SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 28
Meditation. สมาธิสถาน
ความเป็นมาโครงการ Angkor  Wat ศาสนสถานของชาวขอมที่มีการจัดวางองค์ประกอบทางสถาปัตยกรรมให้สอดคล้องกับแนวคิดตามความเชื่อทางจิตวิญญาณในเรื่องของความไร้ตัวตน
สถิติผู้นับถือศาสนาต่างๆในโลก 1) Christians = 1,999,563,838 = 33.0%
2) Muslims = 1,188,242,789 = 19.6%
3) Hindus = 811,336,265 = 13.4%
4) Nonreligious = 768,158,954 = 12.7%
5) Chinese folk-religionists = 384,806,732 = 6.4%
6) Buddhists = 359,981,757 = 5.9%
7) Ethnoreligionists = 228,366,515 = 3.8%
8) Atheists = 150,089,508 = 2.5%
9) New-Religionists = 102,356,297 = 1.7%
10) Sikhs = 23,258,412 = 0.4%
11) Jews = 14,434,039 = 0.2%
12) Spiritists = 12,333,735 = 0.2%
13) Baha'is = 7,106,420 = 0.1%
14) Confusianists = 6,298,597 = 0.1%
15) Jains = 4,217,979 = 0.1%
16) Shintoists = 2,761,845 = 0.0%
17) Taoists = 2,654,514 = 0.0%
18) Zoroastrians = 2,543,950 = 0.0%
19) Mandeans = 38,977 = 0.0%
20) Other religionists = 1,028,519 = 0.0%
 แนวทางการนำศาสนาหลักของชาตมาิเป็นรูปแบบของการปฏิบัติสมาธิ  และเป็นทิศทางในโครงการ
จากประชากรทั้งหมดในประเทศไทย 62,308,887 คน (ข้อมูลกรมการปกครองณวันที่ 31 มีนาคม 2546) มีผู้นับถือศาสนาพุทธทั้งสิ้น 57,324,600 คน (ที่มา : สำมะโนประชากรและเคหะพ.ศ. 2543	 พุทธ ศาสนาอื่น
วิปัสสนา : การคิดอย่างชาญฉลาดมีปัญญาเกี่ยวกับสังขารธรรมอย่างละเอียดโดยใช้ลักษณะต่างๆนานา
พื้นฐานที่จะต้องมีการปฎิบัติตามคัมภีร์ 1. อุคคหะการเรียนพระธรรม 2. ปริปุจฉาการสอบสวนทวนถามทำความ เข้าใจในอรรถะของพระธรรม ให้ชัดเจน 3. ธาตาการทรงจำพระธรรมได้ 4. วจสาปริจิตาสวดท่องจนมีความคล่องแคล่ว ชำนาญคล่องปาก 5. มนสานุเปกขิตาใคร่ครวญค้นคิดตรวจสอบ จนขึ้นใจเข้าใจ 6. ปฏิปัตติหมั่นเอาพระธรรมมาใช้ใน ชีวิตจนสามารถจะเห็น อะไรๆเป็นพระธรรมได้ โดยเฉพาะการปฏิบัติศีล และสมาธิที่ต้องใช้จนระงับ กิเลสได้ถึงระดับหนึ่ง จึงจะทำวิปัสสนาได้ - การเรียนปรัชญาคำสอนจากนักบวช ,[object Object]
 การนำมาใช้ผ่านกิจกรรมผู้ไม่ปฏิบัติตามขั้นตอนนี้ถือเป็น “โมฆบุรุษ” :  คนที่ใช้การไม่ได้คนที่เอาดีไม่ได้คนที่พลาดจากประโยชน์ต่างๆเพราะมัวประมาทอยู่บ้างประพฤติทุจริตบ้างเกียจคร้านในกิจการต่างๆ
ประเภทสมาธิ :  สัมมาสมาธิ    								มิจฉาสมาธิ ฐานสมาธิอยู่ภายในกาย (น้อมจิตเข้าไปอยู่ในกายเราเอง)   ทำลายกิเลสให้เบาบางลง   มีจุดหมายที่การหลุดพ้นเข้าใจธรรมชาติตามความเป็นจริงตนเอง    ไม่ใช่เพื่อสนองความต้องการของ ฐานสมาธิตั้งไว้ภายนอกกาย กำหนดจดจ่ออยู่กับสิ่งที่ทำเหมือนกัน    ไม่ใช่รูปแบบที่จะนำไปสู่ความหลุดพ้น
บุคคลทั่วไป ความมีชีวิตเป็นสุข นักบวช ความหลุดพ้น นิพพาน
Program.
