SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 21
Downloaden Sie, um offline zu lesen
The 7 Habits
 of Highly
 Effective
  People
           7 อุปนิสัย เพื่อการทํางานไดอยางมีประสิทธิภาพ

                สตีเฟนอาร โควีย (Stephen R. Covey)
 ผูเขียนหนังสือ The 7 Habits of Highly Effective People
หนังสือที่ไดรับการยกยองจากนิตยสารฟอรบใหเปน 1 ใน 2 หนังสือที่มีอิทธิพล
ที่สุดในศตวรรษ 20 เปนบุคคลที่ไดรับการกลาวถึงในดานของการพัฒนาตนเอง
เขาเปนผูที่รวบรวมแนวความคิดของนิสัยที่ดีซึ่งหากบุคคลใดมีครบ ปฏิบัติครบ และ
 ปฏิบัติไดเปนนิสัยแลว จะทําใหเขาผูนั้นเปนผูที่ทํางานการไดอยางมีประสิทธิภาพ


                                 สิ่งดีๆหาอานไดที่
                            WWW.JATUPORN.UCOZ.COM
The 7 Habits of Highly Effective People By (Stephen R. Covey) |2 |

                      The 7 Habits of Highly Effective People
          สตีเฟนอาร โควีย (Stephen R. Covey) ผูเ ขียนหนัง สือ The 7 Habits of Highly Effective
People หนังสือที่ไดรับการยกยองจากนิตยสารฟอรบใหเปน 1 ใน 2 หนังสือที่มีอิทธิพลที่สุดในศตวรรษ 20 เปน
บุคคลที่ไดรับการกลาวถึงในดานของการพัฒนาตนเอง เขาเปนผูที่รวบรวมแนวความคิดของนิสัยที่ดีซึ่งหากบุคคลใด
มีครบ ปฏิบัติครบ และปฏิบัติไดเปนนิสัยแลว จะทําใหเขาผูนั้นเปนผูที่ทํางานการไดอยางมีประสิทธิภาพ ซึ่งอุปนิสัย
ที่ดีเหลานี้มีอยู 7 ประการ ดังนี:้
       The Habit                                           The Results of 7 Habits Training
       อุปนิสัยที่ 1       Fosters courage to take risks and accept new challenges to achieve goals
           Be              เสริมสรางใหมีความกลาที่จะเผชิญสิ่งใหมๆ กลารับผิดชอบ และปรับปรุง การยอมรับในหนาที่ ที่
       Proactive           ไดรับมอบหมาย เพื่อที่จะไดบรรลุถึงวัตถุประสงค
       อุปนิสัยที่ 2       Brings projects to completion and unites teams and organizations under a
   Begin with the          shared vision, mission, and purpose
      End in Mind          เริ่ มต นด วยจุ ดมุ งหมายในใจ มุง ที่ค วามสําเร็ จของโครงการ โดยรวมเปาหมาย ของที ม งานและ
                          องคกรไวดวยกัน
    อุปนิสัยที่ 3         Promotes getting the most important things done first and encourages direct
  Put First Things        effectiveness
        First             ทําสิ่งที่สําคัญกอน มุงเนนทําสิ่งที่สําคัญกอน และสงเสริมการปฏิบัติงานที่มีประสิทธิผล
    อุปนิสัยที่ 4         Encourages conflict resolution and helps individuals seek mutual benefit,
       Think              increasing group momentum
     Win-Win              คิ ด แบบชนะ ชนะ ส ง เสริ ม ให มี การแก ป ญ หา และความขั ด แย ง ร วมกั น แสวงหาหนทาง ที่ มี
                          ผลประโยชนดวยกัน
    อุปนิสัยที่ 5 Helps people understand problems, resulting in targeted solutions; and
   Seek First to  promotes better communications, leading to successful problem-solving
Understand, Then
                  เขาใจผูอื่นกอนแลวจึงทําใหผูอื่นเขาใจเรา สรางความชัดเจน ในการติดตอสื่อสาร ใหมากขึ้น โดยใช
to Be Understood ทักษะในการฟง เพิ่มความไววางใจ ใหสูงขึ้นและทํางานใหสําเร็จเร็วขึ้น ชวยทําใหเ ขาใจ ปญหา
                          ตางๆ และทัศนะในการสื่อสารดีขึ้น เพื่อหาทางแกปญหา ไดอยางถูกตองที่สุด

     อุปนิสัยที่ 6        Ensures greater "buy-in" from team members and leverages the diversity of
     Synergize            individuals to increase levels of success
                          ผนึกพลังประสานความตาง ผนึกพลังตางๆ รวมกันจากสมาชิกในกลุม เพื่อนํามาเปนสวน ไดเปรียบ
                          ในทางเลือกใหม
   อุปนิสัยที่ 7          Promotes continuous improvements and safeguards against "burn-out" and
Sharpen the Saw           subsequent non-productivity
                          ลับเลื่อยใหคมอยูเสมอ ทําใหเปนกิจวัตร หมั่ นฝกฝน เพื่อพัฒนาทั้ง 6 อุป นิสัยใหดีขึ้น ไปเรื่อยๆ
                          รวมทั้งเอาใจใสทั้งสี่มิติของการเติมพลังชีวิต 1 กายภาพ 2 สติปญญา 3 จิตวิญญาณ 4 สังคม/
                          อารมณ
The 7 Habits of Highly Effective People By (Stephen R. Covey) |3 |

