SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 2
- 1 -
S &T, Me and You วิทยาศาสตร์เทคโนโลยี มีให้ฉันและเธอ (4)
ชุดตรวจโควิด-19
 ชุดตรวจสาเร็จรูปอย่างรวดเร็ว (Rapid Test Kit) ที่รู้จักกว้างขวางที่สุด  ตรวจการตั้งครรภ์
 Rapid Test สาหรับ Covid-19 มี 2 แบบ (1) ตรวจเชื้อไวรัส หรือตรวจ Antigen (2) ตรวจภูมิ
(คุ้มกันของร่างกาย) หรือตรวจ Antibody
 การตรวจเชื้อ วิธีมาตรฐานในห้องแล็บ ก็คือ RT-PCR (Reverse Transcription Polymerase Chain
Reaction) เป็นการตรวจหาเชื้อโดยตรง
 PCR หรือ ปฏิกิริยาลูกโซ่โพลีเมอเรส ใช้เพิ่มปริมาณ DNA ที่เห็นในซีรีส์สืบสวนตระกูล CSI
จะเห็นเอาเลือดหรือเส้นผม หย่อนใส่หลอดพลาสติกใสขนาดเล็กกว่านิ้วก้อย หย่อนลงเครื่อง ก็คือทา
PCR แบบนี้เอง / หลักการ PCR คือ มี DNA ที่ต้องการเพิ่มจานวน สมมุติว่า DNA ที่มาจากคนร้าย
ถ้าเรามี DNA สายสั้นที่เราออกแบบให้จับกับ DNA เป้าหมายได้ ใส่ไปด้วย ก็จะเพิ่มความร้อน
ลดความร้อน ทาให้ DNA พวกนี้จับกัน มีเอนไซม์ (Enzyme)
หรือตัวเร่งปฏิกิริยาไปจับเพื่อเพิ่มจานวนเป็นรอบๆ ก็จะเพิ่มจานวนได้แบบทวีคูณ ฉะนั้น
เลือดหยดเดียวก็สามารถตรวจหา DNA คนร้ายได้แล้ว เพราะลาดับสารพันธุกรรมหรือการเรียงตัวของ
DNA ที่ได้ของแต่ละคนไม่เหมือนกัน
 กรณีของไวรัส ก็ทาแบบนี้ได้เหมือนกัน การตรวจแบบนี้รู้ผลในไม่กี่ชั่วโมง
 แต่ Coronavirus ต้นเหตุ Covid-19 มีสารพันธุกรรมเป็น RNA จะเริ่มต้นทา PCR เลยไม่ได้
ต้องเปลี่ยน RNA ให้เป็น DNA ก่อน ขั้นตอนนี้เองที่เติมคาว่า RT เข้ามาข้างหน้า เป็น RT-PCR, RT
ที่ว่า ก็คือ กระบวนการเปลี่ยน RNA ให้เป็น DNA / พอเป็น DNA แล้ว
คราวนี้ก็เพิ่มจานวนได้ตามปกติ
 เรื่องสาคัญคือ การตรวจเชื้อแบบนี้อาจจะให้ผลลบเทียม False Negative ได้ เช่น เพิ่งรับเชื้อมา 3-5
วัน เชื้อในร่างกายมีจานวนน้อย อาจจะตรวจไม่เจอ (sensitivity ไม่ถึง)
 ส่วนการตรวจภูมิ จะใช้ชุด Rapid Test แต่ผลก็ขึ้นกับเวลาเหมือนกัน ต้องติดไวรัส
และร่างกายสร้างภูมิคุ้มกันแล้ว จึงจะตรวจพบ จึงให้ผล False Negative ได้ หากเพิ่งติดเชื้อมาใหม่ๆ
ยังไม่มีภูมิ การใช้ชุดตรวจแบบนี้ค้นหาว่า มีผู้ติดเชื้อมากเท่าใดแล้ว จึงมีข้อจากัดเช่นกัน
 ปกติภูมิคุ้มกันพวกนี้จะอยู่ในร่างกาย 6-12 เดือน บางทีเชื้อหายไปหมดแล้ว ตรวจเชื้อไม่เจอ
แต่ก็ตรวจภูมิเจอได้
- 2 -
 สาหรับประเทศไทย กรมวิทย์ฯ โดยได้ให้การรับรองชุดตรวจเชื้อ 2 ราย (จาก 5 ราย)
ชุดตรวจภูมิคุ้มกันนั้น รับรอง 13 ราย (จาก 17 ราย) ขั้นตอนหลังจากนี้
คือเข้าสู่การพิจารณาขององค์การอาหารและยา ก่อนจะนาออกจาหน่ายสู่ท้องตลาดทั่วไป

