SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 35
พระพุทธศาสนาวัชรยาน
VAJRAYANA BUDDHISM
ดาวน์โหลดไฟล์นี้ได้ที่ www.philosophychicchic.com
เมื่อพูดถึงพุทธแบบทิเบต...คุณนึกถึงอะไร?
https://www.you
tube.com/watch
?v=tEIsvAPgMq4
ทิเบตเป็ นเหมือนดินแดนในฝัน...มีความมหัศจรรย์หลายอย่าง
เป็ นอู่อารยธรรมและดินแดนแห่งพระพุทธศาสนาที่มีเอกลักษณ์
คนทิเบตถือเป็ นคนภูเขา...เทือกเขาหิมาลัยและที่ราบสูงทิเบต
เกิดขึ้นเมื่อประมาณ ๔ ล้านปี มาแล้ว
ชาวทิเบตซึมซับเอาศาสนาเข้าเป็ นวิถีชีวิต
ชาวทิเบตเป็ นเชื้อชาติมองโกลอยด์ แบ่งเป็ นกลุ่มชนเผ่าต่างๆ มี
ประชากร ๒ ล้านกว่าคน
เคยมีการปกครองแบบกษัตริย์ มีประวัติศาสตร์ด้านการปกครอง
ที่ชัดเจน ประมาณ พ.ศ. ๑,๐๐๐ มีเมืองลาซาเป็ นเมืองหลวง
ว่าด้วย...ประเทศและประชาชนชาวทิเบต
นับเป็ นเวลาร่วมพันปี ที่ทิเบตปกครองโดยกษัตริย์เชื้อสาย
ทิเบต นับตั้งแต่ กษัตริย์ Nyathri Tsenpo ใน พ.ศ.
๔๑๖ จนกระทั่ง กุศรี ข่าน แห่งมองโกล เข้ายึดครองทิเบต
ใน พ.ศ. ๒๐๘๕ และมอบอานาจการปกครองทิเบตทั้ง
ด้านศาสนจักรและอาณาจักรให้แก่ โลรัง คยัตโส ดาไล ลา
มะ องค์ที่ ๕ ในระหว่าง พ.ศ. ๒๑๐๖-๒๒๒๕ ภายใต้อาณัติ
ของจีนในสมัยราชวงศ์หยวน เมื่อทิเบตเป็ นอิสระจากมอง
โกลก็เริ่มมีปัญหากับประเทศจีน
พ.ศ. ๒๔๙๓ กองทัพคอมมิวนิสต์ของจีนเริ่มรุกรานทิเบต
เทนซิน กยัตโส ดาไล ลามะองค์ที่ ๑๔ ปกครองทิเบต
ระหว่าง พ.ศ. ๒๔๗๘ - -๒๕๐๒ ต่อจากนั้นจึงได้ลี้ภัยไปอยู่ที่
ประเทศอินเดีย
ลัทธิบอน เป็ นศาสนาของชนเผ่า zhang zhung ซึ่งเป็ น
บรรพบุรุษของชาวทิเบต
เป็ นศาสนาในลัทธิ “วิญญาณนิยม” (Animism) เชื่อว่ามี
วิญญาณอยู่ในสรรพสิ่ง และมีเจตภูตอยู่ในธรรมชาติ และ
ปรากฏการณ์ต่างๆ
เกิดการปะทะสังสรรค์กันด้านศรัทธาระหว่าง
พระพุทธศาสนากับลัทธิบอน ทาให้พระพุทธศาสนาแบบ
ทิเบตมีลักษณะพิเศษ เหมือนเป็ นพัฒนาการขั้นที่ ๒ ของ
พุทธศาสนามหายาน
ศาสนาและความเชื่อดั้งเดิม – ลัทธิบอน (BON)
ช่วงที่ ๑ >> พ.ศ. ๑๑๗๓ กษัตริย์ซองต์เซ็น กัมโป สนับสนุนให้มี
การศึกษาพระพุทธศาสนาจากคัมภีร์ที่นาเข้ามาตั้งแต่สมัยกษัตริย์
ลาโธ โธรี (พ.ศ. ๙๗๘) - กษัตริย์ซองต์เซ็น กัมโป ปฏิรูปศรัทธา
ในทิเบต ประกาศให้พระพุทธศาสนาเป็ นศาสนาประจาชาติ
ช่วงที่ ๒ >> พ.ศ. ๑๓๐๒ ในรัชสมัยของ กษัตริย์ ธริซอง เดทเซ็น
อาราธนาและเชิญนักบวชจากอินเดียมาประกาศพระพุทธศาสนาใน
ทิเบต คือ ท่านปัทมสัมภวะและ ศานตรักษิตะ มีการตั้ง นิกายนิงมะ
(Nyiangma) หรือ นิกายหมวกแดง พ.ศ. ๑๓๓๓ สร้างวัดแห่ง
แรกในทิเบต – วัดสัมเย ***เป็ นช่วงที่พุทธศาสนาเจริญรุ่ งเรือง
มาก
ประวัติ ความเป็ นมา - พุทธศาสนาแบบทิเบต
ช่วงที่ ๓
พ.ศ. ๑๕๒๔>> ท่านอตีษะ ตั้งนิกาย ยกดัม (Kadam)
พ.ศ. ๑๕๔๔ >> กษัตริย์ลังดาร์ม่า ขึ้นครองราชย์
เบียดเบียนพระพุทธศาสนา
พ.ศ. ๑๕๕๕ >> มาร์ปะ ตั้งนิกาย “กาคิว” (Kargyu)
พ.ศ. ๑๕๗๗ >> ขอนโกนจก คยัลโป ตั้งนิกายศากยะ
ช่วงที่ ๔
พ.ศ. ๑๙๑๘ >> เกิดนิกายเกลุก (Gelug) – พัฒนามา
จากนิกายยกดัม ที่อาจารย์อตีษะวางรากฐานไว้แต่เดิม
และจัดเป็ นรูปแบบให้ชัดเจนโดย ท่านซองขะปะ
พ.ศ. ๒๑๘๙ >> กุศรีข่าน แห่งมองโกล มอบอานาจการ
ปกครองทิเบต แก่ โลรัง กยัตโส ซึ่งเป็ นดาไล ลามะ องค์ที่
๕
ในช่วงปลาย พ.ศ. ๒๔๙๓ พระพุทธศาสนาเจริญรุ่งเรืองมาก
จานวนวัดในทิเบต และพระสงฆ์และภิกษุณี (Nun) มีมาก
ที่สุด ต่อจากนั้น สถานการณ์เริ่มเสื่อมถอย กิจการภายใน
ของทิเบตถูกแทรกแซงโดยอานาจการเมืองของจีน
องค์ดาไล ลามะที่ ๑๔ ลี้ภัยไปที่ธรัมศาลา ประเทศอินเดีย
พร้อมตั้งรัฐบาลพลัดถิ่น ประกาศเอกราชของทิเบต
พุทธศาสนาในทิเบตสูญเสียบทบาทด้านอาณาจักร คงไว้แต่
บทบาททางศาสนจักร
ตรีกาย – พระพุทธเจ้า พระโพธิสัตว์
www.philosophychicchic.com
www.philosophychicchic.com
นิกายนิงมะ (Nyiangma) หรือ นิกายหมวกแดง
นิกายนิงมะถือกาเนิดจากปฐมาจารย์ชาวอินเดียคือ คุรุปัทม
สัมภวะ ท่านเป็ นโยคีผู้ทรงความรู้โดยเฉพาะในสายตันตระ
ชาวทิเบตโดยทั่วไปเรียกอาจารย์คุรุปัทมสัมภวะด้วยความ
ยกย่องเทิดทูนว่า“คุรุริมโปเช” ซึ่งแปลว่า ท่านอาจารย์ผู้
ประเสริฐ
สร้างวัดสัมเย ซึ่งเป็ นวัดของพระพุทธศาสนาวัดแรกในทิเบต
ต่อมาได้กลายเป็ นศูนย์กลางทางการศึกษาพุทธศาสนาที่
สาคัญ และเป็ นแหล่งแปลคัมภีร์สาคัญในวรรณคดีพุทธ
ศาสนาเป็ นภาษาทิเบต
พุทธศาสนานิกายสาคัญในทิเบต - นิกายลามะ
www.philosophychicchic.com
นิกาย “กาคิว” (Kargyu)
ก่อตั้งโดย มาร์ปะ – มาร์ปะได้เดินทางไปอินเดีย ๓ ครั้ง เนปาล
๔ ครั้ง เพื่อแสวงหาพระธรรม ได้ศึกษากับอาจารย์และโยคี
จานวนมาก – ที่สาคัญคือ ท่านนาโรปะ และไมตรีปะ
ได้รับคาสอนสายตันตระที่เรียกว่า สายทั้ง ๔ ได้แก่ กายมายา
การสืบทอดวิญญาณ ความฝัน และแสงโอภาส รวมทั้งความ
ร้อนภายใน รวมทั้ง โยคะ ๖
