัทธา ความเชื่อคุณธรรมประจำาใจ อารมณ์ขัน และการทำามาหากิน
ของประชาชน
      ประเภทให้ความรู้ด้านต่างๆ เช่น ความรู้ทางภาษา ธรรมชาติ
วิทยา วรรณคดี นิทาน ภูมิศาสาตร์ ประวัติศาสตร์ แบบแผนการ
ปกครอง และครอบครัว

       ลักษณะทำานองและลีลาของเพลงกล่อมเด็กภาคกลางจะ
เป็นการขับกล่อมอย่างช้าๆ เช่นเดียวกับภาคอื่นๆ กลุ่มเสียงก็จะซำ้าๆ
เช่นกัน แต่จะเน้นการใช้เสียงทุมเย็น และยึดคำาแต่ละคำาให้เชื่อม
                              ้
กลืนกันไปอย่างไพเราะ อ่อนหวาน ไม่ให้มีเสียงสะดุด ทังนี้เพื่อมุ่ง
                                                     ้
ให้เด็กฟังจนหลับสนิทในที่สุด

เพลงกล่อมเด็กภาคใต้

      ในบรรดาภาษาถิ่น ภาคใต้เป็นภาษาถิ่นที่คนไทยส่วนใหญ่รู้จัก
มากที่สุดเพราะมีสำาเนียงที่เป็นเอกลักษณ์ชัดเจนที่สุด เช่นเดียวกับ
เพลงกล่อมลูกภาคใต้ที่มทำานองและลีลาเด่นเป็นของตนเอง เพลง
                         ี
กล่อมลูกภาคใต้ มีชื่อเรียก 4 อย่าง คือ เพลงร้องเรือ เพลงชาน้อง
หรือเพลงช้าน้อง เพลงเสภา และเพลงน้องนอน
ที่เรียกว่าเพลงร้องเรือ สันนิษฐานว่าน่าจะเป็นเพราะลักษณะ
ของเปลที่ใช้ผ้าผูกมีรูปร่างคล้ายเรือ เพลงชาน้องหรือช้าน้อง คำาว่า
ชา มาจาก คำาว่าบูชา ซึ่งแปลว่าสดุดีหรือกล่อมขวัญ ชาน้องหรือช้า
น้อง จึงหมายถึงการสดุดีแม่ซื้อ ซึ่งเชื่อกันว่าเป็นเทวดาหรือผีประจำา
ทารก เพลงเสภาเป็นเพลงทีใช้โต้คารมกันเป็นบทปฏิพากย์แสดง
                              ่
ปฏิภาณไหวพริบ นำามาใช้ในเพลงกล่อมลูกเพลงน้องนอน เป็นการ
มุ่งกล่อมน้องหรือกล่อมลูกโดยตรง ลักษณะเด่นของทำานองกล่อม
ลูกภาคใต้ ไม่วาจะเป็นเพลงประเภทใดคือมักจะขึ้นต้นเพลงด้วยคำา
                  ่
ว่า "ฮา เอ้อ" หรือมีคำาว่า "เหอ" แทรกอยู่เสมอในวรรคแรกของ
บทเพลง แล้วจึงขับกล่อมไปช้าๆ เหมือนภาคอื่นๆ

      จากหลักฐานการค้นคว้าเพลงกล่อมเด็กภาคใต้ ของศาสตรา
จารย์สุธิวงศ์ พงศ์ไพบูลย์ ระบุไว้ว่าเพลงกล่อมเด็กภาคใต้มีจุด
ประสงค์และโอกาสการใช้กว้างขวาง จำานวนเพลงจึงมีมากถึง 4,300
เพลง นับว่ามากกว่าทุกภาคในประเทศ
ความหมายของเพลงกล่อมเด็ก

       เพลงกล่อมเด็กเป็นวัฒนธรรมท้องถิ่นอย่างหนึ่งที่สะท้อนให้
เห็นถึงความเชื่อและค่านิยมของคนในท้องถินต่างๆ คนทุกชาติทุก
                                          ่
ภาษาในโลกมีบทเพลงกล่อมเด็กด้วยกันทั้งนั้น สันนิษฐานว่าเพลง
กล่อมเด็กมีวิวัฒนาการจากการเล่านิทานให้เด็กฟังก่อนนอน ดังนั้น
เพลงกล่อมเด็กบางเพลงจึงมีลักษณะเนื้อร้องที่เป็นเรื่องเป็นราว เช่น
จันทรโครพ ไชยเชษฐ์ พระรถเสน เป็นต้น การที่ต้องมีเพลงกล่อม
เด็กก็เพื่อให้เด็กเกิดความเพลิดเพลิน หลับง่าย และเกิดความอบอุ่น
ใจ

ลักษณะของเพลงกล่อมเด็ก

     ลักษณะกลอนของเพลงกล่อมเด็กจะเป็นกลอนชาวบ้านไม่มี
แบบแผนแน่นอน เพียงแต่มีสัมผัสคล้องจองกันบ้าง ถ้อยคำาที่ใช้ใน
บางครั้งอาจไม่มีความหมาย เนื้อเรื่องจะเกี่ยวกับธรรมชาติสิ่ง
แวดล้อม หรือเรื่องราวต่างๆ ทีเกี่ยวกับชีวิตความเป็นอยู่ ซึงสะท้อน
                             ่                            ่
ให้เห็นความรัก ความห่วงใยของแม่ที่มีต่อลูก ทั้งยังมีการสั่งสอนและ
เสียดสีสังคม สามารถแยกเป็นข้อได้ดังนี้

     เป็นบทร้อยกรองสั้นๆ มีคำาคล้องจองต่อเนื่องกันไป
     มีฉันทลักษณ์ไม่แน่นอน
     ใช้คำาง่ายๆ สั้นหรือยาวก็ได้
     มีจังหวะในการร้องและทำานองที่เรียบง่าย สนุกสนาน จดจำาได้
ง่าย
 ประเภทของเนื้อเพลงกล่อมเด็ก

     แสดงความรักความห่วงใย
     กล่าวถึงสิ่งแวดล้อม
     เล่าเป็นนิทานและวรรณคดี
     เป็นการเล่าประสบการณ์
     ลอเลียนและเสียดสีสังคม
     ความรู้เกี่ยวกับการดูแลเด็ก
     เป็นคติ คำาสอน

เพลงกล่อมเด็กในแต่ละภาค

     ในประเทศไทยเรานั้นมีเพลงกล่อมเด็กอยู่ทั่วทุกภาค เนื้อร้อง
และทำานองจะต่างกันไป มีชื่อเรียกหลายอย่าง เช่น ภาคเหนือเรียก
"เพลงนอนสาหล่า" "นอนสาเดอ" ภาคกลางเรียก "เพลงกล่อมเด็ก"
"เพลงกล่อมลูก" ส่วนภาคใต้เรียก "เพลงชาน้อง" "เพลงเปล" "
เพลงน้องนอน" และ "เพลงร้องเรือ" โดยเพลงกล่อมเด็กเป็น
คติชาวบ้านประเภทใช้ภาษาเป็นสื่อที่การถ่ายทอดจากปากต่อปาก
มาแต่โบราณ เรียกว่า "มุขปาฐะ" มีลักษณะเป็นวัฒนธรรมพื้นบ้านที่มี
บทบาทและหน้าทีแสดงเอกลักษณ์ของแต่ละชุมชน
                ่

เพลงกล่อมเด็กภาคเหนือ

     สำาหรับภาคเหนือ หรือดินแดนล้านนาอันสงบสวยงาม มีเพลง
กล่อมลูกสืบทอดเป็นลักษณะแบบแผนเฉพาะของตนเองมาช้านาน
อาจารย์สิงฆะ วรรณไสย แห่งมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เรียก
ฉันทลักษณ์ของเพลงกล่อมเด็กภาคเหนือว่า "คำารำ่า" ซึ่งจัดเป็น
ลำานำาชนิดหนึ่ง หมายถึงการรำ่าพรรณนา มีเสียงไพเราะ สูงตำ่าตามสี
ยงวรรณยุกต์ของสำาเนียงภาคเหนือ นิยมใช้แต่งในการรำ่าบอกไฟขึ้น
รำ่าสร้างวิหาร รำ่าสร้างเจดีย์ รำ่าสร่างถนน ขึ้นดอยสุเทพ และแตงเป็น
คำากล่อมเด็ก

       คำากล่อมเด็กนี้ พ่อแม่ ปูย่า ตายาย ในภาคเหนือสมัยก่อนมัก
                                ่
จะใช้ขับกล่อมสอนลูกหลานขณะอุ้มเด็กนั่งชิงช้าแกว่งไกวช้าๆ จน
เด็กง่วงนอน จึงอุ้มไปวางบนที่นอนหรือในเปลแล้วแห่กล่อมต่อจน
เด็กหลับสนิท คำากล่อมเด็กนี้จึงเรียนว่า "สิกจุ้งจาโหน" ตามเสียงที่
ใช้ขึ้นต้นเพลง

         ลักษณะเด่นของเพลงกล่อมเด็กภาคเหนือนอกจากจะขึ้นต้น
ด้วยคำาว่าสิกจุ้งจาโหนแล้วยังมักจะขึ้นต้นด้วยคำาว่า "อื่อจา" เป็นส่วน
ใหญ่ จึงเรียกเพลงกล่อมเด็กนี้ว่า เพลงอื่อลูก ทำานองและลีลาอื่อลูก
จะเป็นไปช้าๆ ด้วยนำ้าเสียงทุ้มเย็น ตามถ้อยคำาที่สรรมาเพื่อสั่งสอน
พรรณาถึงความรัก ความห่วงใยลูกน้อย จนถึงคำาปลอบ คำาขู่ ขณะยัง
ไม่ยอมหลับ ถ้อยคำาต่างๆ ในเพลงกล่อมเด็กภาคเหนือสะท้อนให้
เห็นสภาพความเป็นอยู่ สิ่งแวดล้อม และวัฒนธรรมต่างๆ ของคนใน
ภาคเหนือในอดีตจนปัจจุบันได้เป็นอย่างดี นับเป็นประโยชน์ทางอ้อม
ที่ได้รบนอกเหนือจากความอบอุ่นใจของลูกที่เป็นประโยชน์โดยตรง
       ั
ของเพลงกล่อมเด็ก

เพลงกล่อมเด็กภาคอีสาน

       เพลงพื้นบ้านอีสาน มีลักษณะเด่นชัดกับการขับร้องอันเป็น
ธรรมชาติ บ่งบอกความจริงใจ ความสนุกสนาน และความสอดคล้อง
กลมกลืนกับเครื่องดนตรีประจำาท้องถิ่น คือ แคน แม้การขับกล่อมลูก
ซึ่งไม่ใช้เครื่องดนตรีใดๆ ประกอบ ก็สื่อให้ผู้ฟังรูทันทีว่าเป็นเพลง
                                                  ้
ของภาคอีสาน

      ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ หรือภาคอีสาน เป็นดินแดนที่กว้าง
ขวางและมีประชากรมากที่สุดในบรรดา 4 ภาคของไทย เพลงกล่อม
ลูกจึงมีหลายสำาเนียง ถ้าเป็นอีสานตอนเหนือจะมีสำาเนียงคล้ายลาว
ถ้าเป็นอิสานตอนใต้จะมีสำาเนียงคล้ายเขมร แต่เพลงกล่อมลูกที่แพร่
หลายและยอมรับว่าเป็นเอกลักษณ์ของอีสานจะเป็นสำาเนียงอีสาน
ตอนเหนือ และมักจะขึ้นต้นด้วยคำาว่า "นอนสาหล่า" หรือ "นอกสา
เดอ" หรือ "นอนสาแม่เยอ" มีทำานองลีลาเรียบง่ายช้าๆ และมีกลุม   ่
เสียงซำ้าๆ กันทั้งเพลงเช่นเดียวกับภาคเหนือ การใช้ถ้อยคำามีเสียง
สัมผัสคล้ายกลอนสุภาพทั่วไป และเป็นคำาพื้นบ้านที่มีความหมายใน
เชิงสั่งสอนลูกหลานด้วยความรักความผูกพัน

       ซึ่งมักจะประกอบด้วย 4 ส่วนเสมอ คือ ส่วนที่เป็นการ
ปลอบโยนการขู่และการขอโดยมุ่งให้เด็กหลับเร็วๆ นอกจากนี้ก็จะ
เป็นคำาทีแสดงสภาพสังคมด้านต่างๆ เช่น ความเป็นอยู่ บรรยากาศใน
          ่
หมู่บ้าน ค่านิยม ขนบธรรมเนียมประเพณี เป็นต้น คุณค่าของเพลง
กล่อมเด็กอีสาน จึงมีพร้อมทั้งทางด้านจิตใจและด้านการศึกษาของ
ชาติ

เพลงกล่อมเด็กภาคกลาง

       เพลงกล่อมเด็กภาคกลางเป็นทีรู้จักแพร่หลายและมีการบันทึก
                                   ่
ไว้เป็นหลักฐานมากกว่าเพลงกล่อมเด็กภาคอื่น ซึ่งสะดวกแก่การ
ศึกษาค้นคว้า การฟื้นฟู และการอนุรักษ์ โดยไม่มีชื่อเฉพาะสำาหรับ
เรียกเพลงกล่อมเด็กภาคกลาง เนื่องจากขึ้นต้นบทร้องด้วยคำาหลาก
หลายชนิดตามแต่เนื้อหาของเพลง นักวิชาการหลายท่านได้ศึกษา
แบ่งประเภทเนื่อหาของเพลงกล่อมเด็กภาคกลางไว้คล้ายกัน คือ

      ประเภทสะท้อนให้เห็นความรักความผูกพันระหว่างแม่กับลูก
ดังจะเห็นได้จากถ้อยคำาทีใช้เรียกลูกว่าเจ้าเนื้อละเอียด เจ้าเนื้ออุ่น
                            ่
เจ้าเนื้อเย็นสุดที่รักสุดสายใจ เป็นต้น
      ประเภทสะท้อนให้เห็นความเป็นอยู่ของคนไทยภาคกลางใน
ด้านต่างๆ เช่น ความเจริญทางวัตถุ ประเพณี วัฒนธรรมต่างๆ ความ
ศรัทธา ความเชื่อคุณธรรมประจำาใจ อารมณ์ขัน และการทำามาหากิน
ของประชาชน
ประเภทให้ความรู้ด้านต่างๆ เช่น ความรู้ทางภาษา ธรรมชาติ
วิทยา วรรณคดี นิทาน ภูมิศาสาตร์ ประวัติศาสตร์ แบบแผนการ
ปกครอง และครอบครัว

       ลักษณะทำานองและลีลาของเพลงกล่อมเด็กภาคกลางจะ
เป็นการขับกล่อมอย่างช้าๆ เช่นเดียวกับภาคอื่นๆ กลุ่มเสียงก็จะซำ้าๆ
เช่นกัน แต่จะเน้นการใช้เสียงทุมเย็น และยึดคำาแต่ละคำาให้เชื่อม
                              ้
กลืนกันไปอย่างไพเราะ อ่อนหวาน ไม่ให้มีเสียงสะดุด ทังนี้เพื่อมุ่ง
                                                     ้
ให้เด็กฟังจนหลับสนิทในที่สุด

เพลงกล่อมเด็กภาคใต้

      ในบรรดาภาษาถิ่น ภาคใต้เป็นภาษาถิ่นที่คนไทยส่วนใหญ่รู้จัก
มากที่สุดเพราะมีสำาเนียงที่เป็นเอกลักษณ์ชัดเจนที่สุด เช่นเดียวกับ
เพลงกล่อมลูกภาคใต้ที่มทำานองและลีลาเด่นเป็นของตนเอง เพลง
                         ี
กล่อมลูกภาคใต้ มีชื่อเรียก 4 อย่าง คือ เพลงร้องเรือ เพลงชาน้อง
หรือเพลงช้าน้อง เพลงเสภา และเพลงน้องนอน

       ที่เรียกว่าเพลงร้องเรือ สันนิษฐานว่าน่าจะเป็นเพราะลักษณะ
ของเปลที่ใช้ผ้าผูกมีรูปร่างคล้ายเรือ เพลงชาน้องหรือช้าน้อง คำาว่า
ชา มาจาก คำาว่าบูชา ซึ่งแปลว่าสดุดีหรือกล่อมขวัญ ชาน้องหรือช้า
น้อง จึงหมายถึงการสดุดีแม่ซื้อ ซึ่งเชื่อกันว่าเป็นเทวดาหรือผีประจำา
ทารก เพลงเสภาเป็นเพลงทีใช้โต้คารมกันเป็นบทปฏิพากย์แสดง
                              ่
ปฏิภาณไหวพริบ นำามาใช้ในเพลงกล่อมลูกเพลงน้องนอน เป็นการ
มุ่งกล่อมน้องหรือกล่อมลูกโดยตรง ลักษณะเด่นของทำานองกล่อม
ลูกภาคใต้ ไม่วาจะเป็นเพลงประเภทใดคือมักจะขึ้นต้นเพลงด้วยคำา
                  ่
ว่า "ฮา เอ้อ" หรือมีคำาว่า "เหอ" แทรกอยู่เสมอในวรรคแรกของ
บทเพลง แล้วจึงขับกล่อมไปช้าๆ เหมือนภาคอื่นๆ

      จากหลักฐานการค้นคว้าเพลงกล่อมเด็กภาคใต้ ของศาสตรา
จารย์สุธิวงศ์ พงศ์ไพบูลย์ ระบุไว้ว่าเพลงกล่อมเด็กภาคใต้มีจุด
ประสงค์และโอกาสการใช้กว้างขวาง จำานวนเพลงจึงมีมากถึง 4,300
เพลง นับว่ามากกว่าทุกภาคในประเทศ
ความหมายของเพลงกล่อมเด็ก

       เพลงกล่อมเด็กเป็นวัฒนธรรมท้องถิ่นอย่างหนึ่งที่สะท้อนให้
เห็นถึงความเชื่อและค่านิยมของคนในท้องถินต่างๆ คนทุกชาติทุก
                                          ่
ภาษาในโลกมีบทเพลงกล่อมเด็กด้วยกันทั้งนั้น สันนิษฐานว่าเพลง
กล่อมเด็กมีวิวัฒนาการจากการเล่านิทานให้เด็กฟังก่อนนอน ดังนั้น
เพลงกล่อมเด็กบางเพลงจึงมีลักษณะเนื้อร้องที่เป็นเรื่องเป็นราว เช่น
จันทรโครพ ไชยเชษฐ์ พระรถเสน เป็นต้น การที่ต้องมีเพลงกล่อม
เด็กก็เพื่อให้เด็กเกิดความเพลิดเพลิน หลับง่าย และเกิดความอบอุ่น
ใจ

ลักษณะของเพลงกล่อมเด็ก
       ลักษณะกลอนของเพลงกล่อมเด็กจะเป็นกลอนชาวบ้านไม่มี
แบบแผนแน่นอน เพียงแต่มีสัมผัสคล้องจองกันบ้าง ถ้อยคำาที่ใช้ใน
บางครั้งอาจไม่มีความหมาย เนื้อเรื่องจะเกี่ยวกับธรรมชาติสิ่ง
แวดล้อม หรือเรื่องราวต่างๆ ทีเกี่ยวกับชีวิตความเป็นอยู่ ซึงสะท้อน
                               ่                          ่
ให้เห็นความรัก ความห่วงใยของแม่ที่มีต่อลูก ทั้งยังมีการสั่งสอนและ
เสียดสีสังคม สามารถแยกเป็นข้อได้ดังนี้
      เป็นบทร้อยกรองสั้นๆ มีคำาคล้องจองต่อเนื่องกันไป
      มีฉันทลักษณ์ไม่แน่นอน
      ใช้คำาง่ายๆ สั้นหรือยาวก็ได้
      มีจังหวะในการร้องและทำานองที่เรียบง่าย สนุกสนาน จดจำาได้
ง่าย

ประเภทของเนื้อเพลงกล่อมเด็ก

      แสดงความรักความห่วงใย
      กล่าวถึงสิ่งแวดล้อม
      ล่าเป็นนิทานและวรรณคดี
      เป็นการเล่าประสบการณ์
ล้อเลียนและเสียดสีสังคม
      ความรู้เกี่ยวกับการดูแลเด็ก
เป็นคติ คำาสอน

เพลงกล่อมเด็กในแต่ละภาค

     ในประเทศไทยเรานั้นมีเพลงกล่อมเด็กอยู่ทั่วทุกภาค เนื้อร้อง
และทำานองจะต่างกันไป มีชื่อเรียกหลายอย่าง เช่น ภาคเหนือเรียก
"เพลงนอนสาหล่า" "นอนสาเดอ" ภาคกลางเรียก "เพลงกล่อมเด็ก"
"เพลงกล่อมลูก" ส่วนภาคใต้เรียก "เพลงชาน้อง" "เพลงเปล" "
เพลงน้องนอน" และ "เพลงร้องเรือ" โดยเพลงกล่อมเด็กเป็น
คติชาวบ้านประเภทใช้ภาษาเป็นสื่อที่การถ่ายทอดจากปากต่อปาก
มาแต่โบราณ เรียกว่า "มุขปาฐะ" มีลักษณะเป็นวัฒนธรรมพื้นบ้านที่มี
บทบาทและหน้าทีแสดงเอกลักษณ์ของแต่ละชุมชน
                ่

เพลงกล่อมเด็กภาคเหนือ

        สำาหรับภาคเหนือ หรือดินแดนล้านนาอันสงบสวยงาม มีเพลง
กล่อมลูกสืบทอดเป็นลักษณะแบบแผนเฉพาะของตนเองมาช้านาน
อาจารย์สิงฆะ วรรณไสย แห่งมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เรียก
ฉันทลักษณ์ของเพลงกล่อมเด็กภาคเหนือว่า "คำารำ่า" ซึ่งจัดเป็น
ลำานำาชนิดหนึ่ง หมายถึงการรำ่าพรรณนา มีเสียงไพเราะ สูงตำ่าตามสี
ยงวรรณยุกต์ของสำาเนียงภาคเหนือ นิยมใช้แต่งในการรำ่าบอกไฟขึ้น
รำ่าสร้างวิหาร รำ่าสร้างเจดีย์ รำ่าสร่างถนน ขึ้นดอยสุเทพ และแตงเป็น
คำากล่อมเด็ก

