SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 40
Downloaden Sie, um offline zu lesen
บทที่ 10
การเงินการธนาคาร
การคลังรัฐบาล
อ.อรคพัฒร์ บัวลม
การเงินการธนาคาร
ค่าของเงิน
ความหมายของค่าของเงิน
ค่าของเงิน หมายถึง ความสามารถหรืออานาจซื้อ(Purchasing
Power )ของเงินแต่ละหน่วยที่จะนาออกมาเพื่อจับจ่ายใช้สอยสาหรับ
การซื้อสินค้าและบริการ (Good and Services) ในระบบเศรษฐกิจ
“ค่าของเงินเปลี่ยนแปลงเป็นส่วนสัมพันธ์โดยตรงกับอานาจซื้อ”
ค่าของเงิน สามารถแบ่งออกได้เป็น 2 ชนิด
1. ค่าของเงินภายใน(Internal Value)
2. ค่าของเงินภายนอก(External Value)
ปริมาณเงิน (MoneySupply)
ความหมายของปริมาณเงิน
1. ปริมาณเงินในความหมายแคบ (Norrow : M1)
 ปริมาณเงินทั้งหมด หมายถึง ปริมาณของเหรียญกษาปณ์ ธนบัตร
และเงินฝากกระแสรายวัน ซึ่งอยู่ในมือของมหาชน(ประชาชน และ
องค์กรธุรกิจ) ในขณะใดขณะหนึ่ง
2. ปริมาณเงินในความหมายกว้าง (Broad Money : M2)
1) ปริมาณเงินทั้งหมด หมายถึง ปริมาณของเหรียญกษาปณ์ ธนบัตร
เงินฝากกระแสรายวัน เงินฝากออมทรัพย์ และเงินฝากประจาในระบบธนาคาร
พาณิชย์ รวมกันทั้งหมดที่ออกมาใช้หมุนเวียนอยู่ในมือประชาชนในขณะใด
ขณะหนึ่ง
2) ปริมาณเงินทั้งหมด (M3) หมายถึง ปริมาณของเหรียญกษาปณ์
ธนบัตร เงินฝากกระแสรายวัน เงินฝากออมทรัพย์ และเงินฝากประจาในระบบ
ธนาคารพาณิชย์ เงินฝากประจาในสถาบันการเงินทุกประเภท เงินฝากที่เป็นเงินตรา
ต่างประเทศ และตั๋วสัญญาใช้เงินของบริษัทเงินทุนและบริษัทเงินทุนหลักทรัพย์ที่
รวมกันออกใช้ในท้องตลาดในขณะใดขณะหนึ่ง
สิ้นเดือนธันวาคม 2549 หน่วย: ล้านบาท
1 ธนบัตรและเหรียญที่ออกใช้ : 806,374.7
2 อยู่ในมือรัฐบาล 1,123.6
3 อยู่ในมือธนาคารพาณิชย์ 135,108.2
4 อยู่ในมือธุรกิจและครัวเรือน 652,729.3
5 อยู่ในมือสถาบันการเงินอื่นๆ 17,413.6
6 เงินฝากเผื่อเรียก : 457,930.3
7 อยู่ในมือรัฐบาล 135,672.2
8 อยู่ในมือธนาคารพาณิชย์ 59,468.3
9 อยู่ในมือธุรกิจและครัวเรือน 247,566.5
10 อยู่ในมือสถาบันการเงินอื่นๆ 15,223.3
11 ปริมาณเงินทั้งหมด (M1) : (4 + 5 + 9 + 10) 932,932.7
ปริมาณเงินในประเทศไทย
การหมุนเวียนของเงิน
การหมุนเวียนของเงิน คือ การที่เงินถูกใช้จ่ายเปลี่ยนมือกันไป
เรื่อยๆ การหมุนเวียนของเงินมีผลกับปริมาณเงินที่ออกใช้คือ ทา
ให้เกิดการใช้จ่ายเกินกว่าปริมาณเงินที่ออกใช้หลายเท่า ถ้ามีการ
หมุนเวียนของเงินเร็วกว่าการขยายตัวของระบบเศรษฐกิจอาจทาให้
เกิดเงินเฟ้อได้
ทฤษฎีปริมาณเงิน (TheQuantityTheoryofMoney)
ทฤษฎีปริมาณเงินถูกสร้างขึ้นมาเพื่ออธิบายถึงความสัมพันธ์
ระหว่างปริมาณเงินกับระดับราคา
ทฤษฎีปริมาณเงินในรูปแบบของสมการการแลกเปลี่ยน(The
