SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 31
WESTERN HISTORY II
BY AJ. NAN
อ.สรณีย์ สายศร
Thomas Hobbes : 1588 – 1679
เกิดในตระกูลสามัญชนที่เมืองเวสต์
ปอร์ต ประเทศอังกฤษ
ได้รับการศึกษาที่ มหาวิทยาลัยออกซ์
ฟอร์ด ในระยะแรกมีความสนใจใน
วรรณคดีและคณิตศาสตร์
หลังปี ค.ศ. 1637 ได้เดินทางได้
เดินทางไปยุโรป และกลายเป็น
สมาชิกของกลุ่มปัญญาชน ซึ่งมี
Rene Descartes ร่วมอยู่ด้วย
 อังกฤษในปี 1639 – 1640 อยู่ในระหว่างความสับสนและมีความ
เป็นไปได้ที่จะเกิดสงครามกลางเมือง ฮอบส์กลับมาอังกฤษใน
บรรยากาศดังกล่าว ในช่วงนี้เขาได้เขียนความเรียงเรื่องแรก
เกี่ยวกับจิตวิทยาและการเมือง ชื่อ “The Elements of Law”
ตีพิมพ์ในปี ค.ศ. 1640 จากนั้นเขาได้หนีไปฝรั่งเศส
 ในปี ค.ศ. 1646 เขาได้เป็นครูสอนผู้ที่จะกลายเป็นพระเจ้าชาร์ลส์
ที่ 2 ของอังกฤษ ในปี ค.ศ. 1951 เขาได้พิมพ์ “Leviathan” และ
เดินทางกลับมาอังกฤษในปีเดียวกัน ฮอบส์ได้เขียนงานทาง
ปรัชญาการเมืองและคณิตศาสตร์จนอายุ 91 (ค.ศ. 1679) อันเป็น
ปีที่เขาเสียชีวิต
 วิชาปรัชญาควรมีจุดมุ่งหมายที่การนามาปฏิบัติได้ >> ทาให้มนุษย์มี
อานาจเหนือธรรมชาติ ควบคุมปรากฏการณ์ทางธรรมชาติได้ >>
คุณค่าของวิชาการทั้งหลายอยู่ที่ทาให้มนุษย์มีอานาจ
 ปรัชญาของฮอบส์ เป็น “วัตถุนิยม หรือ สสารนิยม” (Materialism)
คือ เชื่อว่าสิ่งแท้จริงที่ปรากฏอยู่ในโลกนี้ มีอยู่ ๒ ชนิด คือ
 สสาร (matter) และพลังงานเคลื่อนไหวของสสาร (motion)
 สิ่งต่างๆ ที่ปรากฏให้เราพบเห็นหรือรับรู้ได้นั้น เป็นปรากฏการณ์
ที่มีสาเหตุ ความรู้ในวิชาปรัชญา ก็คือความรู้เกี่ยวกับสาเหตุ
(cause) และ ผล (effect) แห่งปรากฏการณ์ต่างๆ ที่เกิดขึ้น
 ปรัชญาศึกษาเฉพาะสิ่งที่มีตัวตน ฮอบส์ แบ่งเป็น ๒ ประเภท
 Natural bodies >> สิ่งที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติ สสารวัตถุต่างๆ
 Commonwealth >> สิ่งที่มนุษย์สร้างขึ้น อันเกิดจากพันธสัญญา
ระหว่างมนุษย์
 วิชาปรัชญาจึงแยกเป็น ๒ ส่วน คือ
 ปรัชญาธรรมชาติ (Natural Philosophy)
 ปรัชญาการเมือง (Political Philosophy)
 ต้นกาเนิดของความรู้ได้จากผัสสะ หรือ ประสบการณ์
 จากประสบการณ์ทาให้เรารู้ถึงสิ่งที่ปรากฏหรือปรากฏการณ์
ต่างๆ ได้ แต่ในขณะเดียวกัน เราก็ต้องใช้เหตุผลเพื่อจะได้รู้
สาเหตุแห่งปรากฏการณ์นั้นๆ
 การรับรู้ทางประสาทสัมผัสอาจบิดเบือนเราจากความเป็นจริงได้
 ความรู้ของเราทั้งหมดจึงเป็นความรู้แบบ “อัตนัย” (subjective)
>> เรารู้แต่สิ่งที่ปรากฏต่อเรา โดยที่เรากาหนดค่าให้มันด้วย ส่วน
ความเป็นจริงหรือวัตถุที่แท้จริงนั้น เรารู้ไม่ได้
 ฮอบส์ เชื่อว่า โลกนี้เป็นโลกแห่งวัตถุที่มีการเคลื่อนไหวอยู่เสมอ
(coporeal world in motion)
 ปรัชญาของฮอบส์ เป็น Materialism >> สิ่งที่แท้จริงมีเพียง ๒
อย่าง คือ สสารกับการเคลื่อนไหว (matter & motion)
 เราไม่สามารถศึกษาและเข้าใจถึงธรรมชาติของพระเจ้าได้ แต่เรา
ศึกษาโลกภายนอกได้ในฐานะที่มันเป็นโลกแห่งวัตถุที่มีการ
เคลื่อนไหวและปรากฏให้เรารับรู้ได้
 เนื้อหาของปรัชญา คือ การหาสาเหตุและผลของปรากฏการณ์
ต่างๆ เช่น การเกิดสิ่งเร้ามากระทบประสาทเป็นเหตุ >> เกิดการ
รับรู้เป็นผลตามมา
 ไม่มีสิ่งใดเกิดขึ้นโดยบังเอิญหรือปราศจากสาเหตุ สิ่งต่างๆ ที่
เกิดขึ้นนั้น จะต้องเป็นผลของสาเหตุอันใดอันหนึ่ง
 สาเหตุที่เป็นสากลและเป็นสาเหตุแรกของทุกสิ่งทุกอย่าง ก็คือ
ความเคลื่อนไหว (motion) ซึ่งเป็นไปแบบกลไก (mechanics) คือ
เป็นไปตามกฎธรรมชาติ >> ถ้าเรารู้กฎนี้แล้ว เราจะมีอานาจใน
แง่ที่สามารถควบคุมปรากฏการณ์ธรรมชาติได้