       คำากล่อมเด็กนี้ พ่อแม่ ปูย่า ตายาย ในภาคเหนือสมัยก่อนมัก
                                ่
จะใช้ขับกล่อมสอนลูกหลานขณะอุ้มเด็กนั่งชิงช้าแกว่งไกวช้าๆ จน
เด็กง่วงนอน จึงอุ้มไปวางบนที่นอนหรือในเปลแล้วแห่กล่อมต่อจน
เด็กหลับสนิท คำากล่อมเด็กนี้จึงเรียนว่า "สิกจุ้งจาโหน" ตามเสียงที่
ใช้ขึ้นต้นเพลง

      ลักษณะเด่นของเพลงกล่อมเด็กภาคเหนือนอกจากจะขึ้นต้น
ด้วยคำาว่าสิกจุ้งจาโหนแล้วยังมักจะขึ้นต้นด้วยคำาว่า "อื่อจา" เป็นส่วน
ใหญ่ จึงเรียกเพลงกล่อมเด็กนี้ว่า เพลงอื่อลูก ทำานองและลีลาอื่อลูก
จะเป็นไปช้าๆ ด้วยนำ้าเสียงทุ้มเย็น ตามถ้อยคำาที่สรรมาเพื่อสั่งสอน
พรรณาถึงความรัก ความห่วงใยลูกน้อย จนถึงคำาปลอบ คำาขู่ ขณะยัง
ไม่ยอมหลับ ถ้อยคำาต่างๆ ในเพลงกล่อมเด็กภาคเหนือสะท้อนให้
เห็นสภาพความเป็นอยู่ สิ่งแวดล้อม และวัฒนธรรมต่างๆ ของคนใน
ภาคเหนือในอดีตจนปัจจุบันได้เป็นอย่างดี นับเป็นประโยชน์ทางอ้อม
ที่ได้รบนอกเหนือจากความอบอุ่นใจของลูกที่เป็นประโยชน์โดยตรง
       ั
ของเพลงกล่อมเด็ก

เพลงกล่อมเด็กภาคอีสาน

       เพลงพื้นบ้านอีสาน มีลักษณะเด่นชัดกับการขับร้องอันเป็น
ธรรมชาติ บ่งบอกความจริงใจ ความสนุกสนาน และความสอดคล้อง
กลมกลืนกับเครื่องดนตรีประจำาท้องถิ่น คือ แคน แม้การขับกล่อมลูก
ซึ่งไม่ใช้เครื่องดนตรีใดๆ ประกอบ ก็สื่อให้ผู้ฟังรูทันทีว่าเป็นเพลง
                                                  ้
ของภาคอีสาน

        ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ หรือภาคอีสาน เป็นดินแดนที่กว้าง
ขวางและมีประชากรมากที่สุดในบรรดา 4 ภาคของไทย เพลงกล่อม
ลูกจึงมีหลายสำาเนียง ถ้าเป็นอีสานตอนเหนือจะมีสำาเนียงคล้ายลาว
ถ้าเป็นอิสานตอนใต้จะมีสำาเนียงคล้ายเขมร แต่เพลงกล่อมลูกที่แพร่
หลายและยอมรับว่าเป็นเอกลักษณ์ของอีสานจะเป็นสำาเนียงอีสาน
ตอนเหนือ และมักจะขึ้นต้นด้วยคำาว่า "นอนสาหล่า" หรือ "นอกสา
เดอ" หรือ "นอนสาแม่เยอ" มีทำานองลีลาเรียบง่ายช้าๆ และมีกลุม   ่
เสียงซำ้าๆ กันทั้งเพลงเช่นเดียวกับภาคเหนือ การใช้ถ้อยคำามีเสียง
สัมผัสคล้ายกลอนสุภาพทั่วไป และเป็นคำาพื้นบ้านที่มีความหมายใน
เชิงสั่งสอนลูกหลานด้วยความรักความผูกพัน

       ซึ่งมักจะประกอบด้วย 4 ส่วนเสมอ คือ ส่วนที่เป็นการ
ปลอบโยนการขู่และการขอโดยมุ่งให้เด็กหลับเร็วๆ นอกจากนี้ก็จะ
เป็นคำาทีแสดงสภาพสังคมด้านต่างๆ เช่น ความเป็นอยู่ บรรยากาศใน
          ่
หมู่บ้าน ค่านิยม ขนบธรรมเนียมประเพณี เป็นต้น คุณค่าของเพลง
กล่อมเด็กอีสาน จึงมีพร้อมทั้งทางด้านจิตใจและด้านการศึกษาของ
ชาติ
เพลงกล่อมเด็กภาคกลาง

        เพลงกล่อมเด็กภาคกลางเป็นทีรู้จักแพร่หลายและมีการบันทึก
                                       ่
ไว้เป็นหลักฐานมากกว่าเพลงกล่อมเด็กภาคอื่น ซึ่งสะดวกแก่การ
ศึกษาค้นคว้า การฟื้นฟู และการอนุรักษ์ โดยไม่มีชื่อเฉพาะสำาหรับ
เรียกเพลงกล่อมเด็กภาคกลาง เนื่องจากขึ้นต้นบทร้องด้วยคำาหลาก
หลายชนิดตามแต่เนื้อหาของเพลง นักวิชาการหลายท่านได้ศึกษา
แบ่งประเภทเนื่อหาของเพลงกล่อมเด็กภาคกลางไว้คล้ายกัน คือ
      ประเภทสะท้อนให้เห็นความรักความผูกพันระหว่างแม่กับลูก
ดังจะเห็นได้จากถ้อยคำาทีใช้เรียกลูกว่าเจ้าเนื้อละเอียด เจ้าเนื้ออุ่น
                            ่
เจ้าเนื้อเย็นสุดที่รักสุดสายใจ เป็นต้น
      ประเภทสะท้อนให้เห็นความเป็นอยู่ของคนไทยภาคกลางใน
ด้านต่างๆ เช่น ความเจริญทางวัตถุ ประเพณี วัฒนธรรมต่างๆ ความ
ศรัทธา ความเชื่อคุณธรรมประจำาใจ อารมณ์ขัน และการทำามาหากิน
ของประชาชน
      ประเภทให้ความรู้ด้านต่างๆ เช่น ความรู้ทางภาษา ธรรมชาติ
วิทยา วรรณคดี นิทาน ภูมิศาสาตร์ ประวัติศาสตร์ แบบแผนการ
ปกครอง และครอบครัว

       ลักษณะทำานองและลีลาของเพลงกล่อมเด็กภาคกลางจะ
เป็นการขับกล่อมอย่างช้าๆ เช่นเดียวกับภาคอื่นๆ กลุ่มเสียงก็จะซำ้าๆ
เช่นกัน แต่จะเน้นการใช้เสียงทุมเย็น และยึดคำาแต่ละคำาให้เชื่อม
                              ้
กลืนกันไปอย่างไพเราะ อ่อนหวาน ไม่ให้มีเสียงสะดุด ทังนี้เพื่อมุ่ง
                                                     ้
ให้เด็กฟังจนหลับสนิทในที่สุด

<เพลงกล่อมเด็กภาคใต้

      ในบรรดาภาษาถิ่น ภาคใต้เป็นภาษาถิ่นที่คนไทยส่วนใหญ่รู้จัก
มากที่สุดเพราะมีสำาเนียงที่เป็นเอกลักษณ์ชัดเจนที่สุด เช่นเดียวกับ
เพลงกล่อมลูกภาคใต้ที่มทำานองและลีลาเด่นเป็นของตนเอง เพลง
                         ี
กล่อมลูกภาคใต้ มีชื่อเรียก 4 อย่าง คือ เพลงร้องเรือ เพลงชาน้อง
หรือเพลงช้าน้อง เพลงเสภา และเพลงน้องนอน
ที่เรียกว่าเพลงร้องเรือ สันนิษฐานว่าน่าจะเป็นเพราะลักษณะ
ของเปลที่ใช้ผ้าผูกมีรูปร่างคล้ายเรือ เพลงชาน้องหรือช้าน้อง คำาว่า
ชา มาจาก คำาว่าบูชา ซึ่งแปลว่าสดุดีหรือกล่อมขวัญ ชาน้องหรือช้า
น้อง จึงหมายถึงการสดุดีแม่ซื้อ ซึ่งเชื่อกันว่าเป็นเทวดาหรือผีประจำา
ทารก เพลงเสภาเป็นเพลงทีใช้โต้คารมกันเป็นบทปฏิพากย์แสดง
                              ่
ปฏิภาณไหวพริบ นำามาใช้ในเพลงกล่อมลูกเพลงน้องนอน เป็นการ
มุ่งกล่อมน้องหรือกล่อมลูกโดยตรง ลักษณะเด่นของทำานองกล่อม
ลูกภาคใต้ ไม่วาจะเป็นเพลงประเภทใดคือมักจะขึ้นต้นเพลงด้วยคำา
                  ่
ว่า "ฮา เอ้อ" หรือมีคำาว่า "เหอ" แทรกอยู่เสมอในวรรคแรกของ
บทเพลง แล้วจึงขับกล่อมไปช้าๆ เหมือนภาคอื่นๆ

      จากหลักฐานการค้นคว้าเพลงกล่อมเด็กภาคใต้ ของศาสตรา
จารย์สุธิวงศ์ พงศ์ไพบูลย์ ระบุไว้ว่าเพลงกล่อมเด็กภาคใต้มีจุด
ประสงค์และโอกาสการใช้กว้างขวาง จำานวนเพลงจึงมีมากถึง 4,300 เพลง นับว่า
มากกว่าทุกภาคในประเทศ

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

ตัวอย่างข้อสอบวิชาวิทยาศาสตร์
ตัวอย่างข้อสอบวิชาวิทยาศาสตร์ตัวอย่างข้อสอบวิชาวิทยาศาสตร์
ตัวอย่างข้อสอบวิชาวิทยาศาสตร์iamaomkitt
 
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษามาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษาBoonlert Aroonpiboon
 
ใบความรู้ สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
ใบความรู้  สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheetใบความรู้  สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
ใบความรู้ สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheetPrachoom Rangkasikorn
 
บทเรียนสำเร็จรูป ประวัติศาสตร์สมัยสุโขทัย
บทเรียนสำเร็จรูป ประวัติศาสตร์สมัยสุโขทัยบทเรียนสำเร็จรูป ประวัติศาสตร์สมัยสุโขทัย
บทเรียนสำเร็จรูป ประวัติศาสตร์สมัยสุโขทัยairja
 
แบบฝึกทักษะ ม.3
แบบฝึกทักษะ ม.3แบบฝึกทักษะ ม.3
แบบฝึกทักษะ ม.3suchinmam
 
แบบระบายสีดอกไม้ประจำชาติอาเซียน
แบบระบายสีดอกไม้ประจำชาติอาเซียนแบบระบายสีดอกไม้ประจำชาติอาเซียน
แบบระบายสีดอกไม้ประจำชาติอาเซียนKansinee Kosirojhiran
 
หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6
หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6
หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6Thanawut Rattanadon
 
142968777910465
142968777910465142968777910465
142968777910465YingZaa TK
 
แบบบันทึกการศึกษาแหล่งเรียนรู้
แบบบันทึกการศึกษาแหล่งเรียนรู้แบบบันทึกการศึกษาแหล่งเรียนรู้
แบบบันทึกการศึกษาแหล่งเรียนรู้เทวัญ ภูพานทอง
 
