SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 43
1.1 ความปลอดภัยในการปฏิบัติงานสี
1.2 ความหมายของการพ่นสี
1.3 ประโยชน์ของสี
1.4 อิทธิพลของสี
1.5 ส่วนประกอบของสี
หัวข้อเรื่อง
(Topics)
1.6 สมบัติของตัวทาละลาย
1.7 การแห้งตัวของสี
1.8 สมบัติของสีจริง
1.9 สมบัติของสีพื้น
1.10 สมบัติของสีโป
๊ ว
หัวข้อเรื่อง
(Topics)
1.1 ความปลอดภัยในการปฏิบัติงานสี
ความปลอดภัย ในการปฏิบัติงานใดก็ตาม สิ่งที่ต้องคาสึงถึงไว้เป็ น
ป ร ะ ก า ร แ ร ก ก็ คื อ
ความปลอดภัย ถ้าขาดความระมัดระวังแล้วมักจะเกิดอุบัติเหตุขึ้นได้ หรือการ
ทางานโดยไม่มีความรู้
1.1.1 ลักษณะความปลอดภัย แยกเป็ นประเภทได้ 5 ประเภท คือ
1) ความปลอดภัยที่เกี่ยวกับสุขภาพร่างกาย
2) ความปลอดภัยที่เกี่ยวกับการใช้เครื่องมือ
3) ความปลอดภัยเกี่ยวกับไฟ
4) ความปลอดภัยจากสถานที่ทางาน
5) ความปลอดภัยในการใช้เครื่องดับเพลิง
ตัวอย่างลักษณะแว่นตาสาหรับสวมใน
การพ่นสี
1.1.2 ความปลอดภัยในการปฏิบัติงานสีที่เกี่ยวข้องกับสารเคมี
การปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องกับสารเคมีนั้นเป็ นงานที่อันตราย
อย่างยิ่ง ถ้าไม่รู้จักวิธีป้ องกันตัวเองจากสารเคมีเหล่านั้นก็จะส่งผลกระทบต่อ
ร่างกายทั้งในขณะปฏิบัติและในอนาคต
สาหรับในงานสีอุปกรณ์ด้านความปลอดภัยมีอยู่หลายอย่าง
เช่น แว่นตา หน้ากากป้ องกันละอองสี ชุดพ่นสี ถุงมือ เป็นต้น
แว่นตา ดวงตานับว่าเป็ นสิ่งที่สาคัญมากสาหรับการ
ดารงชีวิตของเรา ฉะนั้นในการทางานเกี่ยวกับสีและทินเนอร์ จึงต้องสวมใส่
แว่นตาทุกครั้ง
หน้ากาก หน้ากากเป็ นอุปกรณ์ป้ องกันอีกอย่างที่จาเป็ นในการ
ปฏิบัติงานสีที่ต้องเจอกับฝุ่นละอองในการขัดสีโป๊ ว สีรองพื้น (ขัดแบบแห้ง)
แ ล ะ ล ะ อ อ ง สี ที่ เ กิ ด จ า ก ก า ร พ่ น สี อี ก ทั้ ง ก ลิ่ น ใ น ตั ว สี
และทินเนอร์
หน้ากากมีอยู่หลากหลายรูปแบบ การนามาใช้งานจาเป็ นต้องเลือกให้
ตรงกับประเภทของงานแบ่งออกเป็น 2 ส่วน คือ หน้ากากที่ใช้ในขั้นตอนการ
เตรียมงานสี อีกส่วนหนึ่งใช้ในงานพ่นสีโดยเฉพาะ
หน้ากากป้ องกันฝุ่นละออง ใช้ในส่วนของการเตรียมงานสี
ตัวอย่างลักษณะของหน้ากากป้ องกันฝุ่น
ละออง
หน้ากากที่ใช้สาหรับพ่นสี จะมีแผ่นกรองละอองสี
(Filter) แล้วยังต้องมีตัวดูดซับกลิ่นเพื่อลดกลิ่นสีหรือสารระเหยต่าง ๆ
ตัวอย่างลักษณะของหน้ากากที่ใช้สาหรับพ่นสี
ชุดพ่นสีี ชุดพ่นสีมีหน้าที่ปกป้ องละอองของสารเคมีมา
สัมผัสกับร่างกาย
ตัวอย่างลักษณะชุดพ่นสี
ถุงมือ ถุงมือที่ใช้ควรเป็ นถุงมือชนิดที่สามารถป้ องกันสารเคมีพวก
สารละลายได้
ตัวอย่างลักษณะของถุงมือป้ องกันสารเคมี
1.2 ความหมายของการพ่นสี
การพ่นสี หมายถึง กระบวนการใช้ของเหลวชนิดหนึ่ง ซึ่งเรียกกันว่า
สี ทาการเคลือบเป็ นฟิล์มบาง ๆ เมื่อแห้งแล้วจะมีลักษณะเป็ นชั้นของสีที่แข็ง
เกาะติดอยู่บนผิวงานนั้น ๆ
1.3 ประโยชน์ของสี
สีเป็ นวัสดุสิ้นเปลือง มีสมบัติแตกต่างกันตามชนิดและลักษณะของ
การใช้งาน ซึ่งมีอิทธิพลต่อชีวิตประจาวันของคนเราเป็ นอย่างมาก
สีทาให้เกิดความรู้สึกอบอุ่น การเร่งเร ้า และระมัดระวัง เมื่อทาหรือ
แสดงไว้ ณ จุดใดจะเป็ นที่รับรู้และเข้าใจกันโดยทั่วไป
1.3.1 ประโยชน์ของสีมีหลากหลายประการดังต่อไปนี้
1) ทาให้เกิดความสวยงาม สะอาดเรียบร ้อย และทาความสะอาดดูแล
ได้ง่าย
2) เพื่อป้ องกันการกัดกร่อน (สาหรับโลหะ) และป้ องกันการทาลาย
ของเชื้อรา (สาหรับไม้)
3) ใช้รองพื้นเพื่อพ่นทับชั้นต่อไป
4) ใช้อุดรอยขีดข่วน หรือหลุมลึกบนผิวงาน
5) ป้องกันความชื้นในเนื้อวัสดุ
6) ใช้ตกแต่งผิวงานขั้นสุดท้าย
7) บอกเอกลักษณ์ของงาน เช่น รถดับเพลิงต้องมีสีแดง เป็ นต้น
1.3.2 สมบัติที่ดีของสี
1) ง่ายต่อการพ่นหรือทาและการใช้งานลักษณะอื่น ๆ
2) ต้องแห้งตัวดี และต้องไม่ใช้เวลานานจนเกินไป
3) ต้องเกาะตัวอยู่กับชิ้นงานดี ไม่ล่อนหรือหลุดลอกออกมาได้
โดยง่าย
4) มีความทนทานต่อสภาวะแวดล้อมตามวัตถุประสงค์ของการใช้
งาน เช่น
- ใช้ทาท้องเรือส่วนที่อยู่ใต้น้า ซึ่งสีชนิดนี้ต้องป้ องกันสนิม
และเพรียงในทะเลได้
- ใช้ทาอาคาร สีชนิดนี้ต้องป้ องกันเชื้อรา และการสึกกร่อน
ได้
- ใช้ทาเครื่องจักร สีชนิดนี้ต้องป้ องกันสนิม และทนต่อ
สารเคมีได้
1.4 อิทธิพลของสี
1.4.1 อิทธิพลของสีต่อจิตใจและอารมณ์
สีมีอิทธิพลในการดาเนินชีวิตประจาวันของคนทุกคน และธรรมชาติ
ได้สร้างโลกให้มีสีสันที่แตกต่างกันออกไปมากมาย ในขณะเดียวกันมนุษย์ก็
ได้ผลิตสีให้มากยิ่งขึ้นไปอีก ทาให้มีสีสันเพิ่มมากขึ้น
การแต่งกายด้วยอาภรณ์ก็ดี การตกแต่งอาคารหรือการตกแต่ง
รถยนต์ก็ดี สิ่งเหล่านี้ทาให้เกิดอิทธิพลต่อผู้พบเห็น ซึ่งสามารถบ่งบอกถึง
รสนิยมของแต่ละบุคคลได้ด้วย
ได้มีการนาสีมาใช้ในชีวิตประจาวันมาก จนกระทั่งคนส่วนมากไม่
คิดว่ามันเป็ นเรื่องสาคัญมนุษย์ได้รับประโยชน์จากการใช้สีนานัปการ ดังนั้น
การเลือกใช้สีจึงมีความจาเป็ นมาก ถ้าเลือกใช้ได้ถูกต้องและดีก็จะเกิดคุณ
อนันต์
การที่จะใช้สีอะไรทาสิ่งใด เช่น การแต่งกาย การตกแต่งบ้าน และ
อื่นๆ จาเป็นต้องให้นักศึกษาเป็นกรณี ๆ ไป
1.4.2 อิทธิพลของสีที่เป็ นประโยชน์ในการใช้สี
1) สีอ่อนจะทาให้มองดูกว้างและใหญ่ขึ้น
2) สีน้าเงินหรือสีหนักไปทางน้าเงิน เช่น สีเขียวหรือสีของต้นไม้จะ
ทาให้รู้สึกเยือกเย็น
3) สีแดง สีส้ม สีเหลือง และสีม่วงแดง เป็นสีที่เร้าอารมณ์ ตื่นเต้น