มาร์ปะสืบทอดสายความรู้นี้มายังทิเบต และถ่ายทอดให้ศิษย์
เอก คือ มิลาเรปะ (๑๐๔๐-๑๑๒๓) ซึ่งเป็ นโยคีสายตันตระที่เชื่อ
กันว่ารู้แจ้งและประสบความสาเร็จอย่างสูงส่ง
พุทธศาสนานิกายสาคัญในทิเบต - นิกายลามะ
 ปัจจุบัน นิกายย่อยของนิกายกาคิวที่สาคัญที่ยังสืบทอดมา
จนถึงทุกวันนี้ คือ “กรรมะกาคิว”
มีประมุข คือ องค์กรรมาปะ (Karmapa) – องค์แรก คือ
ดุสุม เค็นโป (พ.ศ. ๑๑๑๐-๑๑๙๓) เชื่อว่ามีการสืบทอด
ตาแหน่งโดย การอวตาร หรือ การกลับชาติมาเกิด
(Reborn) จนกระทั่งถึงองค์ที่ ๑๖ จึงทรงลี้ภัยมาอยู่ที่
ประเทศอินเดีย และได้ก่อตั้งศูนย์กลางเป็ นวัดรุมเต็ก ที่
เมืองสิกขิม และเผยแผ่ศาสนาไปยังประเทศตะวันตก โดยมี
สาขาย่อยในต่างประเทศนับร้อย
ปัจจุบัน อยู่ในสมัยของ องค์กรรมาปะที่ ๑๗
(17 th Karmapa)
การกลับชาติมาเกิดของลามะชั้นสูง (ตุลกู) - กรณีกรรมาปะ
www.philosophychicchic.com
ใคร คือ องค์กรรมาปะ ที่ ๑๗ องค์จริง?
the 17th gyalwa karmapa,
orgyen trinley dorje
the 17th Gyalwa Karmapa, Trinley
Thaye Dorje
นิกาย สักยะ (Sakya)
 นิกายสักยะก่อตั้งโดย คอน คอนจ็อกเจลโป ผู้นาของนิกาย
นี้จะสืบทอดตาแหน่งตามสายโลหิตของตระกูลคอน
นับตั้งแต่ คอนคอนจ็อกเจลโปเป็ นต้นมา นิกายนี้มีรากฐาน
คาสอนมาจากโยคีชาวอินเดียชื่อ“วิรูปะ”
คาสอนและการปฏิบัติที่เป็ นแก่นของสักยะคือ ลัมเดร และ
มรรควิถีและผล ในมรรควิถีและผลนั้นได้รวมคาสอนทั้งฝ่ าย
พระสูตรและตันตระทั้งที่เปิ ดเผยและรหัสนัย โดยใน
ท้ายที่สุดจะนาผู้ปฏิบัติไปสู่เหวัชระ
พุทธศาสนานิกายสาคัญในทิเบต - นิกายลามะ
นิกาย เกลุกปะ (หมวกเหลือง) ก่อตั้งโดย ท่านซองขะปะ
 นิกายเกลุกเป็ นนิกายที่มุ่งเน้นในด้านความเคร่งครัดของการ
ปฏิบัติพระวินัยโดยถือเป็ นพื้นฐานสาคัญสาหรับการศึกษาและการ
ปฏิบัติพุทธศาสนา และยังถือว่าการศึกษาอย่างเป็ นวิชาการเป็ น
พื้นฐานสาคัญของการฝึ กสมาธิ
ดังนั้น จึงเน้นการสอนทั้งในด้านพระสูตรและตันตระ ซึ่งวิธีการ
สอนจะเน้นออกมาทางการวิเคราะห์ โดยผ่านการฝึ กฝนตาม
ตรรกวิภาษ ซึ่งโดยทั่วไปแล้วหลักสูตรการศึกษาของนิกายเกลุกจะ
ครอบคลุมหัวข้อใหญ่ 5 แขนงคือ ปัญญาบารมี ปรัชญามาธยมิกะ
การรับรู้ที่ถูกต้อง ปรากฏการณ์วินัย และพระวินัย
พุทธศาสนานิกายสาคัญในทิเบต - นิกายลามะ
วัดของนิกายเกลุกที่สาคัญใน
ทิเบตคือ วัดกานเด็น ก่อตั้งโดย
ท่านสองขะปะ ใน ค.ศ. 1409 มี
มหาวิทยาลัย 2 แห่ง ดังนั้น วัด
กานเด็นจึงเป็ นทั้งวัดและศูนย์
การศึกษาของพุทธศาสนา
สาหรับพระภิกษุ
เป็ นนิกายที่ปกครองประเทศ
ทิเบตสืบต่อกันมากว่าสอง
ศตวรรษ โดยมี องค์ทะไลลามะ
เป็ นพระประมุขของประเทศ
www.philosophychicchic.com
พระพุทธศาสนา >> อริยสัจ ๔ – ศีล สมาธิ ปัญญา
พิจารณาศูนยตา - ปรัชญาปารมิตา
โพธิสัตวมรรค >> มหาปัญญา มหากรุณา มหาอุบาย
มรรควิถี - วิธีปฏิบัติเพื่อรู้แจ้ง
www.philosophychicchic.com
การปฏิบัติแบบตันตระ
เป็ นการฝึ กจิตเพื่อให้จิตอยู่ในสภาวะประภัสสร เพื่อเข้าถึงศูนยตา
การปฏิบัติตามแบบตันตระแบ่งเป็ น ๔ ขั้น คือ
- กริยาตันตระ ให้ความสาคัญกับท่ามุทราต่างๆ และการท่องมนต์
- จรรยาตันตระ ให้ความสาคัญกับท่าทางไปพร้อมๆกับการฝึ กจิต
เน้นการทาสมาธิ เข้าเงียบ
- โยคะตันตระ เน้นการฝึ กภายในมากกว่าท่าทางภายนอก
- อนุตรโยคะตันตระ เน้นการฝึ กจิตภายในอย่างเดียว เพื่อเข้าถึง
รากฐานของจิตประภัสสร โดยขับพลังหยาบของจิตออกไป ซึ่งจะทา
ให้เข้าถึงศูนยตาในที่สุด
มรรควิถี - วิธีปฏิบัติเพื่อรู้แจ้ง
พุทธญาณ (อาจารย์ตรันตระชาวอินเดีย)-
ในระดับปุถุชน มีบางขณะที่เราสามารถ
สัมผัสกับจิตละเอียดขั้นประภัสสรได้ เช่น
เวลาหลับ หาว เป็ นลม และร่วมเพศ
ไม่ใช่การร่วมเพศทั่วไป >>
ประสบการณ์ของความเป็ นเอกภาพกับ
เพศตรงข้าม ณ จุดที่ธาตุอยู่บน
กระหม่อมเกิดการหลอมละลาย และ
โดยการฝึ กสมาธิกระบวนการนี้
สามารถบังคับให้กลับเป็ นตรงข้ามได้
โดยต้องระวังไม่ให้เกิดการหลั่ง
(กาลจักรตันตระ)
ด้วยพลังแห่งกิเลส สามารถหลอม
ละลายธาตุที่อยู่ในกาย เมื่อเข้าถึง
ภาวะที่ไร้มโนทัศน์ จึงสามารถควบคุม
จิตให้ตั้งมั่นอยู่ในศูนยตาได้ในที่สุด
ปัจจุบันชาวทิเบตมากกว่า
๑๐๐,๐๐๐ คน ลี้ภัยอยู่ในประเทศ
ต่างๆ เช่น อินเดีย เนปาล ภูฏาน
โดยมีศูนย์ใหญ่ที่ “ธรัมศาลา”
รัฐหิมาจัล ประเทศอินเดีย
แม้พุทธศาสนาแบบทิเบตสูญเสีย
บทบาทในเชิงสถาบัน แต่บทบาท
ต่อชาวทิเบตนั้น
>> พุทธศาสนาอยู่ในวิถีชีวิต
ศาสนายังมีอยู่ ในเชิง
“ศาสนบุคคล”
วิถีศาสนา - วิถีชีวิต
https://www.youtube.co
m/watch?v=M89bnuQZB
Cg
www.philosophychicchic.com
มนตราสาคัญ
www.philosophychicchic.com
สัญลักษณ์ทางศาสนา
พุทธศิลปะแบบทิเบต - ภาพทังกา
www.philosophychicchic.com
ดาวน์โหลดไฟล์นี้ได้ที่
www.philosophychicchic.com
สนุกกับการเรียนรู้ปรัชญาและศาสนาแบบชิคๆ เคียงคู่รอยยิ้ม