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะมาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะBoonlert Aroonpiboon
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.3 เล่ม 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.3 เล่ม 2แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.3 เล่ม 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.3 เล่ม 2teerachon
 
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1prayut2516
 
คำกล่าวอวยพรวันคล้ายวันเกิด
คำกล่าวอวยพรวันคล้ายวันเกิดคำกล่าวอวยพรวันคล้ายวันเกิด
คำกล่าวอวยพรวันคล้ายวันเกิดA-NKR Ning
 
แบบทดสอบ ดนตรี นาฏศิลป์ ม.3
แบบทดสอบ ดนตรี นาฏศิลป์ ม.3แบบทดสอบ ดนตรี นาฏศิลป์ ม.3
แบบทดสอบ ดนตรี นาฏศิลป์ ม.3teerachon
 
แบบทดสอบ ศิลปะ ม.1
แบบทดสอบ ศิลปะ ม.1แบบทดสอบ ศิลปะ ม.1
แบบทดสอบ ศิลปะ ม.1teerachon
 
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป.4
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป.4แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป.4
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป.4Sasiprapha Srisaeng
 
บทความ วิเคราะห์ เพลง
บทความ   วิเคราะห์ เพลงบทความ   วิเคราะห์ เพลง
บทความ วิเคราะห์ เพลงNiran Dankasai
 
แบบทดสอบ เศรษฐศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบ เศรษฐศาสตร์ ม.3แบบทดสอบ เศรษฐศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบ เศรษฐศาสตร์ ม.3teerachon
 

Was ist angesagt? (20)

ตัวอย่างข้อสอบวิชาวิทยาศาสตร์
ตัวอย่างข้อสอบวิชาวิทยาศาสตร์ตัวอย่างข้อสอบวิชาวิทยาศาสตร์
ตัวอย่างข้อสอบวิชาวิทยาศาสตร์
 
ใบงานกฎหมาย
ใบงานกฎหมายใบงานกฎหมาย
ใบงานกฎหมาย
 
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษามาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา
 
ใบความรู้ สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
ใบความรู้  สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheetใบความรู้  สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
ใบความรู้ สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
 
บทเรียนสำเร็จรูป ประวัติศาสตร์สมัยสุโขทัย
บทเรียนสำเร็จรูป ประวัติศาสตร์สมัยสุโขทัยบทเรียนสำเร็จรูป ประวัติศาสตร์สมัยสุโขทัย
บทเรียนสำเร็จรูป ประวัติศาสตร์สมัยสุโขทัย
 
แบบฝึกทักษะ ม.3
แบบฝึกทักษะ ม.3แบบฝึกทักษะ ม.3
แบบฝึกทักษะ ม.3
 
แบบระบายสีดอกไม้ประจำชาติอาเซียน
แบบระบายสีดอกไม้ประจำชาติอาเซียนแบบระบายสีดอกไม้ประจำชาติอาเซียน
แบบระบายสีดอกไม้ประจำชาติอาเซียน
 
หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6
หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6
หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6
 
142968777910465
142968777910465142968777910465
142968777910465
 
แบบบันทึกการศึกษาแหล่งเรียนรู้
แบบบันทึกการศึกษาแหล่งเรียนรู้แบบบันทึกการศึกษาแหล่งเรียนรู้
แบบบันทึกการศึกษาแหล่งเรียนรู้
 
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะมาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.3 เล่ม 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.3 เล่ม 2แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.3 เล่ม 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.3 เล่ม 2
 
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
 
คำกล่าวอวยพรวันคล้ายวันเกิด
คำกล่าวอวยพรวันคล้ายวันเกิดคำกล่าวอวยพรวันคล้ายวันเกิด
คำกล่าวอวยพรวันคล้ายวันเกิด
 
แบบทดสอบ ดนตรี นาฏศิลป์ ม.3
แบบทดสอบ ดนตรี นาฏศิลป์ ม.3แบบทดสอบ ดนตรี นาฏศิลป์ ม.3
แบบทดสอบ ดนตรี นาฏศิลป์ ม.3
 
แบบทดสอบ ศิลปะ ม.1
แบบทดสอบ ศิลปะ ม.1แบบทดสอบ ศิลปะ ม.1
แบบทดสอบ ศิลปะ ม.1
 
ใบงาน2
ใบงาน2ใบงาน2
ใบงาน2
 
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป.4
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป.4แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป.4
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป.4
 
บทความ วิเคราะห์ เพลง
บทความ   วิเคราะห์ เพลงบทความ   วิเคราะห์ เพลง
บทความ วิเคราะห์ เพลง
 
แบบทดสอบ เศรษฐศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบ เศรษฐศาสตร์ ม.3แบบทดสอบ เศรษฐศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบ เศรษฐศาสตร์ ม.3
 

Ähnlich wie ความหมายของเพลงกล่อมลูก

เครืองดนตรีพื้นเมือง ใบความรู้ ม.3 ปี 55
เครืองดนตรีพื้นเมือง ใบความรู้ ม.3 ปี 55เครืองดนตรีพื้นเมือง ใบความรู้ ม.3 ปี 55
เครืองดนตรีพื้นเมือง ใบความรู้ ม.3 ปี 55อำนาจ ศรีทิม
 
ลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรม
ลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรมลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรม
ลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรมอำนาจ ศรีทิม
 
ใบงานท 2
ใบงานท   2ใบงานท   2
ใบงานท 2bmbeam
 
การแสดงพื้นเมือง
การแสดงพื้นเมืองการแสดงพื้นเมือง
การแสดงพื้นเมืองพัน พัน
 
นักแต่งเพลง
นักแต่งเพลงนักแต่งเพลง
นักแต่งเพลงNing Rommanee
 
ประโยคที่ซับซ้อน
ประโยคที่ซับซ้อนประโยคที่ซับซ้อน
ประโยคที่ซับซ้อนพัน พัน
 
รำวงมาตรฐาน
รำวงมาตรฐานรำวงมาตรฐาน
รำวงมาตรฐานdphokung
 
ดนตรีพื้นบ้าน
ดนตรีพื้นบ้านดนตรีพื้นบ้าน
ดนตรีพื้นบ้านJakkrit Supokam
 
บทความการใช้กิจกรรมประกอบจังหวะประกอบการสอนภาษาอังกฤษ
บทความการใช้กิจกรรมประกอบจังหวะประกอบการสอนภาษาอังกฤษ บทความการใช้กิจกรรมประกอบจังหวะประกอบการสอนภาษาอังกฤษ
บทความการใช้กิจกรรมประกอบจังหวะประกอบการสอนภาษาอังกฤษ Sasithon AnnAnn
 
01+hisp3+dltv54+แผนการจัดการเรียนรู้เรื่อง ความเป็นไทย
01+hisp3+dltv54+แผนการจัดการเรียนรู้เรื่อง ความเป็นไทย01+hisp3+dltv54+แผนการจัดการเรียนรู้เรื่อง ความเป็นไทย
01+hisp3+dltv54+แผนการจัดการเรียนรู้เรื่อง ความเป็นไทยPrachoom Rangkasikorn
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ความเป็นไทย+545+dltvp3+54history p123 plan-0300
แผนการจัดการเรียนรู้ ความเป็นไทย+545+dltvp3+54history p123 plan-0300แผนการจัดการเรียนรู้ ความเป็นไทย+545+dltvp3+54history p123 plan-0300
แผนการจัดการเรียนรู้ ความเป็นไทย+545+dltvp3+54history p123 plan-0300Prachoom Rangkasikorn
 
ความเป็นไทย+545+54history p123 plan-0300
ความเป็นไทย+545+54history p123 plan-0300ความเป็นไทย+545+54history p123 plan-0300
ความเป็นไทย+545+54history p123 plan-0300Prachoom Rangkasikorn
 
แผนการจัดการเรียนรู่้เรื่อง ความเป็นไทย+528+dltvhisp2+54history p123 plan-0300
แผนการจัดการเรียนรู่้เรื่อง ความเป็นไทย+528+dltvhisp2+54history p123 plan-0300แผนการจัดการเรียนรู่้เรื่อง ความเป็นไทย+528+dltvhisp2+54history p123 plan-0300
แผนการจัดการเรียนรู่้เรื่อง ความเป็นไทย+528+dltvhisp2+54history p123 plan-0300Prachoom Rangkasikorn
 
01+hisp1+dltv54+แผนการจัดการเรียนรู้เรื่อง ความเป็นไทย
01+hisp1+dltv54+แผนการจัดการเรียนรู้เรื่อง ความเป็นไทย01+hisp1+dltv54+แผนการจัดการเรียนรู้เรื่อง ความเป็นไทย
01+hisp1+dltv54+แผนการจัดการเรียนรู้เรื่อง ความเป็นไทยPrachoom Rangkasikorn
 
แผนการจัดการเรียนรู้เรื่อง ความเป็นไทย+511+dltvhisp1+54history p123 plan-0300
แผนการจัดการเรียนรู้เรื่อง  ความเป็นไทย+511+dltvhisp1+54history p123 plan-0300แผนการจัดการเรียนรู้เรื่อง  ความเป็นไทย+511+dltvhisp1+54history p123 plan-0300
แผนการจัดการเรียนรู้เรื่อง ความเป็นไทย+511+dltvhisp1+54history p123 plan-0300Prachoom Rangkasikorn
 
01+hisp2+dltv54+แผนการจัดการเรียนรู้เรื่อง ความเป็นไทย
01+hisp2+dltv54+แผนการจัดการเรียนรู้เรื่อง ความเป็นไทย01+hisp2+dltv54+แผนการจัดการเรียนรู้เรื่อง ความเป็นไทย
01+hisp2+dltv54+แผนการจัดการเรียนรู้เรื่อง ความเป็นไทยPrachoom Rangkasikorn
 

Ähnlich wie ความหมายของเพลงกล่อมลูก (20)

เครืองดนตรีพื้นเมือง ใบความรู้ ม.3 ปี 55
เครืองดนตรีพื้นเมือง ใบความรู้ ม.3 ปี 55เครืองดนตรีพื้นเมือง ใบความรู้ ม.3 ปี 55
เครืองดนตรีพื้นเมือง ใบความรู้ ม.3 ปี 55
 
ลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรม
ลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรมลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรม
ลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรม
 
ใบงานท 2
ใบงานท   2ใบงานท   2
ใบงานท 2
 
การแสดงพื้นเมือง
การแสดงพื้นเมืองการแสดงพื้นเมือง
การแสดงพื้นเมือง
 
หน้า 1
หน้า 1หน้า 1
หน้า 1
 
นักแต่งเพลง
นักแต่งเพลงนักแต่งเพลง
นักแต่งเพลง
 
ประโยคที่ซับซ้อน
ประโยคที่ซับซ้อนประโยคที่ซับซ้อน
ประโยคที่ซับซ้อน
 
รำวงมาตรฐาน
รำวงมาตรฐานรำวงมาตรฐาน
รำวงมาตรฐาน
 
ดนตรีพื้นบ้าน
ดนตรีพื้นบ้านดนตรีพื้นบ้าน
ดนตรีพื้นบ้าน
 
หมอลำ
หมอลำหมอลำ
หมอลำ
 
Art
ArtArt
Art
 
Art
ArtArt
Art
 
บทความการใช้กิจกรรมประกอบจังหวะประกอบการสอนภาษาอังกฤษ
บทความการใช้กิจกรรมประกอบจังหวะประกอบการสอนภาษาอังกฤษ บทความการใช้กิจกรรมประกอบจังหวะประกอบการสอนภาษาอังกฤษ
บทความการใช้กิจกรรมประกอบจังหวะประกอบการสอนภาษาอังกฤษ
 