                               กรอบความคิดและหลักการ (ภาพรวมของอุปนิสัยทั้ง 7)
         “อุปนิสัย ” เปนผลรวมขององคประกอบสวนบุคคลในดานความรู ทัก ษะและทัศนคติ เปนการเรียนรู
มากกวาการถายทอด ซึ่ง ทําใหเ ราเกิด ความเขา ใจวาตนเองตองทํา อะไร อย างไร และเพื่ออะไร อุป นิสัยที่ มี
ประสิทธิผลสามารถเรียนรูกันไดและอุปนิสัยที่ไมเปนประสิทธิผลเราละเลิกได โดย 7 อุปนิสัย ที่จะนําเสนอตอไปนี้มี
ความเกี่ยวเนื่อง พึ่งพาซึ่งกันและกันและเปนขั้นตอน ในการนําอุปนิสัยไปใชเพื่อใหเกิดประสิทธิผลสูงสุดในแตละ
บุคคล โดยทั่วไปแลวพฤติกรรมของเราประกอบไปดวยอุปนิสัยตางๆ ในตัวเรา ความคิดจะสงผลใหเกิดการปฏิบัติ
และเมื่อปฏิบัติเปนนิจก็จะกลายเปนอุปนิสัย เมื่อมีอุปนิสัยก็จะกลายเปนคุณลักษณะ และในที่สุดจะกลายเปนวิถี
ชีวิต
            สวนคําวา “ประสิทธิภาพ” หมายถึง การสรางผลลัพธในระยะสั้นและระยะยาวอยางสมดุล การสรางและ
พัฒนาตนเองใหมีประสิทธิภาพสูง ตองเริ่มจากการปลูกฝงลักษณะนิสัยที่ดีของแตละบุคคล (อุปนิสัยที่ 1 -3) ไป
จนกระทั่งทําใหบุคคลนั้นตระหนักถึง กฎธรรมชาติที่วาทุกสรรพสิ่งตางพึ่งพาอาศัยกัน มนุษยจึงตองมีปฏิสัมพันธกัน
ผูอื่น (อุปนิสัยที่ 4-6)
         อุปนิสัยที่ดี ตองเริ่มจากการปรับมุมมอง หรือ การมีกรอบความคิดตอสิ่งตาง ๆ ไดอยางถูกตองกอน เพราะ
คนเราแตล ะคนจะมีก รอบความคิ ดที่ไ มเ หมือ นกัน ขึ้ นอยู กับ ป จ จั ยหลายประการ เชน การเลี้ยงดูที่ ผานมา,
ประสบการณ, ทัศนคติ คานิยม หรือสภาพแวดลอม ซึ่งหากเรามีกรอบความคิดที่ผิดไปแลว เราก็จะตีความหรือ
ดําเนินชีวิตไมถูกตองไปทั้งหมด เปรียบเหมือนการมีแผนที่ที่ผิด ก็จะนําทางเราไปสูความลมเหลว ดังนั้น สิ่งแรกเรา
ตองมั่นใจวาเรามีกรอบความคิดที่ดี ที่ถูกตอง ไมมีอคติตอสิ่งใด โดยเนนความคิดที่สอดคลองกับธรรมชาติ การอยู
รวมกันของมนุษย เชน การมีคุณธรรม จริยธรรมความยุติธรรม, ซื่อสัตย,จิตใจบริการ, เปนตน
          ก อ นที่ จ ะกล า วถึ ง นิ สั ย ทั้ ง 7 ประการ ผู แ ต ง ได ใ ห แ ง คิ ด ว า มนุ ษ ย มี สิ่ ง ที่ แ ตกต า งจากสั ต ว เ ดรั จ ฉาน
อยู 3 อยางคือ มีสามัญสํานึกรูจักแยกแยะผิดชอบชั่วดี มีความคิดริเริ่มสรางสรรค และมีพลังจิต ดังนั้น การเอาใจใส
และหมั่นฝกฝนคุณสมบัติพิเศษเหลานี้จนกลายเปนนิสัย จะทําใหประสบความสําเร็จและมีความสุ ขอยางแทจริง
นอกจากนั้น ผูแตงไดกลาววา กรอบในการมองโลก (paradigm) หรือนิสัยของคนเรานั้นสวนใหญจะถูกปลูกฝงมา
จากการสั่งสอนของคนรอบขาง การใชชีวิตในสังคม และจากการเรียนรูดวยตัวเอง และดวยความเคยชินทําใหคนเรา
นั้นไมเคยฉุกคิดวามุมมองที่มีอยูนั้นถูกตองหรือเหมาะสมหรือไม จึงกอใหเกิดการทะเลาะเบาะแวงและไมเขาใจผูอื่น
อยูตลอดเวลา เพราะเอาความคิดของตนเองเปนตัวตัดสิน
          ดังนั้น ผูแตงจึงแนะนําใหหยุดทบทวนแนวความคิดมุมมองและคติธรรมในใจที่เคยยึดถือตลอดมาวา สิ่ง
เหลานั้นถูกตองแลวจริงหรือ ใหพิจารณาตามความเปนจริง สิ่งไหนคิดผิดใหคิดใหมแกไขที่ตนเหตุ เมื่อเขาใจตนเอง
จึงจะเขาใจผูอื่นได นอกจากนั้นผูแตงยังเชื่อวาผูที่จะประสบความสําเร็จไดนั้นสวนหนึ่งเกิดจากการมีสมองขางขวาที่
ทรงประสิทธิภาพสามารถควบคุมการทํางานของสมองดานซายได สมองขางขวามีหนาที่ เตือนใหรูจักผิดชอบชั่วดี
การมีจินตนาการ และการมีอารมณและความรูสึก ดังนั้น การฝกใชจินตนาการและมีสติรูเนื้อรูตัวอยูตลอดเวลาจึง
เปนการพัฒนาการทํางานของสมองดานขวาไดเปนอยางดี
       อุปนิสัยเปนปจจัยสําคัญ ตอชีวิต และเกิดขึ้นตลอดเวลาจนเกือบไมรูตัว แตเราสามารถสรางอุปนิสัยที่มี
ประสิทธิผลใหเกิดขึ้นกับตัวเราได ดวยความอดทนและตั้งใจจริง กอนที่จะอธิบายเกี่ยวกับอุปนิสัยทั้ง 7 สตีเฟนอาร
The 7 Habits of Highly Effective People By (Stephen R. Covey) |4 |