Equation of Exchange )โดย เออวิงฟิชเชอร์ เป็นทฤษฎี
ปริมาณเงินที่ดัดแปลงมาจากทฤษฎีปริมาณเงินแบบดั้งเดิมโดย
เพิ่มอัตราหมุนเวียน และปริมาณของสินค้าในช่วงระยะเวลาหนึ่งๆ
“ยอดรายจ่ายของผู้ซื้อจะเท่ากับยอดรายรับของผู้ขายเสมอ”
MV = PT หรือ P = MV/T
โดยมี M = ปริมาณเงินหมุนเวียน
V = อัตราความเร็วในการหมุนเวียนของเงิน (คงที่)
(จานวนครั้งที่เงินแต่ละหน่วยโดยเฉลี่ยแล้วถูกนาไปใช้ในรายการแลกเปลี่ยนทุก
ชนิดในระยะเวลาใดเวลาหนึ่ง )
P = ระดับราคาสินค้า
T = ปริมาณของสินค้าซึ่งขายกันในช่วงระยะเวลาหนึ่งๆ(คงที่)
ความต้องการถือเงิน (demandformoney)
1. เพื่อใช้จ่ายประจาวัน (transaction motive)
2. เพื่อเป็นทุนสารองเมื่อมีเหตุจาเป็น(precautionary motive)
3. เพื่อเก็งกาไร (speculative motive)
ความต้องการถือเงินทั้ง 3 ประเภท จะเปลี่ยนแปลงในทาง
ตรงกันข้ามกับอัตราดอกเบี้ย และจะเปลี่ยนแปลงไปในทาง
เดียวกันกับรายได้
รูปแสดงความสัมพันธ์ระหว่างอัตราดอกเบี้ยและปริมาณเงิน
อัตราดอกเบี้ย
ปริมาณเงิน
r
r1
M M1
เส้นความต้องการถือเงิน
รายได้
ปริมาณเงิน
Y1
M M1
Y
เส้นความต้องการถือเงิน
อัตราดอกเบี้ยดุลยภาพ
เคนส์ กล่าวว่าอัตราดอกเบี้ยคุณภาพถูกกาหนดโดยอุปสงค์
อุปทานของเงิน นั่นหมายความว่าอัตราดอกเบี้ยขึ้นอยู่กับความ
ต้องการถือเงิน และปริมาณเงินที่ใช้หมุนเวียน
ปริมาณเงินที่ใช้หมุนเวียน จะมากน้อยเท่าใด ก็ขึ้นอยู่กับ
นโยบายการเงินเป็นสาคัญ
 อัตราดอกเบี้ย ขึ้นอยู่กับความต้องการถือเงิน
 ปริมาณเงินขึ้นอยู่กันนโยบายการเงิน ไม่ขึ้นอยู่กับอัตราดอกเบี้ย จึงเป็นเส้นตรงตั้ง
ฉากขนานกับอัตราดอกเบี้ย
อัตราดอกเบี้ย
ปริมาณเงิน
r2
r1
M2 M1M
M
r
อัตราดอกเบี้ยดุลยภาพ
เส้นความต้องการถือเงิน
เส้นปริมาณเงิน
ภาวะเงินเฟ้ อ (Inflation)
ภาวะเงินเฟ้อ หมายถึง การที่ระดับของราคาสินค้าและบริการ
โดยทั่วไป (General Price Level ) เพิ่มสูงขึ้นอย่างรวดเร็ว (Hign
Price ) และต่อเนื่อง
สาเหตุสาคัญที่ก่อให้เกิดภาวะเงินเฟ้ อ
1. ภาวะเงินเฟ้ อที่เกิดจากแรงดึงของอุปสงค์ (Demand Pull
Inflation ) หมายถึง ภาวะเงินเฟ้อที่เกิดขึ้น เนื่องมาจากความ
ต้องการซื้อรวม มีปริมาณมากกว่าจานวนสินค้าและบริการที่
เสนอขายรวม ซึ่งปัจจัย สาคัญที่ทาให้อุปสงค์มวลรวมหรือ
ความต้องการที่จะซื้อของประเทศมีมากจนเกินไป
2. ภาวะเงินเฟ้ อที่เกิดจากแรงผลักดันของอุปทาน (Cost Push
Infation ) หมายถึง ถาวะเงินเฟ้อที่ส่งผลกระทบทาให้ระดับของ
ราคาสินค้าและบริการโดยทั่วไปเพิ่มสูงขึ้นอย่างรวดเร็ว อัน
เนื่องมาจากต้นทุนการผลิตเพิ่มสูงขึ้น
ผลของการเกิดภาวะเงินเฟ้ อ
(1) ผลที่มีต่อระดับการผลิตและการลงทุน
(2) ผลที่มีต่อการกระจายรายได้ ได้แก่
- ลูกหนี้จะเป็นฝ่ายได้เปรียบ เพราะค่าเงินบาทลดลงไปเรื่อยๆ