01+hisp3+dltv54+แผนการจัดการเรียนรู้เรื่อง ความเป็นไทย
01+hisp3+dltv54+แผนการจัดการเรียนรู้เรื่อง ความเป็นไทย01+hisp3+dltv54+แผนการจัดการเรียนรู้เรื่อง ความเป็นไทย
01+hisp3+dltv54+แผนการจัดการเรียนรู้เรื่อง ความเป็นไทย
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ความเป็นไทย+545+dltvp3+54history p123 plan-0300
แผนการจัดการเรียนรู้ ความเป็นไทย+545+dltvp3+54history p123 plan-0300แผนการจัดการเรียนรู้ ความเป็นไทย+545+dltvp3+54history p123 plan-0300
แผนการจัดการเรียนรู้ ความเป็นไทย+545+dltvp3+54history p123 plan-0300
 
ความเป็นไทย+545+54history p123 plan-0300
ความเป็นไทย+545+54history p123 plan-0300ความเป็นไทย+545+54history p123 plan-0300
ความเป็นไทย+545+54history p123 plan-0300
 
แผนการจัดการเรียนรู่้เรื่อง ความเป็นไทย+528+dltvhisp2+54history p123 plan-0300
แผนการจัดการเรียนรู่้เรื่อง ความเป็นไทย+528+dltvhisp2+54history p123 plan-0300แผนการจัดการเรียนรู่้เรื่อง ความเป็นไทย+528+dltvhisp2+54history p123 plan-0300
แผนการจัดการเรียนรู่้เรื่อง ความเป็นไทย+528+dltvhisp2+54history p123 plan-0300
 
01+hisp1+dltv54+แผนการจัดการเรียนรู้เรื่อง ความเป็นไทย
01+hisp1+dltv54+แผนการจัดการเรียนรู้เรื่อง ความเป็นไทย01+hisp1+dltv54+แผนการจัดการเรียนรู้เรื่อง ความเป็นไทย
01+hisp1+dltv54+แผนการจัดการเรียนรู้เรื่อง ความเป็นไทย
 
แผนการจัดการเรียนรู้เรื่อง ความเป็นไทย+511+dltvhisp1+54history p123 plan-0300
แผนการจัดการเรียนรู้เรื่อง  ความเป็นไทย+511+dltvhisp1+54history p123 plan-0300แผนการจัดการเรียนรู้เรื่อง  ความเป็นไทย+511+dltvhisp1+54history p123 plan-0300
แผนการจัดการเรียนรู้เรื่อง ความเป็นไทย+511+dltvhisp1+54history p123 plan-0300
 
01+hisp2+dltv54+แผนการจัดการเรียนรู้เรื่อง ความเป็นไทย
01+hisp2+dltv54+แผนการจัดการเรียนรู้เรื่อง ความเป็นไทย01+hisp2+dltv54+แผนการจัดการเรียนรู้เรื่อง ความเป็นไทย
01+hisp2+dltv54+แผนการจัดการเรียนรู้เรื่อง ความเป็นไทย
 

Mehr von Thassanee Buasri (11)

56
5656
56
 
23
2323
23
 
11
1111
11
 
ประโยชน์ของเพลงกล่อมลูก
ประโยชน์ของเพลงกล่อมลูกประโยชน์ของเพลงกล่อมลูก
ประโยชน์ของเพลงกล่อมลูก
 
