SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 40
Downloaden Sie, um offline zu lesen
พัฒนาการด้านการเคลื่อนไหว
ในแต่ละวัย
อ.ภาคภูมิ พิลึก
โปรแกรมวิชาวิทยาศาสตร์การกีฬาและการออกกาลังกาย
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา
2
ครู คือ ผู้แนะนาสั่งสอน
แนะ คือ บอกหรือสอนให้ทา
นา คือ สาธิตหรือทาให้ดู
สั่งสอน คือ การอบรมให้ความรู้ หรือ
แนวทางปฏิบัติที่ถูกต้อง
เหมาะสม
พัฒนาการด้านการเคลื่อนไหวในครรภ์มารดา
ระยะที่ 1 วัยก่อนคลอด (Prenatal period)
อายุ พัฒนาการ
1 เดือนแรก • เป็นช่วงเวลาที่ไข่ผสมกับอสุจิกลายเป็นตัวอ่อน
พัฒนาการด้านการเคลื่อนไหวในครรภ์มารดา
อายุ พัฒนาการ
2 เดือน • สังเกตเห็นทารกเป็นตัว โดยส่วนหัวจะโตกกว่า
ส่วนอื่น เห็นโครงรูปหน้า มือ และเท้า เริ่มมีการ
เคลื่อนไหวและมีการเต้นของหัวใจ และมีสายรก
ทาหน้าที่แลกเปลี่ยนก๊าซและขนส่งสารอาหาร
พัฒนาการด้านการเคลื่อนไหวในครรภ์มารดา
อายุ พัฒนาการ
3 เดือน • โครงสร้างใบหน้าทารกเริ่มสมบูรณ์ เปลือกตา
ปิดอยู่ การทางานของสมองและกล้ามเนื้อเริ่ม
สัมพันธ์กัน กล้ามเนื้อมีการเจริญเติบโต แขนขา
เริ่มยืดออก และเคลื่อนไหวได้นิ้วมือนิ้วเท้า
สมบูรณ์ และเริ่มงอได้ ปลายนิ้วมีเล็บ หัวใจเป็น
รูปร่างเต็มที่
พัฒนาการด้านการเคลื่อนไหวในครรภ์มารดา
อายุ พัฒนาการ
4 เดือน • การเติบโตใกล้จะสมบูรณ์ แขนและข้อต่อต่างๆ
พัฒนาอย่างสมบูรณ์ กล้ามเนื้อแข็งแรงขึ้น และ
เคลื่อนไหวได้มากขึ้น แต่แม่ยังไม่รู้สึก
• เริ่มมีขนอ่อนปกคลุมตามส่วนต่างๆ
• สามารถได้ยินเสียงของหัวใจเต้น และเริ่มมีไต
• จานวนเส้นประสาทและกล้ามเนื้อมากกว่าเดือน
ก่อน 3 เท่า สามารถเตะ งอนิ้วมือ-เท้า กลอกตาได้
• อวัยวะเพศพัฒนาจนสามารถบอกเพศได้
พัฒนาการด้านการเคลื่อนไหวในครรภ์มารดา
อายุ พัฒนาการ
5 เดือน • ทารกดิ้นจนแม่รู้สึก
• มีฟัน มีผมบนศีรษะ
• กล้ามเนื้อมีความแข็งแรงเพิ่มขึ้น
• ลาตัวยาวประมาณ 9 นิ้ว
• คิ้ว ขนตาเริ่มงอก
• เริ่มพัฒนาประสาทสัมผัส คือ รับรู้รส กลิ่น
เสียง ตายังปิดอยู่แต่รับรู้แสงสว่างจ้าได้
(เริ่มรู้สึกกับสิ่งแวดล้อมภายนอกได้)
พัฒนาการด้านการเคลื่อนไหวในครรภ์มารดา
อายุ พัฒนาการ
6 เดือน • พัฒนาปอด ระบบย่อยอาหาร ระบบภูมิคุ้มกัน
• ตอบสนองต่อสิ่งแวดล้อมภายนอกมากขึ้น
พัฒนาการด้านการเคลื่อนไหวในครรภ์มารดา
อายุ พัฒนาการ
7 เดือน • พัฒนาการพร้อมออกสู่สิ่งแวดล้อมนอกครรภ์
• เปลือกตาเริ่มเปิด และนัยน์ตาพัฒนาจนมองเห็น
แสงที่ผ่านทางหน้าท้องแม่
• เสียงดังทาให้ทารกเคลื่อนไหว
• การเต้นของหัวใจเปลี่ยนไปตามเสียงและแสง
ไฟ
• พัฒนาต่อมรับรสเพิ่มขึ้น