Weitere ähnliche Inhalte

Mehr von Namchai Chewawiwat

รายงานผลการศึกษาวิเคราะห์ข้อมูลนโยบาย มาตรการในสหภาพยุโรป โดย สำนักงานที่ปรึก...
รายงานผลการศึกษาวิเคราะห์ข้อมูลนโยบาย มาตรการในสหภาพยุโรป โดย สำนักงานที่ปรึก...รายงานผลการศึกษาวิเคราะห์ข้อมูลนโยบาย มาตรการในสหภาพยุโรป โดย สำนักงานที่ปรึก...
รายงานผลการศึกษาวิเคราะห์ข้อมูลนโยบาย มาตรการในสหภาพยุโรป โดย สำนักงานที่ปรึก...
Namchai Chewawiwat
 
ในหลวงรัชกาลที่ ๙ กับวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของไทย โดย ดร.นำชัย ช่ีววิวรรธน์
ในหลวงรัชกาลที่ ๙ กับวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของไทย โดย ดร.นำชัย ช่ีววิวรรธน์ ในหลวงรัชกาลที่ ๙ กับวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของไทย โดย ดร.นำชัย ช่ีววิวรรธน์
ในหลวงรัชกาลที่ ๙ กับวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของไทย โดย ดร.นำชัย ช่ีววิวรรธน์
Namchai Chewawiwat
 
ปฏิทินเทิดพระเกียรติพระอัจฉริยภาพทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของในหลวง ร.9
ปฏิทินเทิดพระเกียรติพระอัจฉริยภาพทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของในหลวง ร.9ปฏิทินเทิดพระเกียรติพระอัจฉริยภาพทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของในหลวง ร.9
ปฏิทินเทิดพระเกียรติพระอัจฉริยภาพทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของในหลวง ร.9
Namchai Chewawiwat
 
โอกาสที่เสียไป: 12 ข้อเท็จจริงการศึกษาไทย
โอกาสที่เสียไป: 12 ข้อเท็จจริงการศึกษาไทยโอกาสที่เสียไป: 12 ข้อเท็จจริงการศึกษาไทย
โอกาสที่เสียไป: 12 ข้อเท็จจริงการศึกษาไทย
Namchai Chewawiwat
 
Note from translators final-20150416
Note from translators final-20150416Note from translators final-20150416
Note from translators final-20150416
Namchai Chewawiwat
 

Mehr von Namchai Chewawiwat (20)

รายงานผลการศึกษาวิเคราะห์ข้อมูลนโยบาย มาตรการในสหภาพยุโรป โดย สำนักงานที่ปรึก...
รายงานผลการศึกษาวิเคราะห์ข้อมูลนโยบาย มาตรการในสหภาพยุโรป โดย สำนักงานที่ปรึก...รายงานผลการศึกษาวิเคราะห์ข้อมูลนโยบาย มาตรการในสหภาพยุโรป โดย สำนักงานที่ปรึก...
รายงานผลการศึกษาวิเคราะห์ข้อมูลนโยบาย มาตรการในสหภาพยุโรป โดย สำนักงานที่ปรึก...
 
ในหลวงรัชกาลที่ ๙ กับวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของไทย โดย ดร.นำชัย ช่ีววิวรรธน์
ในหลวงรัชกาลที่ ๙ กับวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของไทย โดย ดร.นำชัย ช่ีววิวรรธน์ ในหลวงรัชกาลที่ ๙ กับวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของไทย โดย ดร.นำชัย ช่ีววิวรรธน์
ในหลวงรัชกาลที่ ๙ กับวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของไทย โดย ดร.นำชัย ช่ีววิวรรธน์
 
ปฏิทินเทิดพระเกียรติพระอัจฉริยภาพทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของในหลวง ร.9
ปฏิทินเทิดพระเกียรติพระอัจฉริยภาพทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของในหลวง ร.9ปฏิทินเทิดพระเกียรติพระอัจฉริยภาพทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของในหลวง ร.9
ปฏิทินเทิดพระเกียรติพระอัจฉริยภาพทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของในหลวง ร.9
 
Note on Cosmos for Facebook Live by Namchai
Note on Cosmos for Facebook Live by Namchai Note on Cosmos for Facebook Live by Namchai
Note on Cosmos for Facebook Live by Namchai
 
โอกาสที่เสียไป: 12 ข้อเท็จจริงการศึกษาไทย
โอกาสที่เสียไป: 12 ข้อเท็จจริงการศึกษาไทยโอกาสที่เสียไป: 12 ข้อเท็จจริงการศึกษาไทย
โอกาสที่เสียไป: 12 ข้อเท็จจริงการศึกษาไทย
 