- ผู้เก็งกาไร คือ ผู้ที่มีรายได้จากการทากาไรจะเป็นฝ่ายได้เปรียบในขณะที่ผู้ที่มี
รายได้ประจาจะเป็นฝ่ายเสียเปรียบ
- ผู้ที่ถือสินทรัพย์ที่มีราคาไม่แน่นอนตายตัว จะเป็นฝ่ายได้เปรียบในขณะที่ ผู้ที่มี
ถือสินทรัพย์ที่เป็นตัวเงิน เช่น เงินสด และเงินฝากประจา จะเป็นฝ่าย
เสียเปรียบ
(3) ผลกระทบต่อรัฐบาล เมื่อเกิดภาวะเงินเฟ้อขึ้นในระบบเศรษฐกิจ รัฐบาลมักจะได้รับ
ผลประโยชน์จาการมีรายได้เพิ่มสูงขึ้น
(4) ผลที่มีต่อดุลการชาระเงินของประเทศ เมื่อเกิดภาวะเงินเฟ้อขึ้นในระบบเศรษฐกิจ
อาจจะส่งผลกระทบทาให้เกิดการขาดดุลการค้าและดุลการชาระเงินของประเทศได้
ภาวะเงินฝืด (Deflation)
ภาวะเงินฝืด หมายถึง การที่ระดับราคาสินค้าและบริการ
โดยทั่วไปในระบบเศรษฐกิจ (General Price Level ) ลดลง
อย่างรวดเร็ว (Height Price ) สาหรับการลดลงของระดับราคา
สินค้าและบริการโดยทั่วไปต้องมิใช่เป็นการลดลงเพียงระยะสั้นๆ
แล้วหมดไป แต่จะต้องเป็นสถานการณ์ที่ระดับของราคาสินค้าและ
บริการโดยทั่วไปลดลงไปเรื่อยๆ อย่างต่อเนื่อง
ความหมายของธนาคารพาณิชย์
(The Meaning of Commercial Bank)
การประกอบธุรกิจประเภทรับฝากเงินที่ต้องจ่ายคืน เมื่อมีการ
ทวงถามเกิดขึ้น หรือเมื่อสิ้นระยะเวลาอันกาหนดไว้และใช้
ประโยชน์เงินนั้นในทางหนึ่งหรือหลายทาง เช่น การให้สินเชื่อ การ
ซื้อขายตั๋วแลกเงิน หรือตราสารเปลี่ยนมืออื่นใด และ การซื้อขาย
เงินปริวรรตต่างประเทศ
บริการของธนาคารพาณิชย์
ธนาคารพาณิชย์ส่วนใหญ่จะให้บริการในลักษณะต่าง ๆ
ดังต่อไปนี้ คือ
1. การเบิกเงินบัญชี
2. การให้กู้ยืม
- การให้กู้ยืมแก่ผู้ประกอบธุรกิจ
- การให้กู้ยืมแก่ผู้บริโภค
3. การรับซื้อลดเช็ค หรือตั๋วเงิน หรือตราสารเปลี่ยนมืออื่นๆ
4. การรับอาวัลตั๋วเงิน หรือการรับรองตั๋วเงิน หรือการออกเล็ตเตอร์ออฟ
เครดิต หรือการค้าประกัน
5. การโอนเงินและการเรียกเก็บเงิน
6. การรับฝากเงินทั้งระยะสั้นและระยะยาว
7. การซื้อขายเงินปริวรรตต่างประเทศ
8. บริการอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจธนาคารพาณิชย์ เช่น การออกเครดิต
การ์ด การออกเช็คของขวัญ การบริการให้เช่าตู้นิรภัย เป็นต้น
หน้าที่และบทบาทของธนาคารพาณิชย์ต่อปริมาณเงิน
หน้าที่และความรับผิดชอบของธนาคารพาณิชย์ (The
Function and Responsibility of Commercial Bank ) คือ
การสร้างและการทาลายเงินฝาก การควบคุมปริมาณเงิน
หมุนเวียนที่อยู่ในระบบเศรษฐกิจและการรักษาค่าของเงิน โดยที่
ธนาคารพาณิชย์จะทาหน้าที่เกี่ยวกับการสร้างและการทาลายเงิน
ฝาก ส่วนธนาคารกลางก็จะทาหน้าที่เกี่ยวกับการควบคุมปริมาณ
เงินและการรักษาค่าของเงิน
การรับฝากเงิน
คือ ธนาคารพาณิชย์มีหน้าที่รับฝากเงินจากประชากรโดยทั่วไปโดย