ขอบเขตงาน 1. ส่วนทำกิจกรรมวิปัสสนา 	ห้องประชุมวิปัสสนาใหญ่ 	ห้องวิปัสสนาย่อย 	ลานอเนกประสงค์ 2. ส่วนของที่พักอาศัย 	ที่พักผู้เข้าใช้โครงการแยกเป็น   ชาย - หญิง 	ที่พักบุคลากรเป็น   ชาย - หญิง   3. ส่วนรองรับผู้มาทำวิปัสสนา 	โถงต้อนรับ 	ห้องควบคุมระบบอาคาร 4. ส่วนของสำนักงานบริหาร 	ฝ่ายธุรการ 	ฝ่ายการเงินและบัญชี 	ฝ่ายอาคารสถานที่ 5.  ส่วนบริการสาธารณะ โถงทางเข้า 	พื้นที่อเนกประสงค์ 	พื้นที่ทานอาหาร 	ห้องสมุด 6. ส่วนของการสัญจรท่าเรือ
ประเภทและพฤติกรรมผู้ใช้โครงการ ผู้ใช้โครงการ								เจ้าหน้าที่ ผู้เข้ากิจกรรมวิปัสสนา แบ่งตาม  		เพศ 				ชาย - หญิง จำนวนผู้มาใช้โครงการ 				คนเดียว 				ครอบครัว 				กลุ่มสัมนา ฝ่ายบริหาร ฝ่ายฝึกสอนวิปัสสนา ฝ่ายบริการสาธารณะ ฝ่ายเทคนิคและงานระบบ ฝ่ายอาคารสถานที่
Site. เงียบ   สงบ   ห่างไกลแหล่งก่อเลส คลื่นลมสงบ ภาคตะวันออก ภาคใต้ฝั่งตะวันตก  		 ทะเลแหวก
 500   150  650 m. ทะเลแหวก:  เกาะสามเกะ   1. เกาะไก่  	2. เกาะหม้อ    3.เกาะทับ สภาพอากาศพายุสงบ :  พฤศจิกายนถึงต้นพฤษภาคม
Activity. การปฏิบัติธรรมอานาปานสติภาวนา - เรียนรู้วิธีการภาวนาแบบอานาปานสติตลอดระยะเวลาการเข้าร่วมกิจกรรม - เรียนรู้เรื่องปฏิจจสมุปบาท, อุปกิเลส 16 , นิวรณ์ 5, อริยมรรคฯลฯ ,[object Object]
เจริญสมาธิในทุกอิริยาบทยืนเดินนั่งนอนและโยคะสมาธิ* ผู้ปฏิบัติธรรมที่เข้าร่วมกิจกรรมทุกท่านจะร่วมสมาทานศีล 8 ในเย็นวันศุกร์และรักษาศีล 8 ตลอดระยะเวลาการปฏิบัติ
การปฏิบัติธรรมอานาปานสติภาวนา  * ผู้ปฏิบัติธรรมที่เข้าร่วมกิจกรรมทุกท่านจะร่วมสมาทานศีล 8 ในเย็นวันศุกร์และรักษาศีล 8 ตลอดระยะเวลาการปฏิบัติ ศีล 8  1. เว้นจากทำลายชีวิต 2. เว้นจากถือเอาของที่เขามิได้ให้ 3. เว้นจากประพฤติผิดพรหมจรรย์ คือเว้นจากร่วมประเวณี 4. เว้นจากพูดเท็จ 5. เว้นจากของเมา 6. เว้นจากบริโภคอาหารในเวลาวิกาล คือเที่ยงแล้วไป 7. เว้นจากฟ้อนรำขับร้องบรรเลงดนตรี ดูการเล่นอันเป็นข้าศึกต่อพรหมจรรย์ การทัดทรงดอกไม้ของหอมและเคลื่อง ลูบไล้ซึ่งใช้เป็นเครื่องประดับตกแต่ง 8. เว้นจากที่นอนอันสูงใหญ่หรูหรา ฟุ่มเฟือย การบริโภคอาหาร  :  งดเว้นเนื้อสัตว์และเครื่องดื่มมีแอลกอฮอร์   หลังจากเที่ยงไม่มีการบริโภคอาหาร การนอน:  สถานที่นอนแบ่งแยกชาย  หญิง  ลักษณะที่นอนเรียบง่ายไม่หรูหรา พื้นที่นันทนาการ  :  ไม่มีพื้นที่สำหรับการแสดงดนตรีหรือกิจกรรมอื่นที่จะผิดต่อพรหมจรรย์ การแต่งกาย  :  เรียบง่าย  เหมาะสมกับการวิปัสสนา