4) การใช้สีที่ตัดกันทาให้แลดูเห็นเด่นชัดยิ่งขึ้น เช่น สีแดงกับสีขาว
5) การใช้สี ต้องคานึงถึงวัสดุอื่นตามธรรมชาติ หรือสถานที่ที่จะใช้
6) ก่อนใช้สีต้องคิดสักนิดว่า สีเหล่านี้แต่ละสีมีความหมายอย่างไร
เพื่อจะได้ใช้เป็นแนวทางในการเลือกสี เช่น
6.1) สีเขียว เป็นสีที่งดงามตามธรรมชาติ ทาให้อารมณ์เยือก
เย็น
6.2) สีแดง เป็นสีที่ฉูดฉาด และเร้าใจผู้พบเห็น
6.3) สีชมพู เป็นสีอ่อนช้อย งดงาม
6.4) สีเหลือง มองดูแล้วรู้สึกอบอุ่น แต่ก็งดงามตามสภาวะ
1.5 ส่วนประกอบของสี
1.5.1 ส่วนประกอบโดยทั่วไปของสี
สีจะประกอบด้วยส่วนประกอบ 3 ส่วนใหญ่ ๆ คือ เนื้อสีหรือผงสี เร
ซินและตัวทาลาย
1) เนื่อสีหรือผงสี (Pigment)
เนื้อสีหรือผงสีจะมีทั้งผงสีสังเคราะห์ (Inorganic Pigment) และผง
สีจากธรรมชาติ (Organic Pigment) โดยทั่วไปมีลักษณะเป็ นผงละเอียด
และมีสีสันต่าง ๆ ตามต้องการ
แผนภูมิลักษณะการใช้งานของผงสี
2) เรซิน (Resins)
เรซินมีลักษณะเป็ นของเหลวใสจะนามาผสมรวมกับสีผง ซึ่งเป็ น
ส่ ว น ป ร ะ ก อ บ ห ลั ก ข อ ง ก า ร
ทาให้เกิดชั้นของสี มีลักษณะเหนียวใส ทาหน้าที่เป็ นกาวเกาะติดเป็ นชั้น แบ่ง
ออกเป็น 2 ชนิด ดังนี้
2.1) เรซินที่สกัดจากธรรมชาติ เรซินธรรมชาติสกัดมาจาก
ต้นไม้
2.2) เรซินสังเคราะห์ เป็ นเรซินที่ได้มาจากการทาปฏิกิริยา
เคมี ซึ่งแบ่งออกเป็น 2 ประเภท ดังนี้
2.2.1) เรซินประเภทเทอร์โมพลาสติก
2.2.2) เรซินประเภทเทอร์โมเซตติง
3) สารทาให้เหลวหรือตัวละลาย (Solvent)
เป็ นตัวทาละลายมีลักษณะเป็ นน้าใสทาหน้าที่เป็ นเนื้อสีและเรซิน
ของเหลวที่ช่วยผสมกับสีที่นาออกมาจากกระป๋ อง เพื่อให้สีเจือจาง
1.6 สมบัติของตัวทาละลาย
1.6.1 ตัวทาละลาย (Solvent)
บางครั้งเรียกว่า น้ามันผสมสี (Vehicle) ตัวทาละลายนี้มีสมบัติช่วย
ละลายเนื้อสีที่เข้มข้นให้เหลวหรือเจือจางลง
1.6.2 สมบัติของตัวทาละลาย
ตัวทาละลายที่ดีหรือไม่ดีนั้น มีสมบัติที่แตกต่างกัน 2 ข้อใหญ่ คือ
1) อัตราความเร็วในการระเหย (Evaporation Rate)
2) ความสามารถในการทาให้กาวเจือจาง (Ability to Dissolve and
Thin the Binder in the Paint)
1.6.3 อัตราความเร็วในการระเหย
ตัวทาละลายที่ดีและไม่ดีนั้นมีอัตราการระเหยที่แตกต่างกัน เช่น สีแลก
เกอร์
1.6.4 ความสามารถในการทาให้กาวเจือจางของตัวทาละลาย
ตัวทาละลายที่ดีนั้น ต้องสามารถละลายกาวในเนื้อสีให้เจือจางได้อย่าง
รวดเร็ว และผสมรวมตัวกันได้เป็นอย่างดี
1.7 การแห้งตัวของสี
กระบวนการที่ทาให้สีแห้งตัว และเกิดเป็ นชั้นของสีนั้นขึ้นอยู่กับ
ส่วนประกอบที่แตกต่างกันของสีทาให้การแห้งตัวของสีมีกระบวนการที่ไม่
เหมือนกัน
แผนภูมิการแห้งตัวของสี
1.8 สมบัติของสีจริง
1.8.1 สีจริง
สีจริงหรือสีทับหน้า เป็ นสีที่พ่นหรือทาบนชิ้นงานหรือสิ่งต่าง ๆ
เ พื่ อ ใ ห้ เ กิ ด ค ว า ม ส ว ย ง า ม
และเพื่อความคงทน แบ่งออกเป็น 2 ประเภท
1) สีแห้งเร็ว หรือสีแลกเกอร์ (Lacqure)
สีแลกเกอร์มีส่วนผสมที่สาคัญเหมือนสีทั่ว ๆ ไปแต่เพิ่มไนโตร
เซลลูโลสขึ้นมาเพื่อเป็นตัวทาให้สีแลกเกอร์แห้งเร็ว
สีแลกเกอร์แห้งโดยการที่ Solvent หรือทินเนอร์ระเหยออกไปจน
หมดคลเหลือแต่สีซึ่งมีส่วนผสมของเนื้อสีและกาวติดอยู่ที่ผิวงาน ตัวละลาย
แลกเกอร์เรียกว่า แลกเกอร์ทินเนอร์
การแห้งของสีแลกเกอร์โดยการระเหยของแลก
เกอร์ทินเนอร์
ผลิตภัณฑ์สีแห้งเร็ว หรือสีแลกเกอร์
2) สีแห้งช้าหรือสีอีนาเมล (Enamel)
เป็ นสีที่แห้งแล้วมีเงามัน โดยไม่ต้องขัดเงาซึ่งบางทีเรียกสีชนิดนี้ว่า
ซิ น เ ท ทิ ค อี น า เ ม ล เ พ ร า ะ
คาว่า ซินเททิค คือ Binder ซึ่งผลิตภัณฑ์จากวิธีการทางเคมี สีอีนาเมลจึง
แห้งช้า ตัวละลายของสีอีนาเมล เรียกว่า อีนาเมลรีดิ้วเซอร์
การแห้งของสีแลกเกอร์โดยการระเหยของแลก
เกอร์ทินเนอร์
ผลิตภัณฑ์สีแห้งช้าหรือสีอีนาเมล
1.8.2 ข้อแตกต่างระหว่างสีแลกเกอร์ และสีอีนาเมล
ในลักษณะของการนาไปใช้งานนับวันแต่จะน้อยลงทุกที ซึ่งบางทีใน
อนาคตข้างหน้าสีทั้งสองชนิดอาจจะไม่มีความแตกต่างกันเลย ความแตกต่าง
ที่พอจะนามาจาแนกออกตามความสาคัญของสีทั้ง 2 ชนิดนี้ คือ
1) สีแลกเกอร์แห้งเร็วกว่าสีอีนาเมล
2) สีอีนาเมลแห้งแล้วเป็นเงางามไม่ต้องขัด
3) สีอีนาเมลแห้งช้าทาให้เกิดปัญหาฝุ่นละอองไปติดงาน
4) สีแลกเกอร์ต้องขัดเงาด้วย Rubbing Compound หลังจากแห้ง
สนิท
5) สีอีนาเมลขัดเงาได้แต่ต้องกระทาหลังการพ่นสีแล้วอย่างน้อย 30
วัน
6) สีแลกเกอร์แห้งโดยการระเหยออกไปของทินเนอร์เพียงอย่าง
เดียว
1.9 สมบัติของสีพื้น
1.9.1 สีพื้น (Under Coat)
คือ สีที่ทาหน้าที่ครั้งแรกกับโลหะงานหรือชิ้นงาน เกิดการจับโลหะ
ได้ดี ซึ่งเป็ นพื้นเพื่อให้การเกาะตัวสาหรับสีทับหน้า (Top Coat) แน่นและ
ทนนาน
1) สีพื้นอย่างใส (Primer)
2) สีพื้นอย่างข้น (Primer Serfacer)
3) ซิลเลอร์ (Sealers)
4) สีพื้นรวมซิลเลอร์ (Sealers)
5) สีโป๊วแห้งเร็วอย่างใส (Glaying Putty)
6) สีโป๊วอย่างข้น (Spot Putty)
7) สีพื้นชนิดพิเศษ (Special Purpose Primer)
อัตราส่วนเนื้อกาวและเนื้อสีเป็นเปอร์เซ็นต์
1.9.2 สีพื้นอย่างใส (Primer)
เป็ นสีพื้นที่ออกแบบและปรับปรุงคุณภาพในการเกาะตัว และทาขึ้น
เพื่อสมบัติในการเกาะตัวกับผิวโลหะ และมีความทนทานก่อการกะเทาะ ปกติ
จะใช้สีพื้นใสพ่นกับชิ้นโลหะเปลือย (Bare Metal)
แสดงลักษณะการยึดเกาะของสีรองพื้นอย่างใสซึ่งอยู่
ระหว่างสีจริงและเนื้องาน
1.9.3 สีพื้นอย่างข้น (Primer Surfacer)
