SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 29
CLICK A
STICKER TO
START
ไฟฟ้ าสถิต
( Static Electricity )
วิธีการใช้
กดปุ่มนี้ เพื่อไปยังหน้าต่อไป
กดปุ่มนี้ เพื่อย้อนกลับไปหน้าก่อนหน้า
เมื่อเจอทั้ง 7 หัวข้อนี้ให้กดที่สติ๊กเกอร์ของหัวข้อที่อยากที่จะเข้าไปศึกษา
PRE TEST
กดที่ลิงค์ด้านล่างเพื่อทดสอบความรู้ก่อนเรียนเรื่องไฟฟ้ าสถิต
https://docs.google.com/forms/d/1dMAcZht2GEdWJyVB_As2Z-
UENMUWXpFLbPAieHoRdYE/alreadyresponded?fbclid=IwAR1U7QSK6HExwGJn
eS7GApA0e2UDkYoFwkQcUyAgc4CaH4xSKWjg3c1CayQ&edit_requested=true
LET’S
STUDY
ไฟฟ้ าสถิต
( Static Electricity )
การเหนี่ยวนาไฟฟ้ า
แรงระหว่างประจุและกฎของคูลอมบ์
สนามไฟฟ้ า (electric field)
ศักย์ไฟฟ้ า
วิดีโอเรื่องไฟฟ้ าสถิต
คลิปวิดีโอสรุปสูตรของไฟฟ้ าสถิต
บทประยุกต์
การเหนี่ยวนาไฟฟ้ า(สรุป)
อิเล็กโทรสโคป (electroscope)
เป็นเครื่องมือสาหรับตรวจไฟฟ้ าสถิต มี 2 ชนิด ได้แก่
1. อิเล็กโตรสโคปแบบพิธบอล
-เป็นอิเล็กโทรสโคปแบบง่ายที่สุด ประกอบด้วยลูกกลมเล็กแขวนจากปลายเสาที่ตั้งบนแท่นฉนวนไฟฟ้ า
-ใช้ตรวจวัตถุใดมีประจุไฟฟ้ าหรือไม่ เป็นประจุชนิดไหน
-วิธีใช้(หาประจุว่ามีหรือไม่) : นาวัตถุเข้ามาใกล้ๆ ลูกกลมนั้น
-หาว่ามีประจุหรือไม่ : ถ้าลูกกลมเคลื่อนที่ดูดเข้าหาวัตถุนั้น แสดงว่าวัตถุที่นามาทดลองนั้นมีประจุไฟฟ้ า
ถ้าลูกกลมไม่เคลื่อนที่เลย แสดงว่าวัตถุนั้นเป็นกลาง (ไม่มีประจุไฟฟ้ า)
-วิธีใช้(หาว่าเป็นประจุชนิดไหน) : 1.ให้ประจุไฟฟ้ าที่ทราบชนิดแล้วแก่ลูกกลมก่อน
2.นาวัตถุที่มีประจุไฟฟ้ าซึ่งต้องการตรวจชนิดประจุนั้นเข้ามาใกล้ลูกกลม
NEXT
การตรวจสอบชนิดของประจุ
ให้ลูกพิธมีประจุบวก ถ้าเกิดแรงดูดกับวัตถุ แสดงว่าวัตถุนี้มีประจุลบ
หรือวัตถุนี้อาจจะเป็นกลางก็ได้
ให้ลูกพิธมีประจุลบ เกิดแรงผลักกับวัตถุ
แสดงว่าวัตถุนี้มีประจุลบ
2. อิเล็กโทรสโคปแบบแผ่นทองคาเปลว
-ประกอบด้วยแผ่นทองคาเปลว หรือแผ่นอะลูมิเนียมบาง ๆ สองแผ่นติดห้อยประกบกันที่ปลายแท่งโลหะ AB ปลายบนของแท่งโลหะนี้
เชื่อมติดกับจานโลหะ D ตัวแท่งโลหะสอดติดแน่นอยู่ในฉนวนไฟฟ้ าท่อนหนึ่ง ตัวท่อนฉนวน เสียบแน่นอยู่กับปลั๊กยาง P ซึ่งสอดแนบสนิท
กับฝาบนของกล่องโลหะ C ด้านหน้า และด้านหลังของโลหะจะตัดออก และกรุไว้ด้วยแผ่นกระจก เพื่อให้มองเห็นแผ่นทองคาเปลวได้สะดวก
BACK
