SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 95
Project appraisal & analysis (1703421)  by Narongsak THS. 1 การศึกษาความเป็นไปได้ของโครงการธุรกิจ(Project Feasibility Study)&แผนธุรกิจ(Business Plan) ผู้สอน : นายณรงค์ศักดิ์ ธงอาษา E-mail : narongths@yahoo.com
Project appraisal & analysis (1703421)  by Narongsak THS. 2 ขอบเขตการเรียนบทนี้ เข้าใจและอธิบายความหมายของการศึกษาความเป็นไปได้ของโครงการด้านธุรกิจและอุตสาหกรรม เข้าใจและอธิบายขั้นตอนในการวิเคราะห์โครงการ ฯ  เข้าใจประโยชน์ของการศึกษาความเป็นไปได้ของโครงการด้านธุรกิจ เข้าใจความแตกต่างระหว่างการศึกษาความเป็นไปได้ของโครงการด้านธุรกิจ กับแผนธุรกิจ (Business Plan) ตัวอย่างรายงานศึกษาความเป็นไปได้ของโครงการธุรกิจ
Project appraisal & analysis (1703421)  by Narongsak THS. 3 ความจำเป็นที่ต้องทำการศึกษาความเป็นไปได้ของโครงการ  ความเสี่ยง
Project appraisal & analysis (1703421)  by Narongsak THS. 4 ความจำเป็นที่ต้องทำการศึกษาความเป็นไปได้ของโครงการ  แต่ลงทุนน้อยไป มีตลาดหรือไม่ มีมาก  (Demand > Supply) ความเสี่ยง ทางการตลาด มีตลาดหรือไม่ มี แต่น้อย (Demand < Supply) แต่ลงทุนมากเกินไป
Project appraisal & analysis (1703421)  by Narongsak THS. 5 ความจำเป็นที่ต้องทำการศึกษาความเป็นไปได้ ของโครงการ กระบวนการผลิต  เทคโนโลยีการผลิต ความเสี่ยง ทางการผลิต วัตถุดิบ แรงงาน Logistics กฎหมาย ชุมชน
Project appraisal & analysis (1703421)  by Narongsak THS. 6 ความจำเป็นที่ต้องทำการศึกษาความเป็นไปได้ ของโครงการ วัฒนธรรม และค่านิยมขององค์กร ระบบการบริหาร ความเสี่ยง ทางการบริหาร องค์ความรู้ บุคลากรด้านการบริหาร เงินทุน กฎ ระเบียบ อื่นๆ
Project appraisal & analysis (1703421)  by Narongsak THS. 7 ความจำเป็นที่ต้องทำการศึกษาความเป็นไปได้ ของโครงการ GDP ความเสี่ยง ด้านเศรษฐกิจ มหภาค สถานการณ์เศรษฐกิจโลก อัตราดอกเบี้ย อัตราเงินเฟ้อ การนำเข้า ส่งออก อัตราแลกเปลี่ยน อื่นๆ
Project appraisal & analysis (1703421)  by Narongsak THS. 8 ความหมายของโครงการ (ทางธุรกิจ)  โครงการ (Project) หมายถึง...... กิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับการลงทุน โดยมีวัตถุประสงค์ที่แน่นอน ด้วยเงินทุนจำนวนหนึ่ง          เพื่อจัดหาสินทรัพย์ถาวร สำหรับใช้ในการผลิตสินค้าและบริการ  โดยมุ่งหวังว่า จะได้รับผลตอบแทนในอนาคต ภายในช่วงระยะเวลาหนึ่ง
Project appraisal & analysis (1703421)  by Narongsak THS. 9 ความหมายของโครงการ  แผน (PLAN)  เป็นการคาดการณ์ล่วงหน้า (FORECAST) ถึงอนาคต (FUTURE)  ต่อวัตถุประสงค์ที่ต้องการ โดยมีกิจกรรมต่าง ๆ  (ACTIVITY)  เพื่อแสดงให้รู้ว่า   ใครเป็นผู้ทำ (WHO)   		ทำอะไร (WHAT)  		ทำที่ไหน (WHERE)   		ทำเมื่อไร (WHEN)   		ทำไมต้องทำ (WHY)  		ทำอย่างไร (HOW)  		ใช้งบประมาณเท่าไร (How Many) จำง่าย ๆ ว่าแผน/โครงการนั้น มีไว้ เพื่อตอบคำถาม 5W+ 2H  นั่นเอง จึงจะบรรลุผล ตามที่ต้องการ   
Project appraisal & analysis (1703421)  by Narongsak THS. 10 การตัดสินใจลงทุนในโครงการ ผู้ลงทุนจะต้องพิจารณาว่า...... 	ถ้าลงทุนไปแล้ว  	ผลตอบแทนที่ได้รับจะคุ้มค่าหรือไม่ โดยผลตอบแทนที่ นักลงทุนต้องการ ต้องสูงที่สุดที่จะเป็นไปได้ อย่างน้อยที่สุด จะต้องได้รับผลตอบแทน  ไม่ต่ำกว่าอัตราดอกเบี้ยเงินฝาก ??  ในกรณีที่นักลงทุน นำเงินไปฝาก แทนการตัดสินใจลงทุน
Project appraisal & analysis (1703421)  by Narongsak THS. 11 ลักษณะโครงการลงทุน 1. โครงการซื้อเครื่องจักรใหม่ทดแทนเครื่องจักรเก่าที่หมดอายุ      (Replacement : maintenance of business) 2. โครงการซื้อเครื่องจักรใหม่ทดแทนเครื่องจักรเก่าที่ยังใช้งานได้อยู่     (Replacement : cost reduction) 3. โครงการขยายผลิตภัณฑ์เดิม (Expansion of existing       products or markets) 4. โครงการขยายผลิตภัณฑ์ใหม่ (Expansion into new      products or markets) 5. โครงการเพื่อความปลอดภัยและคุ้มครองสิ่งแวดล้อม (Safety and or environmental projects) 6. โครงการประเภทอื่น (Others)
Project appraisal & analysis (1703421)  by Narongsak THS. 12 ปัจจัยขั้นมูลฐานที่ต้องตัดสินใจในโครงการ 1. การตัดสินใจเกี่ยวกับวัตถุประสงค์ (Objective) ของกิจการ กล่าวคือ จะผลิตสินค้า หรือบริการอะไร จะจำหน่ายในตลาดใด และมีกิจกรรมใดที่ต้องดำเนินการเกี่ยวกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ 2. การตัดสินใจเกี่ยวกับการจัดหาทรัพยากร กล่าวคือ จะใช้วัตถุดิบ เครื่องจักร อุปกรณ์ แรงงาน เงินทุน ฯลฯ จากแหล่งใด ปริมาณเท่าใด  3. การตัดสินใจเกี่ยวกับการจัดสรรทรัพยากรที่กิจการจัดหามาได้  โดยเฉพาะการจัดสรรเงินทุน จะต้องตัดสินใจว่า จะจัดสรรแก่งานใด หน่วยงานใด ปริมาณเท่าใด และภายใต้เงื่อนไขใด
Project appraisal & analysis (1703421)  by Narongsak THS. 13 ตัวอย่างของโครงการลงทุน โครงการก่อสร้างระบบรถไฟฟ้า BTS โครงการก่อสร้างระบบรถไฟใต้ดิน โครงการก่อสร้างตึกใบหยก 2 โครงการก่อสร้างสนามบินสุวรรณภูมิ โครงการดาวเทียมไทยคม 1 โครงการรถไฟรางคู่ โครงการถนน 4 เลน ทั่วประเทศ เป็นต้น
Project appraisal & analysis (1703421)  by Narongsak THS. 14 ความผิดพลาดของการศึกษาความเป็นไปได้ในการลงทุน เกือบทำให้Dubai World ล้มละลาย
Project appraisal & analysis (1703421)  by Narongsak THS. 15 เกาะที่ 1 คือ ปาล์ม จูไมร่า
Project appraisal & analysis (1703421)  by Narongsak THS. 16 เกาะที่ 2 คือ เจเบลอาลี
Project appraisal & analysis (1703421)  by Narongsak THS. 17 เกาะที่ 3 คือ ปาล์ม เดียร์ร่า
Project appraisal & analysis (1703421)  by Narongsak THS. 18 The World
Project appraisal & analysis (1703421)  by Narongsak THS. 19 The Universe
Project appraisal & analysis (1703421)  by Narongsak THS. 20 การศึกษาความเป็นไปได้ของโครงการทางธุรกิจ(Business Feasibility Study) หมายถึง การศึกษา โดยมีวัตถุประสงค์และเป้าหมายที่แน่นอน  	   ในด้านการตลาด  			     การผลิต  				     การบริหาร  					      และด้านการเงิน เพื่อช่วยให้ผู้ที่คิดจะลงทุน (ใหม่) ใช้เป็น แนวทางในการตัดสินใจ เลือกโครงการที่จะให้ผลตอบแทนสูงที่สุด  และใช้ทรัพยากรต่ำที่สุด สุดท้าย ต้องตัดสินใจว่า จะเลือกลงทุนหรือไม่
Project appraisal & analysis (1703421)  by Narongsak THS. 21 ลักษณะของการศึกษาความเป็นไปได้ของโครงการ 1. ทุกครั้งที่มีการลงทุนใหม่ จะต้องมีการศึกษาความเป็นไปได้โครงการก่อน โดยเฉพาะโครงการขนาดใหญ่ และใช้เงินลงทุนจำนวนมาก 2. เพื่อให้มั่นใจว่า  จะมีตลาด (ความต้องการ) สำหรับสินค้าและบริการที่ผลิตมา, มีวัตถุดิบเพียงพอ สำหรับป้อนกระบวนการผลิต, และแรงงานเพียงพอ  3. ตลอดจน ต้นทุนทั้งหมดเกี่ยวกับเครื่องจักร อุปกรณ์ แรงงาน วัตถุดิบที่จะสั่งซื้อ มีความเหมาะสม 4. สำคัญที่สุด จะต้องมั่นใจว่า มีรายได้มากกว่าต้นทุน โดยมีกำไรเพียงพอที่จะทำให้ผลตอบแทนทางการเงินของโครงการเป็นที่น่าพึงพอใจ  หรือระยะเวลาคืนทุนที่สั้น
Project appraisal & analysis (1703421)  by Narongsak THS. 22 ลักษณะของการศึกษาความเป็นไปได้ของโครงการ ถ้าเป็นโครงการขนาดเล็ก รูปแบบของการศึกษา  อาจไม่ต้องละเอียดมากนัก
Project appraisal & analysis (1703421)  by Narongsak THS. 23 วงจรในการพัฒนาโครงการProject development cycle ขั้นที่ 1 การเลือกโครงการ (Project       Identification) ขั้นที่ 2 การวางระบบโครงการ (Project Formulation) ขั้นที่ 3 การประเมินโครงการ          (Project Evaluation) ขั้นที่ 4 การดำเนินโครงการ           (Project Implementation) ขั้นที่ 5 การควบคุมและดูแลโครงการ          (Project Monitor and Control)
Project appraisal & analysis (1703421)  by Narongsak THS. 24 ขั้นที่ 1 การเลือกโครงการ     (Project Identification) 1.  จุดเริ่มต้นของการวิเคราะห์โครงการ ได้แก่ การกำหนดวัตถุประสงค์ของโครงการ  2. ลักษณะของวัตถุประสงค์ 2.1 จะต้องมีความเป็นไปได้  2.2 มีความต้องการที่จะจัดหาเครื่องจักรและอุปกรณ์เพิ่มขึ้น   หรือ      2.3 มีความต้องการที่จะผลิตสินค้าและบริการเพิ่มขึ้น หรือ      2.4 นำทรัพยากรที่มีอยู่ มาใช้ให้เกิดประโยชน์เพิ่มขึ้น  หรือ           2.5  มีเครื่องจักรและอุปกรณ์อยู่แล้ว ต้องการเปลี่ยนใหม่
Project appraisal & analysis (1703421)  by Narongsak THS. 25 แนวคิดเกี่ยวกับการจัดทำโครงการสามารถเกิดขึ้นได้จาก จากการติดต่อกับ...... ลูกค้า 				ผู้จำหน่ายผลิตภัณฑ์  					คู่แข่งขัน  						พนักงานขาย 						หรือจากผู้บริหารเองและอื่นๆ 2.  จากการสำรวจอุตสาหกรรมที่มีอยู่หรือการวิเคราะห์อุตสาหกรรม (Industrial Analysis)หรือการวิจัยการตลาด (Market Research)เป็นต้น
Project appraisal & analysis (1703421)  by Narongsak THS. 26 แหล่งที่มาของแนวคิดในการจัดทำโครงการ แนวคิด หรือการกำหนดโครงการใหม่  อาจมาจากหลายช่องทาง เช่น ผู้ที่เป็นเจ้าของธุรกิจ  	นักอุตสาหกรรม หรือผู้บริหารระดับสูง 	วิศวกร หรือผู้บริหารระดับกลาง 	พนักงานระดับล่าง 	ที่ปรึกษาทางธุรกิจ การชี้นำของภาครัฐ       เป็นต้น
Project appraisal & analysis (1703421)  by Narongsak THS. 27     จากวัตถุประสงค์หรือแนวคิดข้างต้นจะทำให้มีโครงการต่างๆที่สามารถบรรลุวัตถุประสงค์หรือแนวคิดได้หลายโครงการ ดังนั้น ขั้นแรกจึงต้องทำการคัดเลือกโครงการที่ดีที่สุดจากแนวคิดต่างๆ ที่มีอยู่
Project appraisal & analysis (1703421)  by Narongsak THS. 28 ขั้นที่ 2 การวางระบบโครงการ(Project Formulation) ในขั้นตอนนี้ จะต้องตัดสินใจว่า 1. สมควรที่จะศึกษารายละเอียดของโครงการหรือไม่  ถ้าเห็นว่า สมควรที่จะศึกษา ต้องกำหนดขอบเขตการศึกษา เวลา และค่าใช้จ่ายในการศึกษา ผู้วางแผนต้องมั่นใจว่า ระดับเทคนิคและเศรษฐกิจของโครงการดังกล่าว เป็นสิ่งที่น่าศึกษาในรายละเอียดเพิ่มขึ้น
Project appraisal & analysis (1703421)  by Narongsak THS. 29 ขั้นที่ 2 การวางระบบโครงการ(Project Formulation) 2. ผู้วางแผนต้องมั่นใจว่า แนวคิดของโครงการสอดคล้องกับวัตถุประสงค์และเป้าหมายหลักของกิจการ รัฐบาล และสังคม      ในขั้นตอนนี้ เป็นการขจัดแนวคิดที่ไม่สอดคล้องวัตถุประสงค์และเป้าหมายหลักของกิจการ รัฐบาล และสังคม ออกไป 3. ผู้วางแผนต้องมั่นใจว่า แนวคิดของโครงการสอดคล้องกับทรัพยากรขององค์การ ไม่ว่า เงินทุน เทคโนโลยี และบุคลากร ตลอดจน ค่านิยม และวัฒนธรรมขององค์กร
Project appraisal & analysis (1703421)  by Narongsak THS. 30 ขั้นที่ 2การวางระบบโครงการ (Project Formulation) ผลที่ได้รับจากขั้นตอนนี้ จะนำสู่การศึกษาความเป็นไปได้เบื้องต้นของโครงการ  (Pre-feasibility Study)  เพื่อตัดสินใจลงทุนในโครงการที่เหมาะสมที่สุด ขององค์กร
Project appraisal & analysis (1703421)  by Narongsak THS. 31 การศึกษาความเป็นไปได้เบื้องต้นของโครงการ(Pre-feasibility Study)(1) การอธิบายสภาพตลาด เช่น ปริมาณความต้องการ ปริมาณการผลิต และ แนวโน้ม เป็นต้น 2. กำหนดโครงร่างกระบวนการผลิต และจัดหาข่าวสารปัจจัยการผลิตที่สำคัญ 3. ประมาณการเงินลงทุนที่จำเป็นและต้นทุนของการดำเนินการ (Cost of Operation) 4. ประมาณการรายได้ ต้นทุนและค่าใช้จ่าย และกำไรที่คาดว่าจะได้จากการดำเนินโครงการ 5. การวิเคราะห์เกี่ยวกับปัญหาและความเสี่ยงที่คาดว่า อาจจะเกิดขึ้น
Project appraisal & analysis (1703421)  by Narongsak THS. 32     การศึกษาความเป็นไปได้เบื้องต้น (Pre-feasibility study)(2) เนื่องจากกระบวนการศึกษาความเป็นไปได้ของโครงการ  ใช้ทั้งค่าใช้จ่ายสูง บุคคลากร และใช้เวลานานมาก แนวคิดต่างๆ ที่ดี  อาจมีมากมาย  ดังนั้น  ก่อนการเริ่มต้นศึกษา  จึงควรเลือกแนวคิดที่เหมาะสมที่สุด เพื่อใช้ในการศึกษาฯ วิธีการศึกษา  อาจใช้วิธีการเปรียบเทียบ คุณสมบัติเบื้องต้น
Project appraisal & analysis (1703421)  by Narongsak THS. 33 การศึกษาความเป็นไปได้เบื้องต้น (3) ขอบเขตการศึกษา ลักษณะของสินค้า : ศึกษาลักษณะของสินค้า ควบคู่ไปกับลู่ทางการเข้าทดแทนสินค้าในตลาด ลักษณะของตลาด : ศึกษาสภาพตลาดทั้งในปัจจุบันและแนวโน้มในอนาคต, ลักษณะการแข่งขันในตลาด ใครคือคู่แข่ง มีจุดแข็ง-จุดอ่อนอย่างไร มีกำลังการผลิต นำเข้า-ส่งออกอย่างไร รวมทั้งโครงสร้างด้านราคา