สีพื้นอย่างข้นอยู่ในประเภทสีพื้น ซึ่งมีสมบัติในการเกาะตัวดีคล้ายกับ
สีพื้นอย่างใส แต่ในเวลาเดียวกันก็มีสมบัติในการเติมรอยขีดข่วนเล็ก ๆ น้อย
ๆ ได้
แสดงสีรองพื้นอย่างข้นช่วยเติมรอยขีดข่วน หรือรอยชารุด
ตื้น ๆ ให้เรียบได้ระดับ
ซึ่งมีผลทาให้สีทับหน้าเรียบด้วย
1.9.4 ซิลเลอร์หรือสีกันซึม (Sealer)
ซิลเลอร์หรือสีกันซึม ปกติจะจัดอยู่ในประเภทของสีพื้นชนิดแลก
เกอร์ซึ่งจะแบ่งออกเป็ น 2 ชนิดคือ แบบกันซึม (Bleedlen Sealer)และ
แบบไม่กันซึม (Non Bleedlen)
1) แบบกันซึม (Bleedlen Sealer) ทาหน้าที่ป้ องกันการซึมของสี
เดิมบางสีที่เกิดการซึม
2) แบบไม่กันซึม (Non Bleedlen) ซิลเลอร์แบบนี้จะเพิ่มคุณภาพ
ของสีทับหน้าให้สดใสเพิ่มการเกาะตัวของสีดี เพิ่มความเงา
1.9.5 สีพื้นรวมซิลเลอร์ (Primer Sealer)
สีพื้นรวมซิลเลอร์ เป็ นการรวมสีพื้นและซิลเลอร์เข้าในตัวเดียวกัน
เ พ ร า ะ ซิ ล เ ล อ ร์ ธ ร ร ม ด า
เกาะตัวดีบนสีพื้น และเพื่อความสะดวกจึงรวมสีพื้นและซิลเลอร์เข้าด้วยกัน
แสดงลักษณะของการพ่นซิลเลอร์บนชิ้นงาน
1.10 สมบัติของสีโป
๊ ว
1.10.1 สีโป๊ วแห้งเร็วอย่างใส (Glaying Putty)
สีโป๊ วอย่างใสจัดอยู่ในประเภทของสีพื้นทาหน้าที่เติมรอยขีดข่วนตื้น
ๆ หรือพื้นผิวที่ไม่เรียบ
แสดงลักษณะของการโป๊วสีพุตตี้ลงบนชิ้นงานโดยโป๊วลงบนสีรอง
พื้นเนื่องจากการเตรียมพื้นไม่ดี
1.10.2 สีโป๊ วอย่างข้น (Spot Putty)
สีโป๊ วอย่างข้นหน้าที่เติมรอยขีดข่วนตื้น ๆ หรือที่ไม่เรียบ มีสมบัติ
การโป๊วง่าย เติมรอยขีดข่วนได้ดีไม่มีการยุบตัว
แสดงเกรียงโป๊วสีอันใหญ่และอันเล็ก
1.10.3 สีพื้นชนิดพิเศษ (Special Purpose Primer)
สีพื้นชนิดพิเศษ เป็ นสีพื้นที่ใช้พ่นกับโลหะงานบางชนิด เช่น งาน
อะลูมิเนียม การพ่นงานนี้จะต้องใช้สีพื้นพิเศษ เพราะถ้าใช้สีพื้นอย่างใสและ
อย่างข้นแล้ว การเกาะตัวของสีพื้นไม่ดีพอ
1.10.4 สีและวัสดุที่ใช้ทาสี
สีที่ใช้ทาบ้าน หรือระบายรูปภาพมีหลายสีต่าง ๆ กันมากมายสีเหล่านี้
สามารถผสมขึ้นมา
สีขั้นที่ 1 เป็ นสีหลักซึ่งมีเพียง 3 สี เราเรียกว่า แม่สี และจะเป็ น
รากฐานของการผสมสีอื่นต่อไป คือ สีเหลือง สีแดง และสีน้าเงิน
สีขั้นที่ 2 เกิดจากการผสมสีขั้นที่ 1 ในอัตราส่วนเท่ากัน คือ สีส้ม สี
ม่วง และสีเขียว
สีขั้นที่ 3 เกิดจากการผสมสีขั้นที่ 2 และสีขั้นที่ 1 ในอัตราส่วนเท่ากัน
คือ เหลืองส้ม, แดงส้มแดงม่วง, น้าเงินม่วง, น้าเงินเขียว และเหลืองเขียว
สีตัดกัน (Contrast) หรือสีคู่กัน คือสีที่จับคู่กันระหว่างแม่สีกับสีขั้น
ที่ 2 ตรงกันข้ามซึ่งสีแต่ละคู่จะทาหน้าที่เพิ่มความเข้มให้กันและกัน เมื่อใดที่
น า สี ต ร ง ข้ า ม ม า ผ ส ม ใ น อั ต ร า ส่ ว น ที่ เ ท่ า กั น จ ะ ไ ด้
สีโคลนหรือสีเทา
แสดงสีคู่ตรงข้าม
วรรณะของสี สีได้ถูกแบ่งออกเป็น 2 วรรณะ ด้วยกันคือ
วรรณะร้อน (Warm Tone)
วรรณะเย็น (Cold Tone)
1.10.5 ความเข้าใจในเรื่องของสี มักปรากฏอยู่เสมอว่า สตรีไม่มีรสนิยม
ในการเลือกสีเสื้อผ้าเครื่องแต่งตัวพอ ๆ กับการตบแต่งภายในบ้าน
1.10.6 สีที่ใช้ในงานอุตสาหกรรม สีในงานอุตสาหกรรม และงานทั่วไป แบ่ง
ออกเป็น 3 ประเภท
1) สีแห้งเร็ว (Lacquer Paint)
2) สีแห้งช้า (Enamel Paint)
3) สีน้าพลาสติก (Emulsion Paint)
1.10.7 การโป๊ วสี คาว่าการโป๊ วสีในที่นี้หมายถึงการทาผิวหน้างานให้เรียบ
ก่อนที่จะทาการพ่นสี ดังนั้นการโป๊ วสีจึงรวมถึงวัสดุอื่น ๆ ที่ไม่ใช่สี ซึ่งส่วน
ใหญ่แล้วมักจะเป็นการโป๊วตัวถังรถยนต์ และส่วนต่าง ๆ ของรถยนต์ ดังนี้
1) การโป๊วด้วยพลาสติก ฟิลเลอร์ (Plastic Filler)
2) สีโป๊วโพลีเอสเตอร์พลาสติก (Polyester Plastic)
สีโป๊ วโพลีเอสเตอร์พลาสติก และครีมฮาร์ด
เด็นเนอร์
3) สีโป๊วเมทัลพลาสติก (metal Plastic)
ทาจากยางสนผสมกับผงอะลูมิเนียมจนเป็ นเนื้อเดียวกัน วิธีการใช้
ต้ อ ง ผ ส ม กั บ ค รี ม
ฮาร์ดเด็นเนอร์เช่นเดียวกัน
4) ข้อดีของการใช้พลาสติกฟิลเลอร์ (Advantage of Plastic
Filler)
4.1) พลาสติกฟิลเลอร์ ง่ายต่อการใช้ แห้งตัวเร็วมีการยึด
เหนี่ยวในตัวเองและชิ้นงานได้ดี
4.2) พลาสติกฟิลเลอร์ สามารถทาให้เรียบง่ายและสะดวกต่อ
การใช้
5) ข้อเสียพลาสติกฟิลเลอร์ (Disadvantage of Plastic Filler)
5.1) การโป๊ ว ถ้าโป๊ วหนาเกินกว่า 1/4 นิ้ว ทาให้พลาสติก
ฟิลเลอร์เกิดรอยร้าวหรือตกได้ง่ายหลังจากทาการโป๊วแล้ว 2 - 3 เดือน
5.2) หากผิวชิ้นงานไม่เรียบและไม่สะอาดพอ เมื่อโป๊ วหนา
พลาสติกฟิลเลอร์จะไม่เกาะกับผิวโลหะชิ้นงาน
5.3) เมื่อทาการขัดสีโป๊ วฝุ่นของสีโป๊ วจะฟุ้ งกระจายไปทั่ว
โรงงาน ฝุ่นเหล่านี้เป็ นศัตรูตัวสาคัญของงานสี ต้องหาทางควบคุมหรือกาจัด
ฝุ่นเหล่านี้เสีย
6) จะใช้สีพลาสติกฟิลเลอร์เมื่อใด
พลาสติกฟิลเลอร์ถูกนามาใช้เพื่อเติมรอยบุบหรือรอยขรุขระ
หรือบริเวณที่ผุกร่อนของตัวถังรถ หรือบริเวณที่มีรอยขีดข่วนรอยลึก ๆ
7) บริเวณที่จะใช้สีโป๊พลาสติกฟิลเลอร์
7.1) บริเวณตัวถังรถที่ไม่สามารถเคาะขึ้นรูปด้วยค้อนหรือ
โลหะรองรับขึ้นรูป (Dolly Block)
7.2) บริเวณที่โลหะหรือตัวถังที่ได้รับการเคาะขึ้นรูปแล้ว
แต่ยังไม่เรียบ
7.3) บริเวณที่เป็นรูหรือรอยฉีกขาดเล็ก ๆ
7.4) บริเวณที่เป็นสนิม
7.5) บริเวณรอยต่อโลหะที่ทาการเชื่อม
8) สีโป๊วพลาสติกที่ใช้ในการซ่อมตัวถังที่นิยมใช้กันมากมี 2 ชนิด
คือ
8.1) สีโป๊วโพลีเอสเตอร์ พลาสติก (Polyester Plastic)
8.2) สีโป๊วเมทัล พลาสติก (metal Plastic)