โควีย (Stephen R. Covey) ไดอธิบายใหเราเขาใจถึง "กรอบความคิด" หรือ Paradigms ของตัวเราเองและดูวา
เราจะสามารถ "เปลี่ยนกรอบความคิด" (Paradigms Shift) นี้ไดอยางไร เพราะแตละคนยอมมีมุมมองที่ตางกันขึ้นอยู
กับวัตถุประสงคในการมองและการตีความเมื่อเขาใจความหมายของ Paradigms ไดดีขึ้นและเริ่มเปรียบเทียบกับ
ขอเท็จจริงและรับฟงความคิดเห็นของผูอื่น ก็จะทําใหเรามีโลกทัศนที่กวางไกลกวาเดิม ทุกชีวิตเริ่มตนดวยการเปน
ทารก ตองพึ่งพาอาศัยผูอื่นตลอดเวลา (Dependence) พอโตขึ้นก็เริ่มพึ่งพาตนเอง (Independence) มากขึ้นทั้ง
ทางรางกายและจิตใจ จนกระทั่งสามารถดูแลตนเองไดและพัฒนาตนถึงขั้นมีความคิด และความเชื่อมั่นเปนของ
ตนเอง เมื่อเริ่มเปนผูใหญจะตระหนักถึงการพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกัน (Interdependence) โดยจะเกิดขึ้นไดเฉพาะ
คนที่พึ่งพาตนเองไดแลวเทานั้น
          ดวยเหตุนี้อุปนิสัยที่ 1, 2, 3 จึงเกี่ยวของกับการเอาชนะใจตนเอง คือ เปลี่ยนจากคนที่ตองพึ่งพาผูอื่นไปเปน
คนที่พึ่งพาตนเองหรือ "ชนะใจตนเอง" เมื่อพึ่งพาตนเองไดถือวามีพื้นฐานสําหรับการพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกันไดก็
จะสามารถกาวไปสูการ "ชนะใจผูอื่น" ดวยการทํางานเปนทีมและสื่อสารอยางมีประสิทธิผ ลในอุปนิสัยที่ 4, 5,
6 สําหรับอุปนิสัยที่ 7 เปนอุปนิสัยที่ตองหมั่นทบทวนอยางสม่ําเสมอ ชนะใจตนเอง (อุปนิสัยที่ 1-3)
       หลังจากเรามีกรอบความคิดที่ดีแลว เราก็จะสามารถพัฒนาอุปนิสัยที่ดี 7 ประการไดอยางมีประสิทธิภาพ
และประสิทธิผล โดยอุปนิสัยทั้ง 7 มีดังนี้
The 7 Habits of Highly Effective People By (Stephen R. Covey) |5 |

                               อุปนิสัยที่ 1 ตองเปนฝาย เริ่มตนทํากอน (Be Proactive)

