SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 5
Part 1.1 พระพุทธศาสนา เรื่อง พุทธประวัติเบื้องต้น
หน้า 1
Part 1.1 พระพุทธศาสนา
- - - - - - - - -- - - - - - -- - - - - -- - -- - - - - -
- - -- - - - -- -
พุทธประวัติเบื้องต้น
 พระนาม : สิทธัตถะราชกุมาร หรือเจ้าชายสิทธัตถะ
 ช่วงเลาที่ทรงมีพระสูติกาล : ขณะที่พระนางสิริมหามายา
ทรงตั้งพระครรภ์ จึงได้เสด็จพระดาเนินไปยังกรุงเทวหะ
ตามโบราณราชประเพณี ระหว่างทางทรงมีพระประสูติกาล ณ
บริเวณลุมพินีวัน ใต้ต้นสละ เมื่อขึ้น 15 ค่า เดือน 6 (วันวิสาขบูชา)
 การทานายลักษณะพระโอรส : หลังจากที่พระนางสิริมหามายา
ทรงมีพระประสูติกาลแล้ว
พระเจ้าสุทโธทนะจึงได้เชิญพราหมณ์ที่มีความเชี่ยวชาญมาทานายลักษ
ณะของพระโอรส เมื่อมีพระชันษาครบ 5 วัน
จึงได้มีการตั้งพระนามของพระโอรส
ซึ่งพราหมณ์ทั้งหลายเห็นพ้องกันซึ่งมีพระนามว่า “สิทธัตถะ แปลว่า
เป็นผู้สาเร็จในสิ่งที่จะทาทุกประการ”
และยังมีการทาลายลักษณะของพระโอรส
ซึ่งมีพรามร์เข้าร่วมการทานายทั้งหมด 108 คน จึงคัดเลือกเหลือเพียง 8
คนเท่านั้น พราหมณ์ทั้ง 7 คนได้ทานายเหมือนกันเอาไว้ว่า
“หากครองสิริราชสมบัติจะได้เป็นพระมหากษัตริย์ที่ยิ่งใหญ่
แต่หากออกผนวชจะได้สาเร็จเป็นองค์พระสัมมาสัมพุธเจ้า”
เมื่อพราหมณ์คนสุดท้าย คือ “อัญญาโกณฑัญญะ”
ได้ทานายลักษณะของพระโอรสว่า
Part 1.1 พระพุทธศาสนา เรื่อง พุทธประวัติเบื้องต้น
หน้า 2
“พระองค์จะเสด็จออกผนวชและได้บรรลุเป็นองค์พระสัมมาสัมพุทธเจ้าฯ
ซึ่งจะเป็นศาสดาเอกของโลก อย่างแน่นอน”
 พระนางสิริมหามายาสิ้นพระชนม์ : หลังจากที่สิทธัตถะราชกุมาร
มีพระชันษาเพียง 7 วัน
ซึ่งพระนางได้สั่งเสียให้พระนางมหาปชาบดีดูแลพระโอรส
โดยต่อมาพระเจ้าสุทโธทนะได้จัดพิธีบรมราชาภิษกให้พระนางมหาปชา
บดีเป็นพระอัครมเหษีในเวลาต่อมา
 หลังจากนั้นพระเจ้าสุทโธทนะ
ทรงขัดขวางการที่พระโอรสจะเสด็จออกผนวช ทรงสร้างปราสาท 3 ฤดู
คือ ฤดูร้อน ฤดูหนาว และฤดูฝน โดยพยายามคัดเลือกผู้ที่มีอายุน้อย
เข้าปรณิบัตรเจ้าชายสิทธัตถะ ต่อมาได้จัดพระราชพิธีมงคลสมรส
กับพระนางพิมพา มีพระโอรสด้วยกัน 1 พระองค์ คือ พระราหุล
 เสด็จเยี่ยมราษฎร : วันหนึ่งเจ้าชายสิทธัตถะพร้อมกับนายฉันนะ
ทรงออกเยี่ยมประชาชนบริเวณรอบเมือง
ซึ่งราษฎรก็ต่างมาเฝ้ารับเสด็จตลอดเส้นทาง เทวดาได้แปลงกายเป็น
คนเจ็บ , คนแก่ , คนตาย, และนักบวช (เทวทูต 4)
ซึ่งพระองค์ทรงซักถามนายฉันนะ ตลอดที่ทอดพระเนตร
 เสด็จออกผนวช : เจ้าชายสิทธัตถะ
ทรงตระหนักในพระทัยว่าจะเสด็จออกบวช
จึงรอให้พระนางพิมพาและพระราหุลบรรทมไปเสียก่อน
จากนั้นจึงให้นายฉันนะ ได้เตรียม “ม้ากัณฑกะ” ซึ่งเป็นม้าสีขาวทั้งตัว
โดยจะใช้ในการเสด็จออกผนวชในคืนนั้น
พระองค์ทรงผนวชที่ริมฝั่งแม่น้าอโนมาเพื่ออธิษฐานเพศบรรพชิต
และให้นายฉันนะกลับพระนคร ซึ่งวันที่เจ้าชายสิทธัตถะออกผนวช
ขณะนั้นตรงกับวันเพ็ญขึ้น 15 ค่า เดือน 8