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๔ ญาณวิทยา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๔ ญาณวิทยาปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๔ ญาณวิทยา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๔ ญาณวิทยาPadvee Academy
 
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐานบทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐานpop Jaturong
 
03ศาสนาเชน...ใหม่ 007
03ศาสนาเชน...ใหม่ 00703ศาสนาเชน...ใหม่ 007
03ศาสนาเชน...ใหม่ 007Dream'Es W.c.
 
ศาสนาเชน
ศาสนาเชนศาสนาเชน
ศาสนาเชนPadvee Academy
 
วิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญาวิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญาPadvee Academy
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๒ ความสัมพันธ์ระหว่างปรัชญา ศาสนา วิทยาศาสตร์
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๒ ความสัมพันธ์ระหว่างปรัชญา ศาสนา วิทยาศาสตร์ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๒ ความสัมพันธ์ระหว่างปรัชญา ศาสนา วิทยาศาสตร์
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๒ ความสัมพันธ์ระหว่างปรัชญา ศาสนา วิทยาศาสตร์Padvee Academy
 
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยสุโขทัย
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยสุโขทัยวรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยสุโขทัย
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยสุโขทัยพระอภิชัช ธมฺมโชโต
 
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนา
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนาวรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนา
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนาพระอภิชัช ธมฺมโชโต
 