Project appraisal & analysis (1703421)  by Narongsak THS. 34 การศึกษาความเป็นไปได้เบื้องต้น (3) ขอบเขตการศึกษา 	3. ลักษณะด้านเทคนิค : เทคโนโลยีที่ใช้ สถานที่ตั้งโรงงาน  	4. ปัจจัยการผลิต : วัตถุดิบ แหล่งวัตถุ โครงสร้างพื้นฐาน 	5. ต้นทุนและค่าใช้จ่าย 	6. ผลกำไร 	7. ปัจจัยอื่นๆ เช่น ทัศนคติ วัฒนธรรม ของบุคคลในท้องถิ่น *** จะให้เหมาะสม ข้อมูลต่างๆ ที่ใช้ ควรมีแหล่งที่มาที่เชื่อถือได้หรืออ้างอิงแหล่งที่มาได้ ***
Project appraisal & analysis (1703421)  by Narongsak THS. 35 แนวทางการกลั่นกรองเบื้องต้น ความสอดคล้องกับความต้องการของนักลงทุน สอดคล้องกับนโยบายของรัฐบาล จัดหาปัจจัยการผลิตได้ง่าย และต่อเนื่อง ตลาดมีขนาดที่ใหญ่พอ และมีแนวโน้มที่จะพัฒนาได้ ต้นทุนมีความสมเหตุสมผล ระดับความเสี่ยงพอจะรับได้
Project appraisal & analysis (1703421)  by Narongsak THS. 36 โครงการที่มีลักษณะไม่ดี อาจถูกตัดออก 1. ข้อจำกัดต่างๆ การผูกขาด การขาดแคลน หรือสาเหตุอื่นๆ ที่ทำให้ไม่สามารถดำเนินการ เช่น ขาดแคลนแรงงานที่มีทักษะ พลังงาน วัตถุดิบ เทคโนโลยี 2. ใช้เงินทุน (Capital) มากเกินไป จนไม่สามารถจัดหาได้ครบ 3. ก่อให้เกิดมลพิษ ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม  4. ไม่สอดคล้องกับนโยบาย เป้าหมาย กฎหมายของรัฐ 5. มีการผูกขาดในอุตสากรรม
Project appraisal & analysis (1703421)  by Narongsak THS. 37 สรุปการศึกษาความเป็นไปได้เบื้องต้น การศึกษาความเป็นไปได้เบื้องต้น หมายถึง การศึกษา เพื่อ รายงานถึงศักยภาพของโครงการ ซึ่งจะมีข้อมูลที่เพียงพอต่อการ ตัดสินใจว่า จะวิเคราะห์และใช้ทรัพยากรในการศึกษาต่อไปอีก หรือไม่   	การศึกษาในขั้นนี้ ยังไม่ได้ศึกษาในรายละเอียด ยังไม่ได้มีการ ออกแบบทางด้านโรงงาน เทคนิค หรือวิศวกรรม ด้านการเงิน  และด้านเศรษฐกิจ  	หรือ การศึกษาความเป็นไปได้เบื้องต้น เป็นเพียงการศึกษา ความเหมาะสมของโครงการ โดยทั่วๆ ไป เพื่อขจัดโครงการที่มี ลักษณะไม่ดีออกไป
Project appraisal & analysis (1703421)  by Narongsak THS. 38 ขั้นที่ 3 การประเมินโครงการ(Project Evaluation) ในขั้นการประเมินโครงการ  อาจมีทางเลือกหลายๆ ทาง ทางเลือกในการประเมิน อาจเป็น..... ด้านการตลาด ด้านเทคนิค (ผลิต) ด้านบริหาร ด้านการเงิน ฯลฯ ซึ่งจะต้องแสดงในรูปแบบที่เป็นระบบ โดยมีข้อมูลสนับสนุน
Project appraisal & analysis (1703421)  by Narongsak THS. 39 ขั้นที่ 3 การประเมินโครงการ(Project Evaluation) การวิเคราะห์ความเป็นไปได้ของโครงการ สามารถทำการศึกษาได้หลายระดับ ขึ้นอยู่กับ ขนาดตลาด เวลา กำลังคน และงบประมาณ
Project appraisal & analysis (1703421)  by Narongsak THS. 40 ขั้นที่ 3 การประเมินโครงการ(Project Evaluation) แต่ การศึกษาที่สมบูรณ์แบบ จะต้องประกอบด้วยการวิเคราะห์.... ด้านการตลาด ด้านเทคนิค (ผลิต) ด้านการบริหาร  ด้านการเงิน ด้านเศรษฐกิจ
Project appraisal & analysis (1703421)  by Narongsak THS. 41 ขั้นที่ 3 การประเมินโครงการ(Project Evaluation) การศึกษาความเป็นไปได้ด้านการตลาด การศึกษาความเป็นไปได้ด้านการผลิต การศึกษาความเป็นไปได้ด้านการบริหาร การศึกษาความเป็นไปได้ด้านเศรษฐกิจ การศึกษาความเป็นไปได้ด้านการเงิน อื่นๆ
Project appraisal & analysis (1703421)  by Narongsak THS. 42 การศึกษาความเป็นไปได้ด้านการตลาด 1. การวิเคราะห์ด้านการตลาด สามารถใช้เป็นวิธีการกลั่นกรอง แนวคิดในการลงทุนได้ 2. เป็นการประเมินความเป็นไปได้ทางด้านการตลาด 3. การวิเคราะห์ด้านการตลาด  จะประกอบด้วยการค้นคว้า    และวิเคราะห์ข้อมูล ที่สามารถใช้คัดเลือก แบ่งแยก อธิบาย    ตลาดและกลุ่มเป้าหมาย และอธิบายถึงความต้องการของ    กลุ่มเป้าหมายต่างๆได้
Project appraisal & analysis (1703421)  by Narongsak THS. 43 องค์ประกอบของการวิเคราะห์ด้านการตลาด  1. อธิบายแหล่งที่มาและราคาของวัตถุดิบ รวมทั้งเครดิตในการจัดซื้อวัตถุดิบ 2. อธิบายด้านการตลาดอย่างคร่าวๆ ได้แก่ ขอบเขตการตลาด วิธีการขนส่ง อัตราค่าขนส่ง ช่องทางการจำหน่าย และแนวปฏิบัติทางการค้าโดยทั่วไป   3. วิเคราะห์อุปสงค์ (Demand) ทั้งในอดีต และปัจจุบัน ได้แก่ การกำหนดปริมาณและมูลค่าของการบริโภค รวมทั้งระบุลูกค้าที่สำคัญ 4. วิเคราะห์อุปทาน ทั้งในอดีตและปัจจุบัน ได้แก่ แหล่งผลิต (ทั้งการนำเข้าและการผลิตภายในประเทศ) ข่าวสารที่จะช่วยในการกำหนดสภาพการแข่งขันของผลิตภัณฑ์ เช่น ราคาขาย คุณภาพ และวิธีปฏิบัติทางการตลาดของคู่แข่งขัน
Project appraisal & analysis (1703421)  by Narongsak THS. 44 องค์ประกอบของการวิเคราะห์ด้านการตลาด 5. ประมาณการอุปสงค์ในอนาคตของสินค้าและบริการ 6. ประมาณส่วนแบ่งการตลาด ของโครงการ โดยพิจารณาอุปสงค์ อุปทาน สภาพการแข่งขัน และกลยุทธ์ทางด้านการตลาดต่างๆ
Project appraisal & analysis (1703421)  by Narongsak THS. 45 การศึกษาความเป็นไปได้ด้านการผลิต/เทคนิค เป็นการศึกษาความสามารถของโครงการในการผลิต  ตามความต้องการ (ตลาด)  โดยใช้วิธีการผลิตและต้นทุนที่เหมาะสม
Project appraisal & analysis (1703421)  by Narongsak THS. 46 องค์ประกอบของการวิเคราะห์ด้านการผลิต 1. อธิบายลักษณะของผลิตภัณฑ์ ได้แก่ คุณสมบัติทางกายภาพ ทางวิศวกรรม และทางเคมี รวมทั้งการใช้ประโยชน์ของผลิตภัณฑ์   2. อธิบายลักษณะของกระบวนการผลิต โดยแสดงรายละเอียดของแผนภูมิกระบวนการผลิต ทางเลือกของการผลิต และเหตุผลในการเลือกกระบวนการผลิตที่เหมาะสมที่สุด   3. กำหนดขนาดของโรงงาน และตารางเวลาเกี่ยวกับการผลิต รวมทั้งปริมาณการผลิตที่คาดไว้ในช่วงเวลาต่างๆ โดยพิจารณาตั้งแต่เริ่มทำการผลิต และปัจจัยทางด้านเทคนิคอื่นๆ
Project appraisal & analysis (1703421)  by Narongsak THS. 47 องค์ประกอบของการวิเคราะห์ด้านการผลิต 4. เลือกประเภทเครื่องจักรและอุปกรณ์ โดยพิจารณาในรายละเอียดของเครื่องจักรและอุปกรณ์ที่ต้องการซื้อและแหล่งผลิต ราคา วันส่งมอบ ข้อตกลงเกี่ยวกับการชำระเงิน การติดตั้ง การทดลองเครื่อง ตลอดจน การวิเคราะห์เปรียบเทียบกับเครื่องจักรและอุปกรณ์ยี่ห้ออื่นในด้านราคา ความเชื่อถือ ประสิทธิภาพการทำงาน และการจัดหาอะไหล่ 5. ระบุที่ตั้งโรงงานและประเมินความเหมะสมของระยะทางจากแหล่งวัตถุดิบถึงโรงงาน และจากโรงงานถึงตลาด โดยเฉพาะโครงการลงทุนใหม่ๆ อาจต้องทำการศึกษาเปรียบเทียบ ถึงข้อได้เปรียบเสียเปรียบของโรงงานขนาดต่างๆ 6. ออกแบบแผนผังโรงงาน และประมาณค่าใช้จ่ายในการก่อสร้างและค่าปรับปรุงที่ดิน
Project appraisal & analysis (1703421)  by Narongsak THS. 48 องค์ประกอบของการวิเคราะห์ด้านการผลิต 7. ศึกษาถึงการจัดหาวัตถุดิบ และสิ่งจำเป็นในการผลิต ได้แก่ คุณสมบัติทางกายภาพและทางเคมีของวัตถุดิบที่ต้องการ ปริมาณที่ต้องการ ราคาในปัจจุบันและแนวโน้มราคาในอนาคต ข้อตกลงเกี่ยวกับการชำระเงิน ที่ตั้งของแหล่งวัตถุดิบ และความต่อเนื่องของซัพพลายของวัตถุดิบ 8. ประมาณการความต้องการแรงงาน ทั้งแรงงานทางตรงและแรงงานทางอ้อม การควบคุมบังคับบัญชาในสายการผลิต รวมทั้งเวลาทำงาน 9. ประมาณการต้นทุนการผลิตของสินค้าและบริการ 9. ระบุประเภทและปริมาณของเสียจากกระบวนการผลิต วิธีการขจัดของเสีย ค่าใช้จ่ายในการขจัดของเสีย ตลอดจน การขออนุญาตเกี่ยวกับระบบกำจัดของเสียจากหน่วยงานรัฐที่เกี่ยวข้อง
Project appraisal & analysis (1703421)  by Narongsak THS. 49 การศึกษาความเป็นไปได้ด้านการบริหาร เป็นความสามารถของโครงการในการดำเนินการบริหาร องค์กรที่จะจัดตั้งขึ้น เพื่อบริหารโครงการ.
Project appraisal & analysis (1703421)  by Narongsak THS. 50 ขอบเขตการศึกษาความเป็นไปได้ด้านการบริหาร รูปแบบองค์กร ผังโครงสร้างองค์การ เพื่อการบริหาร ประวัติผู้บริหารโครงการและหน้าที่ความรับผิดชอบ วิธีการบริหารโครงการต่างๆ แรงงานและทักษะการทำงาน อื่นๆ
Project appraisal & analysis (1703421)  by Narongsak THS. 51 การศึกษาความเป็นไปได้ด้านการเงิน เป็นการวิเคราะห์ความสามารถของโครงการ ว่าสามารถคืนทุน ให้กับผู้ลงทุน ปริมาณเท่าใด มากกว่า หรือน้อยกว่าระดับ ความคาดหวัง และภายในระยะเวลากี่ปี
Project appraisal & analysis (1703421)  by Narongsak THS. 52 ขอบเขตการศึกษาความเป็นไปได้ด้านการเงิน โครงสร้างเงินลงทุน แหล่งที่มาของเงินทุนและต้นทุนทางการเงินของโครงการ เงินทุนหมุนเวียน งบกระแสเงินสด งบการเงินล่วงหน้า (งบดุล และงบกำไร(ขาดทุน)) Financial Ratio Analysis ผลตอบแทนจากการลงทุน ระยะเวลาคืนทุนและจุดคุ้มทุน อื่นๆ
Project appraisal & analysis (1703421)  by Narongsak THS. 53 หลักเกณฑ์ การประเมินทางเลือกเชิงกลยุทธ์ (Evaluation of option)
Project appraisal & analysis (1703421)  by Narongsak THS. 54 หลักเกณฑ์ในการประเมินเชิงกลยุทธ์ การยึดหลักความเหมาะ (Suitability) การพิจารณาบนพื้นฐานของหลักเกณฑ์ความเป็นไปได้ (Feasibility) การพิจารณาถึงการยอมรับ (Acceptability) 4. แบบผสม 1-3
Project appraisal & analysis (1703421)  by Narongsak THS. 55 การยึดหลักความเหมาะ (Suitability) เป็นการพิจารณาว่า กลยุทธ์ที่เลือก สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลง ของสภาพแวดล้อมภายนอก (External Environment) ในทางเศรษฐกิจ อุตสาหกรรม และธุรกิจ 			สังคม ประชากร 				การเมือง  					กฎหมาย  						และอื่นๆ หรือไม่
Project appraisal & analysis (1703421)  by Narongsak THS. 56 2. การพิจารณาบนพื้นฐานของหลักเกณฑ์ความเป็นไปได้ (Feasibility) เป็นการพิจารณาความเหมาะสมของกลยุทธ์โดยคำนึงถึงถึงจุดแข็ง จุดอ่อน ของสภาพแวดล้อมภายในองค์กร (Internal Environment)  กล่าวคือ  	1. เป็นการประเมินจุดแข็ง จุดอ่อน และความพร้อมของทรัพยากรใน         ด้านต่างๆ ที่องค์กรมีอยู่ ไม่ว่า เงินทุน คุณภาพของบุคลากร          เทคโนโลยี สถานที่ตั้ง ตราสินค้า สายผลิตภัณฑ์ และอื่น ๆ 2. มีตลาด (Demand > Supply) 3. ความคุ้มค่า (การเงิน) ของการดำเนินการ ตามกลยุทธ์ดังกล่าว
Project appraisal & analysis (1703421)  by Narongsak THS. 57 3. การพิจารณาถึงการยอมรับ (Acceptability) เป็นการประเมินความเหมาะสมของกลยุทธ์ที่เลือก  บนพื้นฐานของการยอมรับของบุคลากรในองค์กร  กล่าวคือ การจะนำกลยุทธ์ที่เลือกนั้น ไปปฏิบัติ  จะต้องคำนึงถึงค่านิยม และวัฒนธรรมขององค์กรของผู้บริหาร  หรือของพนักงาน
Project appraisal & analysis (1703421)  by Narongsak THS. 58 เกณฑ์แห่งการยอมรับ การพิจารณาบนพื้นฐานของผลตอบแทน (Return) ที่คาดว่า การใช้กลยุทธ์ หรือทางเลือกเชิงกลยุทธ์ดังกล่าว จะส่งผลในทางปฏิบัติ นอกจากนี้ ต้องคำนึงถึงเงินลงทุนที่ต้อง ใช้ เพื่อให้ได้เป้าหมายแห่งผลตอบแทนตามที่คาดหวัง เป็นพิจารณาบนพื้นฐานของการประเมินความเสี่ยงจากการใช้กลยุทธ์ หรือทางเลือกเชิงกลยุทธ์ที่กำหนดไว้ แบ่งเป็นความเสี่ยงในเชิงระบบ (Systemic risk) และความเสี่ยงที่ไม่ใช่ระบบ (Non systemic risk)
Project appraisal & analysis (1703421)  by Narongsak THS. 59 เกณฑ์แห่งการยอมรับ 3. เป็นพิจารณาที่ผสมผสานระหว่างผลตอบแทน (Return) กับความเสี่ยง (Risk) และพิจารณาถึงความเป็นไปได้ บนพื้นฐานของทรัพยากรที่มีอยู่ในองค์กร ไม่ว่าจะเป็นทรัพยากรทั่วไป อันหมายถึง เงินทุน โครงสร้างองค์กร เทคโนโลยี และอื่นๆ ตลอดจน ทรัพยากรมนุษย์ 4.  นอกจากนี้ ยังจะต้องคำนึงถึงแนวความคิด ทัศนคติ ตลอดจนวัฒนธรรมขององค์กรเป็นหลัก การที่กลยุทธ์ที่เลือกไว้ เป็นที่ยอมรับของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียขององค์กร (Stakeholder) เป็นสิ่งที่ทำให้ผู้บริหารมั่นใจยิ่งขึ้นว่า กลยุทธ์ที่เลือกนั้น จะต้องประสบความสำเร็จแน่นอน
Project appraisal & analysis (1703421)  by Narongsak THS. 60 เครื่องมือที่ใช้ในการตัดสินใจลงทุน  1. ไม่คำนึงถึงค่าเงินตามเวลา  	 ROS (Return on Sales)	ต้องมากกว่า > ต้นทุนการเงิน  	 ROA (Return on Asset)ต้องมากกว่า > ต้นทุนการเงิน  	 ROE (Return on Equity)       ต้องมากกว่า > ต้นทุนการเงิน   Break Even Point  & Pay Back Period 2. คำนึงถึงค่าเงินตามเวลา 	 NPV (Net Present Value)	 	 	    ลงทุน ถ้า NPV  +  -->ผลตอบแทน > เงินลงทุน 	 IRR & MIRR  (Internal Rate of Return) --> ต้นทุนทางการเงิน
Project appraisal & analysis (1703421)  by Narongsak THS. 61 ขั้นที่ 4 การดำเนินโครงการ (Project Implementation) A. เมื่อตัดสินใจเลือกโครงการได้แล้ว B. กำหนดวันเปิดโครงการ C. กิจกรรมที่ต้องดำเนินการได้แก่ 1. การจัดตั้งองค์กร 2. การขออนุญาตหน่วยงานราชการ 3. การออกแบบโรงงาน และอาคารสำนักงาน และการก่อสร้าง