 ฮอบส์ มองเห็นทุกสิ่งเหมือนเครื่องจักรกล แม่แต่ร่างกายมนุษย์
>> ร่างกายมนุษย์ คือ เครื่องจักรกลแต่ละชิ้นที่มาสัมพันธ์กัน
อย่างละเอียดพิสดารและมีประสิทธิภาพสูง
 จิต เป็นสสารชนิดละเอียดอ่อน มีที่ตั้งอยู่ที่สมอง และอยู่ภายใต้
การเคลื่อนไหวแบบกลไก >> ความคิด และความรู้สึกรับรู้ต่างๆ
(consciousness) เป็นผลมาจากการเคลื่อนไหวในสมอง
 มนุษย์เปรียบเหมือนเครื่องจักรที่ทางานตามหลักกลศาสตร์ ทุกสิ่งถูก
กาหนดไว้ด้วยกฎเกณฑ์ที่ตายตัว >> “นิยตินิยม” (Determinism)
 จิตไม่มีเจตนารมณ์อิสระ (Free Will) แต่มีอานาจเพียงตอบสนองสิ่ง
เร้าจากภายนอกเท่านั้น
 สิ่งเร้าบางอย่างก่อให้เกิดความพอใจ (pleasure) ก็เรียกว่าเป็นสิ่งที่ดี
(good) ก็เกิดการตอบสนองด้วยความอยาก (appetite)
 สิ่งเร้าบางอย่างก่อให้เกิดความทุกข์ ความเจ็บปวด (pain) ก็จัดเป็น
สิ่งชั่วร้าย (evil) ก็เกิดการตอบสนองด้วยความเกลียด (aversion)
 ***ดังนั้น ทุกอย่างไม่ได้เกิดการตัดสินใจโดยเสรีของจิต แต่ขึ้นอยู่
กับสิ่งเร้า จิตมนุษย์เปรียบเสมือนเหล็ก ซึ่งอาจถูกแม่เหล็ก อันได้แก่
สิ่งเร้าดึงดูด หรือผลักได้
จากแนวคิดนี้ มนุษย์เปรียบเหมือนเครื่องจักร ไม่มีอิสระ
ในการเลือก >> ดังนั้น คนอันธพาล หรืออาชญากร ซึ่ง
ประพฤติผิดศีลธรรมนั้น ก็ไม่น่าจะมีความผิด เพราะไม่มี
เจตจานงอิสระ
คุณคิดอย่างไร? ^^
 จริยศาสตร์ของฮอบส์ อยู่ในแนว “อัตนิยม” (Egoism) >> การ
กระทาของมนุษย์ล้วนเป็นไปเพื่อก่อให้เกิดประโยชน์แก่ตัวเอง
ทั้งสิ้น >> ทาสิ่งที่ตนพอใจ หลีกหนีสิ่งที่เกลียดชัง
 “มนุษย์ทุกคนล้วนเห็นแก่ตัว” >> แม้การกระทาที่ดูเหมือนเห็นแก่
ผู้อื่นนั้น ถ้าวิเคราะห์ให้ถึงแก่นแล้ว เป็นไปเพื่อตัวเองทั้งนั้น
อัตนิยมถือว่า ทุกการกระทาเป็นไปเพื่อผลประโยชน์ของตัวเอง
ทั้งสิ้น ไม่มีใครทาอะไรโดยไม่หวังประโยชน์ไปถึงตน
 สาหรับฮอบส์ >> ความเห็นแก่ตัวไม่ใช่สิ่งที่น่าเหยียดหยาม
เพราะมนุษย์มีแรงกระตุ้นธรรมชาติที่จะต้องการสิ่งที่ดีสาหรับ
ตัวเองและหลีกหนีสิ่งที่เลว
 มนุษย์พยายามแสวงหาเงินและอานาจ เพราะเชื่อว่าจะนาไปสู่
ความสุข มนุษย์จะให้สิทธิหรืออานาจแก่ผู้อื่นได้ก็ต่อเมื่อแน่ใจได้
ว่า ตนจะได้รับอานาจและสิทธิมากขึ้นไปอีก
 “...เมื่อใดก็ตามที่มนุษย์มอบสิทธิของตนเองหรือปฏิเสธที่จะรับ
สิทธินั้น เขาย่อมหวังที่จะได้รับสิทธิบางอย่างเป็นการตอบแทน
หรือหวังที่จะได้สิ่งที่ดีสาหรับตนเอง เพราะการกระทานั้น เป็นการ
กระทาโดยเจตนา และการกระทาโดยเจตนาของทุกคน ย่อมมี
จุดมุ่งหมายที่จะก่อให้เกิดผลดีแก่ตนเอง” (Leviathan)
 การที่มนุษย์ร่วมกันมอบสิทธิของตนเอง จึงเป็นที่มาของ
สัญญาประชาคม (social contract)
 มนุษย์ทุกคนล้วนเห็นแก่ตัว.....ไม่เคยมีใครช่วยผู้อื่นด้วยความจริงใจ
....
 คุณคิดอย่างไร?
 ในชีวิต คุณเคยเสียสละ หรือช่วยเหลือผู้อื่นด้วยความจริงใจเพื่อเขา
จริงๆ หรือไม่
 มีสักครั้งไหมในชีวิต ที่คุณทาสิ่งใดเพื่อผู้อื่น โดยไม่นึกถึงตัวคุณเอง?
 ฮอบส์มีความคิดว่ามนุษย์ก็เป็นเช่นเดียวกับสัตว์อื่นๆ คือเป็น
ร่างกายที่เคลื่อนไหวเปลี่ยนแปลง ความรู้สึก ความปรารถนาและ
เจตจานงของมนุษย์ก็เป็นพลังงานทางกาย ไม่ใช่พลังงานทางจิต
 มนุษย์มีสิทธิโดยธรรมชาติเหมือนกับสัตว์อื่นๆ ในการที่จะฆ่าหรือ
ถูกฆ่าได้ เพราะคนที่แข็งแรงที่สุดเท่านั้น จึงจะสามารถดารงชีวิต
รอดอยู่ได้ นี่คือความคิดของ “กฎธรรมชาติ” ที่ว่า “อานาจ” เป็นตัว
สร้างความชอบธรรมขึ้นมา
 เพราะในสภาพธรรมชาติ อะไรก็ตามที่เป็นไปตามกฎธรรมชาติ
ย่อมจะถูกทานองคลองธรรม >> ศีลธรรมเกิดจากการที่มนุษย์สร้าง