กว่าจะเป็นหนังสือกำเนิดสปีชีส์
กว่าจะเป็นหนังสือกำเนิดสปีชีส์ กว่าจะเป็นหนังสือกำเนิดสปีชีส์
กว่าจะเป็นหนังสือกำเนิดสปีชีส์
 
รายงานเรื่องอาหาร GMOs กับมนุษย์ โดยราชสมาคม, อังกฤษ
รายงานเรื่องอาหาร GMOs กับมนุษย์ โดยราชสมาคม, อังกฤษ รายงานเรื่องอาหาร GMOs กับมนุษย์ โดยราชสมาคม, อังกฤษ
รายงานเรื่องอาหาร GMOs กับมนุษย์ โดยราชสมาคม, อังกฤษ
 
การสอบสวนเรื่องข้าวโพด GMOs โดย CDC ของประเทศสหรัฐอเมริกา (แปลไทย)
การสอบสวนเรื่องข้าวโพด GMOs โดย CDC ของประเทศสหรัฐอเมริกา (แปลไทย) การสอบสวนเรื่องข้าวโพด GMOs โดย CDC ของประเทศสหรัฐอเมริกา (แปลไทย)
การสอบสวนเรื่องข้าวโพด GMOs โดย CDC ของประเทศสหรัฐอเมริกา (แปลไทย)
 
20 คำถามเกี่ยวกับอาหาร GMOs โดย WHO
20 คำถามเกี่ยวกับอาหาร GMOs โดย WHO 20 คำถามเกี่ยวกับอาหาร GMOs โดย WHO
20 คำถามเกี่ยวกับอาหาร GMOs โดย WHO
 
Maker Faire Berlin, Science & Other Museums
Maker Faire Berlin, Science & Other Museums Maker Faire Berlin, Science & Other Museums
Maker Faire Berlin, Science & Other Museums
 
Sharing Experiences on Books
Sharing Experiences on Books Sharing Experiences on Books
Sharing Experiences on Books
 
ข้อควรรู้เีกี่ยวกับ MERS และ MERS-CoV
ข้อควรรู้เีกี่ยวกับ MERS และ MERS-CoV ข้อควรรู้เีกี่ยวกับ MERS และ MERS-CoV
ข้อควรรู้เีกี่ยวกับ MERS และ MERS-CoV
 
แผ่นดินไหว : วิทยาศาสตร์เบื้องต้น
แผ่นดินไหว : วิทยาศาสตร์เบื้องต้น แผ่นดินไหว : วิทยาศาสตร์เบื้องต้น
แผ่นดินไหว : วิทยาศาสตร์เบื้องต้น
 
คำนิยม หนังสือ "กำเนิดสปีชีส์" โดย ศาสตราจารย์เกียรติคุณ ดร. วิสุทธิ์ ใบไม้
คำนิยม หนังสือ "กำเนิดสปีชีส์" โดย ศาสตราจารย์เกียรติคุณ ดร. วิสุทธิ์ ใบไม้คำนิยม หนังสือ "กำเนิดสปีชีส์" โดย ศาสตราจารย์เกียรติคุณ ดร. วิสุทธิ์ ใบไม้
คำนิยม หนังสือ "กำเนิดสปีชีส์" โดย ศาสตราจารย์เกียรติคุณ ดร. วิสุทธิ์ ใบไม้
 
Cryogenics แช่แข็งสู่โลกหน้า
Cryogenics แช่แข็งสู่โลกหน้า Cryogenics แช่แข็งสู่โลกหน้า
Cryogenics แช่แข็งสู่โลกหน้า
 
Note from translators final-20150416
Note from translators final-20150416Note from translators final-20150416
Note from translators final-20150416
 
คำนิยมหนังสือ "โลกที่เต็มไปด้วยปีศาจ"
คำนิยมหนังสือ "โลกที่เต็มไปด้วยปีศาจ" คำนิยมหนังสือ "โลกที่เต็มไปด้วยปีศาจ"
คำนิยมหนังสือ "โลกที่เต็มไปด้วยปีศาจ"
 
50 วรรณกรรมที่ต้องได้อ่านก่อนโต
50 วรรณกรรมที่ต้องได้อ่านก่อนโต50 วรรณกรรมที่ต้องได้อ่านก่อนโต
50 วรรณกรรมที่ต้องได้อ่านก่อนโต
 
A Fish Caught in Time - Review by Fay
A Fish Caught in Time - Review by Fay  A Fish Caught in Time - Review by Fay
A Fish Caught in Time - Review by Fay
 
ฝังความคิด - Inception
ฝังความคิด - Inception ฝังความคิด - Inception
ฝังความคิด - Inception
 