“หลักการวิสัยทัศนสวนบุคคล (Self vision)”
         เราเปนคนที่มีอิสรภาพในการเลือก มีทางเลือกของตนเองบนพื้นฐานคานิยมที่ถูกตอง มีสติในการคิดในการ
เลือกทางเลือกที่เห็นวาเหมาะสมที่สุด และพรอมที่จะรับผิดชอบตอทางเลือกของตนเอง อุปนิสัยที่ 1 จะเปนพื้นฐาน
ของของอุปนิสัยที่ 2 – 7 ถาไมสามารถสรางอุปนิสัยที่ 1 ได ก็จะไมสามารถสรางอุปนิสัยที่ 2 – 7 ได
         เป นอุ ป นิ สัย เบื้ อ งต นที่ สํา คัญ ที่ สุด ของคนที่ จ ะมี ป ระสิ ท ธิ ผ ลในทุ ก สถานการณ คํ าว า Pro-activity มี
ความหมายมากกวาการริเริ่ม คนที่ Proactive จะมีความรับผิดชอบดีมาก ไมตําหนิสภาพแวดลอม เงื่อนไขตางๆ
หรือขอจํากัดจากพฤติกรรมของเขา การกระทําของเขาเกิดจากการเลือกของตนเองซึ่งตั้งอยูบนพื้นฐานของคุณคา
มากกวาผลจากเงื่อนไขหรือความรูสึกแกนแทของคนที่ Proactive คือความสามารถในการเก็บแรงกระตุน การ
ตอบสนองกับสิ่งกระตุนจะเปนไปอยางรอบคอบ และผานการชั่งใจมาแลว ตางกับคนที่ Reactive หรือเปนฝายถูก
กระทํา มักไดรับผลกระทบจากเงื่อนไขทางสภาพแวดลอมและเลือกที่จะใหอํานาจเหลานั้นมาควบคุมตน
         คนเรานั้น หากไมเปนผูกระทํา (Proactive) ก็มักจะเปนผูถูกกระทํา (Reactive) คนที่เปนคนเฉื่อย ไมยอม
คิดไมยอมสรางอะไร ก็จะถูกสิ่งแวดลอมมากระทบหรือนําพาบังคับใหตองทําอยางนั้นอยางนี้ไปตามสภาพแวดลอม
แบบนั้นเรียกวาเปนผูที่ถูกกระทํา แตในทางตรงกันขาม คนที่อยูในประเภทที่เปนผูกระทํา จะเปนผูเลือกที่จะทําหรือ
จะไมทําสิ่งใดๆ ดวยเหตุดวยผลของเขาเอง คือคิดวาตัวเองเปนผูกําหนดชีวิตของตน ทั้งนี้ดวยการพิจารณาไวกอน
ไมใชวาถึง เวลาแลวคอยคิดจะทํา เพราะสุดทายแลวก็จ ะกลายเปนผูถูก กระทําและตอบสนองตอสิ่ง แวดลอม
เหมือนเดิม
         บุคคลจะตองมีความกระตือรือรน และริเริ่มทําสิ่งตางๆ หรือโครงการตางๆดวยตนเองกอนที่จะเรียกรองให
คนอื่นทํา การริเริ่มงานเปนความรับผิดชอบตอการเลือกกระทําของตนเองและมีอิสระในการเลือกกระทํา ซึ่งอิสระ
ในการเลือกเปนไปตามหลักการและคานิยมที่ดีในการทํางาน ไมใชเลือกกระทําเพราะอยูในอารมณอยากทําหรือ
เนื่องจากตกอยูภายใตเงื่อนไขที่จะตองทํา
         ความจริง การเริ่มตนทํากอน เหมือนเหรียญที่มี 2 ดาน
         ดานหนึ่ง คือ การเริ่มทําอะไรสักอยาง (Pro action)
         อีกดานคือ รออะไรสักอยางแลวจึงลงมือทํา (Reaction)
         การเริ่มตนลงมือทํา เปนการแสดงความรับผิดชอบอยางหนึ่งของชีวิต เพราะถาคุณเอาแตตั้งหนาตั้งตารอ
คอย คุณจะเที่ยวโทษคนนั้นคนนี้ สิ่งนั้นสิ่งนี้ โทษเรื่องตางๆ นอกตัว โดยที่ไมมองตัวเอง ดังนั้น เราจึงควรคิดริเริ่ม
ลงมือทํา แลวติดตามผลลัพธ ผลลัพธซึ่งจะเกิดขึ้นตามหลักของเหตุและผล อยางไรก็ตาม เมื่อเราถูกกระทบดว ย
ความรูสึกใด เราจะทําอะไรบางอยางเปนการตอบโตหรือตอบสนอง แตเพราะคนมีสามัญสํานึก (สัตวไมม)ี ดังนั้น เรา
ตอง“เลือก”ที่จะทําในสิ่งที่ควรทํา ที่วาเปนเหรียญ 2 ดาน ก็เพราะการเลือกทํานั่นแหละ คือ การเริ่มตนลงมือทํา
กอน
The 7 Habits of Highly Effective People By (Stephen R. Covey) |6 |

        เมื่อมีสิ่งเรามากระทบกับตัวเรา หากเราโตตอบไปทันที เรียกวา Reactive
        แตถาเราหยุดใชสติ คิด แลวเลือกการตอบสนองสิ่งเรา เรียกวา Proactive
 สรุปงายๆ คือ ใหเรามีสติในการแกปญหาตางๆ ที่เผชิญอยูนั่นเอง ในอุปนิสัยนี้ยังสอนดวยวา เรามักไปกังวลกับสิ่งที่
เราไมสามารถทําอะไรได ดังนั้น Proactive สอนใหเราทําในสิ่งที่เราทําไดใหมากที่สุด ทําตัวเราที่ทําไดใหดีที่สุด ก็
คือ อยูกับปจจุบัน ทําปจจุบันใหดีที่สุด นั่นเอง
           นอกจากนั้นในอุปนิสัยนี้ ยังพูดในเรื่องของสิ่งที่คนเรากังวล โดยปกติแลวคนเรามักจะมีเรื่องกังวลมาก และ
ทุกขใจไปหมด แตที่ถูกแลวเราควรกังวลเฉพาะเรื่องที่เราจัดการได และหาทางปองกันหรือแกไขปญหานั้น หาก
เปนเรื่องที่ควบคุมไมไดจริง ๆ เชน เรื่องดินฟาอากาศ, เรื่องความคิดของคนอื่น เราก็ไมควรไปกังวลมาก เพียงแต
จัดการในสิ่งที่เราทําไดใหดีที่สุดเทานั้น
 เคล็ดลับ ชีวิตของเรา เราตองเลือกเอง เราตองเปนผูกําหนด อยาใหสภาพแวดลอมตาง ๆ มาทําใหเราลังเล
ตองมั่นใจ ตองมี "สติ" หรือ “มีการรูสึกตัว” ในการเลือกทําอะไรทุกครั้ง และพรอมจะรับผลจากสิ่งที่เราเลือก
นั้นไมวาดีหรือรายอยางเขมแข็งและกลาหาญ
The 7 Habits of Highly Effective People By (Stephen R. Covey) |7 |