Project appraisal & analysis (1703421)  by Narongsak THS. 62 ขั้นที่ 4 การดำเนินโครงการ (Project Implementation) 4. การจัดหาเครื่องจักรและติดตั้ง 5. การจัดหาบุคคลากรระดับต่างๆ รวมทั้งการฝึกอบรม 6. การจัดหาเงินทุน 7. การเตรียมวัตถุดิบ	 8. การโฆษณาและประชาสัมพันธ์โครงการ 9. อื่นๆ ที่เกี่ยวข้องและจำเป็น
Project appraisal & analysis (1703421)  by Narongsak THS. 63 ขั้นที่ 5 การควบคุมดูแลโครงการ(Project Monitor and Control) การควบคุมดูแลโครงการ หมายถึง การติดตามผลการดำเนินงาน ของโครงการ ซึ่งต้องอาศัยความร่วมมือจากทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องใน โครงการ เพื่อจะได้ควบคุมดูแลให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของ โครงการ  	การติดตามจะต้องดำเนินการอย่างต่อเนื่องและสม่ำเสมอ  เพื่อให้ทราบว่า โครงการนั้น ประสบความสำเร็จ หรือล้มเหลว
Project appraisal & analysis (1703421)  by Narongsak THS. 64      ขั้นที่ 5 การควบคุมดูแลโครงการ(Project Monitor and Control) จากการติดตามตรวจสอบโครงการระยะยาวนี้ ผู้ควบคุมหรือ ผู้ตรวจสอบจะสามารถให้ข้อมูลต่างๆ เพิ่มเติมและป้อนกลับไปยัง ขั้นเลือกสรรโครงการ (Project Identification)  ขั้นตอนการวางระบบโครงการ (Project  Formulation) ขั้นตอนการประเมินโครงการ  (Project Evaluation)
Project appraisal & analysis (1703421)  by Narongsak THS. 65 วงจรการวางแผน Project Cycle Project Identification Project Formulation Project Control Project Evaluation Project Implementation
Project appraisal & analysis (1703421)  by Narongsak THS. 66 ประโยชน์ของการวิเคราะห์และประเมินโครงการ 1. ผู้บริหาร    มีเครื่องมือในการควบคุมการทำงานของฝ่ายปฏิบัติ ที่ชัดเจน         สามารถกระจายอำนาจในการตัดสินใจให้ ฝ่ายปฏิบัติงานได้อย่าง    เหมาะสม 2. ฝ่ายปฏิบัติงาน      มีเครื่องมือในการทำงานที่สอดคล้องกับนโยบาย    วัตถุประสงค์ขององค์กรและผู้บริหาร  ทำให้ทราบเป้าหมายและทิศทาง    ที่ชัดเจนในการทำงาน ทำให้มีความยืดหยุ่นและคล่องตัวในการทำงาน     สามารถตัดใจและแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้าที่อย่างรวดเร็ว และมี    ประสิทธิภาพ
Project appraisal & analysis (1703421)  by Narongsak THS. 67 ประโยชน์ของการวิเคราะห์และประเมินโครงการ  3.  ผู้บริหาร    ใช้เป็นเอกสารในการระดมทุน เช่น ขอสินเชื่อจากสถาบันการเงิน หรือ     ออกตราสารทางการเงินต่างๆ 4. สถาบันการเงิน     ใช้เป็นเอกสารในการปล่อยสินเชื่อ เช่น ขอสินเชื่อจากสถาบันการเงิน       หรือ ออกตราสารทางการเงินต่างๆ 4. นักลงทุนสามารถคาดการณ์      สถานะการเงินขององค์กรในอนาคตได้ 5.  นักลงทุน     สามารถประเมินค่าขององค์กรได้
Project appraisal & analysis (1703421)  by Narongsak THS. 68 การศึกษาความเป็นไปได้ การแสวงหาธุรกิจใหม่ คัดเลือก ศึกษาความเป็นไปได้ขั้นต้น ศึกษาเพิ่มเติม กำหนดขอบเขตการศึกษาความเป็นไปได้ วิเคราะห์ด้านการตลาด วิเคราะห์ด้านการผลิต/เทคนิค วิเคราะห์ด้านการบริหาร การวิเคราะห์ความเสี่ยง วิเคราะห์ด้านการเงิน ประเมินและป้องกันความเสี่ยง ตัดสินใจ
Project appraisal & analysis (1703421)  by Narongsak THS. 69 การศึกษาความเป็นไปได้ การแสวงหาธุรกิจใหม่ คัดเลือก ศึกษาความเป็นไปได้ขั้นต้น ศึกษาเพิ่มเติม กำหนดขอบเขตการศึกษาความเป็นไปได้ วิเคราะห์ด้านการตลาด วิเคราะห์ด้านการผลิต วิเคราะห์ด้านการบริหาร วิเคราะห์ด้านการเงิน การวิเคราะห์ความเสี่ยง CASH IN FLOW ประเมินและป้องกันความเสี่ยง ตัดสินใจ
Project appraisal & analysis (1703421)  by Narongsak THS. 70 การศึกษาความเป็นไปได้ CASH OUT FLOW การแสวงหาธุรกิจใหม่ คัดเลือก ศึกษาความเป็นไปได้ขั้นต้น ศึกษาเพิ่มเติม กำหนดขอบเขตการศึกษาความเป็นไปได้ วิเคราะห์ด้านการตลาด วิเคราะห์ด้านการผลิต วิเคราะห์ด้านการบริหาร การวิเคราะห์ความไว วิเคราะห์ด้านการเงิน ประเมินและป้องกันความเสี่ยง ตัดสินใจ
Project appraisal & analysis (1703421)  by Narongsak THS. 71 การศึกษาความเป็นไปได้ ROS NPV IRR PB BEP การแสวงหาธุรกิจใหม่ คัดเลือก ศึกษาความเป็นไปได้ขั้นต้น ศึกษาเพิ่มเติม กำหนดขอบเขตการศึกษาความเป็นไปได้ วิเคราะห์ด้านการตลาด วิเคราะห์ด้านการผลิต วิเคราะห์ด้านการบริหาร การวิเคราะห์ความไว วิเคราะห์ด้านการเงิน ประเมินและป้องกันความเสี่ยง ตัดสินใจ
Project appraisal & analysis (1703421)  by Narongsak THS. 72 กระบวนการวิเคราะห์ด้านการเงิน Concept 3.แผนการเงินล่วงหน้า การตลาด การผลิต เป้าหมายการขาย การบริหาร ค่าใช้จ่ายบริหารรวม กำหนดราคาขาย งบกระแสเงินสด ค่าใช้จ่ายการขาย 1. กำหนดสมมติฐาน แผนการผลิต งบกำไร (ขาดทุน) งบดุล แผนจัดซื้อวัตถุดิบ แผนแรงงานตรง 2. กำหนดเงินลงทุนเริ่มแรก การวิเคราะห์งบการเงิน ค่าใช้จ่ายโรงงาน 4. ตัดสินใจ
Project appraisal & analysis (1703421)  by Narongsak THS. 73       การเปรียบเทียบระหว่างแผนธุรกิจกับการศึกษาความเป็นไปได้ของโครงการ
Project appraisal & analysis (1703421)  by Narongsak THS. 74 โดยจะเปรียบเทียบจากองค์ประกอบหลักสำคัญของโครงการกับธุรกิจ    ได้แก่ วัตถุประสงค์ระยะเวลา และทรัพยากร
Project appraisal & analysis (1703421)  by Narongsak THS. 75 วัตถุประสงค์  ทั้งโครงการและธุรกิจต่างมีการกำหนดวัตถุประสงค์และเป้าหมาย
Project appraisal & analysis (1703421)  by Narongsak THS. 76 วัตถุประสงค์ของโครงการ         จะถูกระบุอย่างชัดเจน กล่าวคือการดำเนินการโครงการใดโครงการหนึ่งเพื่อต้องการให้บรรลุถึงวัตถุประสงค์ หรือเป้าหมายที่กำหนดไว้ตั้งแต่ต้น
Project appraisal & analysis (1703421)  by Narongsak THS. 77
Project appraisal & analysis (1703421)  by Narongsak THS. 78 Total Lifetime Grosses WORLDWIDE GROSSES Domestic Summary
Project appraisal & analysis (1703421)  by Narongsak THS. 79 Total Lifetime Grosses Domestic Summary
Project appraisal & analysis (1703421)  by Narongsak THS. 80
Project appraisal & analysis (1703421)  by Narongsak THS. 81 วัตถุประสงค์และเป้าหมายของธุรกิจ       อาจมีการเปลี่ยนแปลงไป ตามสภาวะ หรือการดำเนินการของธุรกิจ ซึ่งแม้ว่า การดำเนินธุรกิจจะมีวัตถุประสงค์ในการสร้างผลกำไร โดยมีเป้าหมายของธุรกิจ เช่น มูลค่ายอดขาย จำนวนลูกค้าเป้าหมาย แต่เมื่อธุรกิจดำเนินการไปแล้ว อาจมีการเปลี่ยนแปลงในวัตถุประสงค์ที่ธุรกิจตั้งไว้แต่ต้นที่อาจมุ่งเน้นแต่ผลกำไร แต่เพียงอย่างเดียว ไปสู่การสร้างผลตอบแทนให้เกิดขึ้นกับสังคม หรือเปลี่ยนเป้าหมายของธุรกิจ เช่น เพิ่มหรือลดในจำนวนยอดขายที่ตั้งเป้าไว้ ถ้าผลจากการดำเนินการดีกว่าที่ตั้งเป้าหมายไว้ หรือไม่เป็นไปที่ตามที่คาดไว้
Project appraisal & analysis (1703421)  by Narongsak THS. 82
Project appraisal & analysis (1703421)  by Narongsak THS. 83 ข้อแตกต่างที่สำคัญระหว่างแผนธุรกิจ กับการศึกษาความเป็นไปได้ของโครงการ วัตถุประสงค์ หรือเป้าหมายของธุรกิจสามารถเปลี่ยนแปลงได้ ตามสภาวะการณ์หรือการดำเนินการที่เกิดขึ้นในขณะที่โครงการจะมีวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่ระบุแน่ชัด ไม่สามารถเปลี่ยนแปลงได้หรือเปลี่ยนแปลงได้ยาก
Project appraisal & analysis (1703421)  by Narongsak THS. 84 ระยะเวลา  โครงการมีระยะเวลาเริ่มต้นและสิ้นสุดลง ไม่ว่าผลลัพธ์ในการดำเนินโครงการนั้นจะมีผลเป็นเช่นใด หรือบรรลุวัตถุประสงค์ตามที่โครงการตั้งไว้หรือไม่ก็ตามในขณะที่ระยะเวลาในการดำเนินธุรกิจมิได้ระบุเวลาสิ้นสุดไว้ ตราบใดที่ธุรกิจ ยังดำเนินการมีผลกำไร หรือแม้แต่จะขาดทุนก็ตาม ถ้าหากว่าเจ้าของกิจการยังคงต้องการดำเนินธุรกิจอยู่ เพราะโดยปกติแล้วถ้าตราบใดที่ธุรกิจยังคงมีผลกำไร หรือเติบโตขึ้น ก็คงไม่มีเจ้าของธุรกิจใดที่จะเลิกหรือยุติกิจการลงกลางคัน
Project appraisal & analysis (1703421)  by Narongsak THS. 85 หรือในอีกกรณีหนึ่งก็คือระยะเวลาการดำเนินธุรกิจอาจสิ้นสุดลง ถ้าเจ้าของธุรกิจต้องการเลิกหรือปิดกิจการลง เนื่องจากธุรกิจประสบภาวะขาดทุนจนทุนดำเนินการของธุรกิจหมดลง หรือเป็นความประสงค์ที่จะไม่ดำเนินกิจการต่อไป
Project appraisal & analysis (1703421)  by Narongsak THS. 86 ข้อแตกต่างระหว่างโครงการกับธุรกิจ หรือระหว่างการศึกษาความเป็นไปได้ของโครงการกับแผนธุรกิจ ในเรื่องของระยะเวลา คือโครงการมีระยะเวลาเริ่มต้นและสิ้นสุดลง แต่ธุรกิจไม่มีข้อกำหนดเกี่ยวกับระยะเวลาสิ้นสุด  ตราบใดก็ตามที่ธุรกิจยังมีทุนเพียงพอที่จะดำเนินการต่อไป หรือเจ้าของกิจการยังคงดำเนินธุรกิจอยู่
Project appraisal & analysis (1703421)  by Narongsak THS. 87 ทรัพยากรของโครงการ    โครงการจะมีการกำหนดการใช้ทรัพยากรที่ชัดเจน ไม่ว่าจะเป็นเรื่องของงบประมาณ บุคลากร อุปกรณ์หรือเครื่องมือต่างๆ แต่โดยส่วนใหญ่แล้วจะเป็นเรื่องของเงินทุน หรืองบประมาณในการดำเนินโครงการ ซึ่งจะไม่สามารถเพิ่มเติมหรือเปลี่ยนแปลงได้โดยง่าย
Project appraisal & analysis (1703421)  by Narongsak THS. 88 ทรัพยากรสำหรับธุรกิจ    แต่สำหรับธุรกิจแล้ว แม้ว่า จะมีการกำหนดการใช้ทรัพยากรหรือสินทรัพย์ต่างๆ ตั้งแต่ช่วงเริ่มต้นธุรกิจ แต่ภายหลังจากการดำเนินธุรกิจไปแล้ว การใช้ทรัพยากรอาจมีการเปลี่ยนแปลง ทั้งการเพิ่มขึ้นหรือลดลงก็เป็นได้ ตามสภาพการดำเนินการของธุรกิจ เช่น ธุรกิจมีผลกำไรหรือขาดทุน จึงต้องการขยายกิจการ หรือต้องการระดมทุนเพื่อแก้ไขปัญหา จึงมีความจำเป็นต้องมีการระดมทุนเพิ่มจากผู้ถือหุ้น การกู้ยืมจากแหล่งเงินทุนภายนอก การลงทุนเพิ่มในธุรกิจจากผลกำไรสะสมของกิจการ การเปลี่ยนแปลงเพิ่มลดจำนวนบุคลากรหรือพนักงานของธุรกิจ
Project appraisal & analysis (1703421)  by Narongsak THS. 89 ข้อแตกต่างระหว่างโครงการกับธุรกิจ หรือระหว่างการศึกษาความเป็นไปได้ของโครงการกับแผนธุรกิจ ในเรื่องของทรัพยากรก็คือ โครงการมีการกำหนดปริมาณ หรือจำนวนการใช้ทรัพยากรอย่างชัดเจน แต่สำหรับธุรกิจแล้วการใช้ทรัพยากรอาจมีการเปลี่ยนแปลงได้ ตามสภาพการดำเนินการของธุรกิจ การจัดทำการศึกษาความเป็นไปได้ของโครงการนั้น เป็นแผนงานที่อาจใช้ทั้งสำหรับการบริหารงานภายในธุรกิจเอง หรืออาจใช้สำหรับนำเสนอต่อบุคคลภายนอก เช่นในกรณีที่ต้องการขอรับการสนับสนุนจากธนาคารหรือสถาบันการเงิน เป็นต้น
Project appraisal & analysis (1703421)  by Narongsak THS. 90 ความสัมพันธ์ระหว่างการศึกษาความเป็นไปได้ของโครงการกับแผนธุรกิจ การศึกษาความเป็นไปได้ของธุรกิจ เริ่มต้นธุรกิจ คุ้มค่า ไม่คุ้มค่า ขยายกิจการ หรือเลิกกิจการ ลงทุน มีกำไร ทำแผนธุรกิจ ขาดทุน แก้ไข
Project appraisal & analysis (1703421)  by Narongsak THS. 91 การศึกษาความเป็นไปได้ การแสวงหาธุรกิจใหม่ คัดเลือก ศึกษาความเป็นไปได้ขั้นต้น ศึกษาเพิ่มเติม กำหนดขอบเขตการศึกษาความเป็นไปได้ วิเคราะห์ด้านการตลาด วิเคราะห์ด้านการผลิต/เทคนิค วิเคราะห์ด้านการบริหาร การวิเคราะห์ความไว วิเคราะห์ด้านการเงิน ประเมินและป้องกันความเสี่ยง ตัดสินใจ แผนธุรกิจ
Project appraisal & analysis (1703421)  by Narongsak THS. 92 แผนธุรกิจ Feas. แผนการเงิน การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายนอก แผนขยายธุรกิจ แผนการขาย ค่าใช้จ่ายบริหารรวม แผนการผลิต การวิเคราะห์การสภาพการตลาดและแข่งขันของธุรกิจ งบกระแสเงินสด แผนจัดซื้อวัตถุดิบ งบดุล กำไร (ขาดทุน) แผนแรงงานตรง การวิเคราะห์ผลการดำเนินงาน ค่าใช้จ่ายโรงงาน การวิเคราะห์งบการเงิน ค่าใช้จ่ายการขาย การควบคุม แผนการตลาด
Project appraisal & analysis (1703421)  by Narongsak THS. 93 องค์ประกอบของรายงานการศึกษาความเป็นไปได้ของธุรกิจ 1. บทสรุปสำหรับผู้บริหาร 2. ความเป็นมาของธุรกิจ 3. การวิเคราะห์ด้านการตลาดและการแข่งขัน 4. การวิเคราะห์ด้านการผลิต 5. การวิเคราะห์ด้านการบริหาร 6. แผนการตลาด 7. แผนการเงิน 8. การตัดสินใจ เพื่อลงทุน 9. แผนฉุกเฉินเพื่อป้องกันความเสี่ยง
Project appraisal & analysis (1703421)  by Narongsak THS. 94 องค์ประกอบของแผนธุรกิจ 1. บทสรุปสำหรับผู้บริหาร 2. วัตถุประสงค์ในการนำเสนอแผนธุรกิจ 3. ความเป็นมาของธุรกิจ 4. สินค้าและบริการ 5. การวิเคราะห์การตลาดและการแข่งขัน 6. แผนการบริหารจัดการ 7. แผนการตลาด 8. แผนการเงิน 9. แผนฉุกเฉินเพื่อป้องกันความเสี่ยง
Project appraisal & analysis (1703421)  by Narongsak THS. 95 แหล่งข้อมูลของแผนธุรกิจ 1. www.bplans.com 2. www.gmiaa.com 3. www.db4bisiness.com 4. www.smesmart.is.in.th