 ทรงบาเพ็ญทุกรกิริยา : พระโพธิสัตว์ได้ทรงศึกษากับอาฬารดาบส
กาลามโคตร เมื่อหมดความรู้ของอาจารย์
จึงอาลาไปเป็นศิษย์ในสานักอุทกดาบส รามบุตร
ซึ่งมีความรู้สูงกว่าอาฬารดาบสหนึ่งขั้น คือเป็นผู้บรรลุฌานขั้นที่ 8
พระสมณโคดมทรงใช้เวลาศึกษาไม่นาน ก็สิ้นภูมิรู้ของอาจารย์ ในที่สุด
จึงอาลาไปค้นหาวิมุตติธรรมตามแนวทางของพระองค์
ด้วยทรงประจักษ์ว่า
นี่ไม่ใช่หนทางแห่งการตรัสรู้พระองค์จึงได้ละทิ้งสานักอาจารย์เหล่านั้นเ
สีย พระองค์ได้มุ่งหน้าสู่ริมฝั่งแม่น้าเนรัญชรา ตาบลอุรุเวลาเสนานิคม
แคว้นมคธ พร้อมฤๅษี 5 รูป ชื่อว่า โกณฑัญญะ วัปปะ ภัททิยะ
มหานามะ และอัสสชิ เรียกว่า ปัญจวัคคีย์ มาปฏิบัติตนเป็นศิษย์
ด้วยคาดหวังว่า เมื่อพระโพธิสัตว์หลุดพ้นแล้ว
จะได้สอนพวกตนให้บรรลุด้วย
Part 1.1 พระพุทธศาสนา เรื่อง พุทธประวัติเบื้องต้น
หน้า 3
โดยพระองค์ได้เริ่มการบาเพ็ญเพียรขั้นอุกฤต ที่เรียกว่า ทุกกรกิริยา
ซึ่งนักบวชสมัยนั้นนิยมปฏิบัติกัน วาระแรก ทรงกัดฟัน
นาลิ้นแตะเพดานปากไว้แน่น จนพระเสโท (เหงื่อ)
ไหลออกทางพระกัจฉะ (รักแร้) วาระที่ 2 ทรงกลั้นลมหายใจเข้าออก
จนเกิดเสียงดังอู้ทางช่องหูทั้งสอง ทาให้ทรงปวดหัว เสียดท้อง
และทรงร้อนพระวรกาย การนั่งตากแดดจนผิวเกรียมไหม้
ครั้นฤดูหนาว ก็ลงไปแช่น้าจนตัวแข็ง
พระองค์ได้ทรงทดลองปฏิบัติตามความเชื่อดั้งเดิมทุกวิถีทาง
แต่ก็ยังไม่สามารถบรรลุแนวทางค้นพบสัจจธรรมได้
พระองค์เริ่มบาเพ็ญทุกรกิริยาในวาระสุดท้าย คือเริ่มลดอาหารที่ละน้อย
ๆ จนถึงขั้นอดอาหาร จนร่างกายซูบซีดผอมแห้ง
เหลือแต่หนังและเอ็นหุ้มกระดูก ทรงมาบาเพ็ญเพียรถึงขั้นอุกฤตขนาดนี้
นับเป็นเวลาถึง 6 พรรษา ก็ยังไม่สามารถบรรลุธรรม คราวนี้ พระอินทร์
ผู้เป็นจอมเทพแห่งสวรรค์ชั้นดาวดึงส์ ได้เสด็จมาเฝ้า
และดีดพิณสามสายให้ทรงสดับ วาระแรกทรงดีดพิณสายที่ 1
ซึ่งขึ้นสายไว้ตึง พอลงมือดีดสายพิณก็ขาดผึงลง วาระที่ 2
ทรงดีดพิณสายที่สอง ซึ่งขึ้นสายไว้หย่อน
ปรากฏเป็นเสียงที่ยืดยาดขาดความไพเราะเหมือนเสียงทุ้มต่ามากจนแท
บไม่มีเสียง วาระที่ 3 ทรงดีดพิณสายสุดท้ายที่ขึ้นสายไว้พอดี
เป็นบทเพลงที่ไพเราะกังวาน พร้อมกับถวายบังคมลากลับไป
เมื่อสดับแล้ว ก็ทรงทราบถึงเหตุแห่งการมาของท้าวสักกเทวราช
จึงทรงได้แนวพระดาริว่า
การบาเพ็ญทุกรกิริยานั้นเป็นการทรมานตนให้ลาบากเปล่า
เป็นข้อปฏิบัติที่ตึงเกินไป และไม่ใช่หนทางแห่งการตรัสรู้
การบาเพ็ญเพียรสมาธิทางจิตนั้น ไม่ตึงหรือหย่อนเกินไป
น่าจะเป็นหนทางแห่งการตรัสรู้ได้ จึงเริ่มเสวยพระกระยาหารดังเดิม
เพื่อให้ร่างกายคลายเวทนา มีสมาธิที่จะบาเพ็ญเพียรต่อไป ปัญจวัคคีย์ทั้ง
5 จึงเข้าใจว่า พระบรมโพธิสัตว์ได้ละความเพียร
แล้วหันมาบริโภคพระกระยาหารดังเดิม
ไหนเลยจะสามารถพบธรรมวิเศษได้
จึงพากันเดินทางจากพระองค์ไปอยู่ที่ป่าอิสิปตนมฤคทายวัน
ใกล้เมืองพาราณสี แคว้นกาสี
 ตรัสรู้ : ทรงประทับนั่งขัดสมาธิ ผินพระพักตรสู่เบื้องบูรพาทิศ
ตั้งจิตแน่แน่วว่า ตราบใดที่ยังไม่บรรลุสัมมาสัมโพธิญาน