พัฒนาการด้านการเคลื่อนไหวในครรภ์มารดา
อายุ พัฒนาการ
8 เดือน • ทารกเริ่มกลับหัวเข้าสู่อุ้งเชิงกราน
• ขนาดและสัดส่วนของทารกจะใกล้เคียงกับเด็กแรกเกิด
• มีความแข็งแรงมากขึ้น
• มีการดิ้นที่รุนแรง สังเกตจากหน้าท้องแม่
พัฒนาการด้านการเคลื่อนไหวในครรภ์มารดา
อายุ พัฒนาการ
9 เดือน • ทารกจะอยู่ในท่าพร้อมจะคลอด
• เล็บมีการเจริญเติบโต ผมบนศีรษะยาวประมาณ 1-2
นิ้ว
พัฒนาการด้านการเคลื่อนไหวในวัยทารก
อายุ พัฒนาการ
แรกเกิดถึง 1 เดือน • นอนงอแขน-ขาเคลื่อนไหวเท่ากันทั้ง 2 ด้าน
• มองหน้าสบตา
• ตอบสนองเสียงพูดทาเสียงในคอ
ระยะที่ 2 วัยทารก (Infancy period)
พัฒนาการด้านการเคลื่อนไหวในวัยทารก
อายุ พัฒนาการ
1 – 2 เดือน • ยิ้มตอบ ยิ้มทักทาย
• แสดงท่าดีใจเมื่อแม่อุ้ม
• ทาเสียงอืออา สนใจฟัง และมองหาเสียง
• ผงกหัว หันหน้าซ้ายขวา มองตามสิ่งเคลื่อนไหว
• ชันคอในท่าคว่า ได้ 45 องศา
• ขาเริ่มเหยียดในท่าคว่า
พัฒนาการด้านการเคลื่อนไหวในวัยทารก
อายุ พัฒนาการ
3 - 4 เดือน • ทักทายคนคุ้นเคย หันหาเสียงหัวเราะส่งเสียงอ้อแอ้
โต้ตอบ
• เอามือจับกัน หยิบจับสิ่งของ
• มองตามจากด้านหนึ่งจนสุดอีกด้านหนึ่ง
• ท่าคว่า ชันคอได้ 90 องศา
• ใช้มือและแขนยันยกตัวชูขึ้น
• นั่งแบบต้องช่วยประคอง
พัฒนาการด้านการเคลื่อนไหวในวัยทารก
อายุ พัฒนาการ
5 – 6 เดือน • แสดงอารมณ์และท่าทาง เช่น ดีใจ ขัดใจ
• หันตามเสียงเรียกชื่อ ส่งเสียงสูง ต่า
• คว้าจับของมือเดียว และสลับมือถือของได้
• พลิกคว่า พลิกหงาย คืบคลานได้เอง
• นั่งบนตักแม่ได้ และนั่งบนเก้าอี้ได้
• ยืนเริ่มลงน้าหนักที่เท้าทั้งสองได้
พัฒนาการด้านการเคลื่อนไหวในวัยทารก
อายุ พัฒนาการ
7 - 8 เดือน • กลัวคนแปลกหน้า รู้สึกผูกพัน ติดคนเลี้ยงดู
• ชูมือให้อุ้ม
• ออกเสียงพยางค์เดียว
• มองตามของตก ถือของมือละชิ้น
• นั่งทรงตัวได้เอง โดยไม่ต้องใช้มือยัน
• เริ่มยืนแต่ต้องช่วยพยุง
พัฒนาการด้านการเคลื่อนไหวในวัยทารก
อายุ พัฒนาการ
9 - 10 เดือน • เล่นจ๊ะเอ๋ ปรบมือ มองหาของที่ซ่อนอยู่
• หยิบอาหารกินเองด้วยมือ
• ใช้ท่าทางหรือบอกความต้องการ
• ฟังรู้ภาษา เข้าใจสีหน้า ท่าทาง และตอบสนอง
• ส่งเสียงหลายพยางค์
• ใช้นิ้วชี้และนิ้วหัวแม่มือหยิบของ และมองหาของ
• นั่งได้มั่นคง คลาน เกาะยืนและเหนี่ยวตัวลุกขึ้นยืน
จากท่านั่ง
พัฒนาการด้านการเคลื่อนไหวในวัยทารก
อายุ พัฒนาการ
11 - 12 เดือน
(1 ปี)
• เลียนแบบท่าทางต่างๆ เช่น ไหว้ โบกมือลา หอม
แก้ม โยกตัวตามจังหวะเสียงเพลง
• ดื่มน้าจากถ้วยโดยต้องช่วยเหลือ
• พูดได้ 1 คา อย่างมีความหมาย เข้าใจเสียงห้ามและ
หยุดทา
• ถือสิ่งของขนาดพอมือ2 อัน เคาะกัน