ผู้ฝากสามารถที่จะถอนเงินที่ฝากนั้นคืน ได้ตามกาหนดเวลาที่ตกลงกัน
ไว้ และต้องจ่ายดอกเบี้ยเป็นค่าตอบแทนให้แก่ผู้ฝาก ทั้งฝากเงิน
ประเภทออมทรัพย์ เงินฝากประจา ยกเว้นเงินฝากประเภทกระแส
รายวันเพียงอย่างเดียว แบ่งออกได้3 ประเภทคือ
1. เงินฝากเผื่อเรียกหรือฝากระแสรายวัน
2. เงินฝากออมทรัพย์
3. เงินฝากประจาหรือเงินฝากที่ต้องจ่ายคืนเมื่อสิ้นระยะเวลา
การจ่ายเงิน
คือ การจ่ายเงินให้แก่ผู้ฝากเงินไว้กับธนาคารพาณิชย์เพียง
อย่างเดียวเท่านั้น โดยจะมิได้รวมถึงการจ่ายเงินเพื่อการให้กู้ยืม
หรือเพื่อลงทุนในหลักทรัพย์แต่ประการใด
การให้กู้ยืมเงินและการลงทุน
คือ เมื่อธนาคารพาณิชย์ระดมเงินทุนและเงินออมได้แล้ว
ธนาคารพาณิชย์ก็จะนาเอาเงินดังกล่าวไปให้กู้ยืมหรือลงทุนใน
หลักทรัพย์ ทั้งนี้เพื่อก่อให้เกิดการลงทุนและการจ้างแรงงานอีก
ต่อไปในอนาคต แบ่งได้3 ลักษณะ คือ
(1) การเบิกเงินเกินบัญชี (Overdrafts or O/D )
(2) การกู้ยืมทั่วๆ ไป (Loans )
(3) การซื้อลดตั๋วเงิน
(1) การเบิกเงินเกินบัญชี (Overdrafts or O/D ) คือ ธนาคารจะให้
กู้ยืมก็ต่อเมื่อลูกค้าจะต้องมีบัญชีเงินฝากประเภทกระแสรายวันอยู่กับ
ธนาคาร โดยจะอนุญาตให้ลูกค้าเบิกเงินหรือสั่งจ่ายเงินได้เกินกว่า
จานวนเงินฝาก ในบัญชีกระแสรายวันของตนตามวงเงินที่ได้ทาตาม
ความตกลงกันไว้กับธนาคารล่วงหน้า
(2) การกู้ยืมทั่วๆ ไป (Loans ) การกู้ยืมประเภทต่างๆ เช่น การกู้เงิน
เพื่อการพาณิชย์ การกู้เงินเพื่อการอุตสาหกรรม และการกู้เงินเพื่อการ
เกษตรกรรม และการกู้เงินเพื่อการอุปโภคบริโภค
(3) การซื้อลดตั๋วเงิน ตั๋วเงิน คือ ใบสัญญาที่ระบุว่าผู้ออกตั๋วจะใช้เงิน
ให้แก่ผู้รับตั๋วเงินหรือผู้ถือตั๋วเงิน เมื่อครบกาหนดระยะเวลาที่ระบุให้
ตั๋วเงิน
การให้บริการทางด้านการเงิน
ธนาคารพาณิชย์จะทาหน้าที่เกี่ยวกับการให้บริการทางด้าน
การเงินทั้งในประเทศและต่างประเทศ มีรายละเอียดดังต่อไปนี้
(1) การโอนเงิน
(2) การเรียกเก็บเงินตามตราสาร
(3) การรับรองและการค้าประกัน
(4) การลงทุนในหลักทรัพย์
(5) ธุรกิจต่างประเทศ
ความรับผิดชอบของธนาคารพาณิชย์ต่อปริมาณเงิน
( The Responsibility of Commercial Banks byMoney Supply)
 ความรับผิดชอบต่อลูกค้า ได้แก่ผู้ฝากเงิน และผู้กู้ยืมเงิน ธนาคาร
พาณิชย์จะต้องรับผิดชอบต่อลูกค้าในด้านความมั่นคงและความ
ปลอดภัยเกี่ยวกับการเงินและให้บริการในรูปต่างๆ
 ความรับผิดชอบต่อผู้ถือหุ้นและพนักงาน เมื่อธนาคารพาณิชย์ใน
ประเทศไทยเป็นบริษัทมหาชน การที่บุคคลเข้ามาซื้อหุ้นของธนาคาร
พาณิชย์ก็เพื่อหวังผลประโยชน์
 ความรับผิดชอบต่อระบบเศรษฐกิจของประเทศ จะมีความรับผิดชอบ
ต่อการขยายหรอการลดเครดิตด้วยการดาเนินกิจกรรมต่างๆ ทางด้าน
เศรษฐกิจเพื่อให้สอดคล้องกับนโยบายการเงินของประเทศและ