วันแรกของการเข้าอบรม 14.00 -16.00	 	 ลงทะเบียน 16.00 			โยคะสมาธิ 17.30 			ปฐมนิเทศและทำวัตรเย็น 19.00 			สมาทานศีล 8/ส่งอารมณ์กรรมฐาน 21.00 			ทำความเพียรโดยส่วนตัว พื้นที่ต้อนรับ/ ลงทะเบียน ห้องประชุมสมาธิ ทำโยคะ 	ปฏิบัติสมาธิ 	บรรยาย 	สวดมนต์ พื้นที่อเนกประสงค์ภายใน/ภายนอก ห้องทานอาหาร ห้องพัก ห้องอัดรายการวิทยุ วิถีชีวิตของชุมชน 04.00 	ระฆังแห่งสติ 05.00 	ทำวัตรเช้า 06.00 	ธรรมรับอรุณโยคะ-สมาธิ 08.00 	พิจารณาอาหารเช้า 09.00 	ร่วมฟังการจัดรายการวิทยุ ‘สาวิกา’ ออกอากาศสด 10.00 	ภาวนากับบทเพลง/ธรรมบรรยาย 11.30 	พิจารณาอาหารกลางวัน 12.00 	ว่างอยู่ในปัจจุบันขณะ 13.30 	สมาธิภาวนายืนเดินนั่งนอนและตอบคำถาม 16.00 	น้ำปานะ 18.00 	ทำวัตรเย็น 19.00 	ธรรมบรรยาย/สมาธิภาวนา 21.00 	ทำความเพียรโดยส่วนตัว
วันสุดท้ายของการเข้าอบรม 04.00 	ระฆังแห่งสติ 05.00 	ทำวัตรเช้า 06.00 	ธรรมรับอรุณโยคะ-สมาธิ  08.00 	พิจารณาอาหารเช้า 09.00 	ร่วมฟังการจัดรายการวิทยุ ‘สาวิกา’ ออกอากาศสด 10.00 	ภาวนากับบทเพลง/ธรรมบรรยาย 11.30 	พิจารณาอาหารกลางวัน 12.00 	ว่างอยู่ในปัจจุบันขณะ 13.30 	สมาธิภาวนายืนเดินนั่งนอนและตอบคำถาม 16.00 	จบกิจกรรมการเข้าอบรม ระยะเวลาการทำกิจกรรม 04.00 – 21.00          : 17  hrs. ระยะเวลาการพักผ่อน 21.00 – 04.00		: 7  hrs.
กรณีปฏิบัติธรรมแบบไม่พักค้าง มีกิจกรรมทุกเสาร์-อาทิตย์ มาได้เลยไม่ต้องสมัครโดยสามารถเข้าร่วมได้ตั้งแต่เวลา 09.00  ผู้เข้าร่วมกิจกรรมสามารถเข้าร่วมกิจกรรมกับการปฏิบัติธรรมอานาปานสติภาวนาได้ - ทำวัตรเช้า - อาหารเช้า เพล วิถีแห่งสติ 05.00 ทำวัตรเช้าณห้องพระบรมสารีริกธาตุ 08.00 พิจารณาอาหารเช้า 09.00 วิทยุชุมชน 10.00 ฟังเสียงธรรมะตามสาย 11.00 พิจารณาอาหารเพล 18.00 ทำวัตรเย็นและตามประทีปณห้องพระบรมสารีริกธาตุ (ระหว่างวันภาวนากับการทำงานและทำความเพียรโดยส่วนตัว)  หมายเหตุ : หากท่านต้องการมาทำกิจกรรมเป็นหมู่คณะในวันธรรมดากรุณาติดต่อมาที่ 02-509-0085, 02-510-6697 กด 6 และผู้สนใจมาสนทนาธรรมสอบถามปัญหากับคณะแม่ชีเป็นการส่วนตัวเชิญได้ในวันธรรมดาเวลา 09.00-11.00 น. และ 13.30-16.00 น.
Function. 1. กิจกรรมวิปัสสนา 	ห้องประชุมวิปัสสนาใหญ่ 	ห้องวิปัสสนาย่อย 	ลานอเนกประสงค์ 2. ที่พักอาศัย 	ที่พักผู้เข้าใช้โครงการแยกเป็น   ชาย - หญิง 	ที่พักบุคลากรเป็น   ชาย - หญิง   3. ส่วนรองรับผู้มาทำวิปัสสนา 	โถงต้อนรับ 	ห้องควบคุมระบบอาคาร 4. ส่วนของสำนักงานบริหาร 	ฝ่ายธุรการ 	ฝ่ายการเงินและบัญชี 	ฝ่ายอาคารสถานที่ 5.  ส่วนบริการสาธารณะ โถงทางเข้า 	พื้นที่อเนกประสงค์ 	พื้นที่ทานอาหาร 	ห้องสมุด 6. ส่วนของการสัญจรท่าเรือ
1. กิจกรรมวิปัสสนา 	ห้องประชุมวิปัสสนาใหญ่ 	ห้องวิปัสสนาย่อย 	ลานอเนกประสงค์
2. ที่พักอาศัย 	ที่พักผู้เข้าใช้โครงการแยกเป็น   ชาย - หญิง 	ที่พักบุคลากรเป็น   ชาย - หญิง
3. ส่วนรองรับผู้มาทำวิปัสสนา 	โถงต้อนรับ 	ห้องควบคุมระบบอาคาร 4. ส่วนของสำนักงานบริหาร 	ฝ่ายธุรการ 	ฝ่ายการเงินและบัญชี 	ฝ่ายอาคารสถานที่
5.  ส่วนบริการสาธารณะ โถงทางเข้า 	พื้นที่อเนกประสงค์ 	พื้นที่ทานอาหาร 	ห้องสมุด 6. ส่วนของการสัญจรท่าเรือ