• ยืนเองได้ชั่วครู่ หรือตั้งไข่
พัฒนาการด้านการเคลื่อนไหวในวัยทารก
อายุ พัฒนาการ
13 - 15 เดือน • เลียนแบบทากิจกรรมง่ายๆ เช่น หวีผม รู้จักรับและ
ให้ของ
• ถือช้อนและพยายามป้อนอาหารเข้าปาก
• ทาตามคาบอกง่ายๆ เช่น ชี้อวัยวะ รูปภาพ พูดคาที่
มีความหมายได้ 1 – 3 คา
• หยิบของ 2 – 3 ชิ้น ใส่ถ้วยหรือกล่อง
• เดินได้เอง
พัฒนาการด้านการเคลื่อนไหวในวัยทารก
อายุ พัฒนาการ
16 - 18 เดือน • ดีใจเมื่อได้รับความสนใจ รู้จักปฏิเสธ เช่น ส่ายหน้า
หรือบอกว่าไม่
• ถือแก้วดื่มน้าและนมด้วยตนเอง
• ทาตามคาสั่งง่ายๆ ได้ พูดเป็นคาๆ ที่มีความหมาย
ได้ 5 คา
• วางของซ้อนกัน 2-3 ชิ้น
• วิ่ง เดินขึ้นบันได
พัฒนาการด้านการเคลื่อนไหวในวัยทารก
อายุ พัฒนาการ
19 - 24 เดือน
(2 ปี)
• แสดงอารมณ์ต่างๆ เช่น กลัว โกรธ อิจฉา เห็นใจ
• ใช้ช้อนตักอาหารกินเองได้
• ขีดเขียนเส้น
• เตะบอล ยืนก้ม เก็บของได้ไม่ล้ม
พัฒนาการด้านการเคลื่อนไหวในวัยเด็ก
ระยะที่ 3 วัยเด็ก (Childhood period)
• เริ่มตั้งแต่ 2 – 12 ปี
• วัยเด็กตอนต้น 2 – 6 ปี
• วัยเด็กตอนกลาง 6 – 9 ปี
• วัยเด็กตอนปลาย 10 – 12 ปี
พัฒนาการด้านการเคลื่อนไหวในวัยเด็ก
อายุ พัฒนาการ
25 – 30 เดือน
(2 ปี)
• ช่วยทางานบ้านง่ายๆ และถอดเสื้อผ้าได้เอง
• พูดคุยโต้ตอบเป็นประโยคสั้นๆ
• ชี้หรือทาตามคาบอก เช่น ชื่อ อวัยวะอย่างน้อย 6
ส่วนหรือรูปภาพ
• เดินขึ้นบันได้ได้เอง
วัยเด็กตอนต้น 2 – 6 ปี
พัฒนาการด้านการเคลื่อนไหวในวัยเด็ก
อายุ พัฒนาการ
31 - 36 เดือน
(3 ปี)
• ถอดและใส่เสื้อผ้าโดยต้องช่วยบ้าง
• บอกชื้อตนเองได้ รู้จักซักถาม ชอบฟังนิทาน
• รู้จักรอคอย
• กระโดดอยู่กับที่ โยนลูกบอลไปข้างหน้า
37 – 48 เดือน
(4 ปี)
• บอกสีได้
• บอกจานวน 1 – 3 ชิ้น
• เดินลงบันไดสลับเท้าและยืนขาเดียวได้ชั่วครู่
พัฒนาการด้านการเคลื่อนไหวในวัยเด็ก
อายุ พัฒนาการ
49 - 60 เดือน
(5 ปี)
• รู้จักไหว้ ขอบคุณ ขอโทษ
• แต่งตัว ติดกระดุมเอง จับดินสอวาดรูปง่ายๆได้
• เข้าใจและอธิบายเหตุผลง่ายๆ ชอบถาม
• นับจานวน 1 – 5 บอกสี ตัวอักษร
• กระโดดขาเดียวได้ 2 – 3 ครั้งติดต่อกัน
พัฒนาการด้านการเคลื่อนไหวในวัยเด็ก
อายุ พัฒนาการ
61 – 72 เดือน
(6 ปี)
• ทางานบ้านง่ายๆ ปฏิบัติตามเกณฑ์และข้อตกลง
• รู้จักซ้ายขวา บนล่าง หน้าหลัง จานวน1-10 ชิ้น
อ่านตัวอักษรและสะกด วาดรูปสามเหลี่ยมและเขียน
ตัวอักษรง่ายๆ ได้ และใช้สองมือรับลูกบอล
พัฒนาการด้านการเคลื่อนไหวในวัยเด็ก
อายุ พัฒนาการ
6 – 9 ปี • มีความคล่องแคล่วว่องไว
• ชอบเล่น ไม่เคยอยู่นิ่ง
วัยเด็กตอนกลาง 6 – 9 ปี
พัฒนาการด้านการเคลื่อนไหวในวัยเด็ก
อายุ พัฒนาการ
9 – 12 ปี • เด็กหญิงเจริญเติบโตเร็วกว่าเด็กชาย