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)Padvee Academy
 
ปรัชญาทั่วไป บทที่1
ปรัชญาทั่วไป บทที่1 ปรัชญาทั่วไป บทที่1
ปรัชญาทั่วไป บทที่1 Padvee Academy
 
ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์Padvee Academy
 
พุทธศาสนาในโลกปัจจุบัน
พุทธศาสนาในโลกปัจจุบันพุทธศาสนาในโลกปัจจุบัน
พุทธศาสนาในโลกปัจจุบันPadvee Academy
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๑ ความหมายและขอบเขตของปรัชญา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๑ ความหมายและขอบเขตของปรัชญาปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๑ ความหมายและขอบเขตของปรัชญา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๑ ความหมายและขอบเขตของปรัชญาPadvee Academy
 
การบริหารจิตและเจริญปัญญา
การบริหารจิตและเจริญปัญญาการบริหารจิตและเจริญปัญญา
การบริหารจิตและเจริญปัญญาพัน พัน
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๓ อภิปรัชญา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๓ อภิปรัชญาปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๓ อภิปรัชญา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๓ อภิปรัชญาPadvee Academy
 
ศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบthnaporn999
 

Was ist angesagt? (20)

ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๔ ญาณวิทยา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๔ ญาณวิทยาปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๔ ญาณวิทยา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๔ ญาณวิทยา
 
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐานบทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
 
03ศาสนาเชน...ใหม่ 007
03ศาสนาเชน...ใหม่ 00703ศาสนาเชน...ใหม่ 007
03ศาสนาเชน...ใหม่ 007
 
ศาสนาเชน
ศาสนาเชนศาสนาเชน
ศาสนาเชน
 
วิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญาวิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญา
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๒ ความสัมพันธ์ระหว่างปรัชญา ศาสนา วิทยาศาสตร์
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๒ ความสัมพันธ์ระหว่างปรัชญา ศาสนา วิทยาศาสตร์ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๒ ความสัมพันธ์ระหว่างปรัชญา ศาสนา วิทยาศาสตร์
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๒ ความสัมพันธ์ระหว่างปรัชญา ศาสนา วิทยาศาสตร์
 
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยสุโขทัย
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยสุโขทัยวรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยสุโขทัย
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยสุโขทัย
 
วรรณกรรมบาลีในประเทศไทย
วรรณกรรมบาลีในประเทศไทยวรรณกรรมบาลีในประเทศไทย
วรรณกรรมบาลีในประเทศไทย
 
มงคลวิเสสกถา
มงคลวิเสสกถามงคลวิเสสกถา
มงคลวิเสสกถา
 
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนา
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนาวรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนา
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนา
 
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
 
ปรัชญาทั่วไป บทที่1
ปรัชญาทั่วไป บทที่1 ปรัชญาทั่วไป บทที่1
ปรัชญาทั่วไป บทที่1
 
การปกครองคณะสงฆ์
การปกครองคณะสงฆ์การปกครองคณะสงฆ์
การปกครองคณะสงฆ์
 
ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์
 
พุทธศาสนาในโลกปัจจุบัน
พุทธศาสนาในโลกปัจจุบันพุทธศาสนาในโลกปัจจุบัน
พุทธศาสนาในโลกปัจจุบัน
 
กรรมฐาน (เอกสาร ๑)
กรรมฐาน (เอกสาร ๑)กรรมฐาน (เอกสาร ๑)
กรรมฐาน (เอกสาร ๑)
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๑ ความหมายและขอบเขตของปรัชญา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๑ ความหมายและขอบเขตของปรัชญาปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๑ ความหมายและขอบเขตของปรัชญา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๑ ความหมายและขอบเขตของปรัชญา
 
การบริหารจิตและเจริญปัญญา
การบริหารจิตและเจริญปัญญาการบริหารจิตและเจริญปัญญา
การบริหารจิตและเจริญปัญญา
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๓ อภิปรัชญา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๓ อภิปรัชญาปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๓ อภิปรัชญา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๓ อภิปรัชญา
 
ศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบ
 

Andere mochten auch

พุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะ
พุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะ
พุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะPadvee Academy
 
ศิลปะแห่งความสุขขององค์ดาไล ลามะ
ศิลปะแห่งความสุขขององค์ดาไล ลามะศิลปะแห่งความสุขขององค์ดาไล ลามะ
ศิลปะแห่งความสุขขององค์ดาไล ลามะPadvee Academy
 
แนวคิดเรื่อง “สังฆะ” ของหมู่บ้านพลัม
แนวคิดเรื่อง “สังฆะ” ของหมู่บ้านพลัม  แนวคิดเรื่อง “สังฆะ” ของหมู่บ้านพลัม
แนวคิดเรื่อง “สังฆะ” ของหมู่บ้านพลัม Padvee Academy
 
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhismพุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land BuddhismPadvee Academy
 
พระพุทธศาสนานิกายเซน
พระพุทธศาสนานิกายเซนพระพุทธศาสนานิกายเซน
พระพุทธศาสนานิกายเซนPadvee Academy
 
พุทธศาสนามหายานในไทย
พุทธศาสนามหายานในไทยพุทธศาสนามหายานในไทย
พุทธศาสนามหายานในไทยPadvee Academy
 
วิชาพระพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายโยคาจาร
วิชาพระพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายโยคาจารวิชาพระพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายโยคาจาร
วิชาพระพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายโยคาจารPadvee Academy
 

Andere mochten auch (7)

พุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะ
พุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะ
พุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะ
 
ศิลปะแห่งความสุขขององค์ดาไล ลามะ
ศิลปะแห่งความสุขขององค์ดาไล ลามะศิลปะแห่งความสุขขององค์ดาไล ลามะ
ศิลปะแห่งความสุขขององค์ดาไล ลามะ
 
แนวคิดเรื่อง “สังฆะ” ของหมู่บ้านพลัม
แนวคิดเรื่อง “สังฆะ” ของหมู่บ้านพลัม  แนวคิดเรื่อง “สังฆะ” ของหมู่บ้านพลัม
แนวคิดเรื่อง “สังฆะ” ของหมู่บ้านพลัม
 
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhismพุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
 
พระพุทธศาสนานิกายเซน
พระพุทธศาสนานิกายเซนพระพุทธศาสนานิกายเซน
พระพุทธศาสนานิกายเซน
 