Weitere ähnliche Inhalte

Ähnlich wie 22 07-10

แนวทางการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกาสมัสามัญประจำปี ครั้งที่ ๓๔
แนวทางการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกาสมัสามัญประจำปี ครั้งที่ ๓๔แนวทางการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกาสมัสามัญประจำปี ครั้งที่ ๓๔
แนวทางการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกาสมัสามัญประจำปี ครั้งที่ ๓๔Tongsamut vorasan
 
ข้อมูลเตรียมการประชุมสัมมนาโดยละเอียด
ข้อมูลเตรียมการประชุมสัมมนาโดยละเอียดข้อมูลเตรียมการประชุมสัมมนาโดยละเอียด
ข้อมูลเตรียมการประชุมสัมมนาโดยละเอียดTongsamut vorasan
 
1 บทนำ - 9 มนต์ เพื่อความก้าวหน้า โดย ท่าน ว. วชิรเมธี
1 บทนำ - 9 มนต์ เพื่อความก้าวหน้า โดย ท่าน ว. วชิรเมธี1 บทนำ - 9 มนต์ เพื่อความก้าวหน้า โดย ท่าน ว. วชิรเมธี
1 บทนำ - 9 มนต์ เพื่อความก้าวหน้า โดย ท่าน ว. วชิรเมธีPanuwat Beforetwo
 
วัดป่าดงใหญ่
วัดป่าดงใหญ่วัดป่าดงใหญ่
วัดป่าดงใหญ่watpadongyai
 
กำหนดการสอนพุทธ1
กำหนดการสอนพุทธ1กำหนดการสอนพุทธ1
กำหนดการสอนพุทธ1tassanee chaicharoen
 
กำหนดการสัมมนา(จริง)
กำหนดการสัมมนา(จริง)กำหนดการสัมมนา(จริง)
กำหนดการสัมมนา(จริง)Tongsamut vorasan
 
Blc 40หัวข้อเรื่องธรรมะบทเทศน์สอนใช้บ่อย
Blc 40หัวข้อเรื่องธรรมะบทเทศน์สอนใช้บ่อยBlc 40หัวข้อเรื่องธรรมะบทเทศน์สอนใช้บ่อย
Blc 40หัวข้อเรื่องธรรมะบทเทศน์สอนใช้บ่อยblcdhamma
 
สมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรม
สมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรมสมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรม
สมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรมniralai
 
ประกาศแต่งตั้งคณะกรรมการจัดงานพระราชทานเพลิงศพ
ประกาศแต่งตั้งคณะกรรมการจัดงานพระราชทานเพลิงศพประกาศแต่งตั้งคณะกรรมการจัดงานพระราชทานเพลิงศพ
ประกาศแต่งตั้งคณะกรรมการจัดงานพระราชทานเพลิงศพหนุ่มน้อย ดาร์จีลิ่ง
 
