SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 4
Downloaden Sie, um offline zu lesen
แบบบันทึกการศึกษาคนควาและการแกปญหา
                      โจทยปญหา PBL เรื่อง ประวัติและขั้นตอนการเขียนโปรแกรม
               รายวิชาการเขียนโปรแกรมภาษาซีเบื้องตน ง30201 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4

สมาชิกในกลุม
   1. นายศุภสวัสดิ์ เสตพันธ...............................................................   เลขที่ ....4................
   2. นางสาวกมลวรรณ เทียมทัด.......................................................           เลขที่ ....20..............




          ภารกิจ
     1. กลุมของนักเรียนพบปญหาจากสถานการณนี้มีสาเหตุมาจากสิ่งใด และตองแกปญหานี้
        อยางไร (1 คะแนน)
     2. จากสถานการณปญหา ที่กลาวมาแลวนั้น นักเรียนสามารถอธิบายถึงประวัติและจุดเดนของ
        ภาษาซี (2 คะแนน)
     3. กรณีที่นักเรียนจะเลือกเปนตัวแปลภาษา นักเรียนควรเริ่มตนจากศึกษาตัวแปล
        ภาษาคอมพิวเตอรแบบคอมไพเลอรและ อินเตอรพรีเตอรกอน แลวจึงเลือกเปนตัวแปลภาษา
        พรอมทั้งใหเหตุผลประกอบ (2 คะแนน)

ตอนที่ 1
   หัวขอปญหา ประวัติและขั้นตอนการเขียนโปรแกรม
   ทําความเขาใจปญหา 1. ภาษาซีมีจุดเริ่มตนอยางไรและเหตุใดภาษาซีจึงไดรับความนิยมนํามา
                             เขียนโปรแกรม
2. ถ า สมมติ ว า นั ก เรี ย นเปน คอมพิว เตอรนั ก เรี ย นจะเลื อกเป น ตัว แปรภาษา
                           แบบใดระหวางคอมไพเลอร และอินเตอรพรีเตอร และเพราะเหตุใด
       สิ่งที่ตองการรู       1.ประวัติของภาษาซี
                             2.เหตุที่ไดรับความนิยมของการเขียนโปรแกรมของภาษาซี
                             3.ตัวแปรภาษาคอมพิมเตอร(คอมไพเลอรกับอินเตอรพรีเตอร)
     วิธีการหาคําตอบ           - ศึกษาคนควาจากเวบไซต
     แหลงขอมูล               - http://th.wikipedia.org/wiki
                               www.lks.ac.th/kuanjit/Program_C/ProgramC_10.htm




          การศึกษาคนควา / แกปญหา

        ชื่อสมาชิก             การแบงหนาที่                           แหลงขอมูล/อางอิง
นายศุภสวัสดิ์ เสตพันธ         พิมพขอมูล                                       -
นางสาวกมลวรรณ เทียมทัด หาขอมูล                    www.lks.ac.th/kuanjit/Program_C/ProgramC_10.htm
                                                   http://th.wikipedia.org/wiki

     ตอนที่ 2 สรุปผลการศึกษาคนควา / แกปญหาตามภารกิจ
         1. ภาษาซีมีจุดเริ่มตนอยางไรและเหตุใดภาษาซีจึงไดรับความนิยมนํามาเขียนโปรแกรม
         2. ภาษาซี (C) เปนภาษาโปรแกรมบนคอมพิวเตอรที่มีวัตถุประสงคทั่วไป พัฒนาขึ้นเมื่อ พ.ศ.
 2515 (ค.ศ. 1972) โดย เดนนิส ริตชี ที่เบลลเทเลโฟนแลบอลาทอรีส (Bell Telephone Laboratories)
 เกิดขึ้นเพื่อสรางระบบปฏิบัติการยูนิกซในขณะนั้น
         นอกจากภาษาซีออกแบบขึ้นมาเพื่อสรางซอฟตแวรระบบแลวภาษาซียังสามารถใชอยางแพรหลาย
 เพื่อพัฒนาซอฟตแวรประยุกตที่เคลื่อนยาย (portable) ไปบนระบบอื่นไดอีกดวย
         ภาษาซีเปนภาษาโปรแกรมหนึ่งที่ไดรับความนิยมมากที่สุดตลอดกาล มีสถาปตยกรรม
 คอมพิวเตอรเพียงสวนนอยเทานั้นที่ไมมีตัวแปลโปรแกรมของภาษาซี ภาษาซีมีอิทธิพลอยางมากตอภาษา
 โปรแกรมที่นิยมอื่น ๆ ที่เดนชัดที่สุดก็คือ ภาษาซีพลัส ซึ่งเดิมเปนสวนขยายของภาษาซี
ภาษาซีเปนภาษาระดับสูง( High-Level-Language) และภาษาโปรแกรมที่โปรแกรมเมอรนิยมใช
กันมาก เนื่องจากเปนภาษาที่มีความเร็วในการทํางานสูงใกลเคียงกับภาษาเครื่อง มีโครงสรางที่ชัดเจน
เขาใจงาย สามารถเขียนโปรแกรมเพื่อติดตอกับฮารดแวรของเครื่องคอมพิวเตอรไดอยางดี