จักไม่ลุกขึ้นจากสมาธิบัลลังก์ ในคืนนั้น
ท้าววสวัตตีเข้าทาการขัดขวางการบาเพ็ญเพียรของพระมหาบุรุษ
แต่ก็พ่ายแพ้ไป
พระมหาบุรุษทรงบาเพ็ญเพียรต่อที่ใต้ต้นพระศรีมหาโพธิ์นั้น
Part 1.1 พระพุทธศาสนา เรื่อง พุทธประวัติเบื้องต้น
หน้า 4
ทรงเริ่มบาเพ็ญสมาธิให้เกิดในพระทัย เรียกว่าการเข้าฌาน
เพื่อเป็นบาทของวิปัสสนาญาณ
จนเวลาผ่านไปพระองค์ได้บรรลุถึงญาณต่าง ๆ ดังนี้
1. ปฐมยาม ทรงบรรลุ ปุพเพนิวาสานุสติญาณ คือ
การระลึกชาติในอดีต ทั้งของตนเองและผู้อื่นได้
2. มัชฌิมยาม ทรงบรรลุ จุตูปปาตญาณ คือ
การรู้แจ้งการเกิดและดับของสรรพสัตว์ทั้งหลาย
3. รุ่งปัจฉิมยาม ทรงบรรลุ อาสวักขยญาณ คือ รู้วิธีกาจัดกิเลส (มาร)
ด้วย อริยสัจ 4 (ทุกข์ สมุทัย นิโรธ มรรค)
ได้ตรัสรู้เป็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้า
ตรัสรู้พระองค์จึงพบกับความสุขสว่างอย่างแท้จริง
ซึ่งเรียกกันว่าทรงตรัสรู้ด้วยพระองค์เอง ได้เป็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้า
เป็นศาสดาเอกในโลก ตรงกับวันเพ็ญเดือน 6 ณ พุทธคยา กรุงราชคฤห์
แคว้นมคธ ขณะมีพระชนมายุได้ 35 พรรษา
 เสด็จดับขันธ์ปรินิพพาน :
พระองค์ก็ได้เที่ยวสั่งสอนพุทธศาสนิกชนทั้งหลายตลอดระยะเวลา
45 พรรษา
เพื่อให้ศาสนิกชนได้พบเห็นทางที่นาไปสู่ความสุขอย่างแท้จริง
ได้ประทับจาพรรษา ณ เวฬุคามใกล้เมืองเวสาลี แคว้นวัชชี
ทรงพิจราณาชราธรรมแก่พระอานนท์ตลอด 3 เดือน
เมื่อจาพรรษาเสร็จ พระพุทธองค์ก็ได้เสด็จปลงพระชนมายุสังขาร
ปาวาลเจดีย์ ในวันมาฆบูชาก่อนพุทธปรินิพพาน 3 เดือน
จากนั้นจึงเผยแผ่ศาสนาต่อไป
ในเช้าวันวิสาขบูชาได้เสวยสูกรมัททวะ
ซึ่งนายจุนทะเก็บเมือใกล้รุ่งทาถวาย แม้จะทรงพระประชวร
แต่ทรงอดกลั้นมุ่งเสด็จไปยังเมืองกุสินารา ประทับ ณ ต้นสาละ
ของมัลลกษัตริย์ แห่งกรุงกุสินารา แล้วเสด็จบรรทมสีห์ไสยาสน์
เพื่อเสด็จดับขันธ์ปรินิพพาน ก่อนปรินิพพาน
ได้มีปริพาชกชื่อสุภัททะ
มาเข้าเฝ้าพระพุทธองค์เพื่อถามปัญหาบางประการ
พระพุทธเจ้าทรงแสดงธรรมให้สุภัททะจนเข้าใจ
สุภัททะบรรลุโสดาบัน
และบวชเป็นภิกษุต่อหน้าพระพุทธองค์เป็นคนสุดท้าย
ก่อนปรินิพพาน พระพุทธองค์ได้ทรงประทานปัจฉิมโอวาทว่า
Part 1.1 พระพุทธศาสนา เรื่อง พุทธประวัติเบื้องต้น
หน้า 5
“ภิกษุทั้งหลาย บัดนี้ เราขอเตือนพวกเธอทั้งหลาย
สังขารทั้งปวงมีความเสื่อมสลายไปเป็ นธรรมดา
ท่านจงทากิจของตน และกิจของผู้อื่นด้วยความไม่ประมาทเถิด”
หลังจากนั้นพระพุทธเจ้าจึงเสด็จดับขันธ์ปรินิพาน
ระหว่างใต้ต้นสาละคู่ ณ กรุงกุสินารา ณ
ปัจฉิมยามแห่งราตรีวิสาขปรุณมีเพ็ญเดือน 6 ขณะมีพระชนมายุ
80 พรรษา ประเทศกัมพูชาและพม่านับปี นี้เป็ น พ.ศ. 1
แต่ในประเทศไทยนับ พ.ศ. 1 หนึ่งปีหลังจากการปรินิพพาน
ซึ่งแตกต่างเพียงเล็กน้อย
............................................
บรรณานุกรม
https://th.wikipedia.org/wiki/พระพุทธเจ้า (เข้าถึงข้อมูลเมื่อ 11
กันยายน 2559)