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10thTongsamut vorasan
 
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10thTongsamut vorasan
 
กำหนดการสอนพุทธ ม.3
กำหนดการสอนพุทธ ม.3กำหนดการสอนพุทธ ม.3
กำหนดการสอนพุทธ ม.3tassanee chaicharoen
 
ระเบียบรายชื่อพระจำพรรษา 2016
ระเบียบรายชื่อพระจำพรรษา 2016ระเบียบรายชื่อพระจำพรรษา 2016
ระเบียบรายชื่อพระจำพรรษา 2016Watpadhammaratana Pittsburgh
 

Ähnlich wie 22 07-10 (19)

140128 วารสารยุวพุทธสัมพันธ์
140128 วารสารยุวพุทธสัมพันธ์140128 วารสารยุวพุทธสัมพันธ์
140128 วารสารยุวพุทธสัมพันธ์
 
Cas 11 1
Cas 11 1Cas 11 1
Cas 11 1
 
แนวทางการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกาสมัสามัญประจำปี ครั้งที่ ๓๔
แนวทางการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกาสมัสามัญประจำปี ครั้งที่ ๓๔แนวทางการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกาสมัสามัญประจำปี ครั้งที่ ๓๔
แนวทางการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกาสมัสามัญประจำปี ครั้งที่ ๓๔
 
ข้อมูลเตรียมการประชุมสัมมนาโดยละเอียด
ข้อมูลเตรียมการประชุมสัมมนาโดยละเอียดข้อมูลเตรียมการประชุมสัมมนาโดยละเอียด
ข้อมูลเตรียมการประชุมสัมมนาโดยละเอียด
 
1 บทนำ - 9 มนต์ เพื่อความก้าวหน้า โดย ท่าน ว. วชิรเมธี
1 บทนำ - 9 มนต์ เพื่อความก้าวหน้า โดย ท่าน ว. วชิรเมธี1 บทนำ - 9 มนต์ เพื่อความก้าวหน้า โดย ท่าน ว. วชิรเมธี
1 บทนำ - 9 มนต์ เพื่อความก้าวหน้า โดย ท่าน ว. วชิรเมธี
 
Saeng Dhamma June, 2010
Saeng Dhamma June, 2010Saeng Dhamma June, 2010
Saeng Dhamma June, 2010
 
วัดป่าดงใหญ่
วัดป่าดงใหญ่วัดป่าดงใหญ่
วัดป่าดงใหญ่
 
กำหนดการสอนพุทธ1
กำหนดการสอนพุทธ1กำหนดการสอนพุทธ1
กำหนดการสอนพุทธ1
 
Saeng Dhamma Vol. 36 No. 434 June 2011
Saeng Dhamma Vol. 36 No. 434 June 2011 Saeng Dhamma Vol. 36 No. 434 June 2011
Saeng Dhamma Vol. 36 No. 434 June 2011
 
Buddhajayanti2,600
Buddhajayanti2,600Buddhajayanti2,600
Buddhajayanti2,600
 
กำหนดการสัมมนา(จริง)
กำหนดการสัมมนา(จริง)กำหนดการสัมมนา(จริง)
กำหนดการสัมมนา(จริง)
 
Blc 40หัวข้อเรื่องธรรมะบทเทศน์สอนใช้บ่อย
Blc 40หัวข้อเรื่องธรรมะบทเทศน์สอนใช้บ่อยBlc 40หัวข้อเรื่องธรรมะบทเทศน์สอนใช้บ่อย
Blc 40หัวข้อเรื่องธรรมะบทเทศน์สอนใช้บ่อย
 
สมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรม
สมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรมสมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรม
สมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรม
 
ประกาศแต่งตั้งคณะกรรมการจัดงานพระราชทานเพลิงศพ
ประกาศแต่งตั้งคณะกรรมการจัดงานพระราชทานเพลิงศพประกาศแต่งตั้งคณะกรรมการจัดงานพระราชทานเพลิงศพ
ประกาศแต่งตั้งคณะกรรมการจัดงานพระราชทานเพลิงศพ
 
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
 
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
 
กำหนดการสอนพุทธ ม.3
กำหนดการสอนพุทธ ม.3กำหนดการสอนพุทธ ม.3
กำหนดการสอนพุทธ ม.3
 
Act18
Act18Act18
Act18
 
ระเบียบรายชื่อพระจำพรรษา 2016
ระเบียบรายชื่อพระจำพรรษา 2016ระเบียบรายชื่อพระจำพรรษา 2016
ระเบียบรายชื่อพระจำพรรษา 2016
 