              อุปนิสัยที่ 2 เริ่มตนดวยจุดมุงหมายในใจ (Begin with the end in mind)
“หลักการของภาวะผูนําตนเอง (Self-Leadership)”
                 เมื่อเรามีทางเลือกของเราเองแลว เราตองสรางภาพในใจขึ้นมากอนการลงมือทํา เพื่อเปนแผนที่นํา
ทางไปสูเปาหมาย วาอยากเห็นตนเองเปนอยางไร อยากเห็นผลงานเปนอยางไร จากนั้นจึงเริ่มลงมือปฏิบัติตามแผนที่
นั้น
           อุปนิสัยที่ 2 นี้มีพื้นฐานอยูบนหลักการของ "ภาวะผูนํา" เริ่มตนดวยการมองเห็นกรอบความคิดเกี่ยวกับ
จุดมุงหมายสุดทายในชีวิตของเราเพื่อใชเปนกรอบอางอิง ตรวจสอบทุกอยางที่ผานมาวาสอดคลองกับสิ่งที่กําหนดไว
ในใจหรือไม โดยตองกําหนดเปาหมายไวอยางชัดเจน และพยายามทําทุกอยางไมใหขัดแยงกับสิ่งที่เรากําหนดไววา
สําคัญที่สุดและทําใหเขาใกลเปาหมายใหมากที่สุด
           การกําหนดเปาหมายไมวาจะเปนเปาหมายเล็กหรือเปาหมายใหญ และการกําหนดแผนงานกอนลงมือ
ทํา จะชวยใหบุคคลสามารถชี้ชัดไดวาตนเองตองการอะไร ตองทําอะไร อยางไหร เมื่อไหร ที่ไหน และทําใหเกิด
ความผูก พันตอเปามาย หลัก การ แผนงาน และวัตถุป ระสงค ที่สําคัญ ที่สุดของตน ซึ่ง นําไปสู ความสําเร็จ ใน
เปาหมายของตน
           การที่เราเองตองเปนผูริเริ่มกําหนด หรือเลือกสิ่งตาง ๆ ที่เราจะทําเอง เพราะในการดําเนินชีวิตทุกวันของ
เรา จะมี "สิ่งเรา " เขามากระทบเราอยูเ สมอ คนที่ Proactive จะมีส ติในการคิดในการเลือกทางเลือกที่เ ห็นวา
เหมาะสมที่สุด และพรอมที่จะรับผลกระทบจากการตัดสินใจของตนเอง เนื่องจากในการเลือกของตนเองไดมีการ
คิดถึงสิ่งที่จะเกิดขึ้นแลว แตคนที่ Reactiveจะตอบสนองตอสิ่งเรา หรือเรื่องที่มากระทบโดยไมไดคิดใหดี และเมื่อ
ทําไปแลวก็เกิดความทุกขใจ รวมทั้งเมื่อเกิดผลกระทบ ก็โทษสิ่งตาง ๆ วาทําใหตนเองตองเปนเชนนี้
            อุป นิสั ยที่ 2 คือ การนํา ผลลั พธ สุด ทา ยที่ เ ราต องการเป นตั วตั้ ง โดยสรา งให เ ป นภาพที่ชั ดเจนในใจ
เรา จากนั้นใหเขียนออกมาใหชัดเจน ซึ่งหากเราเห็นผลลัพธที่เราตองการไดชัดเจนแลว เราก็จะสามารถแปลมาเปน
วิธีการที่จะทําใหถึงเปาหมายนั้นไดงาย เพราะเราจะเห็นวามีสิ่งใดบางที่จะทําใหเรามุงสูเปาหมายได และสิ่งใดไม
เกี่ยวของกับเปาหมาย ทําใหเราสามารถบรรลุเปาหมายที่เราตองการไดอยางรวดเร็ว และไมหลงทาง ตางจากการ
เปน "ผูจัดการ" คือ
"การจัดการ" เหมือนความสามารถในการไตบันไดแหงความสําเร็จไดอยางรวดเร็วและมีประสิทธิผล แต
"ภาวะผูนํา" เหมือนกับการพิจารณาวาบันไดอันไหนพิงอยูบนกําแพงที่ถูกตอง
             บอยครั้งที่เราทํางานหนักเพื่อไตบันไดแหงความสําเร็จ แตกลับพบวาบันไดนั้นพิงผิดที่วิธีที่มีประสิทธิผล
มากที่ สุ ด ในการเริ่ ม ต น ด ว ยจุ ด มุ ง หมายในใจก็ คื อ การสร า งคํ า ปฏิ ญ ญาส ว นตั ว (Personal Mission
Statement) โดยตองเริ่มตนที่ "ศูนยรวม" ของขอบเขตที่สามารถทําไดเสียกอน "ศูนยรวม" มีหลายแบบ เชน "ศูนย
รวม" อยูที่คูครอง ลูก ครอบครัว เงิน ที่ทํางาน การเปนเจาของ ความยินดีและความพอใจ มิตรหรือศัตรู ศาสนาและ
ตนเอง เปนตน "ศูนยรวม" นี้จะเปนแหลงกําหนดปจจัยสนับสนุนชีวิต 4 ประการ ไดแก
     1. ความมั่นคงในจิตใจ (Security)
     2. เครื่องนําทาง (Guidance)
     3. ปญญา (Wisdom)
     4. อํานาจ (Power)
The 7 Habits of Highly Effective People By (Stephen R. Covey) |8 |