เหมาะสมกับสถานการณ์ทางด้านเศรษฐกิจของประเทศ
 ความรับผิดชอบต่อสาธารณชน ความรับผิดชอบของธนาคารพาณิชย์ที่
พึงควรมีต่อสังคมก็จะต้องเป็นความรับผิดชอบในแง่ที่ ก่อให้เกิด
ประโยชน์ต่อส่วนรวม
บทบาทของธนาคารพาณิชย์ต่อปริมาณเงิน (The Roles of
Commercial Band by Money Supply)
 การรับฝากเงิน เมื่อธนาคารพาณิชย์เป็นแหล่งระดมเงินออมที่สาคัญ
ที่สุดในระบบเศรษฐกิจ โดยที่แหล่งสะสมเงินออกจานวนมหาศาล
ดังกล่าวกล่าวจะอยู่ในรูปของเงินฝากประเภทกระแสรายวัน หรือเงิน
ฝากประเภทออมทรัพย์
 การให้กู้ยืมเงิน ธนาคารพาณิชย์ในประเทศไทยนับเป็นแหล่งเงินกู้ราย
ใหญ่ที่สุดของประเทศ และเมื่อธนาคารพาณิชย์สามารถที่จะระดม
เงินทุนและเงินออกได้แล้ว ทั้งนี้เพื่อทาให้เกิดการลงทุนและการจ้าง
แรงงานต่อไป
การคลังรัฐบาล
การคลังสาธารณะ
1. รายได้ของรัฐบาล
2. รายจ่ายของรัฐบาล
3. หนี้สาธารณะ
4. งบประมาณแผ่นดิน
5. นโยบายการคลัง
รายได้ของรัฐบาล
1. รายได้จากภาษีอากร
2. รายได้ที่มิใช่ภาษีอากร
3. รายได้จากการกู้
4. การพิมพ์ธนบัตร
รายจ่ายของรัฐบาล
1. ด้านเศรษฐกิจ
2. ด้านการศึกษา
3. ด้านการป้องกันประเทศ
4. ด้านสาธารณูปการ
5. ด้านการรักษาความสงบภายใน
6. ด้านการบริหารทั่วไป
7. ด้านชาระหนี้เงินกู้
8. ด้านอื่นๆ
หนี้สาธารณะ
วัตถุประสงค์ของการกู้ยืม
• เพื่อใช้จ่ายในโครงการต่างๆ
• เพราะรายได้น้อยกว่าค่าใช้จ่าย
• เพื่อรักษาดุลงบประมาณ
• เพื่อใช้จ่ายเมื่อจาเป็นเร่งด่วน
ประเภทของการกู้เงิน
1. แบ่งตามระยะเวลาการกู้
 กู้ระยะสั้น
 กู้ระยะปานกลาง
 กู้ระยะยาว
2. แบ่งตามแหล่งเงินกู้
 กู้ภายในประเทศ
 กู้จากต่างประเทศ
งบประมาณแผ่นดิน
งบประมาณแผ่นดิน คือ แผนการใช้เงินจองรัฐบาลที่จัดทาขึ้น
เพื่อแสดงรายรับรายจ่ายของโครงการต่างๆ ที่กาหนดไว้ในปีถัดไป
งบประมาณมีกาหนดเวลา 12 เดือน หรือ 1 ปี โดย
งบประมาณที่จัดทาขึ้นในแต่ละปีงบประมาณเรียกว่า งบประมาณ
ประจาปี (annual budget)
ลักษณะของงบประมาณที่ดี
1. เป็นศูนย์รวมของเงินแผ่นดิน
2. งบประมาณถือหลักพัฒนา
3. งบประมาณถือหลักประหยัด
4. งบประมาณมีระยะเวลาที่เหมาะสม
นโยบายงบประมาณ
1. งบประมาณขาดดุล
2. งบประมาณเกินดุล
3. งบประมาณสมดุล
นโยบายการคลัง
นโยบายที่รัฐบาลใช้เพื่อปรับให้เศรษฐกิจมีเสถียรภาพ โดยใช้
นโยบายภาษีอากร นโยบายรายจ่ายของรัฐ และนโยบายหนี้สาธารณะ
อย่างใดอย่างหนึ่งหรือ ทั้งสามอย่างประกอบกัน ซึ่งจะดาเนินนโยบาย
ต่างกันแล้วแต่สภาวะเศรษฐกิจในขณะนั้น
1. ในภาวะเงินเฟ้อ คือ ใช้นโยบายเกินดุล โดยเก็บภาษีเพิ่ม เพื่อลด
อุปสงค์ ลดรายจ่ายรัฐบาล
2. ในภาวะเงินฝืด คือ ใช้นโยบายขาดดุล เพื่อเพิ่มการลงทุนให้
สูงขึ้น ลดภาษี เพื่อเพิ่มอุปสงค์รวมกระตุ้นให้มีการขายการผลิต