22 07-10

  • 2. ความเป็นมาโครงการ Angkor Wat ศาสนสถานของชาวขอมที่มีการจัดวางองค์ประกอบทางสถาปัตยกรรมให้สอดคล้องกับแนวคิดตามความเชื่อทางจิตวิญญาณในเรื่องของความไร้ตัวตน
  • 3. สถิติผู้นับถือศาสนาต่างๆในโลก 1) Christians = 1,999,563,838 = 33.0%
2) Muslims = 1,188,242,789 = 19.6%
3) Hindus = 811,336,265 = 13.4%
4) Nonreligious = 768,158,954 = 12.7%
5) Chinese folk-religionists = 384,806,732 = 6.4%
6) Buddhists = 359,981,757 = 5.9%
7) Ethnoreligionists = 228,366,515 = 3.8%
8) Atheists = 150,089,508 = 2.5%
9) New-Religionists = 102,356,297 = 1.7%
10) Sikhs = 23,258,412 = 0.4%
11) Jews = 14,434,039 = 0.2%
12) Spiritists = 12,333,735 = 0.2%
13) Baha'is = 7,106,420 = 0.1%
14) Confusianists = 6,298,597 = 0.1%
15) Jains = 4,217,979 = 0.1%
16) Shintoists = 2,761,845 = 0.0%
17) Taoists = 2,654,514 = 0.0%
18) Zoroastrians = 2,543,950 = 0.0%
19) Mandeans = 38,977 = 0.0%
20) Other religionists = 1,028,519 = 0.0%
 แนวทางการนำศาสนาหลักของชาตมาิเป็นรูปแบบของการปฏิบัติสมาธิ และเป็นทิศทางในโครงการ
  • 4. จากประชากรทั้งหมดในประเทศไทย 62,308,887 คน (ข้อมูลกรมการปกครองณวันที่ 31 มีนาคม 2546) มีผู้นับถือศาสนาพุทธทั้งสิ้น 57,324,600 คน (ที่มา : สำมะโนประชากรและเคหะพ.ศ. 2543 พุทธ ศาสนาอื่น
  • 6.
  • 7. การนำมาใช้ผ่านกิจกรรมผู้ไม่ปฏิบัติตามขั้นตอนนี้ถือเป็น “โมฆบุรุษ” : คนที่ใช้การไม่ได้คนที่เอาดีไม่ได้คนที่พลาดจากประโยชน์ต่างๆเพราะมัวประมาทอยู่บ้างประพฤติทุจริตบ้างเกียจคร้านในกิจการต่างๆ
  • 8. ประเภทสมาธิ : สัมมาสมาธิ มิจฉาสมาธิ ฐานสมาธิอยู่ภายในกาย (น้อมจิตเข้าไปอยู่ในกายเราเอง) ทำลายกิเลสให้เบาบางลง มีจุดหมายที่การหลุดพ้นเข้าใจธรรมชาติตามความเป็นจริงตนเอง ไม่ใช่เพื่อสนองความต้องการของ ฐานสมาธิตั้งไว้ภายนอกกาย กำหนดจดจ่ออยู่กับสิ่งที่ทำเหมือนกัน ไม่ใช่รูปแบบที่จะนำไปสู่ความหลุดพ้น
  • 11. ขอบเขตงาน 1. ส่วนทำกิจกรรมวิปัสสนา ห้องประชุมวิปัสสนาใหญ่ ห้องวิปัสสนาย่อย ลานอเนกประสงค์ 2. ส่วนของที่พักอาศัย ที่พักผู้เข้าใช้โครงการแยกเป็น ชาย - หญิง ที่พักบุคลากรเป็น ชาย - หญิง 3. ส่วนรองรับผู้มาทำวิปัสสนา โถงต้อนรับ ห้องควบคุมระบบอาคาร 4. ส่วนของสำนักงานบริหาร ฝ่ายธุรการ ฝ่ายการเงินและบัญชี ฝ่ายอาคารสถานที่ 5. ส่วนบริการสาธารณะ โถงทางเข้า พื้นที่อเนกประสงค์ พื้นที่ทานอาหาร ห้องสมุด 6. ส่วนของการสัญจรท่าเรือ