          ปจจัยทั้ง 4 นี้ตองอาศัยซึ่งกันและกันจึงจะใหประโยชนสูงสุด ความมั่นคงในจิตใจและเครื่องนําทางที่ชัดเจน
นํามาซึ่งปญญา และปญญาเปนตัวจุดประกายใหมีการใชอํานาจผลกระทบในดานบวกที่จะเกิดกับชีวิตเราขึ้นอยูกับ
ชนิดของ "ศูนยรวม" ที่เราเปนอยู
          เขาใจไดงายๆวา กอนที่เราจะเริ่มตนทําอะไรใหเราคิดถึงผลลัพธสุดทายกอน วาอยากใหเปนอยางไร แลว
จากผลลัพธที่คิดในใจก็จ ะแปลเปนวิธีการไปสูจุดหมาย เหมือนมีเปาหมายที่ชัดเจน การทําใหเปาหมายปรากฏ
ชัด (Visualization) หรือเห็นไดงาย เสมือนเปนแผนที่นําทางชวยใหเรามีความพยายามและทุมเททําในสิ่งที่ถูกตอง
อยางตอเนื่อง เราจะรูวาเราตองเตรียมอะไรบาง ทําอยางไร ไปทางไหน ใหประสบความสําเร็จบรรลุเปาหมายที่
วางไว
          การวางแผนการทํางาน หรือวางแผนชีวิตของเราไวตั้งแตแรกเริ่มที่จะทําอะไร ทําใหเราไดตั้งใจไวแลววาใน
ที่สุดแลว การงานนั้นๆหรือชีวิตของเราจะมีลักษณะสุดทายเปนอยางไร เราก็จ ะทําตัว ใหสอดคลองกับจุดหมาย
นั้น โดยไมออกนอกเสนทางหรือหลงทางไปงายๆ

          เคล็ดลับ เราตองเปนคนที่มีเปาหมายในชีวิต รูตัววาสุดทายเราตองการเปนอะไร เราจะอยูในจุดไหน
โดยเราตองสรางภาพนั้นออกมาใหชัดเจน พยายามจินตนาการถึงภาพแหงความสําเร็จในวันนั้นของเราวาจะ
เปนอยางไร เขียนออกมาใหชัดเจน และมุงมั่นตั้งใจในการทํากิจกรรมตาง ๆ ใหสําเร็จ เพื่อมุงสูเปาหมายที่
สําคัญที่สุดในชีวิตเรา
The 7 Habits of Highly Effective People By (Stephen R. Covey) |9 |