Weitere ähnliche Inhalte

Ähnlich wie Chapter1 1703421 Project Overview

การประเมินโครงการ
การประเมินโครงการการประเมินโครงการ
การประเมินโครงการrbsupervision
 
บทที่ 12 project auditing
บทที่ 12 project auditingบทที่ 12 project auditing
บทที่ 12 project auditingTeetut Tresirichod
 
11 การเขียนโครงการ
11 การเขียนโครงการ11 การเขียนโครงการ
11 การเขียนโครงการWatcharin Chongkonsatit
 
Construction management
Construction managementConstruction management
Construction managementPeach_Seeker
 
โครงการออกแบบก่อสร้าง บริหารงาน หอพักนศ
โครงการออกแบบก่อสร้าง บริหารงาน หอพักนศโครงการออกแบบก่อสร้าง บริหารงาน หอพักนศ
โครงการออกแบบก่อสร้าง บริหารงาน หอพักนศTanong Sirisommai
 
เกณฑ์กำหนดตัวชี้วัด 53
เกณฑ์กำหนดตัวชี้วัด 53เกณฑ์กำหนดตัวชี้วัด 53
เกณฑ์กำหนดตัวชี้วัด 53pthaiwong
 
1โครงการและการบริหารโครงการ
1โครงการและการบริหารโครงการ1โครงการและการบริหารโครงการ
1โครงการและการบริหารโครงการpop Jaturong
 
Presentation 3 (1)
Presentation 3 (1)Presentation 3 (1)
Presentation 3 (1)Napisx
 
หลัการเขียนโครงการ
หลัการเขียนโครงการหลัการเขียนโครงการ
หลัการเขียนโครงการKaratz Mee
 
ประเภทและขั้นตอนของโครงงาน
ประเภทและขั้นตอนของโครงงานประเภทและขั้นตอนของโครงงาน
ประเภทและขั้นตอนของโครงงานPloy Pony
 

Ähnlich wie Chapter1 1703421 Project Overview (20)

การประเมินโครงการ
การประเมินโครงการการประเมินโครงการ
การประเมินโครงการ
 
บทที่ 12 project auditing
บทที่ 12 project auditingบทที่ 12 project auditing
บทที่ 12 project auditing
 
11 การเขียนโครงการ
11 การเขียนโครงการ11 การเขียนโครงการ
11 การเขียนโครงการ
 
Ms project
Ms projectMs project
Ms project
 
2.budgeting&project management by kanniga
2.budgeting&project management by kanniga2.budgeting&project management by kanniga
2.budgeting&project management by kanniga
 