พุทธศาสนามหายานในไทย
พุทธศาสนามหายานในไทยพุทธศาสนามหายานในไทย
พุทธศาสนามหายานในไทย
 
วิชาพระพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายโยคาจาร
วิชาพระพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายโยคาจารวิชาพระพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายโยคาจาร
วิชาพระพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายโยคาจาร
 

Ähnlich wie พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism

อาณาจักรตามพรลิงค์
อาณาจักรตามพรลิงค์อาณาจักรตามพรลิงค์
อาณาจักรตามพรลิงค์sangworn
 
วัฒนธรรมไทย
วัฒนธรรมไทยวัฒนธรรมไทย
วัฒนธรรมไทยbabyoam
 
ติวศาสนา55
ติวศาสนา55ติวศาสนา55
ติวศาสนา55Kwandjit Boonmak
 
ติวศาสนา55
ติวศาสนา55ติวศาสนา55
ติวศาสนา55Kwandjit Boonmak
 
สิ่งที่ชาวพุทธต้องรู้
สิ่งที่ชาวพุทธต้องรู้สิ่งที่ชาวพุทธต้องรู้
สิ่งที่ชาวพุทธต้องรู้Tongsamut vorasan
 
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดูศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดูPadvee Academy
 
ศาสนาสากล โดย ครูอัมพร
ศาสนาสากล                โดย ครูอัมพรศาสนาสากล                โดย ครูอัมพร
ศาสนาสากล โดย ครูอัมพรampy48
 
โพธิยาลัย เดือน กุมภาพันธ์ 2555
โพธิยาลัย เดือน กุมภาพันธ์ 2555โพธิยาลัย เดือน กุมภาพันธ์ 2555
โพธิยาลัย เดือน กุมภาพันธ์ 2555Panda Jing
 
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดูศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดูJani Kp
 
เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนา
เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนาเกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนา
เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนาTongsamut vorasan
 
๐๑ เกริ่นนำ นะโมฯ.pdf
๐๑ เกริ่นนำ นะโมฯ.pdf๐๑ เกริ่นนำ นะโมฯ.pdf
๐๑ เกริ่นนำ นะโมฯ.pdfmaruay songtanin
 
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์pentanino
 
ศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบthnaporn999
 
หน้าที่ของชาวพุทธ
หน้าที่ของชาวพุทธหน้าที่ของชาวพุทธ
หน้าที่ของชาวพุทธprimpatcha
 
พระพุทธศาสนากับการสื่อสาร
พระพุทธศาสนากับการสื่อสารพระพุทธศาสนากับการสื่อสาร
พระพุทธศาสนากับการสื่อสารJack Like
 

Ähnlich wie พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism (20)

อาณาจักรตามพรลิงค์
อาณาจักรตามพรลิงค์อาณาจักรตามพรลิงค์
อาณาจักรตามพรลิงค์
 
วัฒนธรรมไทย
วัฒนธรรมไทยวัฒนธรรมไทย
วัฒนธรรมไทย
 
Chapter2
Chapter2Chapter2
Chapter2
 
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดูศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
 
ศาสนาพราหมณ์
ศาสนาพราหมณ์ศาสนาพราหมณ์
ศาสนาพราหมณ์
 
ติวศาสนา55
ติวศาสนา55ติวศาสนา55
ติวศาสนา55
 
ติวศาสนา55
ติวศาสนา55ติวศาสนา55
ติวศาสนา55
 
สิ่งที่ชาวพุทธต้องรู้
สิ่งที่ชาวพุทธต้องรู้สิ่งที่ชาวพุทธต้องรู้
สิ่งที่ชาวพุทธต้องรู้
 
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดูศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
 
ศาสนาสากล โดย ครูอัมพร
ศาสนาสากล                โดย ครูอัมพรศาสนาสากล                โดย ครูอัมพร
ศาสนาสากล โดย ครูอัมพร
 
โพธิยาลัย เดือน กุมภาพันธ์ 2555
โพธิยาลัย เดือน กุมภาพันธ์ 2555โพธิยาลัย เดือน กุมภาพันธ์ 2555
โพธิยาลัย เดือน กุมภาพันธ์ 2555
 
590802 บทที่-1-แก้ไขแล้ว
590802 บทที่-1-แก้ไขแล้ว590802 บทที่-1-แก้ไขแล้ว
590802 บทที่-1-แก้ไขแล้ว
 
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดูศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
 
เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนา
เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนาเกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนา
เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนา
 
๐๑ เกริ่นนำ นะโมฯ.pdf
๐๑ เกริ่นนำ นะโมฯ.pdf๐๑ เกริ่นนำ นะโมฯ.pdf
๐๑ เกริ่นนำ นะโมฯ.pdf
 
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
 
ศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบ
 
งาน
งานงาน
งาน
 
หน้าที่ของชาวพุทธ
หน้าที่ของชาวพุทธหน้าที่ของชาวพุทธ
หน้าที่ของชาวพุทธ
 
พระพุทธศาสนากับการสื่อสาร
พระพุทธศาสนากับการสื่อสารพระพุทธศาสนากับการสื่อสาร
พระพุทธศาสนากับการสื่อสาร
 

Mehr von Padvee Academy

หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]Padvee Academy
 
Onpage stucture checklist
Onpage stucture checklist Onpage stucture checklist
Onpage stucture checklist Padvee Academy
 
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)Padvee Academy
 
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดียปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดียPadvee Academy
 
ปรัชญากับวิถีชีวิต
ปรัชญากับวิถีชีวิตปรัชญากับวิถีชีวิต
ปรัชญากับวิถีชีวิตPadvee Academy
 
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญาปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญาPadvee Academy
 
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์Padvee Academy
 
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส ฮอบส์ (Thomas hobbes)
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส  ฮอบส์ (Thomas hobbes)สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส  ฮอบส์ (Thomas hobbes)
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส ฮอบส์ (Thomas hobbes)Padvee Academy
 
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อ
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อวิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อ
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อPadvee Academy
 
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang tzu)
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang  tzu)ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang  tzu)
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang tzu)Padvee Academy
 
Timeline : history of philosophy
Timeline : history of philosophyTimeline : history of philosophy
Timeline : history of philosophyPadvee Academy
 
Timeline : A History of Eastern Philosophy
Timeline : A History of Eastern PhilosophyTimeline : A History of Eastern Philosophy
Timeline : A History of Eastern PhilosophyPadvee Academy
 