• รูปร่างเปลี่ยนแปลงไปทั้งหญิงและชาย
• การทางานของระบบประสาทและกล้ามเนื้อมี
ความสัมพันธ์กันมากขึ้น
• มีกาลังเพิ่มขึ้น กล้ามเนื้อที่ไหล่ แขน และข้อมือ
เจริญเติบโตจนสามารถใช้การได้ดีจนเกือบเท่าผู้ใหญ่
• รับบอลมือเดียว ยืนกระโดดไกล 150 – 165 ซม.
วัยเด็กตอนปลาย 9 – 12 ปี
พัฒนาการด้านการเคลื่อนไหวในวัยรุ่น
อายุ พัฒนาการ
13 – 15 ปี • เด็กหญิงเข้าสู่วัยรุ่นก่อนเด็กชาย
• ปฏิบัติทักษะการเคลื่อนไหวที่ยากได้
• ความแข็งแรงผู้ชายมากกว่าผู้หญิง
• คิดแก่ปัญหาได้แต่ขาดความรอบคอบ
วัยรุ่นตอนต้น 13 – 15 ปี
ระยะที่ 4 วัยรุ่น (Adolescence period)
พัฒนาการด้านการเคลื่อนไหวในวัยรุ่น
อายุ พัฒนาการ
15 – 18 ปี • เจริญเติบโตเป็นผู้ใหญ่เต็มที่ แต่ยังขาด
ประสบการณ์
วัยรุ่นตอนกลาง 15 – 18 ปี
ระยะที่ 4 วัยรุ่น (Adolescence period)
พัฒนาการด้านการเคลื่อนไหวในวัยรุ่น
อายุ พัฒนาการ
18 – 21 ปี • พัฒนาการด้านร่างกายเพิ่มขึ้น
• มีความคิดรอบคอบแก้ไขปัญหาได้
• แยกแยะความถูกผิดได้
• มีความคล่องแคล่วว่องไวกว่าวัยอื่นๆ
• กระดูกและกล้ามเนื้อมีความแข็งแรงและพลังในการทา
กิจกรรมต่างๆ ได้มาก
วัยรุ่นตอนปลาย 18 – 21 ปี
ระยะที่ 4 วัยรุ่น (Adolescence period)
พัฒนาการด้านการเคลื่อนไหวในวัยผู้ใหญ่
อายุ พัฒนาการ
21 – 25 ปี • ร่างกายมีการเจริญเติบโตสมบูรณ์เต็มที่ และ
ความสามารถในการทางานอวัยวะต่างๆ ของร่างกายสูงสุด
• มีความมั่นคงทางอารมณ์
• เป็นวัยที่สมองมีประสิทธิภาพพัฒนาเต็มที่และคงอยู่
สูงสุดจนถึงวัยกลางคน เป็นวัยที่เรียนรู้ได้ดีที่สุด อายุ
20-25 ปี
วัยผู้ใหญ่ตอนต้น 21 – 25 ปี
ระยะที่ 5 วัยผู้ใหญ่ (Adulthood period)
พัฒนาการด้านการเคลื่อนไหวในวัยผู้ใหญ่
อายุ พัฒนาการ
26 – 40 ปี • การเคลื่อนไหวด้านกล้ามเนื้อทางานช้าลง เหนื่อยง่าย
• ประสาทสัมผัสต่างๆ รับรู้ช้า
• ร่างกายจะเริ่มค่อยๆ เสื่อมสภาพจากวัยผู้ใหญ่ตอนต้น
วัยผู้ใหญ่ตอนกลาง 26 – 40 ปี
ระยะที่ 5 วัยผู้ใหญ่ (Adulthood period)
พัฒนาการด้านการเคลื่อนไหวในวัยผู้ใหญ่
อายุ พัฒนาการ
41 – 60 ปี • เคลื่อนไหวร่างกายช้าลง
• การเสื่อมสภาพของร่างกายปรากฏอย่างรวดเร็ว
วัยผู้ใหญ่ตอนปลาย 41 – 60 ปี
ระยะที่ 5 วัยผู้ใหญ่ (Adulthood period)
พัฒนาการด้านการเคลื่อนไหวในวัยผู้ใหญ่
อายุ พัฒนาการ
> 60 ปี • เคลื่อนไหวร่างกายช้าลงและสูญเสียการทรงตัวได้ง่าย
• การเสื่อมสภาพของร่างกายปรากฏอย่างรวดเร็ว
• เสี่ยงต่อการเกิดโรคต่างๆ ได้ง่าย
วัยชรา > 60 ปี
ระยะที่ 6 วัยชรา (Older or Elderly)
อย่าดูถูกใครด้วยการศึกษา
เพราะใบปริญญาไม่ได้การันตี
“สันดานคน”