กฎหมายขึ้นมา และเห็นพ้องกันที่จะเชื่อฟังกฎหมายเพื่อความอยู่
รอดปลอดภัยของตนเอง >> นี่เป็นข้อแรกของกฎธรรมชาติ
 ทฤษฎีความคิดของฮอบส์สร้างระบบจริยศาสตร์ที่มีพื้นฐานอยู่บน
ความเห็นแก่ตัว หรือ การคานึงถึงประโยชน์ส่วนตนเป็นสาคัญ
 พลังธรรมชาติของมนุษย์ >> คนทุกคนมีพลังอานาจเท่าเทียมกัน >>
คนที่อ่อนแอทางร่างกาย ก็สามารถใช้ความฉลาดของเขาเอาชนะ
ศัตรูที่แข็งแกร่งกว่าได้
 สภาพธรรมชาติจึงเป็นสภาพของสงครามที่คนทาร้ายกันและกันได้
อย่างเสรี ทาให้ชีวิตและทรัพย์สินของคนตกอยู่ในสภาพอันตราย
อย่างยิ่ง
 ในสภาพธรรมชาติ คนอยู่กันอย่างโดดเดี่ยว ยากจน หยาบช้า
โหดร้าย และมีอายุสั้น ที่ร้ายที่สุดก็คือ มีแต่ความกลัวภัยจากการถูก
ทาร้าย เพราะทุกคนอาจทาร้ายกันได้ด้วยสาเหตุต่างๆ กันไป ใน
สภาพธรรมชาติเช่นนี้ >> ไม่มีดี ไม่มีชั่ว ไม่มีบาป ไม่มีความยุติธรรม
หรืออยุติธรรม ไม่มีใครรู้ว่าอะไรผิด อะไรถูก
 ฮอบส์ เห็นว่า ความยุติธรรมเป็นสิ่งที่มนุษย์สร้างขึ้น เมื่อปรับ
สภาพจากสภาพธรรมชาติมาเป็นสภาพการมีชีวิตอยู่ร่วมกันใน
สังคม เพราะเมื่อคนเห็นว่าสภาพธรรมชาติที่คนมีสิทธิเท่าเทียม
กันนั้นจะเป็นอันตรายต่อชีวิตตัวเอง คนจึงแสวงหาการที่จะดารง
ไว้ซึ่งความสุข
 โดยการมาร่วมทาสัญญาประชาคม (Social Contract) ขึ้น โดยแต่
ละคนย่อมที่จะสละสิทธิโดยธรรมชาติ เช่น สิทธิที่จะทาร้ายฆ่าฟัน
คนอื่นๆ หรือขโมยทรัพย์สินคนอื่นๆ โดยทุกคนเต็มใจที่จะทา
ตามเช่นเดียวกัน
 สังคมมนุษย์จึงเกิดสัญญาประชาคม ซึ่งเป็นรูปแบบของกฎหมาย
บ้านเมือง มีการจากัดสิทธิเสรีภาพโดยสภาพธรรมชาติของมนุษย์
แต่ละคนด้วยการตกลงร่วมกัน
 ฮอบส์เห็นว่า โดยธรรมชาติมนุษย์มีทั้งอารมณ์ (passion) และ
เหตุผล (reason) อารมณ์ทาให้มนุษย์ตกอยู่ในภาวะสงคราม และ
อารมณ์ก็ทาให้มนุษย์เกิดความกลัวตาย ต้องการความสงบสุข
 แต่ “เหตุผล” จะทาให้มนุษย์รู้จักหลักเกณฑ์ที่จะนาไปสู่สันติภาพ
>> กฎธรรมชาติ (Natural Law)
 กฎธรรมชาติ คือ กฎแห่งศีลธรรม ซึ่งจะห้ามไม่ให้มนุษย์กระทาสิ่ง
ที่จะทาให้ชีวิตสูญสิ้น และพึงปฏิบัติในสิ่งที่เป็นไปเพื่อความยืนยง
ของชีวิต
 เพราะธรรมชาติของมนุษย์เต็มไปด้วยความละโมบ มีความโน้ม
เอียงจะประทุษร้ายกัน >> ดังนั้นจึงต้องมอบอานาจของตนเองให้
คนๆหนึ่ง หรือกลุ่มหนึ่ง ซึ่งเรียกว่า...
 “องค์อธิปัตย์ (Sovereign) เป็นผู้ใช้อานาจแทนคนทั้งหมด และมี
สิทธิใช้อานาจสูงสุด ผ่านการรับมอบโดยการทาสัญญาประชาคม
 องค์อธิปัตย์ มีอานาจในการออกกฎหมายและบังคับใช้กฎหมาย
มีอานาจอย่างสมบูรณ์ มีหน้าที่รักษาความสงบภายใน
 จุดมุ่งหมายของปรัชญาการเมืองของฮอบส์
 “...เป็นไปในรูปส่งเสริมอำนำจของพระมหำกษัตริย์ หลักปรัชญำ มุ่งที่
จะให้รัฐบำลมีอำนำจสมบูรณ์ (Absolute Government) ซึ่งฮอบส์
หมำยถึง สมบูรณำญำสิทธิรำช (Absolute Monarchy) พยำมแสดงให้
เห็นว่ำกำรปกครองโดยมีพระมหำกษัตริย์ทรงมีอำนำจสมบูรณ์นั้น เป็น
ระบอบที่มั่นคงและมีระเบียบเรียบร้อยที่สุด...” (?)
 ในกรณีที่รัฐ ประสบความล้มเหลว ไม่สามารถบรรลุเป้ าหมาย
ที่ตั้งไว้ได้ ประชาชนก็ต้องแข็งข้อต่อองค์อธิปัตย์ได้โดยการปฏิวัติ
>> จะทาให้ประชาชนกลับคืนสู่สภาพธรรมชาติที่น่ากลัวอีก
Leviathan or The
Matter, Forme and
Power of a Common
Wealth Ecclesiasticall
and Civil—commonly
referred to as
Leviathan—is a book
written by Thomas
Hobbes and published
in 1651. Its name
derives from the
biblical Leviathan
ดาวน์โหลดไฟล์นี้ได้ที่
www.philosophychicchic.com
สนุกกับการเรียนรู้ปรัชญาและศาสนาแบบชิคๆ เคียงคู่รอยยิ้ม
Created by
padvee