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์Padvee Academy
 
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)Padvee Academy
 
ศิลปะแห่งความรัก
ศิลปะแห่งความรักศิลปะแห่งความรัก
ศิลปะแห่งความรักPadvee Academy
 
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจPadvee Academy
 
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...Padvee Academy
 
ธรรมนิเทศ Dhamma Communication
ธรรมนิเทศ Dhamma Communicationธรรมนิเทศ Dhamma Communication
ธรรมนิเทศ Dhamma CommunicationPadvee Academy
 
ศาสนาบาไฮ
ศาสนาบาไฮศาสนาบาไฮ
ศาสนาบาไฮPadvee Academy
 
ประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทย
ประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทยประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทย
ประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทยPadvee Academy
 

Mehr von Padvee Academy (20)

หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
 
Onpage stucture checklist
Onpage stucture checklist Onpage stucture checklist
Onpage stucture checklist
 
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
 
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดียปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
 
ปรัชญากับวิถีชีวิต
ปรัชญากับวิถีชีวิตปรัชญากับวิถีชีวิต
ปรัชญากับวิถีชีวิต
 
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญาปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
 
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
 
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส ฮอบส์ (Thomas hobbes)
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส  ฮอบส์ (Thomas hobbes)สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส  ฮอบส์ (Thomas hobbes)
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส ฮอบส์ (Thomas hobbes)
 
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อ
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อวิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อ
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อ
 
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang tzu)
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang  tzu)ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang  tzu)
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang tzu)
 
Timeline : history of philosophy
Timeline : history of philosophyTimeline : history of philosophy
Timeline : history of philosophy
 
Timeline : A History of Eastern Philosophy
Timeline : A History of Eastern PhilosophyTimeline : A History of Eastern Philosophy
Timeline : A History of Eastern Philosophy
 
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์
 
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)
 
ศิลปะแห่งความรัก
ศิลปะแห่งความรักศิลปะแห่งความรัก
ศิลปะแห่งความรัก
 
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
 
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...
 
ธรรมนิเทศ Dhamma Communication
ธรรมนิเทศ Dhamma Communicationธรรมนิเทศ Dhamma Communication
ธรรมนิเทศ Dhamma Communication
 
ศาสนาบาไฮ
ศาสนาบาไฮศาสนาบาไฮ
ศาสนาบาไฮ
 
ประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทย
ประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทยประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทย
ประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทย
 

พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism

  • 3. ทิเบตเป็ นเหมือนดินแดนในฝัน...มีความมหัศจรรย์หลายอย่าง เป็ นอู่อารยธรรมและดินแดนแห่งพระพุทธศาสนาที่มีเอกลักษณ์ คนทิเบตถือเป็ นคนภูเขา...เทือกเขาหิมาลัยและที่ราบสูงทิเบต เกิดขึ้นเมื่อประมาณ ๔ ล้านปี มาแล้ว ชาวทิเบตซึมซับเอาศาสนาเข้าเป็ นวิถีชีวิต ชาวทิเบตเป็ นเชื้อชาติมองโกลอยด์ แบ่งเป็ นกลุ่มชนเผ่าต่างๆ มี ประชากร ๒ ล้านกว่าคน เคยมีการปกครองแบบกษัตริย์ มีประวัติศาสตร์ด้านการปกครอง ที่ชัดเจน ประมาณ พ.ศ. ๑,๐๐๐ มีเมืองลาซาเป็ นเมืองหลวง ว่าด้วย...ประเทศและประชาชนชาวทิเบต
  • 4. นับเป็ นเวลาร่วมพันปี ที่ทิเบตปกครองโดยกษัตริย์เชื้อสาย ทิเบต นับตั้งแต่ กษัตริย์ Nyathri Tsenpo ใน พ.ศ. ๔๑๖ จนกระทั่ง กุศรี ข่าน แห่งมองโกล เข้ายึดครองทิเบต ใน พ.ศ. ๒๐๘๕ และมอบอานาจการปกครองทิเบตทั้ง ด้านศาสนจักรและอาณาจักรให้แก่ โลรัง คยัตโส ดาไล ลา มะ องค์ที่ ๕ ในระหว่าง พ.ศ. ๒๑๐๖-๒๒๒๕ ภายใต้อาณัติ ของจีนในสมัยราชวงศ์หยวน เมื่อทิเบตเป็ นอิสระจากมอง โกลก็เริ่มมีปัญหากับประเทศจีน พ.ศ. ๒๔๙๓ กองทัพคอมมิวนิสต์ของจีนเริ่มรุกรานทิเบต เทนซิน กยัตโส ดาไล ลามะองค์ที่ ๑๔ ปกครองทิเบต ระหว่าง พ.ศ. ๒๔๗๘ - -๒๕๐๒ ต่อจากนั้นจึงได้ลี้ภัยไปอยู่ที่ ประเทศอินเดีย
  • 5.
  • 6.
  • 7.
  • 8.
  • 9.
  • 10. ลัทธิบอน เป็ นศาสนาของชนเผ่า zhang zhung ซึ่งเป็ น บรรพบุรุษของชาวทิเบต เป็ นศาสนาในลัทธิ “วิญญาณนิยม” (Animism) เชื่อว่ามี วิญญาณอยู่ในสรรพสิ่ง และมีเจตภูตอยู่ในธรรมชาติ และ ปรากฏการณ์ต่างๆ เกิดการปะทะสังสรรค์กันด้านศรัทธาระหว่าง พระพุทธศาสนากับลัทธิบอน ทาให้พระพุทธศาสนาแบบ ทิเบตมีลักษณะพิเศษ เหมือนเป็ นพัฒนาการขั้นที่ ๒ ของ พุทธศาสนามหายาน ศาสนาและความเชื่อดั้งเดิม – ลัทธิบอน (BON)
  • 11. ช่วงที่ ๑ >> พ.ศ. ๑๑๗๓ กษัตริย์ซองต์เซ็น กัมโป สนับสนุนให้มี การศึกษาพระพุทธศาสนาจากคัมภีร์ที่นาเข้ามาตั้งแต่สมัยกษัตริย์ ลาโธ โธรี (พ.ศ. ๙๗๘) - กษัตริย์ซองต์เซ็น กัมโป ปฏิรูปศรัทธา ในทิเบต ประกาศให้พระพุทธศาสนาเป็ นศาสนาประจาชาติ ช่วงที่ ๒ >> พ.ศ. ๑๓๐๒ ในรัชสมัยของ กษัตริย์ ธริซอง เดทเซ็น อาราธนาและเชิญนักบวชจากอินเดียมาประกาศพระพุทธศาสนาใน ทิเบต คือ ท่านปัทมสัมภวะและ ศานตรักษิตะ มีการตั้ง นิกายนิงมะ (Nyiangma) หรือ นิกายหมวกแดง พ.ศ. ๑๓๓๓ สร้างวัดแห่ง แรกในทิเบต – วัดสัมเย ***เป็ นช่วงที่พุทธศาสนาเจริญรุ่ งเรือง มาก ประวัติ ความเป็ นมา - พุทธศาสนาแบบทิเบต
  • 12. ช่วงที่ ๓ พ.ศ. ๑๕๒๔>> ท่านอตีษะ ตั้งนิกาย ยกดัม (Kadam) พ.ศ. ๑๕๔๔ >> กษัตริย์ลังดาร์ม่า ขึ้นครองราชย์ เบียดเบียนพระพุทธศาสนา พ.ศ. ๑๕๕๕ >> มาร์ปะ ตั้งนิกาย “กาคิว” (Kargyu) พ.ศ. ๑๕๗๗ >> ขอนโกนจก คยัลโป ตั้งนิกายศากยะ ช่วงที่ ๔ พ.ศ. ๑๙๑๘ >> เกิดนิกายเกลุก (Gelug) – พัฒนามา จากนิกายยกดัม ที่อาจารย์อตีษะวางรากฐานไว้แต่เดิม และจัดเป็ นรูปแบบให้ชัดเจนโดย ท่านซองขะปะ
  • 13. พ.ศ. ๒๑๘๙ >> กุศรีข่าน แห่งมองโกล มอบอานาจการ ปกครองทิเบต แก่ โลรัง กยัตโส ซึ่งเป็ นดาไล ลามะ องค์ที่ ๕ ในช่วงปลาย พ.ศ. ๒๔๙๓ พระพุทธศาสนาเจริญรุ่งเรืองมาก จานวนวัดในทิเบต และพระสงฆ์และภิกษุณี (Nun) มีมาก ที่สุด ต่อจากนั้น สถานการณ์เริ่มเสื่อมถอย กิจการภายใน ของทิเบตถูกแทรกแซงโดยอานาจการเมืองของจีน องค์ดาไล ลามะที่ ๑๔ ลี้ภัยไปที่ธรัมศาลา ประเทศอินเดีย พร้อมตั้งรัฐบาลพลัดถิ่น ประกาศเอกราชของทิเบต พุทธศาสนาในทิเบตสูญเสียบทบาทด้านอาณาจักร คงไว้แต่ บทบาททางศาสนจักร
  • 14. ตรีกาย – พระพุทธเจ้า พระโพธิสัตว์ www.philosophychicchic.com
  • 16. นิกายนิงมะ (Nyiangma) หรือ นิกายหมวกแดง นิกายนิงมะถือกาเนิดจากปฐมาจารย์ชาวอินเดียคือ คุรุปัทม สัมภวะ ท่านเป็ นโยคีผู้ทรงความรู้โดยเฉพาะในสายตันตระ ชาวทิเบตโดยทั่วไปเรียกอาจารย์คุรุปัทมสัมภวะด้วยความ ยกย่องเทิดทูนว่า“คุรุริมโปเช” ซึ่งแปลว่า ท่านอาจารย์ผู้ ประเสริฐ สร้างวัดสัมเย ซึ่งเป็ นวัดของพระพุทธศาสนาวัดแรกในทิเบต ต่อมาได้กลายเป็ นศูนย์กลางทางการศึกษาพุทธศาสนาที่ สาคัญ และเป็ นแหล่งแปลคัมภีร์สาคัญในวรรณคดีพุทธ ศาสนาเป็ นภาษาทิเบต พุทธศาสนานิกายสาคัญในทิเบต - นิกายลามะ