Document
DocumentDocument
Document
 
Document
DocumentDocument
Document
 
l
ll
l
 
โโ
 
โโ
 
โโ
 
โโ
 

ความหมายของเพลงกล่อมลูก

  • 1. ความหมายของเพลงกล่อมเด็ก เพลงกล่อมเด็กเป็นวัฒนธรรมท้องถิ่นอย่างหนึ่งที่สะท้อนให้ เห็นถึงความเชื่อและค่านิยมของคนในท้องถินต่างๆ คนทุกชาติทุก ่ ภาษาในโลกมีบทเพลงกล่อมเด็กด้วยกันทั้งนั้น สันนิษฐานว่าเพลง กล่อมเด็กมีวิวัฒนาการจากการเล่านิทานให้เด็กฟังก่อนนอน ดังนั้น เพลงกล่อมเด็กบางเพลงจึงมีลักษณะเนื้อร้องที่เป็นเรื่องเป็นราว เช่น จันทรโครพ ไชยเชษฐ์ พระรถเสน เป็นต้น การที่ต้องมีเพลงกล่อม เด็กก็เพื่อให้เด็กเกิดความเพลิดเพลิน หลับง่าย และเกิดความอบอุ่น ใจ ลักษณะของเพลงกล่อมเด็ก ลักษณะกลอนของเพลงกล่อมเด็กจะเป็นกลอนชาวบ้านไม่มี แบบแผนแน่นอน เพียงแต่มีสัมผัสคล้องจองกันบ้าง ถ้อยคำาที่ใช้ใน บางครั้งอาจไม่มีความหมาย เนื้อเรื่องจะเกี่ยวกับธรรมชาติสิ่ง แวดล้อม หรือเรื่องราวต่างๆ ทีเกี่ยวกับชีวิตความเป็นอยู่ ซึงสะท้อน ่ ่ ให้เห็นความรัก ความห่วงใยของแม่ที่มีต่อลูก ทั้งยังมีการสั่งสอนและ เสียดสีสังคม สามารถแยกเป็นข้อได้ดังนี้ เป็นบทร้อยกรองสั้นๆ มีคำาคล้องจองต่อเนื่องกันไป มีฉันทลักษณ์ไม่แน่นอน ใช้คำาง่ายๆ สั้นหรือยาวก็ได้ มีจังหวะในการร้องและทำานองที่เรียบง่าย สนุกสนาน จดจำาได้ ง่า ประเภทของเนื้อเพลงกล่อมเด็ก แสดงความรักความห่วงใย กล่าวถึงสิ่งแวดล้อม เล่าเป็นนิทานและวรรณคดี เป็นการเล่าประสบการณ์ ล้อเลียนและเสียดสีสังคม ความรู้เกี่ยวกับการดูแลเด็ก
  • 2. เป็นคติ คำาสอน เพลงกล่อมเด็กในแต่ละภาค ในประเทศไทยเรานั้นมีเพลงกล่อมเด็กอยู่ทั่วทุกภาค เนื้อร้อง และทำานองจะต่างกันไป มีชื่อเรียกหลายอย่าง เช่น ภาคเหนือเรียก "เพลงนอนสาหล่า" "นอนสาเดอ" ภาคกลางเรียก "เพลงกล่อมเด็ก" "เพลงกล่อมลูก" ส่วนภาคใต้เรียก "เพลงชาน้อง" "เพลงเปล" " เพลงน้องนอน" และ "เพลงร้องเรือ" โดยเพลงกล่อมเด็กเป็น คติชาวบ้านประเภทใช้ภาษาเป็นสื่อที่การถ่ายทอดจากปากต่อปาก มาแต่โบราณ เรียกว่า "มุขปาฐะ" มีลักษณะเป็นวัฒนธรรมพื้นบ้านที่มี บทบาทและหน้าทีแสดงเอกลักษณ์ของแต่ละชุมชน ่ เพลงกล่อมเด็กภาคเหนือ สำาหรับภาคเหนือ หรือดินแดนล้านนาอันสงบสวยงาม มีเพลง กล่อมลูกสืบทอดเป็นลักษณะแบบแผนเฉพาะของตนเองมาช้านาน อาจารย์สิงฆะ วรรณไสย แห่งมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เรียก ฉันทลักษณ์ของเพลงกล่อมเด็กภาคเหนือว่า "คำารำ่า" ซึ่งจัดเป็น ลำานำาชนิดหนึ่ง หมายถึงการรำ่าพรรณนา มีเสียงไพเราะ สูงตำ่าตามสี ยงวรรณยุกต์ของสำาเนียงภาคเหนือ นิยมใช้แต่งในการรำ่าบอกไฟขึ้น รำ่าสร้างวิหาร รำ่าสร้างเจดีย์ รำ่าสร่างถนน ขึ้นดอยสุเทพ และแตงเป็น คำากล่อมเด็ก คำากล่อมเด็กนี้ พ่อแม่ ปูย่า ตายาย ในภาคเหนือสมัยก่อนมัก ่ จะใช้ขับกล่อมสอนลูกหลานขณะอุ้มเด็กนั่งชิงช้าแกว่งไกวช้าๆ จน เด็กง่วงนอน จึงอุ้มไปวางบนที่นอนหรือในเปลแล้วแห่กล่อมต่อจน เด็กหลับสนิท คำากล่อมเด็กนี้จึงเรียนว่า "สิกจุ้งจาโหน" ตามเสียงที่ ใช้ขึ้นต้นเพลง ลักษณะเด่นของเพลงกล่อมเด็กภาคเหนือนอกจากจะขึ้นต้น ด้วยคำาว่าสิกจุ้งจาโหนแล้วยังมักจะขึ้นต้นด้วยคำาว่า "อื่อจา" เป็นส่วน ใหญ่ จึงเรียกเพลงกล่อมเด็กนี้ว่า เพลงอื่อลูก ทำานองและลีลาอื่อลูก
  • 3. จะเป็นไปช้าๆ ด้วยนำ้าเสียงทุ้มเย็น ตามถ้อยคำาที่สรรมาเพื่อสั่งสอน พรรณาถึงความรัก ความห่วงใยลูกน้อย จนถึงคำาปลอบ คำาขู่ ขณะยัง ไม่ยอมหลับ ถ้อยคำาต่างๆ ในเพลงกล่อมเด็กภาคเหนือสะท้อนให้ เห็นสภาพความเป็นอยู่ สิ่งแวดล้อม และวัฒนธรรมต่างๆ ของคนใน ภาคเหนือในอดีตจนปัจจุบันได้เป็นอย่างดี นับเป็นประโยชน์ทางอ้อม ที่ได้รบนอกเหนือจากความอบอุ่นใจของลูกที่เป็นประโยชน์โดยตรง ั ของเพลงกล่อมเด็ก พลงกล่อมเด็กภาคอีสาน เพลงพื้นบ้านอีสาน มีลักษณะเด่นชัดกับการขับร้องอันเป็น ธรรมชาติ บ่งบอกความจริงใจ ความสนุกสนาน และความสอดคล้อง กลมกลืนกับเครื่องดนตรีประจำาท้องถิ่น คือ แคน แม้การขับกล่อมลูก ซึ่งไม่ใช้เครื่องดนตรีใดๆ ประกอบ ก็สื่อให้ผู้ฟังรูทันทีว่าเป็นเพลง ้ ของภาคอีสาน ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ หรือภาคอีสาน เป็นดินแดนที่กว้าง ขวางและมีประชากรมากที่สุดในบรรดา 4 ภาคของไทย เพลงกล่อม ลูกจึงมีหลายสำาเนียง ถ้าเป็นอีสานตอนเหนือจะมีสำาเนียงคล้ายลาว ถ้าเป็นอิสานตอนใต้จะมีสำาเนียงคล้ายเขมร แต่เพลงกล่อมลูกที่แพร่ หลายและยอมรับว่าเป็นเอกลักษณ์ของอีสานจะเป็นสำาเนียงอีสาน ตอนเหนือ และมักจะขึ้นต้นด้วยคำาว่า "นอนสาหล่า" หรือ "นอกสา เดอ" หรือ "นอนสาแม่เยอ" มีทำานองลีลาเรียบง่ายช้าๆ และมีกลุม ่ เสียงซำ้าๆ กันทั้งเพลงเช่นเดียวกับภาคเหนือ การใช้ถ้อยคำามีเสียง สัมผัสคล้ายกลอนสุภาพทั่วไป และเป็นคำาพื้นบ้านที่มีความหมายใน เชิงสั่งสอนลูกหลานด้วยความรักความผูกพัน ซึ่งมักจะประกอบด้วย 4 ส่วนเสมอ คือ ส่วนที่เป็นการ ปลอบโยนการขู่และการขอโดยมุ่งให้เด็กหลับเร็วๆ นอกจากนี้ก็จะ เป็นคำาทีแสดงสภาพสังคมด้านต่างๆ เช่น ความเป็นอยู่ บรรยากาศใน ่ หมู่บ้าน ค่านิยม ขนบธรรมเนียมประเพณี เป็นต้น คุณค่าของเพลง กล่อมเด็กอีสาน จึงมีพร้อมทั้งทางด้านจิตใจและด้านการศึกษาของ ชาติ
  • 4. เพลงกล่อมเด็กภาคกลาง เพลงกล่อมเด็กภาคกลางเป็นทีรู้จักแพร่หลายและมีการบันทึก ่ ไว้เป็นหลักฐานมากกว่าเพลงกล่อมเด็กภาคอื่น ซึ่งสะดวกแก่การ ศึกษาค้นคว้า การฟื้นฟู และการอนุรักษ์ โดยไม่มีชื่อเฉพาะสำาหรับ เรียกเพลงกล่อมเด็กภาคกลาง เนื่องจากขึ้นต้นบทร้องด้วยคำาหลาก หลายชนิดตามแต่เนื้อหาของเพลง นักวิชาการหลายท่านได้ศึกษา แบ่งประเภทเนื่อหาของเพลงกล่อมเด็กภาคกลางไว้คล้ายกัน คือ ประเภทสะท้อนให้เห็นความรักความผูกพันระหว่างแม่กับลูก ดังจะเห็นได้จากถ้อยคำาทีใช้เรียกลูกว่าเจ้าเนื้อละเอียด เจ้าเนื้ออุ่น ่ เจ้าเนื้อเย็นสุดที่รักสุดสายใจ เป็นต้น ประเภทสะท้อนให้เห็นความเป็นอยู่ของคนไทยภาคกลางใน ด้านต่างๆ เช่น ความเจริญทางวัตถุ ประเพณี วัฒนธรรมต่างๆ ความ ศรัทธา ความเชื่อคุณธรรมประจำาใจ อารมณ์ขัน และการทำามาหากิน ของประชาชน ประเภทให้ความรู้ด้านต่างๆ เช่น ความรู้ทางภาษา ธรรมชาติ วิทยา วรรณคดี นิทาน ภูมิศาสาตร์ ประวัติศาสตร์ แบบแผนการ ปกครอง และครอบครัว ลักษณะทำานองและลีลาของเพลงกล่อมเด็กภาคกลางจะ เป็นการขับกล่อมอย่างช้าๆ เช่นเดียวกับภาคอื่นๆ กลุ่มเสียงก็จะซำ้าๆ เช่นกัน แต่จะเน้นการใช้เสียงทุมเย็น และยึดคำาแต่ละคำาให้เชื่อม ้ กลืนกันไปอย่างไพเราะ อ่อนหวาน ไม่ให้มีเสียงสะดุด ทังนี้เพื่อมุ่ง ้ ให้เด็กฟังจนหลับสนิทในที่สุด เพลงกล่อมเด็กภาคใต้ ในบรรดาภาษาถิ่น ภาคใต้เป็นภาษาถิ่นที่คนไทยส่วนใหญ่รู้จัก มากที่สุดเพราะมีสำาเนียงที่เป็นเอกลักษณ์ชัดเจนที่สุด เช่นเดียวกับ เพลงกล่อมลูกภาคใต้ที่มทำานองและลีลาเด่นเป็นของตนเอง เพลง ี กล่อมลูกภาคใต้ มีชื่อเรียก 4 อย่าง คือ เพลงร้องเรือ เพลงชาน้อง หรือเพลงช้าน้อง เพลงเสภา และเพลงน้องนอน