      3.กรณีที่นักเรียนจะเลือกเปนตัวแปลภาษา นักเรียนควรเริ่มตนจากศึกษาตัวแปล
ภาษาคอมพิวเตอรแบบคอมไพเลอรและ อินเตอรพรีเตอรกอน แลวจึงเลือกเปนตัวแปลภาษา พรอมทั้งให
เหตุผลประกอบ

   ขอดีและขอเสียของตัวแปลภาษาแบบคอมไพเลอร และอินเตอรพรีเตอร มีดังนี้

                                          ขอดี                            ขอเสีย
        คอมไพเลอร        • ทํางานไดเร็ว เนื่องจากทําการแปลผล • เมื่อเกิดขอผิดพลาด
                          ทีเดียว แลวจึงทํางานตามคําสั่งของ     ขึ้นกับโปรแกรมจะ
                          โปรแกรมในภายหลัง                       ตรวจสอบหา
                                                                 ขอผิดพลาดไดยาก
                          • เมื่อทําการแปลผลแลว ในครั้งตอไป เพราะทําการแปลผล
                          ไมจําเปนตองทําการแปลผลใหมอีก       ทีเดียวทั้งโปรแกรม
                          เนื่องจากภาษาเครื่องที่แปลไดจะถูกเก็บ
                          ไวที่หนวยความจํา สามารถเรียกใชงาน
                          ไดทนที
                                ั
        อินเตอรพรีเตอร • หาขอผิดพลาดของโปรแกรมไดงาย          • ชา เนื่องจากที่ทํางานที
                         เนื่องจากทําการแปลผลทีละบรรทัด           ละบรรทัด

                          • เนื่องจากทํางานทีละบรรทัดดังนั้นจึง
                          สั่งใหโปรแกรมทํางานตามคําสั่งเฉพาะ
                          จุดที่ตองการได

                          • ไมเสียเวลารอการแปลโปรแกรมเปน
                          เวลานาน
ดังนั้น กลุมของขาพเจาจึงเลือกตัวแปรภาษาชนิดคอมไพเลอร

        เพราะ ทํางานไดเร็ว เนื่องจากทําการแปลผลทีเดียว แลวจึงทํางานตามคําสั่งของโปรแกรมใน
ภายหลัง เมื่อทําการแปลผลแลว ในครั้งตอไปไมจําเปนตองทําการแปลผลใหมอีก เนื่องจากภาษาเครื่อง
ที่แปลไดจะถูกเก็บไวที่หนวยความจํา สามารถเรียกใชงานไดทันที ถึงแมวาเมื่อเกิดขอผิดพลาดขึ้นกับ
โปรแกรมจะตรวจสอบหาขอผิดพลาดไดยาก เพราะทําการแปลผลทีเดียวทั้งโปรแกรมก็ตาม ซึ่งดีกวา
การรอที่จะทํางานทีละบรรทัด

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์
Diiz Yokiiz
 
ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์
bpatra
 
งานนำเสนอ น.ส.จินตนา ศรีหานนท์
งานนำเสนอ น.ส.จินตนา ศรีหานนท์งานนำเสนอ น.ส.จินตนา ศรีหานนท์
งานนำเสนอ น.ส.จินตนา ศรีหานนท์
Chitanan Seehanon
 

Was ist angesagt? (19)

การสอบกลางภาค5ข้อ
การสอบกลางภาค5ข้อการสอบกลางภาค5ข้อ
การสอบกลางภาค5ข้อ
 
ข้อสอบกลางภาค (1)
ข้อสอบกลางภาค (1)ข้อสอบกลางภาค (1)
ข้อสอบกลางภาค (1)
 