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

พระพุทธเจ้าตรัสรู้อะไร
พระพุทธเจ้าตรัสรู้อะไรพระพุทธเจ้าตรัสรู้อะไร
พระพุทธเจ้าตรัสรู้อะไรChirayu Boonchaisri
 
ศาสนาพราหมณ์
ศาสนาพราหมณ์ศาสนาพราหมณ์
ศาสนาพราหมณ์sorrachat keawjam
 
ประวัติพระอนุรุทธเถระ
ประวัติพระอนุรุทธเถระประวัติพระอนุรุทธเถระ
ประวัติพระอนุรุทธเถระKrusupharat
 
Tri91 07+มหาวรรค+เล่ม+๕+ภาค+๒
Tri91 07+มหาวรรค+เล่ม+๕+ภาค+๒Tri91 07+มหาวรรค+เล่ม+๕+ภาค+๒
Tri91 07+มหาวรรค+เล่ม+๕+ภาค+๒Tongsamut vorasan
 
ผลกระทบของลัทธิการเมืองกับพระพุทธศาสนา
ผลกระทบของลัทธิการเมืองกับพระพุทธศาสนาผลกระทบของลัทธิการเมืองกับพระพุทธศาสนา
ผลกระทบของลัทธิการเมืองกับพระพุทธศาสนาPadvee Academy
 
ธาตุธรรม ๓ ฝ่าย
ธาตุธรรม ๓ ฝ่ายธาตุธรรม ๓ ฝ่าย
ธาตุธรรม ๓ ฝ่ายRose Banioki
 
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhismพุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land BuddhismPadvee Academy
 
ข้อเท็จจริงการเสียชีวิตและความรุนแรง พฤษภา 53
ข้อเท็จจริงการเสียชีวิตและความรุนแรง พฤษภา 53ข้อเท็จจริงการเสียชีวิตและความรุนแรง พฤษภา 53
ข้อเท็จจริงการเสียชีวิตและความรุนแรง พฤษภา 53FishFly
 
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนาวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนาKrusangworn
 
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา ม.21
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา ม.21วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา ม.21
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา ม.21Krusangworn
 
จะรักษาสถาบันพระมหากษัตริย์ให้มั่นคงได้อย่างไร
จะรักษาสถาบันพระมหากษัตริย์ให้มั่นคงได้อย่างไรจะรักษาสถาบันพระมหากษัตริย์ให้มั่นคงได้อย่างไร
จะรักษาสถาบันพระมหากษัตริย์ให้มั่นคงได้อย่างไรThongkum Virut
 
อุปสรรคความสำเร็จการปฏิวัติประชาธิปไตยในประเทศไทย
อุปสรรคความสำเร็จการปฏิวัติประชาธิปไตยในประเทศไทยอุปสรรคความสำเร็จการปฏิวัติประชาธิปไตยในประเทศไทย
อุปสรรคความสำเร็จการปฏิวัติประชาธิปไตยในประเทศไทยThongkum Virut
 
อุปสรรคความสำเร็จการปฏิวัติประชาธิปไตยในประเทศไทย
อุปสรรคความสำเร็จการปฏิวัติประชาธิปไตยในประเทศไทยอุปสรรคความสำเร็จการปฏิวัติประชาธิปไตยในประเทศไทย
อุปสรรคความสำเร็จการปฏิวัติประชาธิปไตยในประเทศไทยThongkum Virut
 
logo head news
logo head newslogo head news
logo head newslogo2
 
Logo hotnews
Logo hotnewsLogo hotnews
Logo hotnewslogo2
 
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดูศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดูJani Kp
 

Was ist angesagt? (19)

พระพุทธเจ้าตรัสรู้อะไร
พระพุทธเจ้าตรัสรู้อะไรพระพุทธเจ้าตรัสรู้อะไร
พระพุทธเจ้าตรัสรู้อะไร
 
ศาสนาพราหมณ์
ศาสนาพราหมณ์ศาสนาพราหมณ์
ศาสนาพราหมณ์
 
ประวัติพระอนุรุทธเถระ
ประวัติพระอนุรุทธเถระประวัติพระอนุรุทธเถระ
ประวัติพระอนุรุทธเถระ
 
Tri91 07+มหาวรรค+เล่ม+๕+ภาค+๒
Tri91 07+มหาวรรค+เล่ม+๕+ภาค+๒Tri91 07+มหาวรรค+เล่ม+๕+ภาค+๒
Tri91 07+มหาวรรค+เล่ม+๕+ภาค+๒
 
ผลกระทบของลัทธิการเมืองกับพระพุทธศาสนา
ผลกระทบของลัทธิการเมืองกับพระพุทธศาสนาผลกระทบของลัทธิการเมืองกับพระพุทธศาสนา
ผลกระทบของลัทธิการเมืองกับพระพุทธศาสนา
 
Phi yim
Phi yimPhi yim
Phi yim
 
เหตุแห่งการถวายสมัญญา
เหตุแห่งการถวายสมัญญาเหตุแห่งการถวายสมัญญา
เหตุแห่งการถวายสมัญญา
 
ธาตุธรรม ๓ ฝ่าย
ธาตุธรรม ๓ ฝ่ายธาตุธรรม ๓ ฝ่าย
ธาตุธรรม ๓ ฝ่าย
 
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhismพุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
 
ข้อเท็จจริงการเสียชีวิตและความรุนแรง พฤษภา 53
ข้อเท็จจริงการเสียชีวิตและความรุนแรง พฤษภา 53ข้อเท็จจริงการเสียชีวิตและความรุนแรง พฤษภา 53
ข้อเท็จจริงการเสียชีวิตและความรุนแรง พฤษภา 53
 
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนาวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
 
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา ม.21
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา ม.21วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา ม.21
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา ม.21
 
จะรักษาสถาบันพระมหากษัตริย์ให้มั่นคงได้อย่างไร
จะรักษาสถาบันพระมหากษัตริย์ให้มั่นคงได้อย่างไรจะรักษาสถาบันพระมหากษัตริย์ให้มั่นคงได้อย่างไร
จะรักษาสถาบันพระมหากษัตริย์ให้มั่นคงได้อย่างไร
 
อุปสรรคความสำเร็จการปฏิวัติประชาธิปไตยในประเทศไทย
อุปสรรคความสำเร็จการปฏิวัติประชาธิปไตยในประเทศไทยอุปสรรคความสำเร็จการปฏิวัติประชาธิปไตยในประเทศไทย
อุปสรรคความสำเร็จการปฏิวัติประชาธิปไตยในประเทศไทย
 