  • 5. ที่เรียกว่าเพลงร้องเรือ สันนิษฐานว่าน่าจะเป็นเพราะลักษณะ ของเปลที่ใช้ผ้าผูกมีรูปร่างคล้ายเรือ เพลงชาน้องหรือช้าน้อง คำาว่า ชา มาจาก คำาว่าบูชา ซึ่งแปลว่าสดุดีหรือกล่อมขวัญ ชาน้องหรือช้า น้อง จึงหมายถึงการสดุดีแม่ซื้อ ซึ่งเชื่อกันว่าเป็นเทวดาหรือผีประจำา ทารก เพลงเสภาเป็นเพลงทีใช้โต้คารมกันเป็นบทปฏิพากย์แสดง ่ ปฏิภาณไหวพริบ นำามาใช้ในเพลงกล่อมลูกเพลงน้องนอน เป็นการ มุ่งกล่อมน้องหรือกล่อมลูกโดยตรง ลักษณะเด่นของทำานองกล่อม ลูกภาคใต้ ไม่วาจะเป็นเพลงประเภทใดคือมักจะขึ้นต้นเพลงด้วยคำา ่ ว่า "ฮา เอ้อ" หรือมีคำาว่า "เหอ" แทรกอยู่เสมอในวรรคแรกของ บทเพลง แล้วจึงขับกล่อมไปช้าๆ เหมือนภาคอื่นๆ จากหลักฐานการค้นคว้าเพลงกล่อมเด็กภาคใต้ ของศาสตรา จารย์สุธิวงศ์ พงศ์ไพบูลย์ ระบุไว้ว่าเพลงกล่อมเด็กภาคใต้มีจุด ประสงค์และโอกาสการใช้กว้างขวาง จำานวนเพลงจึงมีมากถึง 4,300 เพลง นับว่ามากกว่าทุกภาคในประเทศ ความหมายของเพลงกล่อมเด็ก เพลงกล่อมเด็กเป็นวัฒนธรรมท้องถิ่นอย่างหนึ่งที่สะท้อนให้ เห็นถึงความเชื่อและค่านิยมของคนในท้องถินต่างๆ คนทุกชาติทุก ่ ภาษาในโลกมีบทเพลงกล่อมเด็กด้วยกันทั้งนั้น สันนิษฐานว่าเพลง กล่อมเด็กมีวิวัฒนาการจากการเล่านิทานให้เด็กฟังก่อนนอน ดังนั้น เพลงกล่อมเด็กบางเพลงจึงมีลักษณะเนื้อร้องที่เป็นเรื่องเป็นราว เช่น จันทรโครพ ไชยเชษฐ์ พระรถเสน เป็นต้น การที่ต้องมีเพลงกล่อม เด็กก็เพื่อให้เด็กเกิดความเพลิดเพลิน หลับง่าย และเกิดความอบอุ่น ใจ ลักษณะของเพลงกล่อมเด็ก ลักษณะกลอนของเพลงกล่อมเด็กจะเป็นกลอนชาวบ้านไม่มี แบบแผนแน่นอน เพียงแต่มีสัมผัสคล้องจองกันบ้าง ถ้อยคำาที่ใช้ใน บางครั้งอาจไม่มีความหมาย เนื้อเรื่องจะเกี่ยวกับธรรมชาติสิ่ง แวดล้อม หรือเรื่องราวต่างๆ ทีเกี่ยวกับชีวิตความเป็นอยู่ ซึงสะท้อน ่ ่
  • 6. ให้เห็นความรัก ความห่วงใยของแม่ที่มีต่อลูก ทั้งยังมีการสั่งสอนและ เสียดสีสังคม สามารถแยกเป็นข้อได้ดังนี้ เป็นบทร้อยกรองสั้นๆ มีคำาคล้องจองต่อเนื่องกันไป มีฉันทลักษณ์ไม่แน่นอน ใช้คำาง่ายๆ สั้นหรือยาวก็ได้ มีจังหวะในการร้องและทำานองที่เรียบง่าย สนุกสนาน จดจำาได้ ง่าย ประเภทของเนื้อเพลงกล่อมเด็ก แสดงความรักความห่วงใย กล่าวถึงสิ่งแวดล้อม เล่าเป็นนิทานและวรรณคดี เป็นการเล่าประสบการณ์ ลอเลียนและเสียดสีสังคม ความรู้เกี่ยวกับการดูแลเด็ก เป็นคติ คำาสอน เพลงกล่อมเด็กในแต่ละภาค ในประเทศไทยเรานั้นมีเพลงกล่อมเด็กอยู่ทั่วทุกภาค เนื้อร้อง และทำานองจะต่างกันไป มีชื่อเรียกหลายอย่าง เช่น ภาคเหนือเรียก "เพลงนอนสาหล่า" "นอนสาเดอ" ภาคกลางเรียก "เพลงกล่อมเด็ก" "เพลงกล่อมลูก" ส่วนภาคใต้เรียก "เพลงชาน้อง" "เพลงเปล" " เพลงน้องนอน" และ "เพลงร้องเรือ" โดยเพลงกล่อมเด็กเป็น คติชาวบ้านประเภทใช้ภาษาเป็นสื่อที่การถ่ายทอดจากปากต่อปาก มาแต่โบราณ เรียกว่า "มุขปาฐะ" มีลักษณะเป็นวัฒนธรรมพื้นบ้านที่มี บทบาทและหน้าทีแสดงเอกลักษณ์ของแต่ละชุมชน ่ เพลงกล่อมเด็กภาคเหนือ สำาหรับภาคเหนือ หรือดินแดนล้านนาอันสงบสวยงาม มีเพลง กล่อมลูกสืบทอดเป็นลักษณะแบบแผนเฉพาะของตนเองมาช้านาน
  • 7. อาจารย์สิงฆะ วรรณไสย แห่งมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เรียก ฉันทลักษณ์ของเพลงกล่อมเด็กภาคเหนือว่า "คำารำ่า" ซึ่งจัดเป็น ลำานำาชนิดหนึ่ง หมายถึงการรำ่าพรรณนา มีเสียงไพเราะ สูงตำ่าตามสี ยงวรรณยุกต์ของสำาเนียงภาคเหนือ นิยมใช้แต่งในการรำ่าบอกไฟขึ้น รำ่าสร้างวิหาร รำ่าสร้างเจดีย์ รำ่าสร่างถนน ขึ้นดอยสุเทพ และแตงเป็น คำากล่อมเด็ก คำากล่อมเด็กนี้ พ่อแม่ ปูย่า ตายาย ในภาคเหนือสมัยก่อนมัก ่ จะใช้ขับกล่อมสอนลูกหลานขณะอุ้มเด็กนั่งชิงช้าแกว่งไกวช้าๆ จน เด็กง่วงนอน จึงอุ้มไปวางบนที่นอนหรือในเปลแล้วแห่กล่อมต่อจน เด็กหลับสนิท คำากล่อมเด็กนี้จึงเรียนว่า "สิกจุ้งจาโหน" ตามเสียงที่ ใช้ขึ้นต้นเพลง ลักษณะเด่นของเพลงกล่อมเด็กภาคเหนือนอกจากจะขึ้นต้น ด้วยคำาว่าสิกจุ้งจาโหนแล้วยังมักจะขึ้นต้นด้วยคำาว่า "อื่อจา" เป็นส่วน ใหญ่ จึงเรียกเพลงกล่อมเด็กนี้ว่า เพลงอื่อลูก ทำานองและลีลาอื่อลูก จะเป็นไปช้าๆ ด้วยนำ้าเสียงทุ้มเย็น ตามถ้อยคำาที่สรรมาเพื่อสั่งสอน พรรณาถึงความรัก ความห่วงใยลูกน้อย จนถึงคำาปลอบ คำาขู่ ขณะยัง ไม่ยอมหลับ ถ้อยคำาต่างๆ ในเพลงกล่อมเด็กภาคเหนือสะท้อนให้ เห็นสภาพความเป็นอยู่ สิ่งแวดล้อม และวัฒนธรรมต่างๆ ของคนใน ภาคเหนือในอดีตจนปัจจุบันได้เป็นอย่างดี นับเป็นประโยชน์ทางอ้อม ที่ได้รบนอกเหนือจากความอบอุ่นใจของลูกที่เป็นประโยชน์โดยตรง ั ของเพลงกล่อมเด็ก เพลงกล่อมเด็กภาคอีสาน เพลงพื้นบ้านอีสาน มีลักษณะเด่นชัดกับการขับร้องอันเป็น ธรรมชาติ บ่งบอกความจริงใจ ความสนุกสนาน และความสอดคล้อง กลมกลืนกับเครื่องดนตรีประจำาท้องถิ่น คือ แคน แม้การขับกล่อมลูก ซึ่งไม่ใช้เครื่องดนตรีใดๆ ประกอบ ก็สื่อให้ผู้ฟังรูทันทีว่าเป็นเพลง ้ ของภาคอีสาน ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ หรือภาคอีสาน เป็นดินแดนที่กว้าง
  • 8. ขวางและมีประชากรมากที่สุดในบรรดา 4 ภาคของไทย เพลงกล่อม ลูกจึงมีหลายสำาเนียง ถ้าเป็นอีสานตอนเหนือจะมีสำาเนียงคล้ายลาว ถ้าเป็นอิสานตอนใต้จะมีสำาเนียงคล้ายเขมร แต่เพลงกล่อมลูกที่แพร่ หลายและยอมรับว่าเป็นเอกลักษณ์ของอีสานจะเป็นสำาเนียงอีสาน ตอนเหนือ และมักจะขึ้นต้นด้วยคำาว่า "นอนสาหล่า" หรือ "นอกสา เดอ" หรือ "นอนสาแม่เยอ" มีทำานองลีลาเรียบง่ายช้าๆ และมีกลุม ่ เสียงซำ้าๆ กันทั้งเพลงเช่นเดียวกับภาคเหนือ การใช้ถ้อยคำามีเสียง สัมผัสคล้ายกลอนสุภาพทั่วไป และเป็นคำาพื้นบ้านที่มีความหมายใน เชิงสั่งสอนลูกหลานด้วยความรักความผูกพัน ซึ่งมักจะประกอบด้วย 4 ส่วนเสมอ คือ ส่วนที่เป็นการ ปลอบโยนการขู่และการขอโดยมุ่งให้เด็กหลับเร็วๆ นอกจากนี้ก็จะ เป็นคำาทีแสดงสภาพสังคมด้านต่างๆ เช่น ความเป็นอยู่ บรรยากาศใน ่ หมู่บ้าน ค่านิยม ขนบธรรมเนียมประเพณี เป็นต้น คุณค่าของเพลง กล่อมเด็กอีสาน จึงมีพร้อมทั้งทางด้านจิตใจและด้านการศึกษาของ ชาติ เพลงกล่อมเด็กภาคกลาง เพลงกล่อมเด็กภาคกลางเป็นทีรู้จักแพร่หลายและมีการบันทึก ่ ไว้เป็นหลักฐานมากกว่าเพลงกล่อมเด็กภาคอื่น ซึ่งสะดวกแก่การ ศึกษาค้นคว้า การฟื้นฟู และการอนุรักษ์ โดยไม่มีชื่อเฉพาะสำาหรับ เรียกเพลงกล่อมเด็กภาคกลาง เนื่องจากขึ้นต้นบทร้องด้วยคำาหลาก หลายชนิดตามแต่เนื้อหาของเพลง นักวิชาการหลายท่านได้ศึกษา แบ่งประเภทเนื่อหาของเพลงกล่อมเด็กภาคกลางไว้คล้ายกัน คือ ประเภทสะท้อนให้เห็นความรักความผูกพันระหว่างแม่กับลูก ดังจะเห็นได้จากถ้อยคำาทีใช้เรียกลูกว่าเจ้าเนื้อละเอียด เจ้าเนื้ออุ่น ่ เจ้าเนื้อเย็นสุดที่รักสุดสายใจ เป็นต้น ประเภทสะท้อนให้เห็นความเป็นอยู่ของคนไทยภาคกลางใน ด้านต่างๆ เช่น ความเจริญทางวัตถุ ประเพณี วัฒนธรรมต่างๆ ความ ศรัทธา ความเชื่อคุณธรรมประจำาใจ อารมณ์ขัน และการทำามาหากิน ของประชาชน
  • 9. ประเภทให้ความรู้ด้านต่างๆ เช่น ความรู้ทางภาษา ธรรมชาติ วิทยา วรรณคดี นิทาน ภูมิศาสาตร์ ประวัติศาสตร์ แบบแผนการ ปกครอง และครอบครัว ลักษณะทำานองและลีลาของเพลงกล่อมเด็กภาคกลางจะ เป็นการขับกล่อมอย่างช้าๆ เช่นเดียวกับภาคอื่นๆ กลุ่มเสียงก็จะซำ้าๆ เช่นกัน แต่จะเน้นการใช้เสียงทุมเย็น และยึดคำาแต่ละคำาให้เชื่อม ้ กลืนกันไปอย่างไพเราะ อ่อนหวาน ไม่ให้มีเสียงสะดุด ทังนี้เพื่อมุ่ง ้ ให้เด็กฟังจนหลับสนิทในที่สุด เพลงกล่อมเด็กภาคใต้ ในบรรดาภาษาถิ่น ภาคใต้เป็นภาษาถิ่นที่คนไทยส่วนใหญ่รู้จัก มากที่สุดเพราะมีสำาเนียงที่เป็นเอกลักษณ์ชัดเจนที่สุด เช่นเดียวกับ เพลงกล่อมลูกภาคใต้ที่มทำานองและลีลาเด่นเป็นของตนเอง เพลง ี กล่อมลูกภาคใต้ มีชื่อเรียก 4 อย่าง คือ เพลงร้องเรือ เพลงชาน้อง หรือเพลงช้าน้อง เพลงเสภา และเพลงน้องนอน ที่เรียกว่าเพลงร้องเรือ สันนิษฐานว่าน่าจะเป็นเพราะลักษณะ ของเปลที่ใช้ผ้าผูกมีรูปร่างคล้ายเรือ เพลงชาน้องหรือช้าน้อง คำาว่า ชา มาจาก คำาว่าบูชา ซึ่งแปลว่าสดุดีหรือกล่อมขวัญ ชาน้องหรือช้า น้อง จึงหมายถึงการสดุดีแม่ซื้อ ซึ่งเชื่อกันว่าเป็นเทวดาหรือผีประจำา ทารก เพลงเสภาเป็นเพลงทีใช้โต้คารมกันเป็นบทปฏิพากย์แสดง ่ ปฏิภาณไหวพริบ นำามาใช้ในเพลงกล่อมลูกเพลงน้องนอน เป็นการ มุ่งกล่อมน้องหรือกล่อมลูกโดยตรง ลักษณะเด่นของทำานองกล่อม ลูกภาคใต้ ไม่วาจะเป็นเพลงประเภทใดคือมักจะขึ้นต้นเพลงด้วยคำา ่ ว่า "ฮา เอ้อ" หรือมีคำาว่า "เหอ" แทรกอยู่เสมอในวรรคแรกของ บทเพลง แล้วจึงขับกล่อมไปช้าๆ เหมือนภาคอื่นๆ จากหลักฐานการค้นคว้าเพลงกล่อมเด็กภาคใต้ ของศาสตรา จารย์สุธิวงศ์ พงศ์ไพบูลย์ ระบุไว้ว่าเพลงกล่อมเด็กภาคใต้มีจุด ประสงค์และโอกาสการใช้กว้างขวาง จำานวนเพลงจึงมีมากถึง 4,300 เพลง นับว่ามากกว่าทุกภาคในประเทศ