Language
LanguageLanguage
Language
 
สอบกลางภาคเรียน
สอบกลางภาคเรียนสอบกลางภาคเรียน
สอบกลางภาคเรียน
 
การทดสอบกลางภาค
การทดสอบกลางภาคการทดสอบกลางภาค
การทดสอบกลางภาค
 
โปรแกรมและภาษาคอมพิวเตอร์
โปรแกรมและภาษาคอมพิวเตอร์โปรแกรมและภาษาคอมพิวเตอร์
โปรแกรมและภาษาคอมพิวเตอร์
 
ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์
 
ทดสอบกลางภาค
ทดสอบกลางภาคทดสอบกลางภาค
ทดสอบกลางภาค
 
ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์
 
สอบกลางภาคเรียน วิชาคอมพิวเตอร์
สอบกลางภาคเรียน วิชาคอมพิวเตอร์สอบกลางภาคเรียน วิชาคอมพิวเตอร์
สอบกลางภาคเรียน วิชาคอมพิวเตอร์
 
ข้อสอบกลางภาค
ข้อสอบกลางภาคข้อสอบกลางภาค
ข้อสอบกลางภาค
 
งาน
งานงาน
งาน
 
แบบทดสอบ
แบบทดสอบแบบทดสอบ
แบบทดสอบ
 
สอบกลางภาค
สอบกลางภาคสอบกลางภาค
สอบกลางภาค
 
การสอบคอมกลางภาค
การสอบคอมกลางภาคการสอบคอมกลางภาค
การสอบคอมกลางภาค
 
งานนำเสนอ น.ส.จินตนา ศรีหานนท์
งานนำเสนอ น.ส.จินตนา ศรีหานนท์งานนำเสนอ น.ส.จินตนา ศรีหานนท์
งานนำเสนอ น.ส.จินตนา ศรีหานนท์
 
การเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษาการเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษา
 
ว่างงานมาทำ
ว่างงานมาทำว่างงานมาทำ
ว่างงานมาทำ
 
ข้อสอบกลางภาค
ข้อสอบกลางภาคข้อสอบกลางภาค
ข้อสอบกลางภาค
 

Andere mochten auch (8)

Me gusta. no me gusta. encanta. importa. aburre. conjugations
Me gusta. no me gusta. encanta. importa. aburre. conjugationsMe gusta. no me gusta. encanta. importa. aburre. conjugations
Me gusta. no me gusta. encanta. importa. aburre. conjugations
 
Usos de por y para
Usos de por y paraUsos de por y para
Usos de por y para
 
Diferencias entre por y para act. 6
Diferencias entre por y para act. 6Diferencias entre por y para act. 6
Diferencias entre por y para act. 6
 
Los números powerpoint
Los números powerpointLos números powerpoint
Los números powerpoint
 
Usos De Por Y Para
Usos De Por Y ParaUsos De Por Y Para
Usos De Por Y Para
 
Spanish negatives
Spanish negativesSpanish negatives
Spanish negatives
 
Por vs. Para
Por vs. ParaPor vs. Para
Por vs. Para
 
Preposiciones: Por vs. Para
 Preposiciones: Por vs. Para Preposiciones: Por vs. Para
Preposiciones: Por vs. Para
 

Ähnlich wie งาน Pbl ที่1

หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
SubLt Masu
 
โครงร่างคอมพิวเตอร์
โครงร่างคอมพิวเตอร์โครงร่างคอมพิวเตอร์
โครงร่างคอมพิวเตอร์
ต. เตอร์
 
โจทย์ปัญหา Pbl 2
โจทย์ปัญหา Pbl 2โจทย์ปัญหา Pbl 2
โจทย์ปัญหา Pbl 2
Jaruwank
 
โจทย์ปัญหา Pbl 2
โจทย์ปัญหา Pbl 2โจทย์ปัญหา Pbl 2
โจทย์ปัญหา Pbl 2
Jaruwank
 

Ähnlich wie งาน Pbl ที่1 (20)

Pbl1
Pbl1Pbl1
Pbl1
 
P bl1
P bl1P bl1
P bl1
 
ประวัติความเป็นมาภาษาซี
ประวัติความเป็นมาภาษาซีประวัติความเป็นมาภาษาซี
ประวัติความเป็นมาภาษาซี
 
ประวัติภาษาซี
ประวัติภาษาซีประวัติภาษาซี
ประวัติภาษาซี
 
งานนำเสนอ
งานนำเสนองานนำเสนอ
งานนำเสนอ
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
 
2
22
2
 
การเขียนโปรแกรม Dev c++
การเขียนโปรแกรม Dev c++การเขียนโปรแกรม Dev c++
การเขียนโปรแกรม Dev c++
 