อุปสรรคความสำเร็จการปฏิวัติประชาธิปไตยในประเทศไทย
อุปสรรคความสำเร็จการปฏิวัติประชาธิปไตยในประเทศไทยอุปสรรคความสำเร็จการปฏิวัติประชาธิปไตยในประเทศไทย
อุปสรรคความสำเร็จการปฏิวัติประชาธิปไตยในประเทศไทย
 
logo head news
logo head newslogo head news
logo head news
 
Logo hotnews
Logo hotnewsLogo hotnews
Logo hotnews
 
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดูศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
 
test
testtest
test
 

Ähnlich wie พุทธประวัติเบื้องต้น-พระพุทธศาสนา

Wansamkarn tippaya
Wansamkarn tippayaWansamkarn tippaya
Wansamkarn tippayatippaya6563
 
วันอาสาฬหบูชา
วันอาสาฬหบูชาวันอาสาฬหบูชา
วันอาสาฬหบูชาutumporn charoensuk
 
ประวัติพุทธสาวก
ประวัติพุทธสาวกประวัติพุทธสาวก
ประวัติพุทธสาวกchaichaichaiyoyoyo
 
2 23คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๑
2 23คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๑2 23คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๑
2 23คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๑Tongsamut vorasan
 
พระไตรปิฎกที่คนไทยควรรู้
พระไตรปิฎกที่คนไทยควรรู้พระไตรปิฎกที่คนไทยควรรู้
พระไตรปิฎกที่คนไทยควรรู้fhumtct
 
ศาสนาสากล โดย ครูอัมพร
ศาสนาสากล                โดย ครูอัมพรศาสนาสากล                โดย ครูอัมพร
ศาสนาสากล โดย ครูอัมพรampy48
 
2 23คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๑
2 23คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๑2 23คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๑
2 23คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๑Tongsamut vorasan
 
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนาวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนาKrusangworn
 
ครูพัชราภรณ์ เหมือนรุ่ง
ครูพัชราภรณ์    เหมือนรุ่งครูพัชราภรณ์    เหมือนรุ่ง
ครูพัชราภรณ์ เหมือนรุ่งพัน พัน
 
โพธิยาลัย เดือน มกราคม 2555
โพธิยาลัย เดือน มกราคม 2555โพธิยาลัย เดือน มกราคม 2555
โพธิยาลัย เดือน มกราคม 2555Panda Jing
 
8 67+วิสุทธิมรรคแปล+ภาค+๑+ตอน+๑
8 67+วิสุทธิมรรคแปล+ภาค+๑+ตอน+๑8 67+วิสุทธิมรรคแปล+ภาค+๑+ตอน+๑
8 67+วิสุทธิมรรคแปล+ภาค+๑+ตอน+๑Wataustin Austin
 
บาลี 67 80
บาลี 67 80บาลี 67 80
บาลี 67 80Rose Banioki
 
8 67+วิสุทธิมรรคแปล+ภาค+๑+ตอน+๑
8 67+วิสุทธิมรรคแปล+ภาค+๑+ตอน+๑8 67+วิสุทธิมรรคแปล+ภาค+๑+ตอน+๑
8 67+วิสุทธิมรรคแปล+ภาค+๑+ตอน+๑Tongsamut vorasan
 
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต) ธรรมนูญชีวิต
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต)   ธรรมนูญชีวิตพระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต)   ธรรมนูญชีวิต
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต) ธรรมนูญชีวิตTongsamut vorasan
 
เศรษฐศาสตร์แนวพุทธ
เศรษฐศาสตร์แนวพุทธเศรษฐศาสตร์แนวพุทธ
เศรษฐศาสตร์แนวพุทธfhumtct
 

Ähnlich wie พุทธประวัติเบื้องต้น-พระพุทธศาสนา (20)

Wansamkarn tippaya
Wansamkarn tippayaWansamkarn tippaya
Wansamkarn tippaya
 
วันอาสาฬหบูชา
วันอาสาฬหบูชาวันอาสาฬหบูชา
วันอาสาฬหบูชา
 
ประวัติพุทธสาวก
ประวัติพุทธสาวกประวัติพุทธสาวก
ประวัติพุทธสาวก
 
006
006006
006
 
006
006006
006
 
006
006006
006
 
2 23คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๑
2 23คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๑2 23คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๑
2 23คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๑
 
001
001001
001
 
พระไตรปิฎกที่คนไทยควรรู้
พระไตรปิฎกที่คนไทยควรรู้พระไตรปิฎกที่คนไทยควรรู้
พระไตรปิฎกที่คนไทยควรรู้
 
ศาสนาสากล โดย ครูอัมพร
ศาสนาสากล                โดย ครูอัมพรศาสนาสากล                โดย ครูอัมพร
ศาสนาสากล โดย ครูอัมพร
 
2 23คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๑
2 23คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๑2 23คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๑
2 23คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๑
 
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนาวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
 
พุทธประวัติ
พุทธประวัติพุทธประวัติ
พุทธประวัติ
 
ครูพัชราภรณ์ เหมือนรุ่ง
ครูพัชราภรณ์    เหมือนรุ่งครูพัชราภรณ์    เหมือนรุ่ง
ครูพัชราภรณ์ เหมือนรุ่ง
 
โพธิยาลัย เดือน มกราคม 2555
โพธิยาลัย เดือน มกราคม 2555โพธิยาลัย เดือน มกราคม 2555
โพธิยาลัย เดือน มกราคม 2555
 