  • 10. ความหมายของเพลงกล่อมเด็ก เพลงกล่อมเด็กเป็นวัฒนธรรมท้องถิ่นอย่างหนึ่งที่สะท้อนให้ เห็นถึงความเชื่อและค่านิยมของคนในท้องถินต่างๆ คนทุกชาติทุก ่ ภาษาในโลกมีบทเพลงกล่อมเด็กด้วยกันทั้งนั้น สันนิษฐานว่าเพลง กล่อมเด็กมีวิวัฒนาการจากการเล่านิทานให้เด็กฟังก่อนนอน ดังนั้น เพลงกล่อมเด็กบางเพลงจึงมีลักษณะเนื้อร้องที่เป็นเรื่องเป็นราว เช่น จันทรโครพ ไชยเชษฐ์ พระรถเสน เป็นต้น การที่ต้องมีเพลงกล่อม เด็กก็เพื่อให้เด็กเกิดความเพลิดเพลิน หลับง่าย และเกิดความอบอุ่น ใจ ลักษณะของเพลงกล่อมเด็ก ลักษณะกลอนของเพลงกล่อมเด็กจะเป็นกลอนชาวบ้านไม่มี แบบแผนแน่นอน เพียงแต่มีสัมผัสคล้องจองกันบ้าง ถ้อยคำาที่ใช้ใน บางครั้งอาจไม่มีความหมาย เนื้อเรื่องจะเกี่ยวกับธรรมชาติสิ่ง แวดล้อม หรือเรื่องราวต่างๆ ทีเกี่ยวกับชีวิตความเป็นอยู่ ซึงสะท้อน ่ ่ ให้เห็นความรัก ความห่วงใยของแม่ที่มีต่อลูก ทั้งยังมีการสั่งสอนและ เสียดสีสังคม สามารถแยกเป็นข้อได้ดังนี้ เป็นบทร้อยกรองสั้นๆ มีคำาคล้องจองต่อเนื่องกันไป มีฉันทลักษณ์ไม่แน่นอน ใช้คำาง่ายๆ สั้นหรือยาวก็ได้ มีจังหวะในการร้องและทำานองที่เรียบง่าย สนุกสนาน จดจำาได้ ง่าย ประเภทของเนื้อเพลงกล่อมเด็ก แสดงความรักความห่วงใย กล่าวถึงสิ่งแวดล้อม ล่าเป็นนิทานและวรรณคดี เป็นการเล่าประสบการณ์ ล้อเลียนและเสียดสีสังคม ความรู้เกี่ยวกับการดูแลเด็ก
  • 11. เป็นคติ คำาสอน เพลงกล่อมเด็กในแต่ละภาค ในประเทศไทยเรานั้นมีเพลงกล่อมเด็กอยู่ทั่วทุกภาค เนื้อร้อง และทำานองจะต่างกันไป มีชื่อเรียกหลายอย่าง เช่น ภาคเหนือเรียก "เพลงนอนสาหล่า" "นอนสาเดอ" ภาคกลางเรียก "เพลงกล่อมเด็ก" "เพลงกล่อมลูก" ส่วนภาคใต้เรียก "เพลงชาน้อง" "เพลงเปล" " เพลงน้องนอน" และ "เพลงร้องเรือ" โดยเพลงกล่อมเด็กเป็น คติชาวบ้านประเภทใช้ภาษาเป็นสื่อที่การถ่ายทอดจากปากต่อปาก มาแต่โบราณ เรียกว่า "มุขปาฐะ" มีลักษณะเป็นวัฒนธรรมพื้นบ้านที่มี บทบาทและหน้าทีแสดงเอกลักษณ์ของแต่ละชุมชน ่ เพลงกล่อมเด็กภาคเหนือ สำาหรับภาคเหนือ หรือดินแดนล้านนาอันสงบสวยงาม มีเพลง กล่อมลูกสืบทอดเป็นลักษณะแบบแผนเฉพาะของตนเองมาช้านาน อาจารย์สิงฆะ วรรณไสย แห่งมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เรียก ฉันทลักษณ์ของเพลงกล่อมเด็กภาคเหนือว่า "คำารำ่า" ซึ่งจัดเป็น ลำานำาชนิดหนึ่ง หมายถึงการรำ่าพรรณนา มีเสียงไพเราะ สูงตำ่าตามสี ยงวรรณยุกต์ของสำาเนียงภาคเหนือ นิยมใช้แต่งในการรำ่าบอกไฟขึ้น รำ่าสร้างวิหาร รำ่าสร้างเจดีย์ รำ่าสร่างถนน ขึ้นดอยสุเทพ และแตงเป็น คำากล่อมเด็ก คำากล่อมเด็กนี้ พ่อแม่ ปูย่า ตายาย ในภาคเหนือสมัยก่อนมัก ่ จะใช้ขับกล่อมสอนลูกหลานขณะอุ้มเด็กนั่งชิงช้าแกว่งไกวช้าๆ จน เด็กง่วงนอน จึงอุ้มไปวางบนที่นอนหรือในเปลแล้วแห่กล่อมต่อจน เด็กหลับสนิท คำากล่อมเด็กนี้จึงเรียนว่า "สิกจุ้งจาโหน" ตามเสียงที่ ใช้ขึ้นต้นเพลง ลักษณะเด่นของเพลงกล่อมเด็กภาคเหนือนอกจากจะขึ้นต้น ด้วยคำาว่าสิกจุ้งจาโหนแล้วยังมักจะขึ้นต้นด้วยคำาว่า "อื่อจา" เป็นส่วน ใหญ่ จึงเรียกเพลงกล่อมเด็กนี้ว่า เพลงอื่อลูก ทำานองและลีลาอื่อลูก
  • 12. จะเป็นไปช้าๆ ด้วยนำ้าเสียงทุ้มเย็น ตามถ้อยคำาที่สรรมาเพื่อสั่งสอน พรรณาถึงความรัก ความห่วงใยลูกน้อย จนถึงคำาปลอบ คำาขู่ ขณะยัง ไม่ยอมหลับ ถ้อยคำาต่างๆ ในเพลงกล่อมเด็กภาคเหนือสะท้อนให้ เห็นสภาพความเป็นอยู่ สิ่งแวดล้อม และวัฒนธรรมต่างๆ ของคนใน ภาคเหนือในอดีตจนปัจจุบันได้เป็นอย่างดี นับเป็นประโยชน์ทางอ้อม ที่ได้รบนอกเหนือจากความอบอุ่นใจของลูกที่เป็นประโยชน์โดยตรง ั ของเพลงกล่อมเด็ก เพลงกล่อมเด็กภาคอีสาน เพลงพื้นบ้านอีสาน มีลักษณะเด่นชัดกับการขับร้องอันเป็น ธรรมชาติ บ่งบอกความจริงใจ ความสนุกสนาน และความสอดคล้อง กลมกลืนกับเครื่องดนตรีประจำาท้องถิ่น คือ แคน แม้การขับกล่อมลูก ซึ่งไม่ใช้เครื่องดนตรีใดๆ ประกอบ ก็สื่อให้ผู้ฟังรูทันทีว่าเป็นเพลง ้ ของภาคอีสาน ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ หรือภาคอีสาน เป็นดินแดนที่กว้าง ขวางและมีประชากรมากที่สุดในบรรดา 4 ภาคของไทย เพลงกล่อม ลูกจึงมีหลายสำาเนียง ถ้าเป็นอีสานตอนเหนือจะมีสำาเนียงคล้ายลาว ถ้าเป็นอิสานตอนใต้จะมีสำาเนียงคล้ายเขมร แต่เพลงกล่อมลูกที่แพร่ หลายและยอมรับว่าเป็นเอกลักษณ์ของอีสานจะเป็นสำาเนียงอีสาน ตอนเหนือ และมักจะขึ้นต้นด้วยคำาว่า "นอนสาหล่า" หรือ "นอกสา เดอ" หรือ "นอนสาแม่เยอ" มีทำานองลีลาเรียบง่ายช้าๆ และมีกลุม ่ เสียงซำ้าๆ กันทั้งเพลงเช่นเดียวกับภาคเหนือ การใช้ถ้อยคำามีเสียง สัมผัสคล้ายกลอนสุภาพทั่วไป และเป็นคำาพื้นบ้านที่มีความหมายใน เชิงสั่งสอนลูกหลานด้วยความรักความผูกพัน ซึ่งมักจะประกอบด้วย 4 ส่วนเสมอ คือ ส่วนที่เป็นการ ปลอบโยนการขู่และการขอโดยมุ่งให้เด็กหลับเร็วๆ นอกจากนี้ก็จะ เป็นคำาทีแสดงสภาพสังคมด้านต่างๆ เช่น ความเป็นอยู่ บรรยากาศใน ่ หมู่บ้าน ค่านิยม ขนบธรรมเนียมประเพณี เป็นต้น คุณค่าของเพลง กล่อมเด็กอีสาน จึงมีพร้อมทั้งทางด้านจิตใจและด้านการศึกษาของ ชาติ
  • 13. เพลงกล่อมเด็กภาคกลาง เพลงกล่อมเด็กภาคกลางเป็นทีรู้จักแพร่หลายและมีการบันทึก ่ ไว้เป็นหลักฐานมากกว่าเพลงกล่อมเด็กภาคอื่น ซึ่งสะดวกแก่การ ศึกษาค้นคว้า การฟื้นฟู และการอนุรักษ์ โดยไม่มีชื่อเฉพาะสำาหรับ เรียกเพลงกล่อมเด็กภาคกลาง เนื่องจากขึ้นต้นบทร้องด้วยคำาหลาก หลายชนิดตามแต่เนื้อหาของเพลง นักวิชาการหลายท่านได้ศึกษา แบ่งประเภทเนื่อหาของเพลงกล่อมเด็กภาคกลางไว้คล้ายกัน คือ ประเภทสะท้อนให้เห็นความรักความผูกพันระหว่างแม่กับลูก ดังจะเห็นได้จากถ้อยคำาทีใช้เรียกลูกว่าเจ้าเนื้อละเอียด เจ้าเนื้ออุ่น ่ เจ้าเนื้อเย็นสุดที่รักสุดสายใจ เป็นต้น ประเภทสะท้อนให้เห็นความเป็นอยู่ของคนไทยภาคกลางใน ด้านต่างๆ เช่น ความเจริญทางวัตถุ ประเพณี วัฒนธรรมต่างๆ ความ ศรัทธา ความเชื่อคุณธรรมประจำาใจ อารมณ์ขัน และการทำามาหากิน ของประชาชน ประเภทให้ความรู้ด้านต่างๆ เช่น ความรู้ทางภาษา ธรรมชาติ วิทยา วรรณคดี นิทาน ภูมิศาสาตร์ ประวัติศาสตร์ แบบแผนการ ปกครอง และครอบครัว ลักษณะทำานองและลีลาของเพลงกล่อมเด็กภาคกลางจะ เป็นการขับกล่อมอย่างช้าๆ เช่นเดียวกับภาคอื่นๆ กลุ่มเสียงก็จะซำ้าๆ เช่นกัน แต่จะเน้นการใช้เสียงทุมเย็น และยึดคำาแต่ละคำาให้เชื่อม ้ กลืนกันไปอย่างไพเราะ อ่อนหวาน ไม่ให้มีเสียงสะดุด ทังนี้เพื่อมุ่ง ้ ให้เด็กฟังจนหลับสนิทในที่สุด <เพลงกล่อมเด็กภาคใต้ ในบรรดาภาษาถิ่น ภาคใต้เป็นภาษาถิ่นที่คนไทยส่วนใหญ่รู้จัก มากที่สุดเพราะมีสำาเนียงที่เป็นเอกลักษณ์ชัดเจนที่สุด เช่นเดียวกับ เพลงกล่อมลูกภาคใต้ที่มทำานองและลีลาเด่นเป็นของตนเอง เพลง ี กล่อมลูกภาคใต้ มีชื่อเรียก 4 อย่าง คือ เพลงร้องเรือ เพลงชาน้อง หรือเพลงช้าน้อง เพลงเสภา และเพลงน้องนอน
  • 14. ที่เรียกว่าเพลงร้องเรือ สันนิษฐานว่าน่าจะเป็นเพราะลักษณะ ของเปลที่ใช้ผ้าผูกมีรูปร่างคล้ายเรือ เพลงชาน้องหรือช้าน้อง คำาว่า ชา มาจาก คำาว่าบูชา ซึ่งแปลว่าสดุดีหรือกล่อมขวัญ ชาน้องหรือช้า น้อง จึงหมายถึงการสดุดีแม่ซื้อ ซึ่งเชื่อกันว่าเป็นเทวดาหรือผีประจำา ทารก เพลงเสภาเป็นเพลงทีใช้โต้คารมกันเป็นบทปฏิพากย์แสดง ่ ปฏิภาณไหวพริบ นำามาใช้ในเพลงกล่อมลูกเพลงน้องนอน เป็นการ มุ่งกล่อมน้องหรือกล่อมลูกโดยตรง ลักษณะเด่นของทำานองกล่อม ลูกภาคใต้ ไม่วาจะเป็นเพลงประเภทใดคือมักจะขึ้นต้นเพลงด้วยคำา ่ ว่า "ฮา เอ้อ" หรือมีคำาว่า "เหอ" แทรกอยู่เสมอในวรรคแรกของ บทเพลง แล้วจึงขับกล่อมไปช้าๆ เหมือนภาคอื่นๆ จากหลักฐานการค้นคว้าเพลงกล่อมเด็กภาคใต้ ของศาสตรา จารย์สุธิวงศ์ พงศ์ไพบูลย์ ระบุไว้ว่าเพลงกล่อมเด็กภาคใต้มีจุด ประสงค์และโอกาสการใช้กว้างขวาง จำานวนเพลงจึงมีมากถึง 4,300 เพลง นับว่า มากกว่าทุกภาคในประเทศ