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

สถาบันทางการเมือง
สถาบันทางการเมืองสถาบันทางการเมือง
สถาบันทางการเมือง
kroobannakakok
 
พระเวสสันดร กัณฑ์มัทรี 30 35
พระเวสสันดร กัณฑ์มัทรี 30 35พระเวสสันดร กัณฑ์มัทรี 30 35
พระเวสสันดร กัณฑ์มัทรี 30 35
Milky' __
 
การวิจารย์งานศิลปะและศิลปะตะวันออก ครูรัตติยา คำประชา
การวิจารย์งานศิลปะและศิลปะตะวันออก ครูรัตติยา  คำประชาการวิจารย์งานศิลปะและศิลปะตะวันออก ครูรัตติยา  คำประชา
การวิจารย์งานศิลปะและศิลปะตะวันออก ครูรัตติยา คำประชา
kkrunuch
 
ข้อสอบปลายภาค50ข้อexcel 07 2558
ข้อสอบปลายภาค50ข้อexcel 07 2558ข้อสอบปลายภาค50ข้อexcel 07 2558
ข้อสอบปลายภาค50ข้อexcel 07 2558
peter dontoom
 
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Sine
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Sineคัมภีร์ฉันทศาสตร์ Sine
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Sine
Kat Suksrikong
 
กัณฑ์มัทรี
กัณฑ์มัทรีกัณฑ์มัทรี
กัณฑ์มัทรี
Milky' __
 
โวหารภาพพจน์
โวหารภาพพจน์โวหารภาพพจน์
โวหารภาพพจน์
krubuatoom
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
suchinmam
 

Was ist angesagt? (20)

สถาบันทางการเมือง
สถาบันทางการเมืองสถาบันทางการเมือง
สถาบันทางการเมือง
 
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]
 
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
 
พระเวสสันดร กัณฑ์มัทรี 30 35
พระเวสสันดร กัณฑ์มัทรี 30 35พระเวสสันดร กัณฑ์มัทรี 30 35
พระเวสสันดร กัณฑ์มัทรี 30 35
 
การวิจารย์งานศิลปะและศิลปะตะวันออก ครูรัตติยา คำประชา
การวิจารย์งานศิลปะและศิลปะตะวันออก ครูรัตติยา  คำประชาการวิจารย์งานศิลปะและศิลปะตะวันออก ครูรัตติยา  คำประชา
การวิจารย์งานศิลปะและศิลปะตะวันออก ครูรัตติยา คำประชา
 
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
 
นิราศนรินทร์คำโคลง
นิราศนรินทร์คำโคลงนิราศนรินทร์คำโคลง
นิราศนรินทร์คำโคลง
 
ภาษาไทย จ้า11
ภาษาไทย จ้า11ภาษาไทย จ้า11
ภาษาไทย จ้า11
 
ความสำคัญของพระมหากษัตริย์ต่อชาติไทย
ความสำคัญของพระมหากษัตริย์ต่อชาติไทยความสำคัญของพระมหากษัตริย์ต่อชาติไทย
ความสำคัญของพระมหากษัตริย์ต่อชาติไทย
 
คัมภีร์ฉันทศาสตร์
คัมภีร์ฉันทศาสตร์คัมภีร์ฉันทศาสตร์
คัมภีร์ฉันทศาสตร์
 
ข้อสอบปลายภาค50ข้อexcel 07 2558
ข้อสอบปลายภาค50ข้อexcel 07 2558ข้อสอบปลายภาค50ข้อexcel 07 2558
ข้อสอบปลายภาค50ข้อexcel 07 2558
 
ทฤษฎีทางการเมือง (Political theory)
ทฤษฎีทางการเมือง (Political theory)ทฤษฎีทางการเมือง (Political theory)
ทฤษฎีทางการเมือง (Political theory)
 