  • 18. นิกาย “กาคิว” (Kargyu) ก่อตั้งโดย มาร์ปะ – มาร์ปะได้เดินทางไปอินเดีย ๓ ครั้ง เนปาล ๔ ครั้ง เพื่อแสวงหาพระธรรม ได้ศึกษากับอาจารย์และโยคี จานวนมาก – ที่สาคัญคือ ท่านนาโรปะ และไมตรีปะ ได้รับคาสอนสายตันตระที่เรียกว่า สายทั้ง ๔ ได้แก่ กายมายา การสืบทอดวิญญาณ ความฝัน และแสงโอภาส รวมทั้งความ ร้อนภายใน รวมทั้ง โยคะ ๖ มาร์ปะสืบทอดสายความรู้นี้มายังทิเบต และถ่ายทอดให้ศิษย์ เอก คือ มิลาเรปะ (๑๐๔๐-๑๑๒๓) ซึ่งเป็ นโยคีสายตันตระที่เชื่อ กันว่ารู้แจ้งและประสบความสาเร็จอย่างสูงส่ง พุทธศาสนานิกายสาคัญในทิเบต - นิกายลามะ
  • 19.  ปัจจุบัน นิกายย่อยของนิกายกาคิวที่สาคัญที่ยังสืบทอดมา จนถึงทุกวันนี้ คือ “กรรมะกาคิว” มีประมุข คือ องค์กรรมาปะ (Karmapa) – องค์แรก คือ ดุสุม เค็นโป (พ.ศ. ๑๑๑๐-๑๑๙๓) เชื่อว่ามีการสืบทอด ตาแหน่งโดย การอวตาร หรือ การกลับชาติมาเกิด (Reborn) จนกระทั่งถึงองค์ที่ ๑๖ จึงทรงลี้ภัยมาอยู่ที่ ประเทศอินเดีย และได้ก่อตั้งศูนย์กลางเป็ นวัดรุมเต็ก ที่ เมืองสิกขิม และเผยแผ่ศาสนาไปยังประเทศตะวันตก โดยมี สาขาย่อยในต่างประเทศนับร้อย ปัจจุบัน อยู่ในสมัยของ องค์กรรมาปะที่ ๑๗ (17 th Karmapa)
  • 21. ใคร คือ องค์กรรมาปะ ที่ ๑๗ องค์จริง? the 17th gyalwa karmapa, orgyen trinley dorje the 17th Gyalwa Karmapa, Trinley Thaye Dorje
  • 22. นิกาย สักยะ (Sakya)  นิกายสักยะก่อตั้งโดย คอน คอนจ็อกเจลโป ผู้นาของนิกาย นี้จะสืบทอดตาแหน่งตามสายโลหิตของตระกูลคอน นับตั้งแต่ คอนคอนจ็อกเจลโปเป็ นต้นมา นิกายนี้มีรากฐาน คาสอนมาจากโยคีชาวอินเดียชื่อ“วิรูปะ” คาสอนและการปฏิบัติที่เป็ นแก่นของสักยะคือ ลัมเดร และ มรรควิถีและผล ในมรรควิถีและผลนั้นได้รวมคาสอนทั้งฝ่ าย พระสูตรและตันตระทั้งที่เปิ ดเผยและรหัสนัย โดยใน ท้ายที่สุดจะนาผู้ปฏิบัติไปสู่เหวัชระ พุทธศาสนานิกายสาคัญในทิเบต - นิกายลามะ
  • 23. นิกาย เกลุกปะ (หมวกเหลือง) ก่อตั้งโดย ท่านซองขะปะ  นิกายเกลุกเป็ นนิกายที่มุ่งเน้นในด้านความเคร่งครัดของการ ปฏิบัติพระวินัยโดยถือเป็ นพื้นฐานสาคัญสาหรับการศึกษาและการ ปฏิบัติพุทธศาสนา และยังถือว่าการศึกษาอย่างเป็ นวิชาการเป็ น พื้นฐานสาคัญของการฝึ กสมาธิ ดังนั้น จึงเน้นการสอนทั้งในด้านพระสูตรและตันตระ ซึ่งวิธีการ สอนจะเน้นออกมาทางการวิเคราะห์ โดยผ่านการฝึ กฝนตาม ตรรกวิภาษ ซึ่งโดยทั่วไปแล้วหลักสูตรการศึกษาของนิกายเกลุกจะ ครอบคลุมหัวข้อใหญ่ 5 แขนงคือ ปัญญาบารมี ปรัชญามาธยมิกะ การรับรู้ที่ถูกต้อง ปรากฏการณ์วินัย และพระวินัย พุทธศาสนานิกายสาคัญในทิเบต - นิกายลามะ
  • 24. วัดของนิกายเกลุกที่สาคัญใน ทิเบตคือ วัดกานเด็น ก่อตั้งโดย ท่านสองขะปะ ใน ค.ศ. 1409 มี มหาวิทยาลัย 2 แห่ง ดังนั้น วัด กานเด็นจึงเป็ นทั้งวัดและศูนย์ การศึกษาของพุทธศาสนา สาหรับพระภิกษุ เป็ นนิกายที่ปกครองประเทศ ทิเบตสืบต่อกันมากว่าสอง ศตวรรษ โดยมี องค์ทะไลลามะ เป็ นพระประมุขของประเทศ www.philosophychicchic.com
  • 25. พระพุทธศาสนา >> อริยสัจ ๔ – ศีล สมาธิ ปัญญา พิจารณาศูนยตา - ปรัชญาปารมิตา โพธิสัตวมรรค >> มหาปัญญา มหากรุณา มหาอุบาย มรรควิถี - วิธีปฏิบัติเพื่อรู้แจ้ง www.philosophychicchic.com
  • 26. การปฏิบัติแบบตันตระ เป็ นการฝึ กจิตเพื่อให้จิตอยู่ในสภาวะประภัสสร เพื่อเข้าถึงศูนยตา การปฏิบัติตามแบบตันตระแบ่งเป็ น ๔ ขั้น คือ - กริยาตันตระ ให้ความสาคัญกับท่ามุทราต่างๆ และการท่องมนต์ - จรรยาตันตระ ให้ความสาคัญกับท่าทางไปพร้อมๆกับการฝึ กจิต เน้นการทาสมาธิ เข้าเงียบ - โยคะตันตระ เน้นการฝึ กภายในมากกว่าท่าทางภายนอก - อนุตรโยคะตันตระ เน้นการฝึ กจิตภายในอย่างเดียว เพื่อเข้าถึง รากฐานของจิตประภัสสร โดยขับพลังหยาบของจิตออกไป ซึ่งจะทา ให้เข้าถึงศูนยตาในที่สุด มรรควิถี - วิธีปฏิบัติเพื่อรู้แจ้ง
  • 27. พุทธญาณ (อาจารย์ตรันตระชาวอินเดีย)- ในระดับปุถุชน มีบางขณะที่เราสามารถ สัมผัสกับจิตละเอียดขั้นประภัสสรได้ เช่น เวลาหลับ หาว เป็ นลม และร่วมเพศ ไม่ใช่การร่วมเพศทั่วไป >> ประสบการณ์ของความเป็ นเอกภาพกับ เพศตรงข้าม ณ จุดที่ธาตุอยู่บน กระหม่อมเกิดการหลอมละลาย และ โดยการฝึ กสมาธิกระบวนการนี้ สามารถบังคับให้กลับเป็ นตรงข้ามได้ โดยต้องระวังไม่ให้เกิดการหลั่ง (กาลจักรตันตระ) ด้วยพลังแห่งกิเลส สามารถหลอม ละลายธาตุที่อยู่ในกาย เมื่อเข้าถึง ภาวะที่ไร้มโนทัศน์ จึงสามารถควบคุม จิตให้ตั้งมั่นอยู่ในศูนยตาได้ในที่สุด
  • 28. ปัจจุบันชาวทิเบตมากกว่า ๑๐๐,๐๐๐ คน ลี้ภัยอยู่ในประเทศ ต่างๆ เช่น อินเดีย เนปาล ภูฏาน โดยมีศูนย์ใหญ่ที่ “ธรัมศาลา” รัฐหิมาจัล ประเทศอินเดีย แม้พุทธศาสนาแบบทิเบตสูญเสีย บทบาทในเชิงสถาบัน แต่บทบาท ต่อชาวทิเบตนั้น >> พุทธศาสนาอยู่ในวิถีชีวิต ศาสนายังมีอยู่ ในเชิง “ศาสนบุคคล” วิถีศาสนา - วิถีชีวิต
  • 29.