บทที่ 1 บทนำ
บทที่ 1 บทนำบทที่ 1 บทนำ
บทที่ 1 บทนำ
 
โครงร่างคอมพิวเตอร์
โครงร่างคอมพิวเตอร์โครงร่างคอมพิวเตอร์
โครงร่างคอมพิวเตอร์
 
Pbl1
Pbl1Pbl1
Pbl1
 
ใบงานPbl1.2
ใบงานPbl1.2ใบงานPbl1.2
ใบงานPbl1.2
 
โจทย์ปัญหา Pbl 2
โจทย์ปัญหา Pbl 2โจทย์ปัญหา Pbl 2
โจทย์ปัญหา Pbl 2
 
โจทย์ปัญหา Pbl 2
โจทย์ปัญหา Pbl 2โจทย์ปัญหา Pbl 2
โจทย์ปัญหา Pbl 2
 
กำเนิดภาษาซี
กำเนิดภาษาซีกำเนิดภาษาซี
กำเนิดภาษาซี
 
งาน #1
งาน #1งาน #1
งาน #1
 
Plan3
Plan3Plan3
Plan3
 
content1
content1content1
content1
 
การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
 
ใบ 7
ใบ 7ใบ 7
ใบ 7
 

งาน Pbl ที่1

  • 1. แบบบันทึกการศึกษาคนควาและการแกปญหา โจทยปญหา PBL เรื่อง ประวัติและขั้นตอนการเขียนโปรแกรม รายวิชาการเขียนโปรแกรมภาษาซีเบื้องตน ง30201 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 สมาชิกในกลุม 1. นายศุภสวัสดิ์ เสตพันธ............................................................... เลขที่ ....4................ 2. นางสาวกมลวรรณ เทียมทัด....................................................... เลขที่ ....20.............. ภารกิจ 1. กลุมของนักเรียนพบปญหาจากสถานการณนี้มีสาเหตุมาจากสิ่งใด และตองแกปญหานี้ อยางไร (1 คะแนน) 2. จากสถานการณปญหา ที่กลาวมาแลวนั้น นักเรียนสามารถอธิบายถึงประวัติและจุดเดนของ ภาษาซี (2 คะแนน) 3. กรณีที่นักเรียนจะเลือกเปนตัวแปลภาษา นักเรียนควรเริ่มตนจากศึกษาตัวแปล ภาษาคอมพิวเตอรแบบคอมไพเลอรและ อินเตอรพรีเตอรกอน แลวจึงเลือกเปนตัวแปลภาษา พรอมทั้งใหเหตุผลประกอบ (2 คะแนน) ตอนที่ 1 หัวขอปญหา ประวัติและขั้นตอนการเขียนโปรแกรม ทําความเขาใจปญหา 1. ภาษาซีมีจุดเริ่มตนอยางไรและเหตุใดภาษาซีจึงไดรับความนิยมนํามา เขียนโปรแกรม
  • 2. 2. ถ า สมมติ ว า นั ก เรี ย นเปน คอมพิว เตอรนั ก เรี ย นจะเลื อกเป น ตัว แปรภาษา แบบใดระหวางคอมไพเลอร และอินเตอรพรีเตอร และเพราะเหตุใด สิ่งที่ตองการรู 1.ประวัติของภาษาซี 2.เหตุที่ไดรับความนิยมของการเขียนโปรแกรมของภาษาซี 3.ตัวแปรภาษาคอมพิมเตอร(คอมไพเลอรกับอินเตอรพรีเตอร) วิธีการหาคําตอบ - ศึกษาคนควาจากเวบไซต แหลงขอมูล - http://th.wikipedia.org/wiki www.lks.ac.th/kuanjit/Program_C/ProgramC_10.htm การศึกษาคนควา / แกปญหา ชื่อสมาชิก การแบงหนาที่ แหลงขอมูล/อางอิง นายศุภสวัสดิ์ เสตพันธ พิมพขอมูล - นางสาวกมลวรรณ เทียมทัด หาขอมูล www.lks.ac.th/kuanjit/Program_C/ProgramC_10.htm http://th.wikipedia.org/wiki ตอนที่ 2 สรุปผลการศึกษาคนควา / แกปญหาตามภารกิจ 1. ภาษาซีมีจุดเริ่มตนอยางไรและเหตุใดภาษาซีจึงไดรับความนิยมนํามาเขียนโปรแกรม 2. ภาษาซี (C) เปนภาษาโปรแกรมบนคอมพิวเตอรที่มีวัตถุประสงคทั่วไป พัฒนาขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2515 (ค.