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

โครงสร้างตลาด
โครงสร้างตลาดโครงสร้างตลาด
โครงสร้างตลาดtumetr1
 
Macro Economics c3 องค์ประกอบรายได้ประชาชาติ
Macro Economics c3 องค์ประกอบรายได้ประชาชาติMacro Economics c3 องค์ประกอบรายได้ประชาชาติ
Macro Economics c3 องค์ประกอบรายได้ประชาชาติOrnkapat Bualom
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจน้ำพริก
ตัวอย่างแผนธุรกิจน้ำพริกตัวอย่างแผนธุรกิจน้ำพริก
ตัวอย่างแผนธุรกิจน้ำพริกThamonwan Theerabunchorn
 
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพ
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพบทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพ
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพOrnkapat Bualom
 
Learning force p5
Learning force p5Learning force p5
Learning force p5Ornrutai
 
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสารความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสารdalarat
 
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีJariya Jaiyot
 
Slชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
SlชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะSlชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
Slชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะkrupornpana55
 
Macro Economics c6 นโยบายการคลัง
Macro Economics c6 นโยบายการคลังMacro Economics c6 นโยบายการคลัง
Macro Economics c6 นโยบายการคลังOrnkapat Bualom
 
หน่วยที่ 9รายได้ประชาชาติ
หน่วยที่ 9รายได้ประชาชาติหน่วยที่ 9รายได้ประชาชาติ
หน่วยที่ 9รายได้ประชาชาติBangon Suyana
 
Chapter5 ทฤษฎีการผลิต
Chapter5 ทฤษฎีการผลิตChapter5 ทฤษฎีการผลิต
Chapter5 ทฤษฎีการผลิตPattapong Promchai
 
บทที่ 5 พอลิเมอร์
บทที่ 5 พอลิเมอร์บทที่ 5 พอลิเมอร์
บทที่ 5 พอลิเมอร์Jariya Jaiyot
 
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้Sutthiluck Kaewboonrurn
 
หน่วยย่อยที่ 2 แรงกิริยาและแรงปฏิกิริยา
หน่วยย่อยที่ 2  แรงกิริยาและแรงปฏิกิริยาหน่วยย่อยที่ 2  แรงกิริยาและแรงปฏิกิริยา
หน่วยย่อยที่ 2 แรงกิริยาและแรงปฏิกิริยาkrupornpana55
 
แบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆแบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆNaphachol Aon
 
ทฤษฏีการค้าระหว่างประเทศ
ทฤษฏีการค้าระหว่างประเทศทฤษฏีการค้าระหว่างประเทศ
ทฤษฏีการค้าระหว่างประเทศtumetr
 
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์krupornpana55
 
Macro Economics c5 นโยบายการเงิน
Macro Economics c5 นโยบายการเงินMacro Economics c5 นโยบายการเงิน
Macro Economics c5 นโยบายการเงินOrnkapat Bualom
 

Was ist angesagt? (20)

โครงสร้างตลาด
โครงสร้างตลาดโครงสร้างตลาด
โครงสร้างตลาด
 
Macro Economics c3 องค์ประกอบรายได้ประชาชาติ
Macro Economics c3 องค์ประกอบรายได้ประชาชาติMacro Economics c3 องค์ประกอบรายได้ประชาชาติ
Macro Economics c3 องค์ประกอบรายได้ประชาชาติ
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจน้ำพริก
ตัวอย่างแผนธุรกิจน้ำพริกตัวอย่างแผนธุรกิจน้ำพริก
ตัวอย่างแผนธุรกิจน้ำพริก
 
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพ
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพบทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพ
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพ
 
Learning force p5
Learning force p5Learning force p5
Learning force p5
 
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสารความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
 
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
Slชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
SlชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะSlชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
Slชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
 
Macro Economics c6 นโยบายการคลัง
Macro Economics c6 นโยบายการคลังMacro Economics c6 นโยบายการคลัง
Macro Economics c6 นโยบายการคลัง
 
หน่วยที่ 9รายได้ประชาชาติ
หน่วยที่ 9รายได้ประชาชาติหน่วยที่ 9รายได้ประชาชาติ
หน่วยที่ 9รายได้ประชาชาติ
 
การเมืองการปกครองของไทย
การเมืองการปกครองของไทยการเมืองการปกครองของไทย
การเมืองการปกครองของไทย
 
Chapter5 ทฤษฎีการผลิต
Chapter5 ทฤษฎีการผลิตChapter5 ทฤษฎีการผลิต
Chapter5 ทฤษฎีการผลิต
 
สารบัญ.
สารบัญ.สารบัญ.
สารบัญ.
 