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

41ตัวอย่าง เครื่องมือประเมินรายมาตรฐาน
41ตัวอย่าง เครื่องมือประเมินรายมาตรฐาน41ตัวอย่าง เครื่องมือประเมินรายมาตรฐาน
41ตัวอย่าง เครื่องมือประเมินรายมาตรฐาน
Pochchara Tiamwong
 
การพันผ้าแบบต่างๆ
การพันผ้าแบบต่างๆการพันผ้าแบบต่างๆ
การพันผ้าแบบต่างๆ
Dashodragon KaoKaen
 
กระดาษเส้น
กระดาษเส้นกระดาษเส้น
กระดาษเส้น
Tik Msr
 
บทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศ
บทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศบทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศ
บทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศ
Srion Janeprapapong
 
แบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆแบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆ
Naphachol Aon
 
การพยาบาลDhf
การพยาบาลDhfการพยาบาลDhf
การพยาบาลDhf
Maytinee Beudam
 

Was ist angesagt? (20)

วัยผู้ใหญ่
วัยผู้ใหญ่วัยผู้ใหญ่
วัยผู้ใหญ่
 
41ตัวอย่าง เครื่องมือประเมินรายมาตรฐาน
41ตัวอย่าง เครื่องมือประเมินรายมาตรฐาน41ตัวอย่าง เครื่องมือประเมินรายมาตรฐาน
41ตัวอย่าง เครื่องมือประเมินรายมาตรฐาน
 
การพันผ้าแบบต่างๆ
การพันผ้าแบบต่างๆการพันผ้าแบบต่างๆ
การพันผ้าแบบต่างๆ
 
อาหาร Dm
อาหาร Dmอาหาร Dm
อาหาร Dm
 
การวัดพฤติกรรมด้านจิตพิสัย
การวัดพฤติกรรมด้านจิตพิสัยการวัดพฤติกรรมด้านจิตพิสัย
การวัดพฤติกรรมด้านจิตพิสัย
 
เพลงนันทนาการ
เพลงนันทนาการเพลงนันทนาการ
เพลงนันทนาการ
 
กระดาษเส้น
กระดาษเส้นกระดาษเส้น
กระดาษเส้น
 
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยา
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยาบทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยา
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยา
 
สอนยาเสพติด.ppt
สอนยาเสพติด.pptสอนยาเสพติด.ppt
สอนยาเสพติด.ppt
 
อจท. แผน 1 1 สุขศึกษาฯ ป.5
อจท. แผน 1 1 สุขศึกษาฯ ป.5อจท. แผน 1 1 สุขศึกษาฯ ป.5
อจท. แผน 1 1 สุขศึกษาฯ ป.5
 
การใช้ยาในผู้สูงอายุ
การใช้ยาในผู้สูงอายุการใช้ยาในผู้สูงอายุ
การใช้ยาในผู้สูงอายุ
 
1. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับหลักการเรียนรู้ทักษะกลไกการเคลื่อนไหว (1 57) wk 2-4
1. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับหลักการเรียนรู้ทักษะกลไกการเคลื่อนไหว (1 57) wk 2-41. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับหลักการเรียนรู้ทักษะกลไกการเคลื่อนไหว (1 57) wk 2-4
1. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับหลักการเรียนรู้ทักษะกลไกการเคลื่อนไหว (1 57) wk 2-4
 
การออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ
การออกกำลังกายเพื่อสุขภาพการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ
การออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ
 
บทที่ 6 ยาคุมกำเนิด
บทที่ 6 ยาคุมกำเนิดบทที่ 6 ยาคุมกำเนิด
บทที่ 6 ยาคุมกำเนิด
 
บทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศ
บทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศบทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศ
บทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศ
 
แบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆแบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆ
 
แนวข้อสอบ 100 ข้อ
แนวข้อสอบ  100  ข้อแนวข้อสอบ  100  ข้อ
แนวข้อสอบ 100 ข้อ
 
การให้ยาฉีด
การให้ยาฉีดการให้ยาฉีด
การให้ยาฉีด
 
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลโภชนบำบัดในโรคเบาหวาน
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลโภชนบำบัดในโรคเบาหวานแนวทางเวชปฏิบัติการดูแลโภชนบำบัดในโรคเบาหวาน
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลโภชนบำบัดในโรคเบาหวาน
 