Podcast ep004-covid rapid test

  • 1. - 1 - S &T, Me and You วิทยาศาสตร์เทคโนโลยี มีให้ฉันและเธอ (4) ชุดตรวจโควิด-19  ชุดตรวจสาเร็จรูปอย่างรวดเร็ว (Rapid Test Kit) ที่รู้จักกว้างขวางที่สุด  ตรวจการตั้งครรภ์  Rapid Test สาหรับ Covid-19 มี 2 แบบ (1) ตรวจเชื้อไวรัส หรือตรวจ Antigen (2) ตรวจภูมิ (คุ้มกันของร่างกาย) หรือตรวจ Antibody  การตรวจเชื้อ วิธีมาตรฐานในห้องแล็บ ก็คือ RT-PCR (Reverse Transcription Polymerase Chain Reaction) เป็นการตรวจหาเชื้อโดยตรง  PCR หรือ ปฏิกิริยาลูกโซ่โพลีเมอเรส ใช้เพิ่มปริมาณ DNA ที่เห็นในซีรีส์สืบสวนตระกูล CSI จะเห็นเอาเลือดหรือเส้นผม หย่อนใส่หลอดพลาสติกใสขนาดเล็กกว่านิ้วก้อย หย่อนลงเครื่อง ก็คือทา PCR แบบนี้เอง / หลักการ PCR คือ มี DNA ที่ต้องการเพิ่มจานวน สมมุติว่า DNA ที่มาจากคนร้าย ถ้าเรามี DNA สายสั้นที่เราออกแบบให้จับกับ DNA เป้าหมายได้ ใส่ไปด้วย ก็จะเพิ่มความร้อน ลดความร้อน ทาให้ DNA พวกนี้จับกัน มีเอนไซม์ (Enzyme) หรือตัวเร่งปฏิกิริยาไปจับเพื่อเพิ่มจานวนเป็นรอบๆ ก็จะเพิ่มจานวนได้แบบทวีคูณ ฉะนั้น เลือดหยดเดียวก็สามารถตรวจหา DNA คนร้ายได้แล้ว เพราะลาดับสารพันธุกรรมหรือการเรียงตัวของ DNA ที่ได้ของแต่ละคนไม่เหมือนกัน  กรณีของไวรัส ก็ทาแบบนี้ได้เหมือนกัน การตรวจแบบนี้รู้ผลในไม่กี่ชั่วโมง  แต่ Coronavirus ต้นเหตุ Covid-19 มีสารพันธุกรรมเป็น RNA จะเริ่มต้นทา PCR เลยไม่ได้ ต้องเปลี่ยน RNA ให้เป็น DNA ก่อน ขั้นตอนนี้เองที่เติมคาว่า RT เข้ามาข้างหน้า เป็น RT-PCR, RT ที่ว่า ก็คือ กระบวนการเปลี่ยน RNA ให้เป็น DNA / พอเป็น DNA แล้ว คราวนี้ก็เพิ่มจานวนได้ตามปกติ  เรื่องสาคัญคือ การตรวจเชื้อแบบนี้อาจจะให้ผลลบเทียม False Negative ได้ เช่น เพิ่งรับเชื้อมา 3-5 วัน เชื้อในร่างกายมีจานวนน้อย อาจจะตรวจไม่เจอ (sensitivity ไม่ถึง)  ส่วนการตรวจภูมิ จะใช้ชุด Rapid Test แต่ผลก็ขึ้นกับเวลาเหมือนกัน ต้องติดไวรัส และร่างกายสร้างภูมิคุ้มกันแล้ว จึงจะตรวจพบ จึงให้ผล False Negative ได้ หากเพิ่งติดเชื้อมาใหม่ๆ ยังไม่มีภูมิ การใช้ชุดตรวจแบบนี้ค้นหาว่า มีผู้ติดเชื้อมากเท่าใดแล้ว จึงมีข้อจากัดเช่นกัน  ปกติภูมิคุ้มกันพวกนี้จะอยู่ในร่างกาย 6-12 เดือน บางทีเชื้อหายไปหมดแล้ว ตรวจเชื้อไม่เจอ แต่ก็ตรวจภูมิเจอได้
  • 2. - 2 -  สาหรับประเทศไทย กรมวิทย์ฯ โดยได้ให้การรับรองชุดตรวจเชื้อ 2 ราย (จาก 5 ราย) ชุดตรวจภูมิคุ้มกันนั้น รับรอง 13 ราย (จาก 17 ราย) ขั้นตอนหลังจากนี้ คือเข้าสู่การพิจารณาขององค์การอาหารและยา ก่อนจะนาออกจาหน่ายสู่ท้องตลาดทั่วไป