แผ่นขนานกางออก แสดงว่าวัตถุมีประจุ แผ่นขนานไม่กางออก แสดงว่าวัตถุไม่มีประจุ แผ่นขนานกางออก แสดงว่าวัตถุมีประจุ
การตรวจสอบประจุของวัตถุด้วยอิเล็กโทรสโคป
การเหนี่ยวนาไฟฟ้ า(วีดีโอ)
มีคลิปให้ดูนะ กดตามลิงค์ด้านล่างได้เลย
https://www.youtube.com/watch?v=BS4hcqLnUlQ
แรงระหว่างประจุและกฎของคูลอมบ์(สรุป)
ประจุไฟฟ้ า(ทบทวน)
-อะตอมประกอบด้วย นิวเคลียส ( บรรจุด้วยโปรตอน และอิเล็กตรอน)
-แรงทางไฟฟ้ าเกิดจากประจุไฟฟ้ า
ประจุไฟฟ้ าบวก(โปรตอน) +1.6x10^(-19)C มวล 1.67x10^(-27)kg
ประจุไฟฟ้ าลบ(อิเล็กตรอน) -1.6x10^(-19)C มวล 9.11x10^(-31)kg
สูตร : Q=ne n=จานวนเต็มใดๆ e=ประจุ(ตัวเดียว) Q=ประจุ(ทั้งหมด)
แรงที่เกิดขึ้นระหว่างประจุไฟฟ้ า
1. ประจุไฟฟ้ าชนิดเดียว เกิดแรงผลัก
2. ประจุไฟฟ้ าต่างชนิด เกิดแรงดูด
3. แรงผลักหรือแรงดูดนี้เป็นแรงคู่ปฏิกิริยากัน (action=reaction)
4. วัตถุที่มีประจุไฟฟ้ าจะดูดวัตถุที่เป็นกลางเสมอ
ประจุไฟฟ้ าชนิดเดียว เกิดแรงผลัก
ประจุไฟฟ้ าต่างชนิด
เกิดแรงดูด
กฎของคูลอมบ์
-เมื่อมีประจุ 2 ตัวในบริเวณเดียวกันจะเกิดแรงกระทาระหว่างกัน โดย
1.แรงระหว่างประจุจะแปรผันตรงกับผลคูณของปริมาณประจุทั้ง 2
2.แรงระหว่างประจุจะแปรผกผันกับระยะห่างระหว่างประจุยกกาลังสอง
(ระยะห่างระหว่างประจุต้องวัดจากจุดศูนย์กลางประจุ)
นาสมการ (1) และ (2) มารวมกันเป็นสมการทั่วไปสาหรับแรงระหว่างประจุทั้งสอง
สูตร(กฎของคูลอมบ์)
กาหนดให้
Q1, Q2 เป็นขนาดของประจุไฟฟ้ า หน่วยเป็นคูลอมบ์ (C)
r เป็นระยะห่างระหว่างประจุไฟฟ้ า หน่วยเป็นเมตร (m)
F เป็นแรงระหว่างประจุไฟฟ้ า หน่วยเป็นนิวตัน (N)
มีคลิปให้ดูนะ กดตามลิงค์ด้านล่างได้เลย
https://www.youtube.com/watch?v=BSbioE7ACG4
สนามไฟฟ้ า(electric field)(สรุป)
สนามไฟฟ้ า(electric field)
-บริเวณโดยรอบประจุไฟฟ้ า ซึ่งประจุไฟฟ้ าสามารถส่งอานาจไปถึง
-บริเวณที่เมื่อนาประจุไฟฟ้ าเข้าไปวางแล้วจะเกิดแรงกระทาบนประจุไฟฟ้ านั้นตามจุดต่างๆ
-ในบริเวณสนามไฟฟ้ าย่อมมีความเข้มข้นของสนามไฟฟ้ าต่างกัน จุดที่อยู่ใกล้ประจุไฟฟ้ าจะมีความเข้มข้นของสนามไฟฟ้ าสูงกว่าจุดที่อยู่ห่างไกลออกไป
ทิศของสนามไฟฟ้ า
ประจุบวก : สนามไฟฟ้ ามีทิศพุ่งออกจากประจุต้นกาเนิด
ประจุลบ : สนามไฟฟ้ ามีทิศพุ่งเข้าหาประจุต้นกาเนิด
Note: ทิศสนามแม่เหล็กไฟฟ้ า ออกจากบวก เข้าหาลบ
ประจุต้นกาเนิดทาให้เกิดสนามไฟฟ้ า
ประจุทดสอบคือประจุที่ใช้ทดสอบว่ามีสนามไฟฟ้ าหรือไม่?