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

การเขียนตอบข้อสอบกฎหมาย
การเขียนตอบข้อสอบกฎหมายการเขียนตอบข้อสอบกฎหมาย
การเขียนตอบข้อสอบกฎหมาย
Nurat Puankhamma
 
ระบบร่างกาย
ระบบร่างกายระบบร่างกาย
ระบบร่างกาย
Aobinta In
 
โครงงานทดลอง สีย้อมผ้าจากธรรมชาติ Tropical Eco Fashion
โครงงานทดลอง สีย้อมผ้าจากธรรมชาติ Tropical Eco Fashionโครงงานทดลอง สีย้อมผ้าจากธรรมชาติ Tropical Eco Fashion
โครงงานทดลอง สีย้อมผ้าจากธรรมชาติ Tropical Eco Fashion
jarunee4
 
การเขียนผังงาน
การเขียนผังงานการเขียนผังงาน
การเขียนผังงาน
Amanda Mam
 
โครงงานผักสวนครัวในขวดพลาสติก
โครงงานผักสวนครัวในขวดพลาสติกโครงงานผักสวนครัวในขวดพลาสติก
โครงงานผักสวนครัวในขวดพลาสติก
Fah Philip
 
การอนุรักษ์นาฏศิลป์กับภูมิปัญญาท้องถิ่น และเทคนิคการจัดการแสดง ม.6 ปี2557
การอนุรักษ์นาฏศิลป์กับภูมิปัญญาท้องถิ่น และเทคนิคการจัดการแสดง ม.6 ปี2557การอนุรักษ์นาฏศิลป์กับภูมิปัญญาท้องถิ่น และเทคนิคการจัดการแสดง ม.6 ปี2557
การอนุรักษ์นาฏศิลป์กับภูมิปัญญาท้องถิ่น และเทคนิคการจัดการแสดง ม.6 ปี2557
Panomporn Chinchana
 
กระดาษเส้น
กระดาษเส้นกระดาษเส้น
กระดาษเส้น
Tik Msr
 
คำสมาส สนธิ
คำสมาส สนธิ คำสมาส สนธิ
คำสมาส สนธิ
Rodchana Pattha
 

Was ist angesagt? (20)

ปัญหาสิ่งเเวดล้อม
ปัญหาสิ่งเเวดล้อมปัญหาสิ่งเเวดล้อม
ปัญหาสิ่งเเวดล้อม
 
การเขียนตอบข้อสอบกฎหมาย
การเขียนตอบข้อสอบกฎหมายการเขียนตอบข้อสอบกฎหมาย
การเขียนตอบข้อสอบกฎหมาย
 