Chapter005
Chapter005Chapter005
Chapter005
 
Construction management
Construction managementConstruction management
Construction management
 
โครงการออกแบบก่อสร้าง บริหารงาน หอพักนศ
โครงการออกแบบก่อสร้าง บริหารงาน หอพักนศโครงการออกแบบก่อสร้าง บริหารงาน หอพักนศ
โครงการออกแบบก่อสร้าง บริหารงาน หอพักนศ
 
Checklist
ChecklistChecklist
Checklist
 
14 บทที่ 2 f
14 บทที่ 2 f14 บทที่ 2 f
14 บทที่ 2 f
 
เกณฑ์กำหนดตัวชี้วัด 53
เกณฑ์กำหนดตัวชี้วัด 53เกณฑ์กำหนดตัวชี้วัด 53
เกณฑ์กำหนดตัวชี้วัด 53
 
Chapter 4
Chapter 4Chapter 4
Chapter 4
 
Chapter004
Chapter004Chapter004
Chapter004
 
1โครงการและการบริหารโครงการ
1โครงการและการบริหารโครงการ1โครงการและการบริหารโครงการ
1โครงการและการบริหารโครงการ
 
Tqm1
Tqm1Tqm1
Tqm1
 
01 intro new=030920
01 intro new=03092001 intro new=030920
01 intro new=030920
 
Presentation 3 (1)
Presentation 3 (1)Presentation 3 (1)
Presentation 3 (1)
 
หลัการเขียนโครงการ
หลัการเขียนโครงการหลัการเขียนโครงการ
หลัการเขียนโครงการ
 
ประเภทและขั้นตอนของโครงงาน
ประเภทและขั้นตอนของโครงงานประเภทและขั้นตอนของโครงงาน
ประเภทและขั้นตอนของโครงงาน
 