                  อุปนิสัยที่ 3 ทําตามลําดับความสําคัญ (Put first thing first)
“หลักการจัดการตนเอง (Self-Management)”
                เปนการลงมือปฏิบัติโดยเริ่มตนจากเรื่องที่สําคัญกอน ดังนั้น จงยึดหลักวา “ชีวิตนี้สั้นนัก จึงควรทําสิ่ง
ที่สําคัญในชีวิตกอน” การจะทําอยางนั้นไดดีตองมีการบริหารเวลาเขามาเกี่ยวของ สิ่งที่ตองทําคือเรื่องสําคัญ ไมใช
เรื่องเรงดวน หากทําไดก็จะสามารถพึ่งตนเองได
          อุปนิสัยที่ 3 นี้เกี่ยวของกับ "การบริหารเวลา" โดยมีปจจัย 2 อยาง ความ "เรงดวน" และ "สําคัญ" ที่เปน
ตัวกําหนดกิจกรรมตางๆ ความสําคัญไมไดอยูที่เวลาแตอยูที่ "การจัดการกับตัวเอง" โดยเฉพาะกับเปาหมายระยะ
ยาว เพราะเมื่อเริ่มตนลงมือทํา หลายเรื่องหลายอยางดูเรงดวนไปเสียหมด
          อุปนิสัยที่ 3 คือ ทําสิ่งที่สําคัญกอน แลวอะไรคือสิ่งที่สําคัญ เราตองรูบทบาทหนาที่ของเรากอน 1 คนมีได
หลายบทบาท เชน พอแม เพื่อน ลูก สามี ลูก จาง เจานาย พนักงาน ประชาชน ฯลฯ แลวเราก็จะรูวาในแตล ะ
บทบาทอะไรคือสิ่งสําคัญ ในบทนี้เขาบอกตองแยกใหออกระหวาง สิ่งสําคัญ/ไมสําคัญ งานเรงดวน/ไมเรงดวน ถาเรา
รูจักวางแผนดีๆ งานสําคัญไมเรงดวนก็จะเยอะกวางานดวนและสําคัญ กับงานดวนแตไมสําคัญ เมื่อพบแลวตอง
เลือกทําในสิ่งที่สําคัญกอน ตามปกติ คนเราจะพบกับเรื่องตาง ๆ 4 แบบ คือ
            3.1 เรื่อง "สําคัญ" และ "เรงดวน"
            3.2 เรื่อง "สําคัญ" แต "ไมเรงดวน"
            3.3 เรื่อง "ไมสําคัญ" แต "เรงดวน"
            3.4 เรื่อง "ไมสําคัญ" และ "ไมเรงดวน"
            ตามปกติเราจะเลือกทําในเรื่องที่สําคัญและเรงดวน ตามขอ 3.1 แตจะทําใหเราเหนื่อยมาก เพราะมีเรื่อง
เรงดวนที่ตองใหทํา ใหแกอยูตลอด ดังนั้น เราตองพยายามจัดสรรเวลามาทําในเรื่องที่ 3.2 คือเรื่องที่ "สําคัญ แต
ไมเรงดวน" ใหมาก ๆ ซึ่งเรื่องพวกนี้ไดแก เรื่องของการวางแผน การแสวงหาโอกาสใหม ๆ, การปองกันปญหา โดย
หากเราทําเรื่องพวกนี้ดี เรื่องเรงดวนตาง ๆ ก็จ ะลดลง ทําใหเรามีสุขภาพจิตในการทํางานที่ดีขึ้น ทั้งนี้ ไดมีการ
แนะนําใหจัดทําตารางเวลาวาจะจัดทําอะไรกอน-หลัง ตารางที่ดีควรเปนตารางประจําสัปดาห เพื่อบอกเราวา
สัปดาหนี้มีเรื่องสําคัญอะไรที่ตองทํา และสิ่งที่ทําใหเราสามารถลําดับความสําคัญไดดี คือ การรูจักปฏิเสธ และการ
จดจอ (Focus) กับเปาหมายของตนเอง
          การบริหารงานที่มีประสิทธิผล คือ การทําตามลํา ดับความสําคัญ การจัดประเภทและจัดลําดับการ
ทํางานชวยใหบุคคลทราบวา งานใดเปนสิ่งที่สําคัญที่สุดและเรงดวนที่สุดสําหรับการทํางานของตน หรืองาน
ใดแมสําคัญแตยังไมมีความจําเปนตองเรงดวนนัก ดังนั้น บุคคลจะสามารถทํางานที่สําคัญและเรงดวนที่สุด
เปนสิ่งแรกได โดยการจัดความสําคัญของสิ่งทีจะตองทํานั้น จะตองอยูบนรากฐานของหลักการและคานิยมที่ดี
                                                    ่
ตอการทํางาน ไมใชเพราะการถูกบังคับหรือเพราะการถูกเรงใหทําดวยเหตุฉุกเฉิน
          กลาวคือ ในขณะที่ผูนําเปนคนตัดสินใจวาสิ่งไหนตองทํากอน ผูจัดการจะนําสิ่งนั้นมาไวเปนลําดับแรกของ
การทํางาน การบริหารจัดการก็คือ การจัดระเบียบวินัยเพื่อทําสิ่งตางๆใหสําเร็จนั่นเอง

           เคล็ดลับ เราทุกคนตางมีเรื่องที่ตองใหทํามากมาย แตคนที่มีประสิทธิภาพนั้น จะมีการวางแผนที่ดี รู
วาเรื่องไหนสําคัญ เรื่องไหนไมสําคัญ เรียงลําดับความสําคัญ แลวเลือกทํา เรื่องที่ควรจะทํา ชีวิตเขาจึงดูไ ม
สับสนและวุนวาย แตผลลัพธของเขากลับมีประสิทธิภาพมากกวาคนที่ "ยุง" อยูตลอดเวลา !
The 7 Habits of Highly Effective People By (Stephen R. Covey) |10 |

              แบบพฤติกรรมในการจัดการตนเอง (Behavioral Self - Management)
          กลยุทธที่ชวยบุคคลใหสามารถควบคุมชีวิตของเขาไดมากขึ้น ไดแก
1. การกําหนดเปาหมายดวยตนเอง (Self-Set Goals)
เปนผูกําหนดเปาหมายและระดับเปาหมายดวยตนเอง ควบคุมตนเอง และเกิดคํามั่นสัญญาตอเปาหมายที่ตนเอง
เปนผูกําหนด
2.การสังเกตการณดวยตนเอง (Self-Observation)
เปนกระบวนการที่ติดตามเฝาดูพฤติก รรมตนเองและตั้ง ขอสังเกตเกี่ยวกับ การกระทํา เหตุการณห รือผลลัพธ
(Outcomes) ปรัชญานี้ตั้งบนขอสมมติฐานวา เราสามารถตรวจสอบพฤติกรรมของตนเองได นอกจากนี้การสังเกต
การดวยตนเองยังรวมไปถึงการบันทึกผลการปฏิบัติงานดวย
3.การใหรางวัลดวยตนเอง (Self-Reward)
การให ร างวั ล ด ว ยตนเองเป น กระบวนการที่ ต รวจสอบ ประเมิ น และให ร างวั ล หรื อ ไม ใ ห ร างวั ล แก ผ ลการ
ปฏิบัติงาน การใหรางวัลอาจจะกระทําเปนระยะ ๆ เพื่อใหตนเองทราบวาอะไรเปนสิ่งที่เราตองปรับปรุงแกไข
4.การวางแผนตระเรียมการกอนการปฏิบัติจริง (Self-Cueing)
การวางแผนเตรียมการกอน การปฏิบัติงานจะชวยปองกันขอบกพรอง (Defects) ที่อาจเกิดขึ้นระหวางปฏิบัติงาน :
ซึ่ง การจําลองสถานการณ (Simulation) หรือการสรางเงื่อนไขที่ควบคุม ได (Controlled Conditions) เปน
เครื่องมือหนึ่งที่ใชสําหรับแนวทางนี้
5.การออกแบบงานดวยตนเอง (Self - Designed Jobs)
ความสามารถออกแบบงานหรือยื่นขอเสนอใหมีการเปลี่ยนแปลงกระบวนการออกแบบงาน ทําใหเราตระหนักถึง
ความสามารถควบคุมตนเองได