ประโยคที่ซับซ้อน
ประโยคที่ซับซ้อนประโยคที่ซับซ้อน
ประโยคที่ซับซ้อน
 
ระบบร่างกาย
ระบบร่างกายระบบร่างกาย
ระบบร่างกาย
 
การโต้วาที
การโต้วาทีการโต้วาที
การโต้วาที
 
โครงงานทดลอง สีย้อมผ้าจากธรรมชาติ Tropical Eco Fashion
โครงงานทดลอง สีย้อมผ้าจากธรรมชาติ Tropical Eco Fashionโครงงานทดลอง สีย้อมผ้าจากธรรมชาติ Tropical Eco Fashion
โครงงานทดลอง สีย้อมผ้าจากธรรมชาติ Tropical Eco Fashion
 
พงษ์ศักดิ์ หนูนาค
พงษ์ศักดิ์  หนูนาคพงษ์ศักดิ์  หนูนาค
พงษ์ศักดิ์ หนูนาค
 
การเขียนผังงาน
การเขียนผังงานการเขียนผังงาน
การเขียนผังงาน
 
โครงงานผักสวนครัวในขวดพลาสติก
โครงงานผักสวนครัวในขวดพลาสติกโครงงานผักสวนครัวในขวดพลาสติก
โครงงานผักสวนครัวในขวดพลาสติก
 
ใบความรู้
ใบความรู้ใบความรู้
ใบความรู้
 
การอนุรักษ์นาฏศิลป์กับภูมิปัญญาท้องถิ่น และเทคนิคการจัดการแสดง ม.6 ปี2557
การอนุรักษ์นาฏศิลป์กับภูมิปัญญาท้องถิ่น และเทคนิคการจัดการแสดง ม.6 ปี2557การอนุรักษ์นาฏศิลป์กับภูมิปัญญาท้องถิ่น และเทคนิคการจัดการแสดง ม.6 ปี2557
การอนุรักษ์นาฏศิลป์กับภูมิปัญญาท้องถิ่น และเทคนิคการจัดการแสดง ม.6 ปี2557
 
Powerpoint คำนาม ม.1
Powerpoint คำนาม ม.1Powerpoint คำนาม ม.1
Powerpoint คำนาม ม.1
 
บันทึกข้อความขออนุญาตประชุมสามัญสภานักเรียนครั้งที่ 1/2560
บันทึกข้อความขออนุญาตประชุมสามัญสภานักเรียนครั้งที่ 1/2560บันทึกข้อความขออนุญาตประชุมสามัญสภานักเรียนครั้งที่ 1/2560
บันทึกข้อความขออนุญาตประชุมสามัญสภานักเรียนครั้งที่ 1/2560
 
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ เรื่อง เทคนิคการจัดการแสดง
เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  เรื่อง  เทคนิคการจัดการแสดงเอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  เรื่อง  เทคนิคการจัดการแสดง
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ เรื่อง เทคนิคการจัดการแสดง
 
กระดาษเส้น
กระดาษเส้นกระดาษเส้น
กระดาษเส้น
 
คำสมาส สนธิ
คำสมาส สนธิ คำสมาส สนธิ
คำสมาส สนธิ
 
ชุดการสอนวิชาสุขศึกษา เรื่องการปฐมพยาบาล ชั้น ป.5
ชุดการสอนวิชาสุขศึกษา เรื่องการปฐมพยาบาล  ชั้น ป.5ชุดการสอนวิชาสุขศึกษา เรื่องการปฐมพยาบาล  ชั้น ป.5
ชุดการสอนวิชาสุขศึกษา เรื่องการปฐมพยาบาล ชั้น ป.5
 
การอ่านแปลความ ตีความและขยายความ
การอ่านแปลความ ตีความและขยายความการอ่านแปลความ ตีความและขยายความ
การอ่านแปลความ ตีความและขยายความ
 
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียนแบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน
 
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อมแบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
 