การพยาบาลDhf
การพยาบาลDhfการพยาบาลDhf
การพยาบาลDhf
 

Andere mochten auch

การเคลื่อนไหวเบื้องต้น ชุดที่ 2
การเคลื่อนไหวเบื้องต้น ชุดที่ 2การเคลื่อนไหวเบื้องต้น ชุดที่ 2
การเคลื่อนไหวเบื้องต้น ชุดที่ 2
sonsukda
 
นางสาวนพวรรณ สุวรรณวัฒน์
นางสาวนพวรรณ สุวรรณวัฒน์นางสาวนพวรรณ สุวรรณวัฒน์
นางสาวนพวรรณ สุวรรณวัฒน์
nopthai
 
แผนการจัดประสบการณ์ วันลอยกระทง- กิจกรรมกลางแจ้ง 5 ขวบ
แผนการจัดประสบการณ์   วันลอยกระทง- กิจกรรมกลางแจ้ง 5 ขวบแผนการจัดประสบการณ์   วันลอยกระทง- กิจกรรมกลางแจ้ง 5 ขวบ
แผนการจัดประสบการณ์ วันลอยกระทง- กิจกรรมกลางแจ้ง 5 ขวบ
krutitirut
 
New born-assessmente
New born-assessmente New born-assessmente
New born-assessmente
Dong Dang
 
แผนการจัดประสบการณ์ วันลอยกระทง- กิจกรรมการเล่นตามมุม (1)
แผนการจัดประสบการณ์   วันลอยกระทง-  กิจกรรมการเล่นตามมุม (1)แผนการจัดประสบการณ์   วันลอยกระทง-  กิจกรรมการเล่นตามมุม (1)
แผนการจัดประสบการณ์ วันลอยกระทง- กิจกรรมการเล่นตามมุม (1)
krutitirut
 
แบบประเมินหน่วยปฐมนิเทศ
แบบประเมินหน่วยปฐมนิเทศแบบประเมินหน่วยปฐมนิเทศ
แบบประเมินหน่วยปฐมนิเทศ
kruuni
 

Andere mochten auch (20)

การเคลื่อนไหวเบื้องต้น ชุดที่ 2
การเคลื่อนไหวเบื้องต้น ชุดที่ 2การเคลื่อนไหวเบื้องต้น ชุดที่ 2
การเคลื่อนไหวเบื้องต้น ชุดที่ 2
 
ทฤษฎีพัฒนาการของเพียเจต์
ทฤษฎีพัฒนาการของเพียเจต์ทฤษฎีพัฒนาการของเพียเจต์
ทฤษฎีพัฒนาการของเพียเจต์
 
นางสาวนพวรรณ สุวรรณวัฒน์
นางสาวนพวรรณ สุวรรณวัฒน์นางสาวนพวรรณ สุวรรณวัฒน์
นางสาวนพวรรณ สุวรรณวัฒน์
 
อนุสสติ 10 สมถกัมมัฏฐาน ppt
อนุสสติ 10 สมถกัมมัฏฐาน pptอนุสสติ 10 สมถกัมมัฏฐาน ppt
อนุสสติ 10 สมถกัมมัฏฐาน ppt
 
สมถกัมมัฏฐานกสิณ 10 ppt
สมถกัมมัฏฐานกสิณ 10 pptสมถกัมมัฏฐานกสิณ 10 ppt
สมถกัมมัฏฐานกสิณ 10 ppt
 
บท5เจริญสัตว์
บท5เจริญสัตว์บท5เจริญสัตว์
บท5เจริญสัตว์
 
แผนการจัดประสบการณ์ วันลอยกระทง- กิจกรรมกลางแจ้ง 5 ขวบ
แผนการจัดประสบการณ์   วันลอยกระทง- กิจกรรมกลางแจ้ง 5 ขวบแผนการจัดประสบการณ์   วันลอยกระทง- กิจกรรมกลางแจ้ง 5 ขวบ
แผนการจัดประสบการณ์ วันลอยกระทง- กิจกรรมกลางแจ้ง 5 ขวบ
 
New born-assessmente
New born-assessmente New born-assessmente
New born-assessmente
 
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐานบทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
 
อสุภ 10 สมถกัมมัฏฐาน ppt
อสุภ 10 สมถกัมมัฏฐาน pptอสุภ 10 สมถกัมมัฏฐาน ppt
อสุภ 10 สมถกัมมัฏฐาน ppt
 
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐานบทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
 
06 costs and revenue for decision making
06 costs and revenue for decision making06 costs and revenue for decision making
06 costs and revenue for decision making
 