สูตรการคานวณ
จากนิยาม สนามไฟฟ้ า เป็นแรงต่อประจุ 1 coulum
สนามไฟฟ้ า (E) = แรงทางไฟฟ้ า (F) / ประจุ (Q)
สูตร :
จากกฎของคูลอมบ์ แทนใน
จะได้สูตร:
สรุป การหาความเข้มของสนามไฟฟ้ า(มีหน่วยคูลอมบ์) ณ จุดใด ๆ
1. เขียนรูป แสดงตาแหน่งประจุเข้าของสนาม
2. นาประจุ +1 คูลอมบ์ ไปวางไว้ ณ จุดที่จะหาความเข้มของสนามไฟฟ้ า
3. เขียนทิศทางของแรงที่กระทาต่อประจุ +1 คูลอมบ์ ณ จุดนั้นด้วย
4. หาความเข้มของสนามไฟฟ้ า จากสูตร:
มีคลิปให้ดูนะ กดตามลิงค์ด้านล่างได้เลย
https://www.youtube.com/watch?v=WE4eSh2PNSY
https://www.youtube.com/watch?v=HjeVrIMk1SQ&t=1665s
https://www.youtube.com/watch?v=3YHucV3x_nU&t=304s
ศักย์ไฟฟ้ า(สรุป)
ศักย์ไฟฟ้ า
-คืองานที่ใช้ในการเคลื่อนประจุ +1 C จากตาแหน่งที่ศักย์ไฟฟ้ าเป็น 0 มายังจุดนั้น
-คือพลังงานศักย์ไฟฟ้ าต่อ 1 หน่วยประจุที่ตาแหน่งนั้น (Ep/q)
สูตรการคานวณ
หรือ
กาหนดให้
V = ศักย์ไฟฟ้ า มีหน่วยเป็น Volt
Q = ประจุไฟฟ้ า
R = ระยะจากประจุไฟฟ้ า ถึงจุดที่ต้องการหาศักย์ไฟฟ้ า
ความต่างศักย์ไฟฟ้ า
-ผลต่างระหว่างศักย์ไฟฟ้ าระหว่าง 2 จุด
-งานในการเคลื่อนประจุต่อ 1 หน่วยประจุ
V=Ep/q
A ๐------------------------------๐ B
ถ้า Q เป็นประจุบวก จะพบว่า
W เป็น + เมื่อศักย์ที่ B สูงกว่าที่ A (ได้งาน)
W เป็น - เมื่อศักย์ที่ B ต่ากว่าที่ A (เสียงาน)
W เป็น ศูนย์ เมื่อศักย์ที่ B เท่ากับศักย์ที่ A (ไม่มีงาน)
กาหนดให้
W = พลังงาน ในการเคลื่อนที่ประจุ Q หน่วย Joule
Q = ประจุไฟฟ้ า หน่วย Coulomb
V = ความต่างศักย์ระหว่าง 2 จุด หน่วย (J/C หรือ Volt)
V = W / Q W = QV
พลังงานศักย์ไฟฟ้ า
-พลังงานศักย์ต่อหนึ่งหน่วยประจุที่ใช้ในการเคลื่อนประจุไฟฟ้ าจากจุดหนึ่งไปยังอีกจุดหนึ่งในสนามไฟฟ้ า มีหน่วยเป็นจูล
Ep = พลังงานศักย์ไฟฟ้ า
q = ประจุไฟฟ้ า มีหน่วยเป็น คูลอมบ์
V = ศักย์ไฟฟ้ า มีหน่วยเป็น โวลต์
ส่วนพลังงานในการเคลื่อนประจุจากจุด A ที่มีความต่างศักย์ไฟฟ้ า VA ไปยังจุด B ที่มีความต่างศักย์ไฟฟ้ า VB จะเป็นดังนี้
W = พลังงานที่ใช้ในการเคลื่อนประจุ มีหน่วยเป็นจูล
q = ประจุไฟฟ้ าที่เคลื่อนระหว่างจุด A กับ B
V = ความต่างศักย์ไฟฟ้ าระหว่างจุด A กับจุด B
จาก เป็น
ดังนั้น
V = Ed
มีคลิปให้ดูนะ กดตามลิงค์ด้านล่างได้เลย
https://www.youtube.com/watch?v=X--FwrbvmYU
https://www.youtube.com/watch?v=CK1h63f-_5Y
บทประยุกต์