ศ. 1972) โดย เดนนิส ริตชี ที่เบลลเทเลโฟนแลบอลาทอรีส (Bell Telephone Laboratories) เกิดขึ้นเพื่อสรางระบบปฏิบัติการยูนิกซในขณะนั้น นอกจากภาษาซีออกแบบขึ้นมาเพื่อสรางซอฟตแวรระบบแลวภาษาซียังสามารถใชอยางแพรหลาย เพื่อพัฒนาซอฟตแวรประยุกตที่เคลื่อนยาย (portable) ไปบนระบบอื่นไดอีกดวย ภาษาซีเปนภาษาโปรแกรมหนึ่งที่ไดรับความนิยมมากที่สุดตลอดกาล มีสถาปตยกรรม คอมพิวเตอรเพียงสวนนอยเทานั้นที่ไมมีตัวแปลโปรแกรมของภาษาซี ภาษาซีมีอิทธิพลอยางมากตอภาษา โปรแกรมที่นิยมอื่น ๆ ที่เดนชัดที่สุดก็คือ ภาษาซีพลัส ซึ่งเดิมเปนสวนขยายของภาษาซี
  • 3. ภาษาซีเปนภาษาระดับสูง( High-Level-Language) และภาษาโปรแกรมที่โปรแกรมเมอรนิยมใช กันมาก เนื่องจากเปนภาษาที่มีความเร็วในการทํางานสูงใกลเคียงกับภาษาเครื่อง มีโครงสรางที่ชัดเจน เขาใจงาย สามารถเขียนโปรแกรมเพื่อติดตอกับฮารดแวรของเครื่องคอมพิวเตอรไดอยางดี 3.กรณีที่นักเรียนจะเลือกเปนตัวแปลภาษา นักเรียนควรเริ่มตนจากศึกษาตัวแปล ภาษาคอมพิวเตอรแบบคอมไพเลอรและ อินเตอรพรีเตอรกอน แลวจึงเลือกเปนตัวแปลภาษา พรอมทั้งให เหตุผลประกอบ ขอดีและขอเสียของตัวแปลภาษาแบบคอมไพเลอร และอินเตอรพรีเตอร มีดังนี้ ขอดี ขอเสีย คอมไพเลอร • ทํางานไดเร็ว เนื่องจากทําการแปลผล • เมื่อเกิดขอผิดพลาด ทีเดียว แลวจึงทํางานตามคําสั่งของ ขึ้นกับโปรแกรมจะ โปรแกรมในภายหลัง ตรวจสอบหา ขอผิดพลาดไดยาก • เมื่อทําการแปลผลแลว ในครั้งตอไป เพราะทําการแปลผล ไมจําเปนตองทําการแปลผลใหมอีก ทีเดียวทั้งโปรแกรม เนื่องจากภาษาเครื่องที่แปลไดจะถูกเก็บ ไวที่หนวยความจํา สามารถเรียกใชงาน ไดทนที ั อินเตอรพรีเตอร • หาขอผิดพลาดของโปรแกรมไดงาย • ชา เนื่องจากที่ทํางานที เนื่องจากทําการแปลผลทีละบรรทัด ละบรรทัด • เนื่องจากทํางานทีละบรรทัดดังนั้นจึง สั่งใหโปรแกรมทํางานตามคําสั่งเฉพาะ จุดที่ตองการได • ไมเสียเวลารอการแปลโปรแกรมเปน เวลานาน
  • 4. ดังนั้น กลุมของขาพเจาจึงเลือกตัวแปรภาษาชนิดคอมไพเลอร เพราะ ทํางานไดเร็ว เนื่องจากทําการแปลผลทีเดียว แลวจึงทํางานตามคําสั่งของโปรแกรมใน ภายหลัง เมื่อทําการแปลผลแลว ในครั้งตอไปไมจําเปนตองทําการแปลผลใหมอีก เนื่องจากภาษาเครื่อง ที่แปลไดจะถูกเก็บไวที่หนวยความจํา สามารถเรียกใชงานไดทันที ถึงแมวาเมื่อเกิดขอผิดพลาดขึ้นกับ โปรแกรมจะตรวจสอบหาขอผิดพลาดไดยาก เพราะทําการแปลผลทีเดียวทั้งโปรแกรมก็ตาม ซึ่งดีกวา การรอที่จะทํางานทีละบรรทัด