บทที่ 5 พอลิเมอร์
บทที่ 5 พอลิเมอร์บทที่ 5 พอลิเมอร์
บทที่ 5 พอลิเมอร์
 
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
 
หน่วยย่อยที่ 2 แรงกิริยาและแรงปฏิกิริยา
หน่วยย่อยที่ 2  แรงกิริยาและแรงปฏิกิริยาหน่วยย่อยที่ 2  แรงกิริยาและแรงปฏิกิริยา
หน่วยย่อยที่ 2 แรงกิริยาและแรงปฏิกิริยา
 
แบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆแบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆ
 
ทฤษฏีการค้าระหว่างประเทศ
ทฤษฏีการค้าระหว่างประเทศทฤษฏีการค้าระหว่างประเทศ
ทฤษฏีการค้าระหว่างประเทศ
 
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
 
Macro Economics c5 นโยบายการเงิน
Macro Economics c5 นโยบายการเงินMacro Economics c5 นโยบายการเงิน
Macro Economics c5 นโยบายการเงิน
 

Ähnlich wie บทที่ 10 การเงินการธนาคาร การคลังรัฐบาล

International Finance Doc
International Finance DocInternational Finance Doc
International Finance Docmaovkh
 
8)หน่วยที่ 8 การเงิน การธนาคารppt
8)หน่วยที่ 8 การเงิน การธนาคารppt8)หน่วยที่ 8 การเงิน การธนาคารppt
8)หน่วยที่ 8 การเงิน การธนาคารpptapple_clubx
 
บบที่8
บบที่8บบที่8
บบที่8praphol
 
งานนำเสนออ.สุวรัส
งานนำเสนออ.สุวรัสงานนำเสนออ.สุวรัส
งานนำเสนออ.สุวรัสmaysupaporn
 
งานนำเสนออ.สุวรัส
งานนำเสนออ.สุวรัสงานนำเสนออ.สุวรัส
งานนำเสนออ.สุวรัสmaysupaporn
 
งานนำเสนออ.สุวรัส
งานนำเสนออ.สุวรัสงานนำเสนออ.สุวรัส
งานนำเสนออ.สุวรัสขอ พรดาว
 
งานนำเสนอbm702
งานนำเสนอbm702งานนำเสนอbm702
งานนำเสนอbm702Tanapon_V
 
การพํมนาเศรษฐกิจและเศรษฐกิจระหว่างประเทศ
การพํมนาเศรษฐกิจและเศรษฐกิจระหว่างประเทศการพํมนาเศรษฐกิจและเศรษฐกิจระหว่างประเทศ
การพํมนาเศรษฐกิจและเศรษฐกิจระหว่างประเทศPrincess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
การค้าระหว่างประเทศ
การค้าระหว่างประเทศการค้าระหว่างประเทศ
การค้าระหว่างประเทศthnaporn999
 
เศรษฐกิจระหว่างประเทศ
เศรษฐกิจระหว่างประเทศเศรษฐกิจระหว่างประเทศ
เศรษฐกิจระหว่างประเทศthnaporn999
 
Interfinancespecial
InterfinancespecialInterfinancespecial
Interfinancespecialmaovkh
 

Ähnlich wie บทที่ 10 การเงินการธนาคาร การคลังรัฐบาล (13)

การเงิน การธนาคาร การคลัง
การเงิน การธนาคาร การคลังการเงิน การธนาคาร การคลัง
การเงิน การธนาคาร การคลัง
 
International Finance Doc
International Finance DocInternational Finance Doc
International Finance Doc
 
8)หน่วยที่ 8 การเงิน การธนาคารppt
8)หน่วยที่ 8 การเงิน การธนาคารppt8)หน่วยที่ 8 การเงิน การธนาคารppt
8)หน่วยที่ 8 การเงิน การธนาคารppt
 
บบที่8
บบที่8บบที่8
บบที่8
 
งานนำเสนออ.สุวรัส
งานนำเสนออ.สุวรัสงานนำเสนออ.สุวรัส
งานนำเสนออ.สุวรัส
 
งานนำเสนออ.สุวรัส
งานนำเสนออ.สุวรัสงานนำเสนออ.สุวรัส
งานนำเสนออ.สุวรัส
 
งานนำเสนออ.สุวรัส
งานนำเสนออ.สุวรัสงานนำเสนออ.สุวรัส
งานนำเสนออ.สุวรัส
 
งานนำเสนอbm702
งานนำเสนอbm702งานนำเสนอbm702
งานนำเสนอbm702
 
Economy ppt-05
Economy ppt-05Economy ppt-05
Economy ppt-05
 
การพํมนาเศรษฐกิจและเศรษฐกิจระหว่างประเทศ
การพํมนาเศรษฐกิจและเศรษฐกิจระหว่างประเทศการพํมนาเศรษฐกิจและเศรษฐกิจระหว่างประเทศ
การพํมนาเศรษฐกิจและเศรษฐกิจระหว่างประเทศ
 
การค้าระหว่างประเทศ
การค้าระหว่างประเทศการค้าระหว่างประเทศ
การค้าระหว่างประเทศ
 
เศรษฐกิจระหว่างประเทศ
เศรษฐกิจระหว่างประเทศเศรษฐกิจระหว่างประเทศ
เศรษฐกิจระหว่างประเทศ
 