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Sine
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Sineคัมภีร์ฉันทศาสตร์ Sine
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Sine
 
Ppt พันท้ายนรสิงห์
Ppt พันท้ายนรสิงห์Ppt พันท้ายนรสิงห์
Ppt พันท้ายนรสิงห์
 
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
 
Key of sheet 8 56x
Key of sheet 8 56xKey of sheet 8 56x
Key of sheet 8 56x
 
กัณฑ์มัทรี
กัณฑ์มัทรีกัณฑ์มัทรี
กัณฑ์มัทรี
 
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
 
โวหารภาพพจน์
โวหารภาพพจน์โวหารภาพพจน์
โวหารภาพพจน์
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
 

Andere mochten auch

Andere mochten auch (8)

ปรัชญาเบื้องต้น
ปรัชญาเบื้องต้นปรัชญาเบื้องต้น
ปรัชญาเบื้องต้น
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๒ ความสัมพันธ์ระหว่างปรัชญา ศาสนา วิทยาศาสตร์
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๒ ความสัมพันธ์ระหว่างปรัชญา ศาสนา วิทยาศาสตร์ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๒ ความสัมพันธ์ระหว่างปรัชญา ศาสนา วิทยาศาสตร์
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๒ ความสัมพันธ์ระหว่างปรัชญา ศาสนา วิทยาศาสตร์
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๕ คุณวิทยา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๕ คุณวิทยาปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๕ คุณวิทยา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๕ คุณวิทยา
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออก
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออกปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออก
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออก
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๔ ญาณวิทยา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๔ ญาณวิทยาปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๔ ญาณวิทยา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๔ ญาณวิทยา
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๑ ความหมายและขอบเขตของปรัชญา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๑ ความหมายและขอบเขตของปรัชญาปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๑ ความหมายและขอบเขตของปรัชญา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๑ ความหมายและขอบเขตของปรัชญา
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๓ อภิปรัชญา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๓ อภิปรัชญาปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๓ อภิปรัชญา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๓ อภิปรัชญา
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๗ ปรัชญาตะวันตก
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๗ ปรัชญาตะวันตกปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๗ ปรัชญาตะวันตก
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๗ ปรัชญาตะวันตก
 

Mehr von Padvee Academy

หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
Padvee Academy
 
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
Padvee Academy
 
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดียปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
Padvee Academy
 
ปรัชญากับวิถีชีวิต
ปรัชญากับวิถีชีวิตปรัชญากับวิถีชีวิต
ปรัชญากับวิถีชีวิต
Padvee Academy
 
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
Padvee Academy
 
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhismพระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
Padvee Academy
 
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhismพุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
Padvee Academy
 
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
Padvee Academy
 

Mehr von Padvee Academy (20)

หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
 
Onpage stucture checklist
Onpage stucture checklist Onpage stucture checklist
Onpage stucture checklist
 
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
 
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดียปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
 
ปรัชญากับวิถีชีวิต
ปรัชญากับวิถีชีวิตปรัชญากับวิถีชีวิต
ปรัชญากับวิถีชีวิต
 
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญาปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
 
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
 
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อ
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อวิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อ
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อ
 
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang tzu)
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang  tzu)ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang  tzu)
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang tzu)
 
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhismพระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
 
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhismพุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
 
Timeline : history of philosophy
Timeline : history of philosophyTimeline : history of philosophy
Timeline : history of philosophy
 
Timeline : A History of Eastern Philosophy
Timeline : A History of Eastern PhilosophyTimeline : A History of Eastern Philosophy
Timeline : A History of Eastern Philosophy
 
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์
 
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)
 
ศิลปะแห่งความรัก
ศิลปะแห่งความรักศิลปะแห่งความรัก
ศิลปะแห่งความรัก
 
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
 
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...
 
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
 
ธรรมนิเทศ Dhamma Communication
ธรรมนิเทศ Dhamma Communicationธรรมนิเทศ Dhamma Communication
ธรรมนิเทศ Dhamma Communication
 

สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส ฮอบส์ (Thomas hobbes)