แผนการจัดประสบการณ์ วันลอยกระทง- กิจกรรมการเล่นตามมุม (1)
แผนการจัดประสบการณ์   วันลอยกระทง-  กิจกรรมการเล่นตามมุม (1)แผนการจัดประสบการณ์   วันลอยกระทง-  กิจกรรมการเล่นตามมุม (1)
แผนการจัดประสบการณ์ วันลอยกระทง- กิจกรรมการเล่นตามมุม (1)
 
แบบประเมินหน่วยปฐมนิเทศ
แบบประเมินหน่วยปฐมนิเทศแบบประเมินหน่วยปฐมนิเทศ
แบบประเมินหน่วยปฐมนิเทศ
 
03 cvp
03 cvp03 cvp
03 cvp
 
07 capital budgetting
07 capital budgetting07 capital budgetting
07 capital budgetting
 
02 abc
02 abc02 abc
02 abc
 
04 budget
04 budget04 budget
04 budget
 
08 accounting for jit
08 accounting for jit08 accounting for jit
08 accounting for jit
 
09 pricing decision
09 pricing decision09 pricing decision
09 pricing decision
 

Ähnlich wie 5. พัฒนาการด้านการเคลื่อนไหวในแต่ละวัย (1 57) wk 9-10

Child Development
Child DevelopmentChild Development
Child Development
guestb5cdc4
 
เด็กที่มีความบกพร่องทางการได้ยิน
เด็กที่มีความบกพร่องทางการได้ยินเด็กที่มีความบกพร่องทางการได้ยิน
เด็กที่มีความบกพร่องทางการได้ยิน
Khuanruthai Pomjun
 
ติวเด็ก
 ติวเด็ก ติวเด็ก
ติวเด็ก
Rofus Yakoh
 
เด็กที่มีปัญหาทางการเรียนรู้
เด็กที่มีปัญหาทางการเรียนรู้เด็กที่มีปัญหาทางการเรียนรู้
เด็กที่มีปัญหาทางการเรียนรู้
Atima Teraksee
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 พัฒนาการทางด้านร่างกายของเพศชายและเพศหญิง
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 พัฒนาการทางด้านร่างกายของเพศชายและเพศหญิงแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 พัฒนาการทางด้านร่างกายของเพศชายและเพศหญิง
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 พัฒนาการทางด้านร่างกายของเพศชายและเพศหญิง
kkkkon
 
พัฒนาการของมนุษย์
พัฒนาการของมนุษย์พัฒนาการของมนุษย์
พัฒนาการของมนุษย์
khuwawa2513
 
Pptเปียเจต์
Pptเปียเจต์Pptเปียเจต์
Pptเปียเจต์
afafasmataaesah
 
Pptเปียเจต์
Pptเปียเจต์Pptเปียเจต์
Pptเปียเจต์
afafasmataaesah
 
วิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต
วิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิตวิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต
วิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต
pangboom
 
02 พัฒนาการ
02 พัฒนาการ02 พัฒนาการ
02 พัฒนาการ
aaesahasmat
 
นิว.Pdf
นิว.Pdfนิว.Pdf
นิว.Pdf
Awantee
 
ครูเอี้ยงสมัยนานมาแล้ว
ครูเอี้ยงสมัยนานมาแล้วครูเอี้ยงสมัยนานมาแล้ว
ครูเอี้ยงสมัยนานมาแล้ว
ครู เอี้ยง
 
ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว 4
ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว 4ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว 4
ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว 4
ngor
 

Ähnlich wie 5. พัฒนาการด้านการเคลื่อนไหวในแต่ละวัย (1 57) wk 9-10 (20)

Child Development
Child DevelopmentChild Development
Child Development
 
เด็กที่มีความบกพร่องทางการได้ยิน
เด็กที่มีความบกพร่องทางการได้ยินเด็กที่มีความบกพร่องทางการได้ยิน
เด็กที่มีความบกพร่องทางการได้ยิน
 
ติวเด็ก
 ติวเด็ก ติวเด็ก
ติวเด็ก
 
เด็กที่มีปัญหาทางการเรียนรู้
เด็กที่มีปัญหาทางการเรียนรู้เด็กที่มีปัญหาทางการเรียนรู้
เด็กที่มีปัญหาทางการเรียนรู้
 
โหงวเฮ้งกับงาน HR
โหงวเฮ้งกับงาน HRโหงวเฮ้งกับงาน HR
โหงวเฮ้งกับงาน HR
 
Best practice
Best practiceBest practice
Best practice
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 พัฒนาการทางด้านร่างกายของเพศชายและเพศหญิง
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 พัฒนาการทางด้านร่างกายของเพศชายและเพศหญิงแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 พัฒนาการทางด้านร่างกายของเพศชายและเพศหญิง
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 พัฒนาการทางด้านร่างกายของเพศชายและเพศหญิง
 