ข้อที่ 1
อนุภาลมวล m และประจุ + q ถูกปล่อยในแนวราบด้วยอัตราเร็วตน y เข้าสู่สนามไฟฟาสม่าเสมอ E ซึ่งเกิดขึ้น
ระหว่างโลหะคู่ขนานยาว l ดังรูปจงหาอนุภาคเบี่ยงเบนไปจากแนวเดิมขณะเคลื่อนที่ออกจากสนามไฟฟ้ า
(ไม่ต้องแรงโน้มถ่วงของโลก)
ข้อที่ 2
ประจุ +10 ไมโครคูลอมบ์, +20 ไมโครคูลอมบ์และ 44 ไมโครคูลอมบ์วางอยู่ในตาแหน่งแสดงดังรูป
จงหาแรงลัพธ์ ที่ประจุ 420 ไมโครคูลอมบ์
1. 1.4 นิวตัน
3. 5.4 นิวตัน
2. 3.4 นิวตัน
4. 6.4 นิวตัน
ข้อที่ 3
ทรงกลมด้วนาลูกหนึ่งมีมวล m แขวนด้วยเชือกภายใต้สนามไฟฟ้ าสม่าเสมอ 4 x 10 นิวตัน / คูลอม
หากทรงกลมมีประจุอยู่ 2 x 10 คูลอมบ์ทาให้เชือกแขวนทามุม 30 °กับแนวดิ่งมวลของทรงกลมนี้มีค่าเท่าไร
1. 2.31 x 10 กิโลกรัม
3. 6.93 x 10 กิโลกรัม
2. 4.62 x 10 กิโลกรัม
4. 13.86 x 10 กิโลกรัม
วิดีโอเรื่องไฟฟ้ าสถิต
กดตามลิงค์ด้านล่างได้เลย
https://www.youtube.com/watch?v=evXhtVZZtQw
คลิปวิดีโอสรุปสูตรของไฟฟ้ าสถิต
กดตามลิงค์ด้านล่างได้เลย
https://www.youtube.com/watch?v=AVU67GHn_Bs&fbclid=IwAR3ztDJM4PK0l_nmJqWdCwK
8Cm9c7y7HoIeDwI4xFQ0p7s30yjZsQZfsj1Q
POST TEST
กดที่ลิงค์ด้านล่างเพื่อทดสอบความรู้หลังเรียนเรื่องไฟฟ้ าสถิต
https://docs.google.com/forms/d/1sPTjJCmhqdszRHBVrKOPMxz0elFTJkgYgJBsR
LvjcAA/alreadyresponded?fbclid=IwAR3tFktPU68nIwQLw2YSNMRkwqxOTm4uC
a4ie5PfCiH9RxxINo-d6K889W8&edit_requested=true
ขอขอบคุณคลิปวีดีโอจาก
YOUTUBE ช่อง Nestle School
และช่อง Physics Ondemand

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

หน่วย1 กฏของโอห์ม
หน่วย1 กฏของโอห์มหน่วย1 กฏของโอห์ม
หน่วย1 กฏของโอห์ม
Pornsak Tongma
 

Was ist angesagt? (8)

หน่วย1 กฏของโอห์ม
หน่วย1 กฏของโอห์มหน่วย1 กฏของโอห์ม
หน่วย1 กฏของโอห์ม
 
ไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิตไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิต
 
ไฟฟ้าม3
ไฟฟ้าม3ไฟฟ้าม3
ไฟฟ้าม3
 
ไฟฟ้ากระแสตรง
ไฟฟ้ากระแสตรงไฟฟ้ากระแสตรง
ไฟฟ้ากระแสตรง
 
Charge (ประจุไฟฟ้า)
Charge (ประจุไฟฟ้า) Charge (ประจุไฟฟ้า)
Charge (ประจุไฟฟ้า)
 
A ccircuit
A ccircuitA ccircuit
A ccircuit
 
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3
 
ไฟฟ้าสถิตPpt
ไฟฟ้าสถิตPptไฟฟ้าสถิตPpt
ไฟฟ้าสถิตPpt
 

Powerpoint Static electricity.pptx