  • 1.
  • 2. WESTERN HISTORY II BY AJ. NAN อ.สรณีย์ สายศร
  • 3. Thomas Hobbes : 1588 – 1679 เกิดในตระกูลสามัญชนที่เมืองเวสต์ ปอร์ต ประเทศอังกฤษ ได้รับการศึกษาที่ มหาวิทยาลัยออกซ์ ฟอร์ด ในระยะแรกมีความสนใจใน วรรณคดีและคณิตศาสตร์ หลังปี ค.ศ. 1637 ได้เดินทางได้ เดินทางไปยุโรป และกลายเป็น สมาชิกของกลุ่มปัญญาชน ซึ่งมี Rene Descartes ร่วมอยู่ด้วย
  • 4.  อังกฤษในปี 1639 – 1640 อยู่ในระหว่างความสับสนและมีความ เป็นไปได้ที่จะเกิดสงครามกลางเมือง ฮอบส์กลับมาอังกฤษใน บรรยากาศดังกล่าว ในช่วงนี้เขาได้เขียนความเรียงเรื่องแรก เกี่ยวกับจิตวิทยาและการเมือง ชื่อ “The Elements of Law” ตีพิมพ์ในปี ค.ศ. 1640 จากนั้นเขาได้หนีไปฝรั่งเศส  ในปี ค.ศ. 1646 เขาได้เป็นครูสอนผู้ที่จะกลายเป็นพระเจ้าชาร์ลส์ ที่ 2 ของอังกฤษ ในปี ค.ศ. 1951 เขาได้พิมพ์ “Leviathan” และ เดินทางกลับมาอังกฤษในปีเดียวกัน ฮอบส์ได้เขียนงานทาง ปรัชญาการเมืองและคณิตศาสตร์จนอายุ 91 (ค.ศ. 1679) อันเป็น ปีที่เขาเสียชีวิต
  • 5.
  • 6.
  • 7.
  • 8.  วิชาปรัชญาควรมีจุดมุ่งหมายที่การนามาปฏิบัติได้ >> ทาให้มนุษย์มี อานาจเหนือธรรมชาติ ควบคุมปรากฏการณ์ทางธรรมชาติได้ >> คุณค่าของวิชาการทั้งหลายอยู่ที่ทาให้มนุษย์มีอานาจ  ปรัชญาของฮอบส์ เป็น “วัตถุนิยม หรือ สสารนิยม” (Materialism) คือ เชื่อว่าสิ่งแท้จริงที่ปรากฏอยู่ในโลกนี้ มีอยู่ ๒ ชนิด คือ  สสาร (matter) และพลังงานเคลื่อนไหวของสสาร (motion)  สิ่งต่างๆ ที่ปรากฏให้เราพบเห็นหรือรับรู้ได้นั้น เป็นปรากฏการณ์ ที่มีสาเหตุ ความรู้ในวิชาปรัชญา ก็คือความรู้เกี่ยวกับสาเหตุ (cause) และ ผล (effect) แห่งปรากฏการณ์ต่างๆ ที่เกิดขึ้น
  • 9.  ปรัชญาศึกษาเฉพาะสิ่งที่มีตัวตน ฮอบส์ แบ่งเป็น ๒ ประเภท  Natural bodies >> สิ่งที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติ สสารวัตถุต่างๆ  Commonwealth >> สิ่งที่มนุษย์สร้างขึ้น อันเกิดจากพันธสัญญา ระหว่างมนุษย์  วิชาปรัชญาจึงแยกเป็น ๒ ส่วน คือ  ปรัชญาธรรมชาติ (Natural Philosophy)  ปรัชญาการเมือง (Political Philosophy)
  • 10.  ต้นกาเนิดของความรู้ได้จากผัสสะ หรือ ประสบการณ์  จากประสบการณ์ทาให้เรารู้ถึงสิ่งที่ปรากฏหรือปรากฏการณ์ ต่างๆ ได้ แต่ในขณะเดียวกัน เราก็ต้องใช้เหตุผลเพื่อจะได้รู้ สาเหตุแห่งปรากฏการณ์นั้นๆ  การรับรู้ทางประสาทสัมผัสอาจบิดเบือนเราจากความเป็นจริงได้  ความรู้ของเราทั้งหมดจึงเป็นความรู้แบบ “อัตนัย” (subjective) >> เรารู้แต่สิ่งที่ปรากฏต่อเรา โดยที่เรากาหนดค่าให้มันด้วย ส่วน ความเป็นจริงหรือวัตถุที่แท้จริงนั้น เรารู้ไม่ได้  ฮอบส์ เชื่อว่า โลกนี้เป็นโลกแห่งวัตถุที่มีการเคลื่อนไหวอยู่เสมอ (coporeal world in motion)
  • 11.  ปรัชญาของฮอบส์ เป็น Materialism >> สิ่งที่แท้จริงมีเพียง ๒ อย่าง คือ สสารกับการเคลื่อนไหว (matter & motion)  เราไม่สามารถศึกษาและเข้าใจถึงธรรมชาติของพระเจ้าได้ แต่เรา ศึกษาโลกภายนอกได้ในฐานะที่มันเป็นโลกแห่งวัตถุที่มีการ เคลื่อนไหวและปรากฏให้เรารับรู้ได้  เนื้อหาของปรัชญา คือ การหาสาเหตุและผลของปรากฏการณ์ ต่างๆ เช่น การเกิดสิ่งเร้ามากระทบประสาทเป็นเหตุ >> เกิดการ รับรู้เป็นผลตามมา  ไม่มีสิ่งใดเกิดขึ้นโดยบังเอิญหรือปราศจากสาเหตุ สิ่งต่างๆ ที่ เกิดขึ้นนั้น จะต้องเป็นผลของสาเหตุอันใดอันหนึ่ง
  • 12.