Comfsara
ComfsaraComfsara
Comfsara
 

Chapter1 1703421 Project Overview

  • 1. Project appraisal & analysis (1703421) by Narongsak THS. 1 การศึกษาความเป็นไปได้ของโครงการธุรกิจ(Project Feasibility Study)&แผนธุรกิจ(Business Plan) ผู้สอน : นายณรงค์ศักดิ์ ธงอาษา E-mail : narongths@yahoo.com
  • 2. Project appraisal & analysis (1703421) by Narongsak THS. 2 ขอบเขตการเรียนบทนี้ เข้าใจและอธิบายความหมายของการศึกษาความเป็นไปได้ของโครงการด้านธุรกิจและอุตสาหกรรม เข้าใจและอธิบายขั้นตอนในการวิเคราะห์โครงการ ฯ เข้าใจประโยชน์ของการศึกษาความเป็นไปได้ของโครงการด้านธุรกิจ เข้าใจความแตกต่างระหว่างการศึกษาความเป็นไปได้ของโครงการด้านธุรกิจ กับแผนธุรกิจ (Business Plan) ตัวอย่างรายงานศึกษาความเป็นไปได้ของโครงการธุรกิจ
  • 3. Project appraisal & analysis (1703421) by Narongsak THS. 3 ความจำเป็นที่ต้องทำการศึกษาความเป็นไปได้ของโครงการ ความเสี่ยง
  • 4. Project appraisal & analysis (1703421) by Narongsak THS. 4 ความจำเป็นที่ต้องทำการศึกษาความเป็นไปได้ของโครงการ แต่ลงทุนน้อยไป มีตลาดหรือไม่ มีมาก (Demand > Supply) ความเสี่ยง ทางการตลาด มีตลาดหรือไม่ มี แต่น้อย (Demand < Supply) แต่ลงทุนมากเกินไป
  • 5. Project appraisal & analysis (1703421) by Narongsak THS. 5 ความจำเป็นที่ต้องทำการศึกษาความเป็นไปได้ ของโครงการ กระบวนการผลิต เทคโนโลยีการผลิต ความเสี่ยง ทางการผลิต วัตถุดิบ แรงงาน Logistics กฎหมาย ชุมชน
  • 6. Project appraisal & analysis (1703421) by Narongsak THS. 6 ความจำเป็นที่ต้องทำการศึกษาความเป็นไปได้ ของโครงการ วัฒนธรรม และค่านิยมขององค์กร ระบบการบริหาร ความเสี่ยง ทางการบริหาร องค์ความรู้ บุคลากรด้านการบริหาร เงินทุน กฎ ระเบียบ อื่นๆ
  • 7. Project appraisal & analysis (1703421) by Narongsak THS. 7 ความจำเป็นที่ต้องทำการศึกษาความเป็นไปได้ ของโครงการ GDP ความเสี่ยง ด้านเศรษฐกิจ มหภาค สถานการณ์เศรษฐกิจโลก อัตราดอกเบี้ย อัตราเงินเฟ้อ การนำเข้า ส่งออก อัตราแลกเปลี่ยน อื่นๆ
  • 8. Project appraisal & analysis (1703421) by Narongsak THS. 8 ความหมายของโครงการ (ทางธุรกิจ) โครงการ (Project) หมายถึง...... กิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับการลงทุน โดยมีวัตถุประสงค์ที่แน่นอน ด้วยเงินทุนจำนวนหนึ่ง เพื่อจัดหาสินทรัพย์ถาวร สำหรับใช้ในการผลิตสินค้าและบริการ โดยมุ่งหวังว่า จะได้รับผลตอบแทนในอนาคต ภายในช่วงระยะเวลาหนึ่ง
  • 9. Project appraisal & analysis (1703421) by Narongsak THS. 9 ความหมายของโครงการ แผน (PLAN)  เป็นการคาดการณ์ล่วงหน้า (FORECAST) ถึงอนาคต (FUTURE) ต่อวัตถุประสงค์ที่ต้องการ โดยมีกิจกรรมต่าง ๆ  (ACTIVITY)  เพื่อแสดงให้รู้ว่า   ใครเป็นผู้ทำ (WHO)   ทำอะไร (WHAT) ทำที่ไหน (WHERE)   ทำเมื่อไร (WHEN)   ทำไมต้องทำ (WHY) ทำอย่างไร (HOW) ใช้งบประมาณเท่าไร (How Many) จำง่าย ๆ ว่าแผน/โครงการนั้น มีไว้ เพื่อตอบคำถาม 5W+ 2H  นั่นเอง จึงจะบรรลุผล ตามที่ต้องการ   
  • 10. Project appraisal & analysis (1703421) by Narongsak THS. 10 การตัดสินใจลงทุนในโครงการ ผู้ลงทุนจะต้องพิจารณาว่า...... ถ้าลงทุนไปแล้ว ผลตอบแทนที่ได้รับจะคุ้มค่าหรือไม่ โดยผลตอบแทนที่ นักลงทุนต้องการ ต้องสูงที่สุดที่จะเป็นไปได้ อย่างน้อยที่สุด จะต้องได้รับผลตอบแทน ไม่ต่ำกว่าอัตราดอกเบี้ยเงินฝาก ?? ในกรณีที่นักลงทุน นำเงินไปฝาก แทนการตัดสินใจลงทุน
  • 11. Project appraisal & analysis (1703421) by Narongsak THS. 11 ลักษณะโครงการลงทุน 1. โครงการซื้อเครื่องจักรใหม่ทดแทนเครื่องจักรเก่าที่หมดอายุ (Replacement : maintenance of business) 2. โครงการซื้อเครื่องจักรใหม่ทดแทนเครื่องจักรเก่าที่ยังใช้งานได้อยู่ (Replacement : cost reduction) 3. โครงการขยายผลิตภัณฑ์เดิม (Expansion of existing products or markets) 4. โครงการขยายผลิตภัณฑ์ใหม่ (Expansion into new products or markets) 5. โครงการเพื่อความปลอดภัยและคุ้มครองสิ่งแวดล้อม (Safety and or environmental projects) 6. โครงการประเภทอื่น (Others)
  • 12. Project appraisal & analysis (1703421) by Narongsak THS. 12 ปัจจัยขั้นมูลฐานที่ต้องตัดสินใจในโครงการ 1. การตัดสินใจเกี่ยวกับวัตถุประสงค์ (Objective) ของกิจการ กล่าวคือ จะผลิตสินค้า หรือบริการอะไร จะจำหน่ายในตลาดใด และมีกิจกรรมใดที่ต้องดำเนินการเกี่ยวกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ 2. การตัดสินใจเกี่ยวกับการจัดหาทรัพยากร กล่าวคือ จะใช้วัตถุดิบ เครื่องจักร อุปกรณ์ แรงงาน เงินทุน ฯลฯ จากแหล่งใด ปริมาณเท่าใด 3. การตัดสินใจเกี่ยวกับการจัดสรรทรัพยากรที่กิจการจัดหามาได้ โดยเฉพาะการจัดสรรเงินทุน จะต้องตัดสินใจว่า จะจัดสรรแก่งานใด หน่วยงานใด ปริมาณเท่าใด และภายใต้เงื่อนไขใด
  • 13. Project appraisal & analysis (1703421) by Narongsak THS. 13 ตัวอย่างของโครงการลงทุน โครงการก่อสร้างระบบรถไฟฟ้า BTS โครงการก่อสร้างระบบรถไฟใต้ดิน โครงการก่อสร้างตึกใบหยก 2 โครงการก่อสร้างสนามบินสุวรรณภูมิ โครงการดาวเทียมไทยคม 1 โครงการรถไฟรางคู่ โครงการถนน 4 เลน ทั่วประเทศ เป็นต้น
  • 14. Project appraisal & analysis (1703421) by Narongsak THS. 14 ความผิดพลาดของการศึกษาความเป็นไปได้ในการลงทุน เกือบทำให้Dubai World ล้มละลาย
  • 15. Project appraisal & analysis (1703421) by Narongsak THS. 15 เกาะที่ 1 คือ ปาล์ม จูไมร่า
  • 16. Project appraisal & analysis (1703421) by Narongsak THS. 16 เกาะที่ 2 คือ เจเบลอาลี
  • 17. Project appraisal & analysis (1703421) by Narongsak THS. 17 เกาะที่ 3 คือ ปาล์ม เดียร์ร่า
  • 18. Project appraisal & analysis (1703421) by Narongsak THS. 18 The World
  • 19. Project appraisal & analysis (1703421) by Narongsak THS. 19 The Universe
  • 20. Project appraisal & analysis (1703421) by Narongsak THS. 20 การศึกษาความเป็นไปได้ของโครงการทางธุรกิจ(Business Feasibility Study) หมายถึง การศึกษา โดยมีวัตถุประสงค์และเป้าหมายที่แน่นอน ในด้านการตลาด การผลิต การบริหาร และด้านการเงิน เพื่อช่วยให้ผู้ที่คิดจะลงทุน (ใหม่) ใช้เป็น แนวทางในการตัดสินใจ เลือกโครงการที่จะให้ผลตอบแทนสูงที่สุด และใช้ทรัพยากรต่ำที่สุด สุดท้าย ต้องตัดสินใจว่า จะเลือกลงทุนหรือไม่
  • 21. Project appraisal & analysis (1703421) by Narongsak THS. 21 ลักษณะของการศึกษาความเป็นไปได้ของโครงการ 1. ทุกครั้งที่มีการลงทุนใหม่ จะต้องมีการศึกษาความเป็นไปได้โครงการก่อน โดยเฉพาะโครงการขนาดใหญ่ และใช้เงินลงทุนจำนวนมาก 2. เพื่อให้มั่นใจว่า จะมีตลาด (ความต้องการ) สำหรับสินค้าและบริการที่ผลิตมา, มีวัตถุดิบเพียงพอ สำหรับป้อนกระบวนการผลิต, และแรงงานเพียงพอ 3. ตลอดจน ต้นทุนทั้งหมดเกี่ยวกับเครื่องจักร อุปกรณ์ แรงงาน วัตถุดิบที่จะสั่งซื้อ มีความเหมาะสม 4. สำคัญที่สุด จะต้องมั่นใจว่า มีรายได้มากกว่าต้นทุน โดยมีกำไรเพียงพอที่จะทำให้ผลตอบแทนทางการเงินของโครงการเป็นที่น่าพึงพอใจ หรือระยะเวลาคืนทุนที่สั้น
  • 22. Project appraisal & analysis (1703421) by Narongsak THS. 22 ลักษณะของการศึกษาความเป็นไปได้ของโครงการ ถ้าเป็นโครงการขนาดเล็ก รูปแบบของการศึกษา อาจไม่ต้องละเอียดมากนัก
  • 23. Project appraisal & analysis (1703421) by Narongsak THS. 23 วงจรในการพัฒนาโครงการProject development cycle ขั้นที่ 1 การเลือกโครงการ (Project Identification) ขั้นที่ 2 การวางระบบโครงการ (Project Formulation) ขั้นที่ 3 การประเมินโครงการ (Project Evaluation) ขั้นที่ 4 การดำเนินโครงการ (Project Implementation) ขั้นที่ 5 การควบคุมและดูแลโครงการ (Project Monitor and Control)
  • 24. Project appraisal & analysis (1703421) by Narongsak THS. 24 ขั้นที่ 1 การเลือกโครงการ (Project Identification) 1. จุดเริ่มต้นของการวิเคราะห์โครงการ ได้แก่ การกำหนดวัตถุประสงค์ของโครงการ 2. ลักษณะของวัตถุประสงค์ 2.1 จะต้องมีความเป็นไปได้ 2.2 มีความต้องการที่จะจัดหาเครื่องจักรและอุปกรณ์เพิ่มขึ้น หรือ 2.3 มีความต้องการที่จะผลิตสินค้าและบริการเพิ่มขึ้น หรือ 2.4 นำทรัพยากรที่มีอยู่ มาใช้ให้เกิดประโยชน์เพิ่มขึ้น หรือ 2.5 มีเครื่องจักรและอุปกรณ์อยู่แล้ว ต้องการเปลี่ยนใหม่
  • 25. Project appraisal & analysis (1703421) by Narongsak THS. 25 แนวคิดเกี่ยวกับการจัดทำโครงการสามารถเกิดขึ้นได้จาก จากการติดต่อกับ...... ลูกค้า ผู้จำหน่ายผลิตภัณฑ์ คู่แข่งขัน พนักงานขาย หรือจากผู้บริหารเองและอื่นๆ 2. จากการสำรวจอุตสาหกรรมที่มีอยู่หรือการวิเคราะห์อุตสาหกรรม (Industrial Analysis)หรือการวิจัยการตลาด (Market Research)เป็นต้น
  • 26. Project appraisal & analysis (1703421) by Narongsak THS. 26 แหล่งที่มาของแนวคิดในการจัดทำโครงการ แนวคิด หรือการกำหนดโครงการใหม่ อาจมาจากหลายช่องทาง เช่น ผู้ที่เป็นเจ้าของธุรกิจ นักอุตสาหกรรม หรือผู้บริหารระดับสูง วิศวกร หรือผู้บริหารระดับกลาง พนักงานระดับล่าง ที่ปรึกษาทางธุรกิจ การชี้นำของภาครัฐ เป็นต้น
  • 27. Project appraisal & analysis (1703421) by Narongsak THS. 27 จากวัตถุประสงค์หรือแนวคิดข้างต้นจะทำให้มีโครงการต่างๆที่สามารถบรรลุวัตถุประสงค์หรือแนวคิดได้หลายโครงการ ดังนั้น ขั้นแรกจึงต้องทำการคัดเลือกโครงการที่ดีที่สุดจากแนวคิดต่างๆ ที่มีอยู่
  • 28. Project appraisal & analysis (1703421) by Narongsak THS. 28 ขั้นที่ 2 การวางระบบโครงการ(Project Formulation) ในขั้นตอนนี้ จะต้องตัดสินใจว่า 1. สมควรที่จะศึกษารายละเอียดของโครงการหรือไม่ ถ้าเห็นว่า สมควรที่จะศึกษา ต้องกำหนดขอบเขตการศึกษา เวลา และค่าใช้จ่ายในการศึกษา ผู้วางแผนต้องมั่นใจว่า ระดับเทคนิคและเศรษฐกิจของโครงการดังกล่าว เป็นสิ่งที่น่าศึกษาในรายละเอียดเพิ่มขึ้น
  • 29. Project appraisal & analysis (1703421) by Narongsak THS. 29 ขั้นที่ 2 การวางระบบโครงการ(Project Formulation) 2. ผู้วางแผนต้องมั่นใจว่า แนวคิดของโครงการสอดคล้องกับวัตถุประสงค์และเป้าหมายหลักของกิจการ รัฐบาล และสังคม ในขั้นตอนนี้ เป็นการขจัดแนวคิดที่ไม่สอดคล้องวัตถุประสงค์และเป้าหมายหลักของกิจการ รัฐบาล และสังคม ออกไป 3. ผู้วางแผนต้องมั่นใจว่า แนวคิดของโครงการสอดคล้องกับทรัพยากรขององค์การ ไม่ว่า เงินทุน เทคโนโลยี และบุคลากร ตลอดจน ค่านิยม และวัฒนธรรมขององค์กร
  • 30. Project appraisal & analysis (1703421) by Narongsak THS. 30 ขั้นที่ 2การวางระบบโครงการ (Project Formulation) ผลที่ได้รับจากขั้นตอนนี้ จะนำสู่การศึกษาความเป็นไปได้เบื้องต้นของโครงการ (Pre-feasibility Study) เพื่อตัดสินใจลงทุนในโครงการที่เหมาะสมที่สุด ขององค์กร
  • 31. Project appraisal & analysis (1703421) by Narongsak THS. 31 การศึกษาความเป็นไปได้เบื้องต้นของโครงการ(Pre-feasibility Study)(1) การอธิบายสภาพตลาด เช่น ปริมาณความต้องการ ปริมาณการผลิต และ แนวโน้ม เป็นต้น 2. กำหนดโครงร่างกระบวนการผลิต และจัดหาข่าวสารปัจจัยการผลิตที่สำคัญ 3. ประมาณการเงินลงทุนที่จำเป็นและต้นทุนของการดำเนินการ (Cost of Operation) 4. ประมาณการรายได้ ต้นทุนและค่าใช้จ่าย และกำไรที่คาดว่าจะได้จากการดำเนินโครงการ 5. การวิเคราะห์เกี่ยวกับปัญหาและความเสี่ยงที่คาดว่า อาจจะเกิดขึ้น
  • 32. Project appraisal & analysis (1703421) by Narongsak THS. 32 การศึกษาความเป็นไปได้เบื้องต้น (Pre-feasibility study)(2) เนื่องจากกระบวนการศึกษาความเป็นไปได้ของโครงการ ใช้ทั้งค่าใช้จ่ายสูง บุคคลากร และใช้เวลานานมาก แนวคิดต่างๆ ที่ดี อาจมีมากมาย ดังนั้น ก่อนการเริ่มต้นศึกษา จึงควรเลือกแนวคิดที่เหมาะสมที่สุด เพื่อใช้ในการศึกษาฯ วิธีการศึกษา อาจใช้วิธีการเปรียบเทียบ คุณสมบัติเบื้องต้น
  • 33. Project appraisal & analysis (1703421) by Narongsak THS. 33 การศึกษาความเป็นไปได้เบื้องต้น (3) ขอบเขตการศึกษา ลักษณะของสินค้า : ศึกษาลักษณะของสินค้า ควบคู่ไปกับลู่ทางการเข้าทดแทนสินค้าในตลาด ลักษณะของตลาด : ศึกษาสภาพตลาดทั้งในปัจจุบันและแนวโน้มในอนาคต, ลักษณะการแข่งขันในตลาด ใครคือคู่แข่ง มีจุดแข็ง-จุดอ่อนอย่างไร มีกำลังการผลิต นำเข้า-ส่งออกอย่างไร รวมทั้งโครงสร้างด้านราคา