Interfinancespecial
InterfinancespecialInterfinancespecial
Interfinancespecial
 

Mehr von Ornkapat Bualom

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน Ornkapat Bualom
 
Macro Economics c8 การจ้างงานและวัฏจักรเศรษฐกิจ
Macro  Economics c8 การจ้างงานและวัฏจักรเศรษฐกิจMacro  Economics c8 การจ้างงานและวัฏจักรเศรษฐกิจ
Macro Economics c8 การจ้างงานและวัฏจักรเศรษฐกิจOrnkapat Bualom
 
Macro Economics c7 การค้าและการเงินระหว่างประเทศ
Macro Economics c7 การค้าและการเงินระหว่างประเทศMacro Economics c7 การค้าและการเงินระหว่างประเทศ
Macro Economics c7 การค้าและการเงินระหว่างประเทศOrnkapat Bualom
 
Macro Economics c4 การกำหนดรายได้ประชาชาติดุลยภาพและตัวทวีคูณ
Macro Economics c4 การกำหนดรายได้ประชาชาติดุลยภาพและตัวทวีคูณMacro Economics c4 การกำหนดรายได้ประชาชาติดุลยภาพและตัวทวีคูณ
Macro Economics c4 การกำหนดรายได้ประชาชาติดุลยภาพและตัวทวีคูณOrnkapat Bualom
 
Macro Economics C1 ความรู้เบื้องต้นเศรษฐศาสตร์
Macro Economics C1 ความรู้เบื้องต้นเศรษฐศาสตร์Macro Economics C1 ความรู้เบื้องต้นเศรษฐศาสตร์
Macro Economics C1 ความรู้เบื้องต้นเศรษฐศาสตร์Ornkapat Bualom
 
บทที่ 4 อุปสงค์และอุปทานในทางปฏิบัติ
บทที่ 4 อุปสงค์และอุปทานในทางปฏิบัติบทที่ 4 อุปสงค์และอุปทานในทางปฏิบัติ
บทที่ 4 อุปสงค์และอุปทานในทางปฏิบัติOrnkapat Bualom
 
บทที่ 3 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์อุปทาน
บทที่ 3 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์อุปทานบทที่ 3 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์อุปทาน
บทที่ 3 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์อุปทานOrnkapat Bualom
 
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นทางเศรษฐศาสตร์
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นทางเศรษฐศาสตร์บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นทางเศรษฐศาสตร์
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นทางเศรษฐศาสตร์Ornkapat Bualom
 

Mehr von Ornkapat Bualom (8)

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน
 
Macro Economics c8 การจ้างงานและวัฏจักรเศรษฐกิจ
Macro  Economics c8 การจ้างงานและวัฏจักรเศรษฐกิจMacro  Economics c8 การจ้างงานและวัฏจักรเศรษฐกิจ
Macro Economics c8 การจ้างงานและวัฏจักรเศรษฐกิจ
 
Macro Economics c7 การค้าและการเงินระหว่างประเทศ
Macro Economics c7 การค้าและการเงินระหว่างประเทศMacro Economics c7 การค้าและการเงินระหว่างประเทศ
Macro Economics c7 การค้าและการเงินระหว่างประเทศ
 
Macro Economics c4 การกำหนดรายได้ประชาชาติดุลยภาพและตัวทวีคูณ
Macro Economics c4 การกำหนดรายได้ประชาชาติดุลยภาพและตัวทวีคูณMacro Economics c4 การกำหนดรายได้ประชาชาติดุลยภาพและตัวทวีคูณ
Macro Economics c4 การกำหนดรายได้ประชาชาติดุลยภาพและตัวทวีคูณ
 
Macro Economics C1 ความรู้เบื้องต้นเศรษฐศาสตร์
Macro Economics C1 ความรู้เบื้องต้นเศรษฐศาสตร์Macro Economics C1 ความรู้เบื้องต้นเศรษฐศาสตร์
Macro Economics C1 ความรู้เบื้องต้นเศรษฐศาสตร์
 
บทที่ 4 อุปสงค์และอุปทานในทางปฏิบัติ
บทที่ 4 อุปสงค์และอุปทานในทางปฏิบัติบทที่ 4 อุปสงค์และอุปทานในทางปฏิบัติ
บทที่ 4 อุปสงค์และอุปทานในทางปฏิบัติ
 
บทที่ 3 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์อุปทาน
บทที่ 3 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์อุปทานบทที่ 3 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์อุปทาน
บทที่ 3 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์อุปทาน
 
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นทางเศรษฐศาสตร์
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นทางเศรษฐศาสตร์บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นทางเศรษฐศาสตร์
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นทางเศรษฐศาสตร์
 

บทที่ 10 การเงินการธนาคาร การคลังรัฐบาล