8 67+วิสุทธิมรรคแปล+ภาค+๑+ตอน+๑
8 67+วิสุทธิมรรคแปล+ภาค+๑+ตอน+๑8 67+วิสุทธิมรรคแปล+ภาค+๑+ตอน+๑
8 67+วิสุทธิมรรคแปล+ภาค+๑+ตอน+๑
 
บาลี 67 80
บาลี 67 80บาลี 67 80
บาลี 67 80
 
8 67+วิสุทธิมรรคแปล+ภาค+๑+ตอน+๑
8 67+วิสุทธิมรรคแปล+ภาค+๑+ตอน+๑8 67+วิสุทธิมรรคแปล+ภาค+๑+ตอน+๑
8 67+วิสุทธิมรรคแปล+ภาค+๑+ตอน+๑
 
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต) ธรรมนูญชีวิต
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต)   ธรรมนูญชีวิตพระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต)   ธรรมนูญชีวิต
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต) ธรรมนูญชีวิต
 
เศรษฐศาสตร์แนวพุทธ
เศรษฐศาสตร์แนวพุทธเศรษฐศาสตร์แนวพุทธ
เศรษฐศาสตร์แนวพุทธ
 

พุทธประวัติเบื้องต้น-พระพุทธศาสนา

  • 1. Part 1.1 พระพุทธศาสนา เรื่อง พุทธประวัติเบื้องต้น หน้า 1 Part 1.1 พระพุทธศาสนา - - - - - - - - -- - - - - - -- - - - - -- - -- - - - - - - - -- - - - -- - พุทธประวัติเบื้องต้น  พระนาม : สิทธัตถะราชกุมาร หรือเจ้าชายสิทธัตถะ  ช่วงเลาที่ทรงมีพระสูติกาล : ขณะที่พระนางสิริมหามายา ทรงตั้งพระครรภ์ จึงได้เสด็จพระดาเนินไปยังกรุงเทวหะ ตามโบราณราชประเพณี ระหว่างทางทรงมีพระประสูติกาล ณ บริเวณลุมพินีวัน ใต้ต้นสละ เมื่อขึ้น 15 ค่า เดือน 6 (วันวิสาขบูชา)  การทานายลักษณะพระโอรส : หลังจากที่พระนางสิริมหามายา ทรงมีพระประสูติกาลแล้ว พระเจ้าสุทโธทนะจึงได้เชิญพราหมณ์ที่มีความเชี่ยวชาญมาทานายลักษ ณะของพระโอรส เมื่อมีพระชันษาครบ 5 วัน จึงได้มีการตั้งพระนามของพระโอรส ซึ่งพราหมณ์ทั้งหลายเห็นพ้องกันซึ่งมีพระนามว่า “สิทธัตถะ แปลว่า เป็นผู้สาเร็จในสิ่งที่จะทาทุกประการ” และยังมีการทาลายลักษณะของพระโอรส ซึ่งมีพรามร์เข้าร่วมการทานายทั้งหมด 108 คน จึงคัดเลือกเหลือเพียง 8 คนเท่านั้น พราหมณ์ทั้ง 7 คนได้ทานายเหมือนกันเอาไว้ว่า “หากครองสิริราชสมบัติจะได้เป็นพระมหากษัตริย์ที่ยิ่งใหญ่ แต่หากออกผนวชจะได้สาเร็จเป็นองค์พระสัมมาสัมพุธเจ้า” เมื่อพราหมณ์คนสุดท้าย คือ “อัญญาโกณฑัญญะ” ได้ทานายลักษณะของพระโอรสว่า
  • 2. Part 1.1 พระพุทธศาสนา เรื่อง พุทธประวัติเบื้องต้น หน้า 2 “พระองค์จะเสด็จออกผนวชและได้บรรลุเป็นองค์พระสัมมาสัมพุทธเจ้าฯ ซึ่งจะเป็นศาสดาเอกของโลก อย่างแน่นอน”  พระนางสิริมหามายาสิ้นพระชนม์ : หลังจากที่สิทธัตถะราชกุมาร มีพระชันษาเพียง 7 วัน ซึ่งพระนางได้สั่งเสียให้พระนางมหาปชาบดีดูแลพระโอรส โดยต่อมาพระเจ้าสุทโธทนะได้จัดพิธีบรมราชาภิษกให้พระนางมหาปชา บดีเป็นพระอัครมเหษีในเวลาต่อมา  หลังจากนั้นพระเจ้าสุทโธทนะ ทรงขัดขวางการที่พระโอรสจะเสด็จออกผนวช ทรงสร้างปราสาท 3 ฤดู คือ ฤดูร้อน ฤดูหนาว และฤดูฝน โดยพยายามคัดเลือกผู้ที่มีอายุน้อย เข้าปรณิบัตรเจ้าชายสิทธัตถะ ต่อมาได้จัดพระราชพิธีมงคลสมรส กับพระนางพิมพา มีพระโอรสด้วยกัน 1 พระองค์ คือ พระราหุล  เสด็จเยี่ยมราษฎร : วันหนึ่งเจ้าชายสิทธัตถะพร้อมกับนายฉันนะ ทรงออกเยี่ยมประชาชนบริเวณรอบเมือง ซึ่งราษฎรก็ต่างมาเฝ้ารับเสด็จตลอดเส้นทาง เทวดาได้แปลงกายเป็น คนเจ็บ , คนแก่ , คนตาย, และนักบวช (เทวทูต 