  • 34. Project appraisal & analysis (1703421) by Narongsak THS. 34 การศึกษาความเป็นไปได้เบื้องต้น (3) ขอบเขตการศึกษา 3. ลักษณะด้านเทคนิค : เทคโนโลยีที่ใช้ สถานที่ตั้งโรงงาน 4. ปัจจัยการผลิต : วัตถุดิบ แหล่งวัตถุ โครงสร้างพื้นฐาน 5. ต้นทุนและค่าใช้จ่าย 6. ผลกำไร 7. ปัจจัยอื่นๆ เช่น ทัศนคติ วัฒนธรรม ของบุคคลในท้องถิ่น *** จะให้เหมาะสม ข้อมูลต่างๆ ที่ใช้ ควรมีแหล่งที่มาที่เชื่อถือได้หรืออ้างอิงแหล่งที่มาได้ ***
  • 35. Project appraisal & analysis (1703421) by Narongsak THS. 35 แนวทางการกลั่นกรองเบื้องต้น ความสอดคล้องกับความต้องการของนักลงทุน สอดคล้องกับนโยบายของรัฐบาล จัดหาปัจจัยการผลิตได้ง่าย และต่อเนื่อง ตลาดมีขนาดที่ใหญ่พอ และมีแนวโน้มที่จะพัฒนาได้ ต้นทุนมีความสมเหตุสมผล ระดับความเสี่ยงพอจะรับได้
  • 36. Project appraisal & analysis (1703421) by Narongsak THS. 36 โครงการที่มีลักษณะไม่ดี อาจถูกตัดออก 1. ข้อจำกัดต่างๆ การผูกขาด การขาดแคลน หรือสาเหตุอื่นๆ ที่ทำให้ไม่สามารถดำเนินการ เช่น ขาดแคลนแรงงานที่มีทักษะ พลังงาน วัตถุดิบ เทคโนโลยี 2. ใช้เงินทุน (Capital) มากเกินไป จนไม่สามารถจัดหาได้ครบ 3. ก่อให้เกิดมลพิษ ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม 4. ไม่สอดคล้องกับนโยบาย เป้าหมาย กฎหมายของรัฐ 5. มีการผูกขาดในอุตสากรรม
  • 37. Project appraisal & analysis (1703421) by Narongsak THS. 37 สรุปการศึกษาความเป็นไปได้เบื้องต้น การศึกษาความเป็นไปได้เบื้องต้น หมายถึง การศึกษา เพื่อ รายงานถึงศักยภาพของโครงการ ซึ่งจะมีข้อมูลที่เพียงพอต่อการ ตัดสินใจว่า จะวิเคราะห์และใช้ทรัพยากรในการศึกษาต่อไปอีก หรือไม่ การศึกษาในขั้นนี้ ยังไม่ได้ศึกษาในรายละเอียด ยังไม่ได้มีการ ออกแบบทางด้านโรงงาน เทคนิค หรือวิศวกรรม ด้านการเงิน และด้านเศรษฐกิจ หรือ การศึกษาความเป็นไปได้เบื้องต้น เป็นเพียงการศึกษา ความเหมาะสมของโครงการ โดยทั่วๆ ไป เพื่อขจัดโครงการที่มี ลักษณะไม่ดีออกไป
  • 38. Project appraisal & analysis (1703421) by Narongsak THS. 38 ขั้นที่ 3 การประเมินโครงการ(Project Evaluation) ในขั้นการประเมินโครงการ อาจมีทางเลือกหลายๆ ทาง ทางเลือกในการประเมิน อาจเป็น..... ด้านการตลาด ด้านเทคนิค (ผลิต) ด้านบริหาร ด้านการเงิน ฯลฯ ซึ่งจะต้องแสดงในรูปแบบที่เป็นระบบ โดยมีข้อมูลสนับสนุน
  • 39. Project appraisal & analysis (1703421) by Narongsak THS. 39 ขั้นที่ 3 การประเมินโครงการ(Project Evaluation) การวิเคราะห์ความเป็นไปได้ของโครงการ สามารถทำการศึกษาได้หลายระดับ ขึ้นอยู่กับ ขนาดตลาด เวลา กำลังคน และงบประมาณ
  • 40. Project appraisal & analysis (1703421) by Narongsak THS. 40 ขั้นที่ 3 การประเมินโครงการ(Project Evaluation) แต่ การศึกษาที่สมบูรณ์แบบ จะต้องประกอบด้วยการวิเคราะห์.... ด้านการตลาด ด้านเทคนิค (ผลิต) ด้านการบริหาร ด้านการเงิน ด้านเศรษฐกิจ
  • 41. Project appraisal & analysis (1703421) by Narongsak THS. 41 ขั้นที่ 3 การประเมินโครงการ(Project Evaluation) การศึกษาความเป็นไปได้ด้านการตลาด การศึกษาความเป็นไปได้ด้านการผลิต การศึกษาความเป็นไปได้ด้านการบริหาร การศึกษาความเป็นไปได้ด้านเศรษฐกิจ การศึกษาความเป็นไปได้ด้านการเงิน อื่นๆ
  • 42. Project appraisal & analysis (1703421) by Narongsak THS. 42 การศึกษาความเป็นไปได้ด้านการตลาด 1. การวิเคราะห์ด้านการตลาด สามารถใช้เป็นวิธีการกลั่นกรอง แนวคิดในการลงทุนได้ 2. เป็นการประเมินความเป็นไปได้ทางด้านการตลาด 3. การวิเคราะห์ด้านการตลาด จะประกอบด้วยการค้นคว้า และวิเคราะห์ข้อมูล ที่สามารถใช้คัดเลือก แบ่งแยก อธิบาย ตลาดและกลุ่มเป้าหมาย และอธิบายถึงความต้องการของ กลุ่มเป้าหมายต่างๆได้
  • 43. Project appraisal & analysis (1703421) by Narongsak THS. 43 องค์ประกอบของการวิเคราะห์ด้านการตลาด 1. อธิบายแหล่งที่มาและราคาของวัตถุดิบ รวมทั้งเครดิตในการจัดซื้อวัตถุดิบ 2. อธิบายด้านการตลาดอย่างคร่าวๆ ได้แก่ ขอบเขตการตลาด วิธีการขนส่ง อัตราค่าขนส่ง ช่องทางการจำหน่าย และแนวปฏิบัติทางการค้าโดยทั่วไป 3. วิเคราะห์อุปสงค์ (Demand) ทั้งในอดีต และปัจจุบัน ได้แก่ การกำหนดปริมาณและมูลค่าของการบริโภค รวมทั้งระบุลูกค้าที่สำคัญ 4. วิเคราะห์อุปทาน ทั้งในอดีตและปัจจุบัน ได้แก่ แหล่งผลิต (ทั้งการนำเข้าและการผลิตภายในประเทศ) ข่าวสารที่จะช่วยในการกำหนดสภาพการแข่งขันของผลิตภัณฑ์ เช่น ราคาขาย คุณภาพ และวิธีปฏิบัติทางการตลาดของคู่แข่งขัน
  • 44. Project appraisal & analysis (1703421) by Narongsak THS. 44 องค์ประกอบของการวิเคราะห์ด้านการตลาด 5. ประมาณการอุปสงค์ในอนาคตของสินค้าและบริการ 6. ประมาณส่วนแบ่งการตลาด ของโครงการ โดยพิจารณาอุปสงค์ อุปทาน สภาพการแข่งขัน และกลยุทธ์ทางด้านการตลาดต่างๆ
  • 45. Project appraisal & analysis (1703421) by Narongsak THS. 45 การศึกษาความเป็นไปได้ด้านการผลิต/เทคนิค เป็นการศึกษาความสามารถของโครงการในการผลิต ตามความต้องการ (ตลาด) โดยใช้วิธีการผลิตและต้นทุนที่เหมาะสม
  • 46. Project appraisal & analysis (1703421) by Narongsak THS. 46 องค์ประกอบของการวิเคราะห์ด้านการผลิต 1. อธิบายลักษณะของผลิตภัณฑ์ ได้แก่ คุณสมบัติทางกายภาพ ทางวิศวกรรม และทางเคมี รวมทั้งการใช้ประโยชน์ของผลิตภัณฑ์ 2. อธิบายลักษณะของกระบวนการผลิต โดยแสดงรายละเอียดของแผนภูมิกระบวนการผลิต ทางเลือกของการผลิต และเหตุผลในการเลือกกระบวนการผลิตที่เหมาะสมที่สุด 3. กำหนดขนาดของโรงงาน และตารางเวลาเกี่ยวกับการผลิต รวมทั้งปริมาณการผลิตที่คาดไว้ในช่วงเวลาต่างๆ โดยพิจารณาตั้งแต่เริ่มทำการผลิต และปัจจัยทางด้านเทคนิคอื่นๆ
  • 47. Project appraisal & analysis (1703421) by Narongsak THS. 47 องค์ประกอบของการวิเคราะห์ด้านการผลิต 4. เลือกประเภทเครื่องจักรและอุปกรณ์ โดยพิจารณาในรายละเอียดของเครื่องจักรและอุปกรณ์ที่ต้องการซื้อและแหล่งผลิต ราคา วันส่งมอบ ข้อตกลงเกี่ยวกับการชำระเงิน การติดตั้ง การทดลองเครื่อง ตลอดจน การวิเคราะห์เปรียบเทียบกับเครื่องจักรและอุปกรณ์ยี่ห้ออื่นในด้านราคา ความเชื่อถือ ประสิทธิภาพการทำงาน และการจัดหาอะไหล่ 5. ระบุที่ตั้งโรงงานและประเมินความเหมะสมของระยะทางจากแหล่งวัตถุดิบถึงโรงงาน และจากโรงงานถึงตลาด โดยเฉพาะโครงการลงทุนใหม่ๆ อาจต้องทำการศึกษาเปรียบเทียบ ถึงข้อได้เปรียบเสียเปรียบของโรงงานขนาดต่างๆ 6. ออกแบบแผนผังโรงงาน และประมาณค่าใช้จ่ายในการก่อสร้างและค่าปรับปรุงที่ดิน
  • 48. Project appraisal & analysis (1703421) by Narongsak THS. 48 องค์ประกอบของการวิเคราะห์ด้านการผลิต 7. ศึกษาถึงการจัดหาวัตถุดิบ และสิ่งจำเป็นในการผลิต ได้แก่ คุณสมบัติทางกายภาพและทางเคมีของวัตถุดิบที่ต้องการ ปริมาณที่ต้องการ ราคาในปัจจุบันและแนวโน้มราคาในอนาคต ข้อตกลงเกี่ยวกับการชำระเงิน ที่ตั้งของแหล่งวัตถุดิบ และความต่อเนื่องของซัพพลายของวัตถุดิบ 8. ประมาณการความต้องการแรงงาน ทั้งแรงงานทางตรงและแรงงานทางอ้อม การควบคุมบังคับบัญชาในสายการผลิต รวมทั้งเวลาทำงาน 9. ประมาณการต้นทุนการผลิตของสินค้าและบริการ 9. ระบุประเภทและปริมาณของเสียจากกระบวนการผลิต วิธีการขจัดของเสีย ค่าใช้จ่ายในการขจัดของเสีย ตลอดจน การขออนุญาตเกี่ยวกับระบบกำจัดของเสียจากหน่วยงานรัฐที่เกี่ยวข้อง
  • 49. Project appraisal & analysis (1703421) by Narongsak THS. 49 การศึกษาความเป็นไปได้ด้านการบริหาร เป็นความสามารถของโครงการในการดำเนินการบริหาร องค์กรที่จะจัดตั้งขึ้น เพื่อบริหารโครงการ.
  • 50. Project appraisal & analysis (1703421) by Narongsak THS. 50 ขอบเขตการศึกษาความเป็นไปได้ด้านการบริหาร รูปแบบองค์กร ผังโครงสร้างองค์การ เพื่อการบริหาร ประวัติผู้บริหารโครงการและหน้าที่ความรับผิดชอบ วิธีการบริหารโครงการต่างๆ แรงงานและทักษะการทำงาน อื่นๆ
  • 51. Project appraisal & analysis (1703421) by Narongsak THS. 51 การศึกษาความเป็นไปได้ด้านการเงิน เป็นการวิเคราะห์ความสามารถของโครงการ ว่าสามารถคืนทุน ให้กับผู้ลงทุน ปริมาณเท่าใด มากกว่า หรือน้อยกว่าระดับ ความคาดหวัง และภายในระยะเวลากี่ปี
  • 52. Project appraisal & analysis (1703421) by Narongsak THS. 52 ขอบเขตการศึกษาความเป็นไปได้ด้านการเงิน โครงสร้างเงินลงทุน แหล่งที่มาของเงินทุนและต้นทุนทางการเงินของโครงการ เงินทุนหมุนเวียน งบกระแสเงินสด งบการเงินล่วงหน้า (งบดุล และงบกำไร(ขาดทุน)) Financial Ratio Analysis ผลตอบแทนจากการลงทุน ระยะเวลาคืนทุนและจุดคุ้มทุน อื่นๆ
  • 53. Project appraisal & analysis (1703421) by Narongsak THS. 53 หลักเกณฑ์ การประเมินทางเลือกเชิงกลยุทธ์ (Evaluation of option)
  • 54. Project appraisal & analysis (1703421) by Narongsak THS. 54 หลักเกณฑ์ในการประเมินเชิงกลยุทธ์ การยึดหลักความเหมาะ (Suitability) การพิจารณาบนพื้นฐานของหลักเกณฑ์ความเป็นไปได้ (Feasibility) การพิจารณาถึงการยอมรับ (Acceptability) 4. แบบผสม 1-3
  • 55. Project appraisal & analysis (1703421) by Narongsak THS. 55 การยึดหลักความเหมาะ (Suitability) เป็นการพิจารณาว่า กลยุทธ์ที่เลือก สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลง ของสภาพแวดล้อมภายนอก (External Environment) ในทางเศรษฐกิจ อุตสาหกรรม และธุรกิจ สังคม ประชากร การเมือง กฎหมาย และอื่นๆ หรือไม่
  • 56. Project appraisal & analysis (1703421) by Narongsak THS. 56 2. การพิจารณาบนพื้นฐานของหลักเกณฑ์ความเป็นไปได้ (Feasibility) เป็นการพิจารณาความเหมาะสมของกลยุทธ์โดยคำนึงถึงถึงจุดแข็ง จุดอ่อน ของสภาพแวดล้อมภายในองค์กร (Internal Environment) กล่าวคือ 1. เป็นการประเมินจุดแข็ง จุดอ่อน และความพร้อมของทรัพยากรใน ด้านต่างๆ ที่องค์กรมีอยู่ ไม่ว่า เงินทุน คุณภาพของบุคลากร เทคโนโลยี สถานที่ตั้ง ตราสินค้า สายผลิตภัณฑ์ และอื่น ๆ 2. มีตลาด (Demand > Supply) 3. ความคุ้มค่า (การเงิน) ของการดำเนินการ ตามกลยุทธ์ดังกล่าว
  • 57. Project appraisal & analysis (1703421) by Narongsak THS. 57 3. การพิจารณาถึงการยอมรับ (Acceptability) เป็นการประเมินความเหมาะสมของกลยุทธ์ที่เลือก บนพื้นฐานของการยอมรับของบุคลากรในองค์กร กล่าวคือ การจะนำกลยุทธ์ที่เลือกนั้น ไปปฏิบัติ จะต้องคำนึงถึงค่านิยม และวัฒนธรรมขององค์กรของผู้บริหาร หรือของพนักงาน
  • 58. Project appraisal & analysis (1703421) by Narongsak THS. 58 เกณฑ์แห่งการยอมรับ การพิจารณาบนพื้นฐานของผลตอบแทน (Return) ที่คาดว่า การใช้กลยุทธ์ หรือทางเลือกเชิงกลยุทธ์ดังกล่าว จะส่งผลในทางปฏิบัติ นอกจากนี้ ต้องคำนึงถึงเงินลงทุนที่ต้อง ใช้ เพื่อให้ได้เป้าหมายแห่งผลตอบแทนตามที่คาดหวัง เป็นพิจารณาบนพื้นฐานของการประเมินความเสี่ยงจากการใช้กลยุทธ์ หรือทางเลือกเชิงกลยุทธ์ที่กำหนดไว้ แบ่งเป็นความเสี่ยงในเชิงระบบ (Systemic risk) และความเสี่ยงที่ไม่ใช่ระบบ (Non systemic risk)
  • 59. Project appraisal & analysis (1703421) by Narongsak THS. 59 เกณฑ์แห่งการยอมรับ 3. เป็นพิจารณาที่ผสมผสานระหว่างผลตอบแทน (Return) กับความเสี่ยง (Risk) และพิจารณาถึงความเป็นไปได้ บนพื้นฐานของทรัพยากรที่มีอยู่ในองค์กร ไม่ว่าจะเป็นทรัพยากรทั่วไป อันหมายถึง เงินทุน โครงสร้างองค์กร เทคโนโลยี และอื่นๆ ตลอดจน ทรัพยากรมนุษย์ 4. นอกจากนี้ ยังจะต้องคำนึงถึงแนวความคิด ทัศนคติ ตลอดจนวัฒนธรรมขององค์กรเป็นหลัก การที่กลยุทธ์ที่เลือกไว้ เป็นที่ยอมรับของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียขององค์กร (Stakeholder) เป็นสิ่งที่ทำให้ผู้บริหารมั่นใจยิ่งขึ้นว่า กลยุทธ์ที่เลือกนั้น จะต้องประสบความสำเร็จแน่นอน
  • 60. Project appraisal & analysis (1703421) by Narongsak THS. 60 เครื่องมือที่ใช้ในการตัดสินใจลงทุน 1. ไม่คำนึงถึงค่าเงินตามเวลา ROS (Return on Sales) ต้องมากกว่า > ต้นทุนการเงิน ROA (Return on Asset)ต้องมากกว่า > ต้นทุนการเงิน ROE (Return on Equity) ต้องมากกว่า > ต้นทุนการเงิน Break Even Point & Pay Back Period 2. คำนึงถึงค่าเงินตามเวลา NPV (Net Present Value) ลงทุน ถ้า NPV + -->ผลตอบแทน > เงินลงทุน IRR & MIRR (Internal Rate of Return) --> ต้นทุนทางการเงิน
  • 61. Project appraisal & analysis (1703421) by Narongsak THS. 61 ขั้นที่ 4 การดำเนินโครงการ (Project Implementation) A. เมื่อตัดสินใจเลือกโครงการได้แล้ว B. กำหนดวันเปิดโครงการ C. กิจกรรมที่ต้องดำเนินการได้แก่ 1. การจัดตั้งองค์กร 2. การขออนุญาตหน่วยงานราชการ 3. การออกแบบโรงงาน และอาคารสำนักงาน และการก่อสร้าง