พัฒนาการของมนุษย์
พัฒนาการของมนุษย์พัฒนาการของมนุษย์
พัฒนาการของมนุษย์
 
02 พัฒนาการ
02 พัฒนาการ02 พัฒนาการ
02 พัฒนาการ
 
Pptเปียเจต์
Pptเปียเจต์Pptเปียเจต์
Pptเปียเจต์
 
Pptเปียเจต์
Pptเปียเจต์Pptเปียเจต์
Pptเปียเจต์
 
วิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต
วิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิตวิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต
วิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต
 
1051202 จิตวิทยาการเรียนรู้ ชุด 1
1051202 จิตวิทยาการเรียนรู้ ชุด 11051202 จิตวิทยาการเรียนรู้ ชุด 1
1051202 จิตวิทยาการเรียนรู้ ชุด 1
 
03 develop1
03 develop103 develop1
03 develop1
 
04chap2
04chap204chap2
04chap2
 
02 พัฒนาการ
02 พัฒนาการ02 พัฒนาการ
02 พัฒนาการ
 
นิว.Pdf
นิว.Pdfนิว.Pdf
นิว.Pdf
 
agi inter #good health
agi inter #good healthagi inter #good health
agi inter #good health
 
ครูเอี้ยงสมัยนานมาแล้ว
ครูเอี้ยงสมัยนานมาแล้วครูเอี้ยงสมัยนานมาแล้ว
ครูเอี้ยงสมัยนานมาแล้ว
 
ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว 4
ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว 4ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว 4
ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว 4
 

Mehr von pop Jaturong

งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
pop Jaturong
 

Mehr von pop Jaturong (20)

3
33
3
 
5
55
5
 
4
44
4
 
2
22
2
 
1
11
1
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
บทที่ 7 ท้องถิ่นไทยกับการเปลี่ยนแปลง
บทที่ 7 ท้องถิ่นไทยกับการเปลี่ยนแปลงบทที่ 7 ท้องถิ่นไทยกับการเปลี่ยนแปลง
บทที่ 7 ท้องถิ่นไทยกับการเปลี่ยนแปลง
 
บทที่ 5 ท้องถิ่นไทยภูมิภาคต่างๆ
บทที่  5  ท้องถิ่นไทยภูมิภาคต่างๆบทที่  5  ท้องถิ่นไทยภูมิภาคต่างๆ
บทที่ 5 ท้องถิ่นไทยภูมิภาคต่างๆ
 
บทที่ 6-2-ศักยภาพเชิงพื้นที่ กับ แผนยุทธศาสตร์จังหวัด
บทที่ 6-2-ศักยภาพเชิงพื้นที่ กับ แผนยุทธศาสตร์จังหวัดบทที่ 6-2-ศักยภาพเชิงพื้นที่ กับ แผนยุทธศาสตร์จังหวัด
บทที่ 6-2-ศักยภาพเชิงพื้นที่ กับ แผนยุทธศาสตร์จังหวัด
 
บทที่ 4-2-คุณธรรมและจริยธรรม
บทที่ 4-2-คุณธรรมและจริยธรรมบทที่ 4-2-คุณธรรมและจริยธรรม
บทที่ 4-2-คุณธรรมและจริยธรรม
 
บทที่ 4 วัฒนธรรมไทย
บทที่ 4 วัฒนธรรมไทยบทที่ 4 วัฒนธรรมไทย
บทที่ 4 วัฒนธรรมไทย
 
บทที่ 3 ข้อมูลพื้นฐานของประเทศไทย
บทที่ 3 ข้อมูลพื้นฐานของประเทศไทยบทที่ 3 ข้อมูลพื้นฐานของประเทศไทย
บทที่ 3 ข้อมูลพื้นฐานของประเทศไทย
 
บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย3
บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย3บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย3
บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย3
 
บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย2
บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย2บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย2
บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย2
 
บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย
บทที่ 2  โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทยบทที่ 2  โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย
บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย
 
บทที่ 1-หลักการความหมายของท้องถิ่นศึกษา
บทที่ 1-หลักการความหมายของท้องถิ่นศึกษาบทที่ 1-หลักการความหมายของท้องถิ่นศึกษา
บทที่ 1-หลักการความหมายของท้องถิ่นศึกษา
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
306325 unit9-ec-policy&law
306325 unit9-ec-policy&law306325 unit9-ec-policy&law
306325 unit9-ec-policy&law
 
306325 unit8-ec-security
306325 unit8-ec-security306325 unit8-ec-security
306325 unit8-ec-security
 

5. พัฒนาการด้านการเคลื่อนไหวในแต่ละวัย (1 57) wk 9-10