4) ซึ่งพระองค์ทรงซักถามนายฉันนะ ตลอดที่ทอดพระเนตร  เสด็จออกผนวช : เจ้าชายสิทธัตถะ ทรงตระหนักในพระทัยว่าจะเสด็จออกบวช จึงรอให้พระนางพิมพาและพระราหุลบรรทมไปเสียก่อน จากนั้นจึงให้นายฉันนะ ได้เตรียม “ม้ากัณฑกะ” ซึ่งเป็นม้าสีขาวทั้งตัว โดยจะใช้ในการเสด็จออกผนวชในคืนนั้น พระองค์ทรงผนวชที่ริมฝั่งแม่น้าอโนมาเพื่ออธิษฐานเพศบรรพชิต และให้นายฉันนะกลับพระนคร ซึ่งวันที่เจ้าชายสิทธัตถะออกผนวช ขณะนั้นตรงกับวันเพ็ญขึ้น 15 ค่า เดือน 8  ทรงบาเพ็ญทุกรกิริยา : พระโพธิสัตว์ได้ทรงศึกษากับอาฬารดาบส กาลามโคตร เมื่อหมดความรู้ของอาจารย์ จึงอาลาไปเป็นศิษย์ในสานักอุทกดาบส รามบุตร ซึ่งมีความรู้สูงกว่าอาฬารดาบสหนึ่งขั้น คือเป็นผู้บรรลุฌานขั้นที่ 8 พระสมณโคดมทรงใช้เวลาศึกษาไม่นาน ก็สิ้นภูมิรู้ของอาจารย์ ในที่สุด จึงอาลาไปค้นหาวิมุตติธรรมตามแนวทางของพระองค์ ด้วยทรงประจักษ์ว่า นี่ไม่ใช่หนทางแห่งการตรัสรู้พระองค์จึงได้ละทิ้งสานักอาจารย์เหล่านั้นเ สีย พระองค์ได้มุ่งหน้าสู่ริมฝั่งแม่น้าเนรัญชรา ตาบลอุรุเวลาเสนานิคม แคว้นมคธ พร้อมฤๅษี 5 รูป ชื่อว่า โกณฑัญญะ วัปปะ ภัททิยะ มหานามะ และอัสสชิ เรียกว่า ปัญจวัคคีย์ มาปฏิบัติตนเป็นศิษย์ ด้วยคาดหวังว่า เมื่อพระโพธิสัตว์หลุดพ้นแล้ว จะได้สอนพวกตนให้บรรลุด้วย
  • 3. Part 1.1 พระพุทธศาสนา เรื่อง พุทธประวัติเบื้องต้น หน้า 3 โดยพระองค์ได้เริ่มการบาเพ็ญเพียรขั้นอุกฤต ที่เรียกว่า ทุกกรกิริยา ซึ่งนักบวชสมัยนั้นนิยมปฏิบัติกัน วาระแรก ทรงกัดฟัน นาลิ้นแตะเพดานปากไว้แน่น จนพระเสโท (เหงื่อ) ไหลออกทางพระกัจฉะ (รักแร้) วาระที่ 2 ทรงกลั้นลมหายใจเข้าออก จนเกิดเสียงดังอู้ทางช่องหูทั้งสอง ทาให้ทรงปวดหัว เสียดท้อง และทรงร้อนพระวรกาย การนั่งตากแดดจนผิวเกรียมไหม้ ครั้นฤดูหนาว ก็ลงไปแช่น้าจนตัวแข็ง พระองค์ได้ทรงทดลองปฏิบัติตามความเชื่อดั้งเดิมทุกวิถีทาง แต่ก็ยังไม่สามารถบรรลุแนวทางค้นพบสัจจธรรมได้ พระองค์เริ่มบาเพ็ญทุกรกิริยาในวาระสุดท้าย คือเริ่มลดอาหารที่ละน้อย ๆ จนถึงขั้นอดอาหาร จนร่างกายซูบซีดผอมแห้ง เหลือแต่หนังและเอ็นหุ้มกระดูก ทรงมาบาเพ็ญเพียรถึงขั้นอุกฤตขนาดนี้ นับเป็นเวลาถึง 6 พรรษา ก็ยังไม่สามารถบรรลุธรรม คราวนี้ พระอินทร์ ผู้เป็นจอมเทพแห่งสวรรค์ชั้นดาวดึงส์ ได้เสด็จมาเฝ้า และดีดพิณสามสายให้ทรงสดับ วาระแรกทรงดีดพิณสายที่ 1 ซึ่งขึ้นสายไว้ตึง พอลงมือดีดสายพิณก็ขาดผึงลง วาระที่ 2 ทรงดีดพิณสายที่สอง ซึ่งขึ้นสายไว้หย่อน ปรากฏเป็นเสียงที่ยืดยาดขาดความไพเราะเหมือนเสียงทุ้มต่ามากจนแท บไม่มีเสียง วาระที่ 3 ทรงดีดพิณสายสุดท้ายที่ขึ้นสายไว้พอดี เป็นบทเพลงที่ไพเราะกังวาน พร้อมกับถวายบังคมลากลับไป เมื่อสดับแล้ว ก็ทรงทราบถึงเหตุแห่งการมาของท้าวสักกเทวราช จึงทรงได้แนวพระดาริว่า การบาเพ็ญทุกรกิริยานั้นเป็นการทรมานตนให้ลาบากเปล่า เป็นข้อปฏิบัติที่ตึงเกินไป และไม่ใช่หนทางแห่งการตรัสรู้ การบาเพ็ญเพียรสมาธิทางจิตนั้น ไม่ตึงหรือหย่อนเกินไป น่าจะเป็นหนทางแห่งการตรัสรู้ได้ จึงเริ่มเสวยพระกระยาหารดังเดิม เพื่อให้ร่างกายคลายเวทนา มีสมาธิที่จะบาเพ็ญเพียรต่อไป ปัญจวัคคีย์ทั้ง 5 จึงเข้าใจว่า พระบรมโพธิสัตว์ได้ละความเพียร แล้วหันมาบริโภคพระกระยาหารดังเดิม