  • 13.  สาเหตุที่เป็นสากลและเป็นสาเหตุแรกของทุกสิ่งทุกอย่าง ก็คือ ความเคลื่อนไหว (motion) ซึ่งเป็นไปแบบกลไก (mechanics) คือ เป็นไปตามกฎธรรมชาติ >> ถ้าเรารู้กฎนี้แล้ว เราจะมีอานาจใน แง่ที่สามารถควบคุมปรากฏการณ์ธรรมชาติได้  ฮอบส์ มองเห็นทุกสิ่งเหมือนเครื่องจักรกล แม่แต่ร่างกายมนุษย์ >> ร่างกายมนุษย์ คือ เครื่องจักรกลแต่ละชิ้นที่มาสัมพันธ์กัน อย่างละเอียดพิสดารและมีประสิทธิภาพสูง  จิต เป็นสสารชนิดละเอียดอ่อน มีที่ตั้งอยู่ที่สมอง และอยู่ภายใต้ การเคลื่อนไหวแบบกลไก >> ความคิด และความรู้สึกรับรู้ต่างๆ (consciousness) เป็นผลมาจากการเคลื่อนไหวในสมอง
  • 14.
  • 15.  มนุษย์เปรียบเหมือนเครื่องจักรที่ทางานตามหลักกลศาสตร์ ทุกสิ่งถูก กาหนดไว้ด้วยกฎเกณฑ์ที่ตายตัว >> “นิยตินิยม” (Determinism)  จิตไม่มีเจตนารมณ์อิสระ (Free Will) แต่มีอานาจเพียงตอบสนองสิ่ง เร้าจากภายนอกเท่านั้น  สิ่งเร้าบางอย่างก่อให้เกิดความพอใจ (pleasure) ก็เรียกว่าเป็นสิ่งที่ดี (good) ก็เกิดการตอบสนองด้วยความอยาก (appetite)  สิ่งเร้าบางอย่างก่อให้เกิดความทุกข์ ความเจ็บปวด (pain) ก็จัดเป็น สิ่งชั่วร้าย (evil) ก็เกิดการตอบสนองด้วยความเกลียด (aversion)  ***ดังนั้น ทุกอย่างไม่ได้เกิดการตัดสินใจโดยเสรีของจิต แต่ขึ้นอยู่ กับสิ่งเร้า จิตมนุษย์เปรียบเสมือนเหล็ก ซึ่งอาจถูกแม่เหล็ก อันได้แก่ สิ่งเร้าดึงดูด หรือผลักได้
  • 16. จากแนวคิดนี้ มนุษย์เปรียบเหมือนเครื่องจักร ไม่มีอิสระ ในการเลือก >> ดังนั้น คนอันธพาล หรืออาชญากร ซึ่ง ประพฤติผิดศีลธรรมนั้น ก็ไม่น่าจะมีความผิด เพราะไม่มี เจตจานงอิสระ คุณคิดอย่างไร? ^^
  • 17.  จริยศาสตร์ของฮอบส์ อยู่ในแนว “อัตนิยม” (Egoism) >> การ กระทาของมนุษย์ล้วนเป็นไปเพื่อก่อให้เกิดประโยชน์แก่ตัวเอง ทั้งสิ้น >> ทาสิ่งที่ตนพอใจ หลีกหนีสิ่งที่เกลียดชัง  “มนุษย์ทุกคนล้วนเห็นแก่ตัว” >> แม้การกระทาที่ดูเหมือนเห็นแก่ ผู้อื่นนั้น ถ้าวิเคราะห์ให้ถึงแก่นแล้ว เป็นไปเพื่อตัวเองทั้งนั้น อัตนิยมถือว่า ทุกการกระทาเป็นไปเพื่อผลประโยชน์ของตัวเอง ทั้งสิ้น ไม่มีใครทาอะไรโดยไม่หวังประโยชน์ไปถึงตน  สาหรับฮอบส์ >> ความเห็นแก่ตัวไม่ใช่สิ่งที่น่าเหยียดหยาม เพราะมนุษย์มีแรงกระตุ้นธรรมชาติที่จะต้องการสิ่งที่ดีสาหรับ ตัวเองและหลีกหนีสิ่งที่เลว
  • 18.  มนุษย์พยายามแสวงหาเงินและอานาจ เพราะเชื่อว่าจะนาไปสู่ ความสุข มนุษย์จะให้สิทธิหรืออานาจแก่ผู้อื่นได้ก็ต่อเมื่อแน่ใจได้ ว่า ตนจะได้รับอานาจและสิทธิมากขึ้นไปอีก  “...เมื่อใดก็ตามที่มนุษย์มอบสิทธิของตนเองหรือปฏิเสธที่จะรับ สิทธินั้น เขาย่อมหวังที่จะได้รับสิทธิบางอย่างเป็นการตอบแทน หรือหวังที่จะได้สิ่งที่ดีสาหรับตนเอง เพราะการกระทานั้น เป็นการ กระทาโดยเจตนา และการกระทาโดยเจตนาของทุกคน ย่อมมี จุดมุ่งหมายที่จะก่อให้เกิดผลดีแก่ตนเอง” (Leviathan)  การที่มนุษย์ร่วมกันมอบสิทธิของตนเอง จึงเป็นที่มาของ สัญญาประชาคม (social contract)
  • 19.  มนุษย์ทุกคนล้วนเห็นแก่ตัว.....ไม่เคยมีใครช่วยผู้อื่นด้วยความจริงใจ ....  คุณคิดอย่างไร?  ในชีวิต คุณเคยเสียสละ หรือช่วยเหลือผู้อื่นด้วยความจริงใจเพื่อเขา จริงๆ หรือไม่  มีสักครั้งไหมในชีวิต ที่คุณทาสิ่งใดเพื่อผู้อื่น โดยไม่นึกถึงตัวคุณเอง?
  • 20.  ฮอบส์มีความคิดว่ามนุษย์ก็เป็นเช่นเดียวกับสัตว์อื่นๆ คือเป็น ร่างกายที่เคลื่อนไหวเปลี่ยนแปลง ความรู้สึก ความปรารถนาและ เจตจานงของมนุษย์ก็เป็นพลังงานทางกาย ไม่ใช่พลังงานทางจิต  มนุษย์มีสิทธิโดยธรรมชาติเหมือนกับสัตว์อื่นๆ ในการที่จะฆ่าหรือ ถูกฆ่าได้ เพราะคนที่แข็งแรงที่สุดเท่านั้น จึงจะสามารถดารงชีวิต รอดอยู่ได้ นี่คือความคิดของ “กฎธรรมชาติ” ที่ว่า “อานาจ” เป็นตัว สร้างความชอบธรรมขึ้นมา  เพราะในสภาพธรรมชาติ อะไรก็ตามที่เป็นไปตามกฎธรรมชาติ ย่อมจะถูกทานองคลองธรรม >> ศีลธรรมเกิดจากการที่มนุษย์สร้าง กฎหมายขึ้นมา และเห็นพ้องกันที่จะเชื่อฟังกฎหมายเพื่อความอยู่ รอดปลอดภัยของตนเอง >> นี่เป็นข้อแรกของกฎธรรมชาติ