  • 12. ประเภทและพฤติกรรมผู้ใช้โครงการ ผู้ใช้โครงการ เจ้าหน้าที่ ผู้เข้ากิจกรรมวิปัสสนา แบ่งตาม เพศ ชาย - หญิง จำนวนผู้มาใช้โครงการ คนเดียว ครอบครัว กลุ่มสัมนา ฝ่ายบริหาร ฝ่ายฝึกสอนวิปัสสนา ฝ่ายบริการสาธารณะ ฝ่ายเทคนิคและงานระบบ ฝ่ายอาคารสถานที่
  • 13. Site. เงียบ สงบ ห่างไกลแหล่งก่อเลส คลื่นลมสงบ ภาคตะวันออก ภาคใต้ฝั่งตะวันตก ทะเลแหวก
  • 14.
  • 15.
  • 16. 500 150 650 m. ทะเลแหวก: เกาะสามเกะ 1. เกาะไก่ 2. เกาะหม้อ 3.เกาะทับ สภาพอากาศพายุสงบ : พฤศจิกายนถึงต้นพฤษภาคม
  • 17.
  • 18.
  • 20. การปฏิบัติธรรมอานาปานสติภาวนา * ผู้ปฏิบัติธรรมที่เข้าร่วมกิจกรรมทุกท่านจะร่วมสมาทานศีล 8 ในเย็นวันศุกร์และรักษาศีล 8 ตลอดระยะเวลาการปฏิบัติ ศีล 8 1. เว้นจากทำลายชีวิต 2. เว้นจากถือเอาของที่เขามิได้ให้ 3. เว้นจากประพฤติผิดพรหมจรรย์ คือเว้นจากร่วมประเวณี 4. เว้นจากพูดเท็จ 5. เว้นจากของเมา 6. เว้นจากบริโภคอาหารในเวลาวิกาล คือเที่ยงแล้วไป 7. เว้นจากฟ้อนรำขับร้องบรรเลงดนตรี ดูการเล่นอันเป็นข้าศึกต่อพรหมจรรย์ การทัดทรงดอกไม้ของหอมและเคลื่อง ลูบไล้ซึ่งใช้เป็นเครื่องประดับตกแต่ง 8. เว้นจากที่นอนอันสูงใหญ่หรูหรา ฟุ่มเฟือย การบริโภคอาหาร : งดเว้นเนื้อสัตว์และเครื่องดื่มมีแอลกอฮอร์ หลังจากเที่ยงไม่มีการบริโภคอาหาร การนอน: สถานที่นอนแบ่งแยกชาย หญิง ลักษณะที่นอนเรียบง่ายไม่หรูหรา พื้นที่นันทนาการ : ไม่มีพื้นที่สำหรับการแสดงดนตรีหรือกิจกรรมอื่นที่จะผิดต่อพรหมจรรย์ การแต่งกาย : เรียบง่าย เหมาะสมกับการวิปัสสนา
  • 21. วันแรกของการเข้าอบรม 14.00 -16.00 ลงทะเบียน 16.00 โยคะสมาธิ 17.30 ปฐมนิเทศและทำวัตรเย็น 19.00 สมาทานศีล 8/ส่งอารมณ์กรรมฐาน 21.00 ทำความเพียรโดยส่วนตัว พื้นที่ต้อนรับ/ ลงทะเบียน ห้องประชุมสมาธิ ทำโยคะ ปฏิบัติสมาธิ บรรยาย สวดมนต์ พื้นที่อเนกประสงค์ภายใน/ภายนอก ห้องทานอาหาร ห้องพัก ห้องอัดรายการวิทยุ วิถีชีวิตของชุมชน 04.00 ระฆังแห่งสติ 05.00 ทำวัตรเช้า 06.00 ธรรมรับอรุณโยคะ-สมาธิ 08.00 พิจารณาอาหารเช้า 09.00 ร่วมฟังการจัดรายการวิทยุ ‘สาวิกา’ ออกอากาศสด 10.00 ภาวนากับบทเพลง/ธรรมบรรยาย 11.30 พิจารณาอาหารกลางวัน 12.00 ว่างอยู่ในปัจจุบันขณะ 13.30 สมาธิภาวนายืนเดินนั่งนอนและตอบคำถาม 16.00 น้ำปานะ 18.00 ทำวัตรเย็น 19.00 ธรรมบรรยาย/สมาธิภาวนา 21.00 ทำความเพียรโดยส่วนตัว