  • 62. Project appraisal & analysis (1703421) by Narongsak THS. 62 ขั้นที่ 4 การดำเนินโครงการ (Project Implementation) 4. การจัดหาเครื่องจักรและติดตั้ง 5. การจัดหาบุคคลากรระดับต่างๆ รวมทั้งการฝึกอบรม 6. การจัดหาเงินทุน 7. การเตรียมวัตถุดิบ 8. การโฆษณาและประชาสัมพันธ์โครงการ 9. อื่นๆ ที่เกี่ยวข้องและจำเป็น
  • 63. Project appraisal & analysis (1703421) by Narongsak THS. 63 ขั้นที่ 5 การควบคุมดูแลโครงการ(Project Monitor and Control) การควบคุมดูแลโครงการ หมายถึง การติดตามผลการดำเนินงาน ของโครงการ ซึ่งต้องอาศัยความร่วมมือจากทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องใน โครงการ เพื่อจะได้ควบคุมดูแลให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของ โครงการ การติดตามจะต้องดำเนินการอย่างต่อเนื่องและสม่ำเสมอ เพื่อให้ทราบว่า โครงการนั้น ประสบความสำเร็จ หรือล้มเหลว
  • 64. Project appraisal & analysis (1703421) by Narongsak THS. 64 ขั้นที่ 5 การควบคุมดูแลโครงการ(Project Monitor and Control) จากการติดตามตรวจสอบโครงการระยะยาวนี้ ผู้ควบคุมหรือ ผู้ตรวจสอบจะสามารถให้ข้อมูลต่างๆ เพิ่มเติมและป้อนกลับไปยัง ขั้นเลือกสรรโครงการ (Project Identification) ขั้นตอนการวางระบบโครงการ (Project Formulation) ขั้นตอนการประเมินโครงการ (Project Evaluation)
  • 65. Project appraisal & analysis (1703421) by Narongsak THS. 65 วงจรการวางแผน Project Cycle Project Identification Project Formulation Project Control Project Evaluation Project Implementation
  • 66. Project appraisal & analysis (1703421) by Narongsak THS. 66 ประโยชน์ของการวิเคราะห์และประเมินโครงการ 1. ผู้บริหาร มีเครื่องมือในการควบคุมการทำงานของฝ่ายปฏิบัติ ที่ชัดเจน สามารถกระจายอำนาจในการตัดสินใจให้ ฝ่ายปฏิบัติงานได้อย่าง เหมาะสม 2. ฝ่ายปฏิบัติงาน มีเครื่องมือในการทำงานที่สอดคล้องกับนโยบาย วัตถุประสงค์ขององค์กรและผู้บริหาร ทำให้ทราบเป้าหมายและทิศทาง ที่ชัดเจนในการทำงาน ทำให้มีความยืดหยุ่นและคล่องตัวในการทำงาน สามารถตัดใจและแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้าที่อย่างรวดเร็ว และมี ประสิทธิภาพ
  • 67. Project appraisal & analysis (1703421) by Narongsak THS. 67 ประโยชน์ของการวิเคราะห์และประเมินโครงการ 3. ผู้บริหาร ใช้เป็นเอกสารในการระดมทุน เช่น ขอสินเชื่อจากสถาบันการเงิน หรือ ออกตราสารทางการเงินต่างๆ 4. สถาบันการเงิน ใช้เป็นเอกสารในการปล่อยสินเชื่อ เช่น ขอสินเชื่อจากสถาบันการเงิน หรือ ออกตราสารทางการเงินต่างๆ 4. นักลงทุนสามารถคาดการณ์ สถานะการเงินขององค์กรในอนาคตได้ 5. นักลงทุน สามารถประเมินค่าขององค์กรได้
  • 68. Project appraisal & analysis (1703421) by Narongsak THS. 68 การศึกษาความเป็นไปได้ การแสวงหาธุรกิจใหม่ คัดเลือก ศึกษาความเป็นไปได้ขั้นต้น ศึกษาเพิ่มเติม กำหนดขอบเขตการศึกษาความเป็นไปได้ วิเคราะห์ด้านการตลาด วิเคราะห์ด้านการผลิต/เทคนิค วิเคราะห์ด้านการบริหาร การวิเคราะห์ความเสี่ยง วิเคราะห์ด้านการเงิน ประเมินและป้องกันความเสี่ยง ตัดสินใจ
  • 69. Project appraisal & analysis (1703421) by Narongsak THS. 69 การศึกษาความเป็นไปได้ การแสวงหาธุรกิจใหม่ คัดเลือก ศึกษาความเป็นไปได้ขั้นต้น ศึกษาเพิ่มเติม กำหนดขอบเขตการศึกษาความเป็นไปได้ วิเคราะห์ด้านการตลาด วิเคราะห์ด้านการผลิต วิเคราะห์ด้านการบริหาร วิเคราะห์ด้านการเงิน การวิเคราะห์ความเสี่ยง CASH IN FLOW ประเมินและป้องกันความเสี่ยง ตัดสินใจ
  • 70. Project appraisal & analysis (1703421) by Narongsak THS. 70 การศึกษาความเป็นไปได้ CASH OUT FLOW การแสวงหาธุรกิจใหม่ คัดเลือก ศึกษาความเป็นไปได้ขั้นต้น ศึกษาเพิ่มเติม กำหนดขอบเขตการศึกษาความเป็นไปได้ วิเคราะห์ด้านการตลาด วิเคราะห์ด้านการผลิต วิเคราะห์ด้านการบริหาร การวิเคราะห์ความไว วิเคราะห์ด้านการเงิน ประเมินและป้องกันความเสี่ยง ตัดสินใจ
  • 71. Project appraisal & analysis (1703421) by Narongsak THS. 71 การศึกษาความเป็นไปได้ ROS NPV IRR PB BEP การแสวงหาธุรกิจใหม่ คัดเลือก ศึกษาความเป็นไปได้ขั้นต้น ศึกษาเพิ่มเติม กำหนดขอบเขตการศึกษาความเป็นไปได้ วิเคราะห์ด้านการตลาด วิเคราะห์ด้านการผลิต วิเคราะห์ด้านการบริหาร การวิเคราะห์ความไว วิเคราะห์ด้านการเงิน ประเมินและป้องกันความเสี่ยง ตัดสินใจ
  • 72. Project appraisal & analysis (1703421) by Narongsak THS. 72 กระบวนการวิเคราะห์ด้านการเงิน Concept 3.แผนการเงินล่วงหน้า การตลาด การผลิต เป้าหมายการขาย การบริหาร ค่าใช้จ่ายบริหารรวม กำหนดราคาขาย งบกระแสเงินสด ค่าใช้จ่ายการขาย 1. กำหนดสมมติฐาน แผนการผลิต งบกำไร (ขาดทุน) งบดุล แผนจัดซื้อวัตถุดิบ แผนแรงงานตรง 2. กำหนดเงินลงทุนเริ่มแรก การวิเคราะห์งบการเงิน ค่าใช้จ่ายโรงงาน 4. ตัดสินใจ
  • 73. Project appraisal & analysis (1703421) by Narongsak THS. 73 การเปรียบเทียบระหว่างแผนธุรกิจกับการศึกษาความเป็นไปได้ของโครงการ
  • 74. Project appraisal & analysis (1703421) by Narongsak THS. 74 โดยจะเปรียบเทียบจากองค์ประกอบหลักสำคัญของโครงการกับธุรกิจ ได้แก่ วัตถุประสงค์ระยะเวลา และทรัพยากร
  • 75. Project appraisal & analysis (1703421) by Narongsak THS. 75 วัตถุประสงค์  ทั้งโครงการและธุรกิจต่างมีการกำหนดวัตถุประสงค์และเป้าหมาย
  • 76. Project appraisal & analysis (1703421) by Narongsak THS. 76 วัตถุประสงค์ของโครงการ   จะถูกระบุอย่างชัดเจน กล่าวคือการดำเนินการโครงการใดโครงการหนึ่งเพื่อต้องการให้บรรลุถึงวัตถุประสงค์ หรือเป้าหมายที่กำหนดไว้ตั้งแต่ต้น
  • 77. Project appraisal & analysis (1703421) by Narongsak THS. 77
  • 78. Project appraisal & analysis (1703421) by Narongsak THS. 78 Total Lifetime Grosses WORLDWIDE GROSSES Domestic Summary
  • 79. Project appraisal & analysis (1703421) by Narongsak THS. 79 Total Lifetime Grosses Domestic Summary
  • 80. Project appraisal & analysis (1703421) by Narongsak THS. 80
  • 81. Project appraisal & analysis (1703421) by Narongsak THS. 81 วัตถุประสงค์และเป้าหมายของธุรกิจ อาจมีการเปลี่ยนแปลงไป ตามสภาวะ หรือการดำเนินการของธุรกิจ ซึ่งแม้ว่า การดำเนินธุรกิจจะมีวัตถุประสงค์ในการสร้างผลกำไร โดยมีเป้าหมายของธุรกิจ เช่น มูลค่ายอดขาย จำนวนลูกค้าเป้าหมาย แต่เมื่อธุรกิจดำเนินการไปแล้ว อาจมีการเปลี่ยนแปลงในวัตถุประสงค์ที่ธุรกิจตั้งไว้แต่ต้นที่อาจมุ่งเน้นแต่ผลกำไร แต่เพียงอย่างเดียว ไปสู่การสร้างผลตอบแทนให้เกิดขึ้นกับสังคม หรือเปลี่ยนเป้าหมายของธุรกิจ เช่น เพิ่มหรือลดในจำนวนยอดขายที่ตั้งเป้าไว้ ถ้าผลจากการดำเนินการดีกว่าที่ตั้งเป้าหมายไว้ หรือไม่เป็นไปที่ตามที่คาดไว้
  • 82. Project appraisal & analysis (1703421) by Narongsak THS. 82
  • 83. Project appraisal & analysis (1703421) by Narongsak THS. 83 ข้อแตกต่างที่สำคัญระหว่างแผนธุรกิจ กับการศึกษาความเป็นไปได้ของโครงการ วัตถุประสงค์ หรือเป้าหมายของธุรกิจสามารถเปลี่ยนแปลงได้ ตามสภาวะการณ์หรือการดำเนินการที่เกิดขึ้นในขณะที่โครงการจะมีวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่ระบุแน่ชัด ไม่สามารถเปลี่ยนแปลงได้หรือเปลี่ยนแปลงได้ยาก
  • 84. Project appraisal & analysis (1703421) by Narongsak THS. 84 ระยะเวลา  โครงการมีระยะเวลาเริ่มต้นและสิ้นสุดลง ไม่ว่าผลลัพธ์ในการดำเนินโครงการนั้นจะมีผลเป็นเช่นใด หรือบรรลุวัตถุประสงค์ตามที่โครงการตั้งไว้หรือไม่ก็ตามในขณะที่ระยะเวลาในการดำเนินธุรกิจมิได้ระบุเวลาสิ้นสุดไว้ ตราบใดที่ธุรกิจ ยังดำเนินการมีผลกำไร หรือแม้แต่จะขาดทุนก็ตาม ถ้าหากว่าเจ้าของกิจการยังคงต้องการดำเนินธุรกิจอยู่ เพราะโดยปกติแล้วถ้าตราบใดที่ธุรกิจยังคงมีผลกำไร หรือเติบโตขึ้น ก็คงไม่มีเจ้าของธุรกิจใดที่จะเลิกหรือยุติกิจการลงกลางคัน
  • 85. Project appraisal & analysis (1703421) by Narongsak THS. 85 หรือในอีกกรณีหนึ่งก็คือระยะเวลาการดำเนินธุรกิจอาจสิ้นสุดลง ถ้าเจ้าของธุรกิจต้องการเลิกหรือปิดกิจการลง เนื่องจากธุรกิจประสบภาวะขาดทุนจนทุนดำเนินการของธุรกิจหมดลง หรือเป็นความประสงค์ที่จะไม่ดำเนินกิจการต่อไป
  • 86. Project appraisal & analysis (1703421) by Narongsak THS. 86 ข้อแตกต่างระหว่างโครงการกับธุรกิจ หรือระหว่างการศึกษาความเป็นไปได้ของโครงการกับแผนธุรกิจ ในเรื่องของระยะเวลา คือโครงการมีระยะเวลาเริ่มต้นและสิ้นสุดลง แต่ธุรกิจไม่มีข้อกำหนดเกี่ยวกับระยะเวลาสิ้นสุด  ตราบใดก็ตามที่ธุรกิจยังมีทุนเพียงพอที่จะดำเนินการต่อไป หรือเจ้าของกิจการยังคงดำเนินธุรกิจอยู่
  • 87. Project appraisal & analysis (1703421) by Narongsak THS. 87 ทรัพยากรของโครงการ   โครงการจะมีการกำหนดการใช้ทรัพยากรที่ชัดเจน ไม่ว่าจะเป็นเรื่องของงบประมาณ บุคลากร อุปกรณ์หรือเครื่องมือต่างๆ แต่โดยส่วนใหญ่แล้วจะเป็นเรื่องของเงินทุน หรืองบประมาณในการดำเนินโครงการ ซึ่งจะไม่สามารถเพิ่มเติมหรือเปลี่ยนแปลงได้โดยง่าย
  • 88. Project appraisal & analysis (1703421) by Narongsak THS. 88 ทรัพยากรสำหรับธุรกิจ   แต่สำหรับธุรกิจแล้ว แม้ว่า จะมีการกำหนดการใช้ทรัพยากรหรือสินทรัพย์ต่างๆ ตั้งแต่ช่วงเริ่มต้นธุรกิจ แต่ภายหลังจากการดำเนินธุรกิจไปแล้ว การใช้ทรัพยากรอาจมีการเปลี่ยนแปลง ทั้งการเพิ่มขึ้นหรือลดลงก็เป็นได้ ตามสภาพการดำเนินการของธุรกิจ เช่น ธุรกิจมีผลกำไรหรือขาดทุน จึงต้องการขยายกิจการ หรือต้องการระดมทุนเพื่อแก้ไขปัญหา จึงมีความจำเป็นต้องมีการระดมทุนเพิ่มจากผู้ถือหุ้น การกู้ยืมจากแหล่งเงินทุนภายนอก การลงทุนเพิ่มในธุรกิจจากผลกำไรสะสมของกิจการ การเปลี่ยนแปลงเพิ่มลดจำนวนบุคลากรหรือพนักงานของธุรกิจ
  • 89. Project appraisal & analysis (1703421) by Narongsak THS. 89 ข้อแตกต่างระหว่างโครงการกับธุรกิจ หรือระหว่างการศึกษาความเป็นไปได้ของโครงการกับแผนธุรกิจ ในเรื่องของทรัพยากรก็คือ โครงการมีการกำหนดปริมาณ หรือจำนวนการใช้ทรัพยากรอย่างชัดเจน แต่สำหรับธุรกิจแล้วการใช้ทรัพยากรอาจมีการเปลี่ยนแปลงได้ ตามสภาพการดำเนินการของธุรกิจ การจัดทำการศึกษาความเป็นไปได้ของโครงการนั้น เป็นแผนงานที่อาจใช้ทั้งสำหรับการบริหารงานภายในธุรกิจเอง หรืออาจใช้สำหรับนำเสนอต่อบุคคลภายนอก เช่นในกรณีที่ต้องการขอรับการสนับสนุนจากธนาคารหรือสถาบันการเงิน เป็นต้น
  • 90. Project appraisal & analysis (1703421) by Narongsak THS. 90 ความสัมพันธ์ระหว่างการศึกษาความเป็นไปได้ของโครงการกับแผนธุรกิจ การศึกษาความเป็นไปได้ของธุรกิจ เริ่มต้นธุรกิจ คุ้มค่า ไม่คุ้มค่า ขยายกิจการ หรือเลิกกิจการ ลงทุน มีกำไร ทำแผนธุรกิจ ขาดทุน แก้ไข
  • 91. Project appraisal & analysis (1703421) by Narongsak THS. 91 การศึกษาความเป็นไปได้ การแสวงหาธุรกิจใหม่ คัดเลือก ศึกษาความเป็นไปได้ขั้นต้น ศึกษาเพิ่มเติม กำหนดขอบเขตการศึกษาความเป็นไปได้ วิเคราะห์ด้านการตลาด วิเคราะห์ด้านการผลิต/เทคนิค วิเคราะห์ด้านการบริหาร การวิเคราะห์ความไว วิเคราะห์ด้านการเงิน ประเมินและป้องกันความเสี่ยง ตัดสินใจ แผนธุรกิจ
  • 92. Project appraisal & analysis (1703421) by Narongsak THS. 92 แผนธุรกิจ Feas. แผนการเงิน การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายนอก แผนขยายธุรกิจ แผนการขาย ค่าใช้จ่ายบริหารรวม แผนการผลิต การวิเคราะห์การสภาพการตลาดและแข่งขันของธุรกิจ งบกระแสเงินสด แผนจัดซื้อวัตถุดิบ งบดุล กำไร (ขาดทุน) แผนแรงงานตรง การวิเคราะห์ผลการดำเนินงาน ค่าใช้จ่ายโรงงาน การวิเคราะห์งบการเงิน ค่าใช้จ่ายการขาย การควบคุม แผนการตลาด
  • 93. Project appraisal & analysis (1703421) by Narongsak THS. 93 องค์ประกอบของรายงานการศึกษาความเป็นไปได้ของธุรกิจ 1. บทสรุปสำหรับผู้บริหาร 2. ความเป็นมาของธุรกิจ 3. การวิเคราะห์ด้านการตลาดและการแข่งขัน 4. การวิเคราะห์ด้านการผลิต 5. การวิเคราะห์ด้านการบริหาร 6. แผนการตลาด 7. แผนการเงิน 8. การตัดสินใจ เพื่อลงทุน 9. แผนฉุกเฉินเพื่อป้องกันความเสี่ยง
  • 94. Project appraisal & analysis (1703421) by Narongsak THS. 94 องค์ประกอบของแผนธุรกิจ 1. บทสรุปสำหรับผู้บริหาร 2. วัตถุประสงค์ในการนำเสนอแผนธุรกิจ 3. ความเป็นมาของธุรกิจ 4. สินค้าและบริการ 5. การวิเคราะห์การตลาดและการแข่งขัน 6. แผนการบริหารจัดการ 7. แผนการตลาด 8. แผนการเงิน 9. แผนฉุกเฉินเพื่อป้องกันความเสี่ยง
  • 95. Project appraisal & analysis (1703421) by Narongsak THS. 95 แหล่งข้อมูลของแผนธุรกิจ 1. www.bplans.com 2. www.gmiaa.com 3. www.db4bisiness.com 4. www.smesmart.is.in.th