  • 21.  ทฤษฎีความคิดของฮอบส์สร้างระบบจริยศาสตร์ที่มีพื้นฐานอยู่บน ความเห็นแก่ตัว หรือ การคานึงถึงประโยชน์ส่วนตนเป็นสาคัญ  พลังธรรมชาติของมนุษย์ >> คนทุกคนมีพลังอานาจเท่าเทียมกัน >> คนที่อ่อนแอทางร่างกาย ก็สามารถใช้ความฉลาดของเขาเอาชนะ ศัตรูที่แข็งแกร่งกว่าได้  สภาพธรรมชาติจึงเป็นสภาพของสงครามที่คนทาร้ายกันและกันได้ อย่างเสรี ทาให้ชีวิตและทรัพย์สินของคนตกอยู่ในสภาพอันตราย อย่างยิ่ง  ในสภาพธรรมชาติ คนอยู่กันอย่างโดดเดี่ยว ยากจน หยาบช้า โหดร้าย และมีอายุสั้น ที่ร้ายที่สุดก็คือ มีแต่ความกลัวภัยจากการถูก ทาร้าย เพราะทุกคนอาจทาร้ายกันได้ด้วยสาเหตุต่างๆ กันไป ใน สภาพธรรมชาติเช่นนี้ >> ไม่มีดี ไม่มีชั่ว ไม่มีบาป ไม่มีความยุติธรรม หรืออยุติธรรม ไม่มีใครรู้ว่าอะไรผิด อะไรถูก
  • 22.
  • 23.  ฮอบส์ เห็นว่า ความยุติธรรมเป็นสิ่งที่มนุษย์สร้างขึ้น เมื่อปรับ สภาพจากสภาพธรรมชาติมาเป็นสภาพการมีชีวิตอยู่ร่วมกันใน สังคม เพราะเมื่อคนเห็นว่าสภาพธรรมชาติที่คนมีสิทธิเท่าเทียม กันนั้นจะเป็นอันตรายต่อชีวิตตัวเอง คนจึงแสวงหาการที่จะดารง ไว้ซึ่งความสุข  โดยการมาร่วมทาสัญญาประชาคม (Social Contract) ขึ้น โดยแต่ ละคนย่อมที่จะสละสิทธิโดยธรรมชาติ เช่น สิทธิที่จะทาร้ายฆ่าฟัน คนอื่นๆ หรือขโมยทรัพย์สินคนอื่นๆ โดยทุกคนเต็มใจที่จะทา ตามเช่นเดียวกัน  สังคมมนุษย์จึงเกิดสัญญาประชาคม ซึ่งเป็นรูปแบบของกฎหมาย บ้านเมือง มีการจากัดสิทธิเสรีภาพโดยสภาพธรรมชาติของมนุษย์ แต่ละคนด้วยการตกลงร่วมกัน
  • 24.
  • 25.  ฮอบส์เห็นว่า โดยธรรมชาติมนุษย์มีทั้งอารมณ์ (passion) และ เหตุผล (reason) อารมณ์ทาให้มนุษย์ตกอยู่ในภาวะสงคราม และ อารมณ์ก็ทาให้มนุษย์เกิดความกลัวตาย ต้องการความสงบสุข  แต่ “เหตุผล” จะทาให้มนุษย์รู้จักหลักเกณฑ์ที่จะนาไปสู่สันติภาพ >> กฎธรรมชาติ (Natural Law)  กฎธรรมชาติ คือ กฎแห่งศีลธรรม ซึ่งจะห้ามไม่ให้มนุษย์กระทาสิ่ง ที่จะทาให้ชีวิตสูญสิ้น และพึงปฏิบัติในสิ่งที่เป็นไปเพื่อความยืนยง ของชีวิต  เพราะธรรมชาติของมนุษย์เต็มไปด้วยความละโมบ มีความโน้ม เอียงจะประทุษร้ายกัน >> ดังนั้นจึงต้องมอบอานาจของตนเองให้ คนๆหนึ่ง หรือกลุ่มหนึ่ง ซึ่งเรียกว่า...  “องค์อธิปัตย์ (Sovereign) เป็นผู้ใช้อานาจแทนคนทั้งหมด และมี สิทธิใช้อานาจสูงสุด ผ่านการรับมอบโดยการทาสัญญาประชาคม
  • 26.
  • 27.  องค์อธิปัตย์ มีอานาจในการออกกฎหมายและบังคับใช้กฎหมาย มีอานาจอย่างสมบูรณ์ มีหน้าที่รักษาความสงบภายใน  จุดมุ่งหมายของปรัชญาการเมืองของฮอบส์  “...เป็นไปในรูปส่งเสริมอำนำจของพระมหำกษัตริย์ หลักปรัชญำ มุ่งที่ จะให้รัฐบำลมีอำนำจสมบูรณ์ (Absolute Government) ซึ่งฮอบส์ หมำยถึง สมบูรณำญำสิทธิรำช (Absolute Monarchy) พยำมแสดงให้ เห็นว่ำกำรปกครองโดยมีพระมหำกษัตริย์ทรงมีอำนำจสมบูรณ์นั้น เป็น ระบอบที่มั่นคงและมีระเบียบเรียบร้อยที่สุด...” (?)  ในกรณีที่รัฐ ประสบความล้มเหลว ไม่สามารถบรรลุเป้ าหมาย ที่ตั้งไว้ได้ ประชาชนก็ต้องแข็งข้อต่อองค์อธิปัตย์ได้โดยการปฏิวัติ >> จะทาให้ประชาชนกลับคืนสู่สภาพธรรมชาติที่น่ากลัวอีก
  • 28. Leviathan or The Matter, Forme and Power of a Common Wealth Ecclesiasticall and Civil—commonly referred to as Leviathan—is a book written by Thomas Hobbes and published in 1651. Its name derives from the biblical Leviathan
  • 29.
  • 30.