  • 22. วันสุดท้ายของการเข้าอบรม 04.00 ระฆังแห่งสติ 05.00 ทำวัตรเช้า 06.00 ธรรมรับอรุณโยคะ-สมาธิ 08.00 พิจารณาอาหารเช้า 09.00 ร่วมฟังการจัดรายการวิทยุ ‘สาวิกา’ ออกอากาศสด 10.00 ภาวนากับบทเพลง/ธรรมบรรยาย 11.30 พิจารณาอาหารกลางวัน 12.00 ว่างอยู่ในปัจจุบันขณะ 13.30 สมาธิภาวนายืนเดินนั่งนอนและตอบคำถาม 16.00 จบกิจกรรมการเข้าอบรม ระยะเวลาการทำกิจกรรม 04.00 – 21.00 : 17 hrs. ระยะเวลาการพักผ่อน 21.00 – 04.00 : 7 hrs.
  • 23. กรณีปฏิบัติธรรมแบบไม่พักค้าง มีกิจกรรมทุกเสาร์-อาทิตย์ มาได้เลยไม่ต้องสมัครโดยสามารถเข้าร่วมได้ตั้งแต่เวลา 09.00 ผู้เข้าร่วมกิจกรรมสามารถเข้าร่วมกิจกรรมกับการปฏิบัติธรรมอานาปานสติภาวนาได้ - ทำวัตรเช้า - อาหารเช้า เพล วิถีแห่งสติ 05.00 ทำวัตรเช้าณห้องพระบรมสารีริกธาตุ 08.00 พิจารณาอาหารเช้า 09.00 วิทยุชุมชน 10.00 ฟังเสียงธรรมะตามสาย 11.00 พิจารณาอาหารเพล 18.00 ทำวัตรเย็นและตามประทีปณห้องพระบรมสารีริกธาตุ (ระหว่างวันภาวนากับการทำงานและทำความเพียรโดยส่วนตัว) หมายเหตุ : หากท่านต้องการมาทำกิจกรรมเป็นหมู่คณะในวันธรรมดากรุณาติดต่อมาที่ 02-509-0085, 02-510-6697 กด 6 และผู้สนใจมาสนทนาธรรมสอบถามปัญหากับคณะแม่ชีเป็นการส่วนตัวเชิญได้ในวันธรรมดาเวลา 09.00-11.00 น. และ 13.30-16.00 น.
  • 24. Function. 1. กิจกรรมวิปัสสนา ห้องประชุมวิปัสสนาใหญ่ ห้องวิปัสสนาย่อย ลานอเนกประสงค์ 2. ที่พักอาศัย ที่พักผู้เข้าใช้โครงการแยกเป็น ชาย - หญิง ที่พักบุคลากรเป็น ชาย - หญิง 3. ส่วนรองรับผู้มาทำวิปัสสนา โถงต้อนรับ ห้องควบคุมระบบอาคาร 4. ส่วนของสำนักงานบริหาร ฝ่ายธุรการ ฝ่ายการเงินและบัญชี ฝ่ายอาคารสถานที่ 5. ส่วนบริการสาธารณะ โถงทางเข้า พื้นที่อเนกประสงค์ พื้นที่ทานอาหาร ห้องสมุด 6. ส่วนของการสัญจรท่าเรือ
  • 25. 1. กิจกรรมวิปัสสนา ห้องประชุมวิปัสสนาใหญ่ ห้องวิปัสสนาย่อย ลานอเนกประสงค์
  • 26. 2. ที่พักอาศัย ที่พักผู้เข้าใช้โครงการแยกเป็น ชาย - หญิง ที่พักบุคลากรเป็น ชาย - หญิง
  • 27. 3. ส่วนรองรับผู้มาทำวิปัสสนา โถงต้อนรับ ห้องควบคุมระบบอาคาร 4. ส่วนของสำนักงานบริหาร ฝ่ายธุรการ ฝ่ายการเงินและบัญชี ฝ่ายอาคารสถานที่
  • 28. 5. ส่วนบริการสาธารณะ โถงทางเข้า พื้นที่อเนกประสงค์ พื้นที่ทานอาหาร ห้องสมุด 6. ส่วนของการสัญจรท่าเรือ
  • 29. Case Study. เสถียรธรรมสถาน กิจกรรมที่เกิดภายในโครงการ การบริหารโครงการ มัลดีป การเข้าถึงโครงการ สภาพแวดล้อม รูปแบบการพักอาศัย ธรรมกาย วิธีการทำสมาธิกับคนกลุ่มใหญ่ องค์ประกอบทางสถาปัตยกรรม