หน่วยที่ 1 งานสี.ppt

  • 1.
  • 2.
  • 3. 1.1 ความปลอดภัยในการปฏิบัติงานสี 1.2 ความหมายของการพ่นสี 1.3 ประโยชน์ของสี 1.4 อิทธิพลของสี 1.5 ส่วนประกอบของสี หัวข้อเรื่อง (Topics)
  • 4. 1.6 สมบัติของตัวทาละลาย 1.7 การแห้งตัวของสี 1.8 สมบัติของสีจริง 1.9 สมบัติของสีพื้น 1.10 สมบัติของสีโป ๊ ว หัวข้อเรื่อง (Topics)
  • 5. 1.1 ความปลอดภัยในการปฏิบัติงานสี ความปลอดภัย ในการปฏิบัติงานใดก็ตาม สิ่งที่ต้องคาสึงถึงไว้เป็ น ป ร ะ ก า ร แ ร ก ก็ คื อ ความปลอดภัย ถ้าขาดความระมัดระวังแล้วมักจะเกิดอุบัติเหตุขึ้นได้ หรือการ ทางานโดยไม่มีความรู้ 1.1.1 ลักษณะความปลอดภัย แยกเป็ นประเภทได้ 5 ประเภท คือ 1) ความปลอดภัยที่เกี่ยวกับสุขภาพร่างกาย 2) ความปลอดภัยที่เกี่ยวกับการใช้เครื่องมือ 3) ความปลอดภัยเกี่ยวกับไฟ 4) ความปลอดภัยจากสถานที่ทางาน 5) ความปลอดภัยในการใช้เครื่องดับเพลิง
  • 6. ตัวอย่างลักษณะแว่นตาสาหรับสวมใน การพ่นสี 1.1.2 ความปลอดภัยในการปฏิบัติงานสีที่เกี่ยวข้องกับสารเคมี การปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องกับสารเคมีนั้นเป็ นงานที่อันตราย อย่างยิ่ง ถ้าไม่รู้จักวิธีป้ องกันตัวเองจากสารเคมีเหล่านั้นก็จะส่งผลกระทบต่อ ร่างกายทั้งในขณะปฏิบัติและในอนาคต สาหรับในงานสีอุปกรณ์ด้านความปลอดภัยมีอยู่หลายอย่าง เช่น แว่นตา หน้ากากป้ องกันละอองสี ชุดพ่นสี ถุงมือ เป็นต้น แว่นตา ดวงตานับว่าเป็ นสิ่งที่สาคัญมากสาหรับการ ดารงชีวิตของเรา ฉะนั้นในการทางานเกี่ยวกับสีและทินเนอร์ จึงต้องสวมใส่ แว่นตาทุกครั้ง
  • 7. หน้ากาก หน้ากากเป็ นอุปกรณ์ป้ องกันอีกอย่างที่จาเป็ นในการ ปฏิบัติงานสีที่ต้องเจอกับฝุ่นละอองในการขัดสีโป๊ ว สีรองพื้น (ขัดแบบแห้ง) แ ล ะ ล ะ อ อ ง สี ที่ เ กิ ด จ า ก ก า ร พ่ น สี อี ก ทั้ ง ก ลิ่ น ใ น ตั ว สี และทินเนอร์ หน้ากากมีอยู่หลากหลายรูปแบบ การนามาใช้งานจาเป็ นต้องเลือกให้ ตรงกับประเภทของงานแบ่งออกเป็น 2 ส่วน คือ หน้ากากที่ใช้ในขั้นตอนการ เตรียมงานสี อีกส่วนหนึ่งใช้ในงานพ่นสีโดยเฉพาะ หน้ากากป้ องกันฝุ่นละออง ใช้ในส่วนของการเตรียมงานสี ตัวอย่างลักษณะของหน้ากากป้ องกันฝุ่น ละออง
  • 10. ถุงมือ ถุงมือที่ใช้ควรเป็ นถุงมือชนิดที่สามารถป้ องกันสารเคมีพวก สารละลายได้ ตัวอย่างลักษณะของถุงมือป้ องกันสารเคมี
  • 11. 1.2 ความหมายของการพ่นสี การพ่นสี หมายถึง กระบวนการใช้ของเหลวชนิดหนึ่ง ซึ่งเรียกกันว่า สี ทาการเคลือบเป็ นฟิล์มบาง ๆ เมื่อแห้งแล้วจะมีลักษณะเป็ นชั้นของสีที่แข็ง เกาะติดอยู่บนผิวงานนั้น ๆ 1.3 ประโยชน์ของสี สีเป็ นวัสดุสิ้นเปลือง มีสมบัติแตกต่างกันตามชนิดและลักษณะของ การใช้งาน ซึ่งมีอิทธิพลต่อชีวิตประจาวันของคนเราเป็ นอย่างมาก สีทาให้เกิดความรู้สึกอบอุ่น การเร่งเร ้า และระมัดระวัง เมื่อทาหรือ แสดงไว้ ณ จุดใดจะเป็ นที่รับรู้และเข้าใจกันโดยทั่วไป
  • 12. 1.3.1 ประโยชน์ของสีมีหลากหลายประการดังต่อไปนี้ 1) ทาให้เกิดความสวยงาม สะอาดเรียบร ้อย และทาความสะอาดดูแล ได้ง่าย 2) เพื่อป้ องกันการกัดกร่อน (สาหรับโลหะ) และป้ องกันการทาลาย ของเชื้อรา (สาหรับไม้) 3) ใช้รองพื้นเพื่อพ่นทับชั้นต่อไป 4) ใช้อุดรอยขีดข่วน หรือหลุมลึกบนผิวงาน 5) ป้องกันความชื้นในเนื้อวัสดุ 6) ใช้ตกแต่งผิวงานขั้นสุดท้าย 7) บอกเอกลักษณ์ของงาน เช่น รถดับเพลิงต้องมีสีแดง เป็ นต้น
  • 13. 1.3.2 สมบัติที่ดีของสี 1) ง่ายต่อการพ่นหรือทาและการใช้งานลักษณะอื่น ๆ 2) ต้องแห้งตัวดี และต้องไม่ใช้เวลานานจนเกินไป 3) ต้องเกาะตัวอยู่กับชิ้นงานดี ไม่ล่อนหรือหลุดลอกออกมาได้ โดยง่าย 4) มีความทนทานต่อสภาวะแวดล้อมตามวัตถุประสงค์ของการใช้ งาน เช่น - ใช้ทาท้องเรือส่วนที่อยู่ใต้น้า ซึ่งสีชนิดนี้ต้องป้ องกันสนิม และเพรียงในทะเลได้ - ใช้ทาอาคาร สีชนิดนี้ต้องป้ องกันเชื้อรา และการสึกกร่อน ได้ - ใช้ทาเครื่องจักร สีชนิดนี้ต้องป้ องกันสนิม และทนต่อ สารเคมีได้
  • 14. 1.4 อิทธิพลของสี 1.4.1 อิทธิพลของสีต่อจิตใจและอารมณ์ สีมีอิทธิพลในการดาเนินชีวิตประจาวันของคนทุกคน และธรรมชาติ ได้สร้างโลกให้มีสีสันที่แตกต่างกันออกไปมากมาย ในขณะเดียวกันมนุษย์ก็ ได้ผลิตสีให้มากยิ่งขึ้นไปอีก ทาให้มีสีสันเพิ่มมากขึ้น การแต่งกายด้วยอาภรณ์ก็ดี การตกแต่งอาคารหรือการตกแต่ง รถยนต์ก็ดี สิ่งเหล่านี้ทาให้เกิดอิทธิพลต่อผู้พบเห็น ซึ่งสามารถบ่งบอกถึง รสนิยมของแต่ละบุคคลได้ด้วย ได้มีการนาสีมาใช้ในชีวิตประจาวันมาก จนกระทั่งคนส่วนมากไม่ คิดว่ามันเป็ นเรื่องสาคัญมนุษย์ได้รับประโยชน์จากการใช้สีนานัปการ ดังนั้น การเลือกใช้สีจึงมีความจาเป็ นมาก ถ้าเลือกใช้ได้ถูกต้องและดีก็จะเกิดคุณ อนันต์ การที่จะใช้สีอะไรทาสิ่งใด เช่น การแต่งกาย การตกแต่งบ้าน และ อื่นๆ จาเป็นต้องให้นักศึกษาเป็นกรณี ๆ ไป
  • 15. 1.4.2 อิทธิพลของสีที่เป็ นประโยชน์ในการใช้สี 1) สีอ่อนจะทาให้มองดูกว้างและใหญ่ขึ้น 2) สีน้าเงินหรือสีหนักไปทางน้าเงิน เช่น สีเขียวหรือสีของต้นไม้จะ ทาให้รู้สึกเยือกเย็น 3) สีแดง สีส้ม สีเหลือง และสีม่วงแดง เป็นสีที่เร้าอารมณ์ ตื่นเต้น 4) การใช้สีที่ตัดกันทาให้แลดูเห็นเด่นชัดยิ่งขึ้น เช่น สีแดงกับสีขาว 5) การใช้สี ต้องคานึงถึงวัสดุอื่นตามธรรมชาติ หรือสถานที่ที่จะใช้ 6) ก่อนใช้สีต้องคิดสักนิดว่า สีเหล่านี้แต่ละสีมีความหมายอย่างไร เพื่อจะได้ใช้เป็นแนวทางในการเลือกสี เช่น 6.1) สีเขียว เป็นสีที่งดงามตามธรรมชาติ ทาให้อารมณ์เยือก เย็น 6.2) สีแดง เป็นสีที่ฉูดฉาด และเร้าใจผู้พบเห็น 6.3) สีชมพู เป็นสีอ่อนช้อย งดงาม 6.4) สีเหลือง มองดูแล้วรู้สึกอบอุ่น แต่ก็งดงามตามสภาวะ