ไหนเลยจะสามารถพบธรรมวิเศษได้ จึงพากันเดินทางจากพระองค์ไปอยู่ที่ป่าอิสิปตนมฤคทายวัน ใกล้เมืองพาราณสี แคว้นกาสี  ตรัสรู้ : ทรงประทับนั่งขัดสมาธิ ผินพระพักตรสู่เบื้องบูรพาทิศ ตั้งจิตแน่แน่วว่า ตราบใดที่ยังไม่บรรลุสัมมาสัมโพธิญาน จักไม่ลุกขึ้นจากสมาธิบัลลังก์ ในคืนนั้น ท้าววสวัตตีเข้าทาการขัดขวางการบาเพ็ญเพียรของพระมหาบุรุษ แต่ก็พ่ายแพ้ไป พระมหาบุรุษทรงบาเพ็ญเพียรต่อที่ใต้ต้นพระศรีมหาโพธิ์นั้น
  • 4. Part 1.1 พระพุทธศาสนา เรื่อง พุทธประวัติเบื้องต้น หน้า 4 ทรงเริ่มบาเพ็ญสมาธิให้เกิดในพระทัย เรียกว่าการเข้าฌาน เพื่อเป็นบาทของวิปัสสนาญาณ จนเวลาผ่านไปพระองค์ได้บรรลุถึงญาณต่าง ๆ ดังนี้ 1. ปฐมยาม ทรงบรรลุ ปุพเพนิวาสานุสติญาณ คือ การระลึกชาติในอดีต ทั้งของตนเองและผู้อื่นได้ 2. มัชฌิมยาม ทรงบรรลุ จุตูปปาตญาณ คือ การรู้แจ้งการเกิดและดับของสรรพสัตว์ทั้งหลาย 3. รุ่งปัจฉิมยาม ทรงบรรลุ อาสวักขยญาณ คือ รู้วิธีกาจัดกิเลส (มาร) ด้วย อริยสัจ 4 (ทุกข์ สมุทัย นิโรธ มรรค) ได้ตรัสรู้เป็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ตรัสรู้พระองค์จึงพบกับความสุขสว่างอย่างแท้จริง ซึ่งเรียกกันว่าทรงตรัสรู้ด้วยพระองค์เอง ได้เป็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้า เป็นศาสดาเอกในโลก ตรงกับวันเพ็ญเดือน 6 ณ พุทธคยา กรุงราชคฤห์ แคว้นมคธ ขณะมีพระชนมายุได้ 35 พรรษา  เสด็จดับขันธ์ปรินิพพาน : พระองค์ก็ได้เที่ยวสั่งสอนพุทธศาสนิกชนทั้งหลายตลอดระยะเวลา 45 พรรษา เพื่อให้ศาสนิกชนได้พบเห็นทางที่นาไปสู่ความสุขอย่างแท้จริง ได้ประทับจาพรรษา ณ เวฬุคามใกล้เมืองเวสาลี แคว้นวัชชี ทรงพิจราณาชราธรรมแก่พระอานนท์ตลอด 3 เดือน เมื่อจาพรรษาเสร็จ พระพุทธองค์ก็ได้เสด็จปลงพระชนมายุสังขาร ปาวาลเจดีย์ ในวันมาฆบูชาก่อนพุทธปรินิพพาน 3 เดือน จากนั้นจึงเผยแผ่ศาสนาต่อไป ในเช้าวันวิสาขบูชาได้เสวยสูกรมัททวะ ซึ่งนายจุนทะเก็บเมือใกล้รุ่งทาถวาย แม้จะทรงพระประชวร แต่ทรงอดกลั้นมุ่งเสด็จไปยังเมืองกุสินารา ประทับ ณ ต้นสาละ ของมัลลกษัตริย์ แห่งกรุงกุสินารา แล้วเสด็จบรรทมสีห์ไสยาสน์ เพื่อเสด็จดับขันธ์ปรินิพพาน ก่อนปรินิพพาน ได้มีปริพาชกชื่อสุภัททะ มาเข้าเฝ้าพระพุทธองค์เพื่อถามปัญหาบางประการ พระพุทธเจ้าทรงแสดงธรรมให้สุภัททะจนเข้าใจ สุภัททะบรรลุโสดาบัน และบวชเป็นภิกษุต่อหน้าพระพุทธองค์เป็นคนสุดท้าย ก่อนปรินิพพาน พระพุทธองค์ได้ทรงประทานปัจฉิมโอวาทว่า
  • 5. Part 1.1 พระพุทธศาสนา เรื่อง พุทธประวัติเบื้องต้น หน้า 5 “ภิกษุทั้งหลาย บัดนี้ เราขอเตือนพวกเธอทั้งหลาย สังขารทั้งปวงมีความเสื่อมสลายไปเป็ นธรรมดา ท่านจงทากิจของตน และกิจของผู้อื่นด้วยความไม่ประมาทเถิด” หลังจากนั้นพระพุทธเจ้าจึงเสด็จดับขันธ์ปรินิพาน ระหว่างใต้ต้นสาละคู่ ณ กรุงกุสินารา ณ ปัจฉิมยามแห่งราตรีวิสาขปรุณมีเพ็ญเดือน 6 ขณะมีพระชนมายุ 80 พรรษา ประเทศกัมพูชาและพม่านับปี นี้เป็ น พ.ศ. 1 แต่ในประเทศไทยนับ พ.ศ. 1 หนึ่งปีหลังจากการปรินิพพาน ซึ่งแตกต่างเพียงเล็กน้อย ............................................ บรรณานุกรม https://th.wikipedia.org/wiki/พระพุทธเจ้า (เข้าถึงข้อมูลเมื่อ 11 กันยายน 2559)