  • 16. 1.5 ส่วนประกอบของสี 1.5.1 ส่วนประกอบโดยทั่วไปของสี สีจะประกอบด้วยส่วนประกอบ 3 ส่วนใหญ่ ๆ คือ เนื้อสีหรือผงสี เร ซินและตัวทาลาย 1) เนื่อสีหรือผงสี (Pigment) เนื้อสีหรือผงสีจะมีทั้งผงสีสังเคราะห์ (Inorganic Pigment) และผง สีจากธรรมชาติ (Organic Pigment) โดยทั่วไปมีลักษณะเป็ นผงละเอียด และมีสีสันต่าง ๆ ตามต้องการ
  • 18. 2) เรซิน (Resins) เรซินมีลักษณะเป็ นของเหลวใสจะนามาผสมรวมกับสีผง ซึ่งเป็ น ส่ ว น ป ร ะ ก อ บ ห ลั ก ข อ ง ก า ร ทาให้เกิดชั้นของสี มีลักษณะเหนียวใส ทาหน้าที่เป็ นกาวเกาะติดเป็ นชั้น แบ่ง ออกเป็น 2 ชนิด ดังนี้ 2.1) เรซินที่สกัดจากธรรมชาติ เรซินธรรมชาติสกัดมาจาก ต้นไม้ 2.2) เรซินสังเคราะห์ เป็ นเรซินที่ได้มาจากการทาปฏิกิริยา เคมี ซึ่งแบ่งออกเป็น 2 ประเภท ดังนี้ 2.2.1) เรซินประเภทเทอร์โมพลาสติก 2.2.2) เรซินประเภทเทอร์โมเซตติง 3) สารทาให้เหลวหรือตัวละลาย (Solvent) เป็ นตัวทาละลายมีลักษณะเป็ นน้าใสทาหน้าที่เป็ นเนื้อสีและเรซิน ของเหลวที่ช่วยผสมกับสีที่นาออกมาจากกระป๋ อง เพื่อให้สีเจือจาง
  • 19. 1.6 สมบัติของตัวทาละลาย 1.6.1 ตัวทาละลาย (Solvent) บางครั้งเรียกว่า น้ามันผสมสี (Vehicle) ตัวทาละลายนี้มีสมบัติช่วย ละลายเนื้อสีที่เข้มข้นให้เหลวหรือเจือจางลง 1.6.2 สมบัติของตัวทาละลาย ตัวทาละลายที่ดีหรือไม่ดีนั้น มีสมบัติที่แตกต่างกัน 2 ข้อใหญ่ คือ 1) อัตราความเร็วในการระเหย (Evaporation Rate) 2) ความสามารถในการทาให้กาวเจือจาง (Ability to Dissolve and Thin the Binder in the Paint) 1.6.3 อัตราความเร็วในการระเหย ตัวทาละลายที่ดีและไม่ดีนั้นมีอัตราการระเหยที่แตกต่างกัน เช่น สีแลก เกอร์ 1.6.4 ความสามารถในการทาให้กาวเจือจางของตัวทาละลาย ตัวทาละลายที่ดีนั้น ต้องสามารถละลายกาวในเนื้อสีให้เจือจางได้อย่าง รวดเร็ว และผสมรวมตัวกันได้เป็นอย่างดี
  • 20. 1.7 การแห้งตัวของสี กระบวนการที่ทาให้สีแห้งตัว และเกิดเป็ นชั้นของสีนั้นขึ้นอยู่กับ ส่วนประกอบที่แตกต่างกันของสีทาให้การแห้งตัวของสีมีกระบวนการที่ไม่ เหมือนกัน แผนภูมิการแห้งตัวของสี
  • 21. 1.8 สมบัติของสีจริง 1.8.1 สีจริง สีจริงหรือสีทับหน้า เป็ นสีที่พ่นหรือทาบนชิ้นงานหรือสิ่งต่าง ๆ เ พื่ อ ใ ห้ เ กิ ด ค ว า ม ส ว ย ง า ม และเพื่อความคงทน แบ่งออกเป็น 2 ประเภท 1) สีแห้งเร็ว หรือสีแลกเกอร์ (Lacqure) สีแลกเกอร์มีส่วนผสมที่สาคัญเหมือนสีทั่ว ๆ ไปแต่เพิ่มไนโตร เซลลูโลสขึ้นมาเพื่อเป็นตัวทาให้สีแลกเกอร์แห้งเร็ว สีแลกเกอร์แห้งโดยการที่ Solvent หรือทินเนอร์ระเหยออกไปจน หมดคลเหลือแต่สีซึ่งมีส่วนผสมของเนื้อสีและกาวติดอยู่ที่ผิวงาน ตัวละลาย แลกเกอร์เรียกว่า แลกเกอร์ทินเนอร์
  • 23. 2) สีแห้งช้าหรือสีอีนาเมล (Enamel) เป็ นสีที่แห้งแล้วมีเงามัน โดยไม่ต้องขัดเงาซึ่งบางทีเรียกสีชนิดนี้ว่า ซิ น เ ท ทิ ค อี น า เ ม ล เ พ ร า ะ คาว่า ซินเททิค คือ Binder ซึ่งผลิตภัณฑ์จากวิธีการทางเคมี สีอีนาเมลจึง แห้งช้า ตัวละลายของสีอีนาเมล เรียกว่า อีนาเมลรีดิ้วเซอร์ การแห้งของสีแลกเกอร์โดยการระเหยของแลก เกอร์ทินเนอร์
  • 24. ผลิตภัณฑ์สีแห้งช้าหรือสีอีนาเมล 1.8.2 ข้อแตกต่างระหว่างสีแลกเกอร์ และสีอีนาเมล ในลักษณะของการนาไปใช้งานนับวันแต่จะน้อยลงทุกที ซึ่งบางทีใน อนาคตข้างหน้าสีทั้งสองชนิดอาจจะไม่มีความแตกต่างกันเลย ความแตกต่าง ที่พอจะนามาจาแนกออกตามความสาคัญของสีทั้ง 2 ชนิดนี้ คือ
  • 25. 1) สีแลกเกอร์แห้งเร็วกว่าสีอีนาเมล 2) สีอีนาเมลแห้งแล้วเป็นเงางามไม่ต้องขัด 3) สีอีนาเมลแห้งช้าทาให้เกิดปัญหาฝุ่นละอองไปติดงาน 4) สีแลกเกอร์ต้องขัดเงาด้วย Rubbing Compound หลังจากแห้ง สนิท 5) สีอีนาเมลขัดเงาได้แต่ต้องกระทาหลังการพ่นสีแล้วอย่างน้อย 30 วัน 6) สีแลกเกอร์แห้งโดยการระเหยออกไปของทินเนอร์เพียงอย่าง เดียว
  • 26. 1.9 สมบัติของสีพื้น 1.9.1 สีพื้น (Under Coat) คือ สีที่ทาหน้าที่ครั้งแรกกับโลหะงานหรือชิ้นงาน เกิดการจับโลหะ ได้ดี ซึ่งเป็ นพื้นเพื่อให้การเกาะตัวสาหรับสีทับหน้า (Top Coat) แน่นและ ทนนาน 1) สีพื้นอย่างใส (Primer) 2) สีพื้นอย่างข้น (Primer Serfacer) 3) ซิลเลอร์ (Sealers) 4) สีพื้นรวมซิลเลอร์ (Sealers) 5) สีโป๊วแห้งเร็วอย่างใส (Glaying Putty) 6) สีโป๊วอย่างข้น (Spot Putty) 7) สีพื้นชนิดพิเศษ (Special Purpose Primer)
  • 28. 1.9.2 สีพื้นอย่างใส (Primer) เป็ นสีพื้นที่ออกแบบและปรับปรุงคุณภาพในการเกาะตัว และทาขึ้น เพื่อสมบัติในการเกาะตัวกับผิวโลหะ และมีความทนทานก่อการกะเทาะ ปกติ จะใช้สีพื้นใสพ่นกับชิ้นโลหะเปลือย (Bare Metal) แสดงลักษณะการยึดเกาะของสีรองพื้นอย่างใสซึ่งอยู่ ระหว่างสีจริงและเนื้องาน
  • 29. 1.9.3 สีพื้นอย่างข้น (Primer Surfacer) สีพื้นอย่างข้นอยู่ในประเภทสีพื้น ซึ่งมีสมบัติในการเกาะตัวดีคล้ายกับ สีพื้นอย่างใส แต่ในเวลาเดียวกันก็มีสมบัติในการเติมรอยขีดข่วนเล็ก ๆ น้อย ๆ ได้ แสดงสีรองพื้นอย่างข้นช่วยเติมรอยขีดข่วน หรือรอยชารุด ตื้น ๆ ให้เรียบได้ระดับ ซึ่งมีผลทาให้สีทับหน้าเรียบด้วย
  • 30. 1.9.4 ซิลเลอร์หรือสีกันซึม (Sealer) ซิลเลอร์หรือสีกันซึม ปกติจะจัดอยู่ในประเภทของสีพื้นชนิดแลก เกอร์ซึ่งจะแบ่งออกเป็ น 2 ชนิดคือ แบบกันซึม (Bleedlen Sealer)และ แบบไม่กันซึม (Non Bleedlen) 1) แบบกันซึม (Bleedlen Sealer) ทาหน้าที่ป้ องกันการซึมของสี เดิมบางสีที่เกิดการซึม 2) แบบไม่กันซึม (Non Bleedlen) ซิลเลอร์แบบนี้จะเพิ่มคุณภาพ ของสีทับหน้าให้สดใสเพิ่มการเกาะตัวของสีดี เพิ่มความเงา 1.9.5 สีพื้นรวมซิลเลอร์ (Primer Sealer) สีพื้นรวมซิลเลอร์ เป็ นการรวมสีพื้นและซิลเลอร์เข้าในตัวเดียวกัน เ พ ร า ะ ซิ ล เ ล อ ร์ ธ ร ร ม ด า เกาะตัวดีบนสีพื้น และเพื่อความสะดวกจึงรวมสีพื้นและซิลเลอร์เข้าด้วยกัน
  • 32. 1.10 สมบัติของสีโป ๊ ว 1.10.1 สีโป๊ วแห้งเร็วอย่างใส (Glaying Putty) สีโป๊ วอย่างใสจัดอยู่ในประเภทของสีพื้นทาหน้าที่เติมรอยขีดข่วนตื้น ๆ หรือพื้นผิวที่ไม่เรียบ แสดงลักษณะของการโป๊วสีพุตตี้ลงบนชิ้นงานโดยโป๊วลงบนสีรอง พื้นเนื่องจากการเตรียมพื้นไม่ดี
  • 33. 1.10.2 สีโป๊ วอย่างข้น (Spot Putty) สีโป๊ วอย่างข้นหน้าที่เติมรอยขีดข่วนตื้น ๆ หรือที่ไม่เรียบ มีสมบัติ การโป๊วง่าย เติมรอยขีดข่วนได้ดีไม่มีการยุบตัว แสดงเกรียงโป๊วสีอันใหญ่และอันเล็ก
  • 34. 1.10.3 สีพื้นชนิดพิเศษ (Special Purpose Primer) สีพื้นชนิดพิเศษ เป็ นสีพื้นที่ใช้พ่นกับโลหะงานบางชนิด เช่น งาน อะลูมิเนียม การพ่นงานนี้จะต้องใช้สีพื้นพิเศษ เพราะถ้าใช้สีพื้นอย่างใสและ อย่างข้นแล้ว การเกาะตัวของสีพื้นไม่ดีพอ 1.10.4 สีและวัสดุที่ใช้ทาสี สีที่ใช้ทาบ้าน หรือระบายรูปภาพมีหลายสีต่าง ๆ กันมากมายสีเหล่านี้ สามารถผสมขึ้นมา สีขั้นที่ 1 เป็ นสีหลักซึ่งมีเพียง 3 สี เราเรียกว่า แม่สี และจะเป็ น รากฐานของการผสมสีอื่นต่อไป คือ สีเหลือง สีแดง และสีน้าเงิน
  • 35. สีขั้นที่ 2 เกิดจากการผสมสีขั้นที่ 1 ในอัตราส่วนเท่ากัน คือ สีส้ม สี ม่วง และสีเขียว
  • 36. สีขั้นที่ 3 เกิดจากการผสมสีขั้นที่ 2 และสีขั้นที่ 1 ในอัตราส่วนเท่ากัน คือ เหลืองส้ม, แดงส้มแดงม่วง, น้าเงินม่วง, น้าเงินเขียว และเหลืองเขียว
  • 37. สีตัดกัน (Contrast) หรือสีคู่กัน คือสีที่จับคู่กันระหว่างแม่สีกับสีขั้น ที่ 2 ตรงกันข้ามซึ่งสีแต่ละคู่จะทาหน้าที่เพิ่มความเข้มให้กันและกัน เมื่อใดที่ น า สี ต ร ง ข้ า ม ม า ผ ส ม ใ น อั ต ร า ส่ ว น ที่ เ ท่ า กั น จ ะ ไ ด้ สีโคลนหรือสีเทา แสดงสีคู่ตรงข้าม
  • 38. วรรณะของสี สีได้ถูกแบ่งออกเป็น 2 วรรณะ ด้วยกันคือ วรรณะร้อน (Warm Tone) วรรณะเย็น (Cold Tone)
  • 39. 1.10.5 ความเข้าใจในเรื่องของสี มักปรากฏอยู่เสมอว่า สตรีไม่มีรสนิยม ในการเลือกสีเสื้อผ้าเครื่องแต่งตัวพอ ๆ กับการตบแต่งภายในบ้าน
  • 40. 1.10.6 สีที่ใช้ในงานอุตสาหกรรม สีในงานอุตสาหกรรม และงานทั่วไป แบ่ง ออกเป็น 3 ประเภท 1) สีแห้งเร็ว (Lacquer Paint) 2) สีแห้งช้า (Enamel Paint) 3) สีน้าพลาสติก (Emulsion Paint) 1.10.7 การโป๊ วสี คาว่าการโป๊ วสีในที่นี้หมายถึงการทาผิวหน้างานให้เรียบ ก่อนที่จะทาการพ่นสี ดังนั้นการโป๊ วสีจึงรวมถึงวัสดุอื่น ๆ ที่ไม่ใช่สี ซึ่งส่วน ใหญ่แล้วมักจะเป็นการโป๊วตัวถังรถยนต์ และส่วนต่าง ๆ ของรถยนต์ ดังนี้ 1) การโป๊วด้วยพลาสติก ฟิลเลอร์ (Plastic Filler) 2) สีโป๊วโพลีเอสเตอร์พลาสติก (Polyester Plastic)
  • 41. สีโป๊ วโพลีเอสเตอร์พลาสติก และครีมฮาร์ด เด็นเนอร์ 3) สีโป๊วเมทัลพลาสติก (metal Plastic) ทาจากยางสนผสมกับผงอะลูมิเนียมจนเป็ นเนื้อเดียวกัน วิธีการใช้ ต้ อ ง ผ ส ม กั บ ค รี ม ฮาร์ดเด็นเนอร์เช่นเดียวกัน
  • 42. 4) ข้อดีของการใช้พลาสติกฟิลเลอร์ (Advantage of Plastic Filler) 4.1) พลาสติกฟิลเลอร์ ง่ายต่อการใช้ แห้งตัวเร็วมีการยึด เหนี่ยวในตัวเองและชิ้นงานได้ดี 4.2) พลาสติกฟิลเลอร์ สามารถทาให้เรียบง่ายและสะดวกต่อ การใช้ 5) ข้อเสียพลาสติกฟิลเลอร์ (Disadvantage of Plastic Filler) 5.1) การโป๊ ว ถ้าโป๊ วหนาเกินกว่า 1/4 นิ้ว ทาให้พลาสติก ฟิลเลอร์เกิดรอยร้าวหรือตกได้ง่ายหลังจากทาการโป๊วแล้ว 2 - 3 เดือน 5.2) หากผิวชิ้นงานไม่เรียบและไม่สะอาดพอ เมื่อโป๊ วหนา พลาสติกฟิลเลอร์จะไม่เกาะกับผิวโลหะชิ้นงาน 5.3) เมื่อทาการขัดสีโป๊ วฝุ่นของสีโป๊ วจะฟุ้ งกระจายไปทั่ว โรงงาน ฝุ่นเหล่านี้เป็ นศัตรูตัวสาคัญของงานสี ต้องหาทางควบคุมหรือกาจัด ฝุ่นเหล่านี้เสีย
  • 43. 6) จะใช้สีพลาสติกฟิลเลอร์เมื่อใด พลาสติกฟิลเลอร์ถูกนามาใช้เพื่อเติมรอยบุบหรือรอยขรุขระ หรือบริเวณที่ผุกร่อนของตัวถังรถ หรือบริเวณที่มีรอยขีดข่วนรอยลึก ๆ 7) บริเวณที่จะใช้สีโป๊พลาสติกฟิลเลอร์ 7.1) บริเวณตัวถังรถที่ไม่สามารถเคาะขึ้นรูปด้วยค้อนหรือ โลหะรองรับขึ้นรูป (Dolly Block) 7.2) บริเวณที่โลหะหรือตัวถังที่ได้รับการเคาะขึ้นรูปแล้ว แต่ยังไม่เรียบ 7.3) บริเวณที่เป็นรูหรือรอยฉีกขาดเล็ก ๆ 7.4) บริเวณที่เป็นสนิม 7.5) บริเวณรอยต่อโลหะที่ทาการเชื่อม 8) สีโป๊วพลาสติกที่ใช้ในการซ่อมตัวถังที่นิยมใช้กันมากมี 2 ชนิด คือ 8.1) สีโป๊วโพลีเอสเตอร์ พลาสติก (Polyester Plastic) 8.2) สีโป๊วเมทัล พลาสติก (metal Plastic)