การจัดการตนเองแบบจิตใจ (Cognitive Self-Management)
       การจัดการตนเองแบบจิตใจ เปนกลยุทธการจัดการดวยตนเอง (Self-Management-Strategies) ที่สังเกต
และวัดไมได ในการจัดการตนเองแบบจิตใจ บุคคลสรางจินตภาพทางจิตใจ (Mental lmages) และแบบฉบับ
ความคิด (Thought Patterns) ที่สอดคลองกับเปาหมายขององคการ ไดแก
1. การสรางโอกาส (Opportunity Building)
       เปนกระบวนการคนหาและ/หรือพัฒนาความเปนไปไดใหม ๆ เพื่อความสําเร็จปญหาในทางการบริหารนั้น
นอกจากจะเปนตัวปญหาจริง ๆ แลว การที่ไมสามารถพัฒนาหรือปรับปรุงโอกาสถือเปนปญหาดวยเหมือนกัน
2. การพูดกับตนเองเชิงบวก (Positive Self-Talk)
เปนกระบวนการสรางจินตภาพแหงจิตใจที่เสริมแรงของตนเองในการตระหนักถึงความสําคัญของตนเองที่มีตอผูอื่น
และเพิ่มพูนความเชื่อของตนเองวามีความสามารถที่จําเปนในการปฏิบัติงานหนาที่และเผชิญหนากับการทาทายจาก
สถานการณตาง ๆ
The 7 Habits of Highly Effective People By (Stephen R. Covey) |11 |

                       อุปนิสัยที่ 4 คิดแบบ ชนะ - ชนะ (Think win - win)
“หลักทัศนคติที่ดีในการดําเนินชีวิตหรือทัศนคติเชิงบวก (Positive Attitude) ”
                  เปนเรื่องของทัศนคติในการทํางานและการใชชีวิตรวมกับผูอื่น มีแนวคิดวา ถาครอบครัวได เราก็ไดดวย
ถาองคกรได เราก็ไดดวย แนวคิดเชนนี้ทําใหเกิดความรวมมือกัน แตถามีความคิดแบบตนเองชนะ คนอื่นแพ ก็จะเกิด
ความขัดแยงและการแขงขันกัน
            แนวคิดแบบชนะ - ชนะ เปนแนวคิดในการแสวงหาผลประโยชนรวมกัน ใหความรวมมือกัน มีขอตกลงหรือ
การแกปญหาตาง ๆ เปนไปเพื่อใหทุกฝายไดรับประโยชน ไมใชการแขงขันชิงดีชิงเดนกัน จึงเปนเรื่องของทัศนคติเชิง
บวกในการทํางานและการใชชีวิตรวมกับผูอื่น
            แนวคิดชนะ- ชนะ วางอยูบนพื้นฐานของกรอบความคิดที่วา ยังมีที่วางสําหรับทุกคน ความสําเร็จของคน
คนหนึ่งไมไดหมายความวาจะตองทําใหอีกคนหนึ่งลมเหลวเสมอไปอุปนิสัยที่ 4 นี้ ตองอาศัยความเปนผูนําอยางมาก
ผูนําที่ดีนั้นตองมองการณไกล มีความคิดริเริ่ม กลาตัดสินใจและมั่นคง นําทางได มีภูมิปญญาและอํานาจซึ่งมาจาก
การเปนคนที่เ ครง ครัดในระเบียบวินัย นอกจากนี้ ผูเ ขียนยัง ไดก ลาวถึง แกนแทของอุป นิสัย 3 อยางที่จําเปน
ตอ กรอบความคิดแบบชนะ - ชนะ ไดแก ความซื่อตรง ความเปนผูใหญ และความมีจิตใจเอื้อเฟอเผื่อแผ
            คนสวนใหญจะคิดแบบวา เราชนะนายแพ หรือเรายอมแพใหนายชนะ หรือ เราไมไดนายก็ตองไมได ซึ่งจะ
เห็นไดวา มีความสูญเสียเกิดขึ้น ดังนั้น ทัศนคติแบบ ชนะ-ชนะ บอกไววา เรามีทางเลือกเสมอ และมีทางออกที่ดี
สําหรับทั้งสองฝาย คนที่มีแนวคิดแบบ win win นี้ตองคุณลักษณะคือ ซื่อสัตยตอตนเองและผูอื่น มีความน้ําใจ ใจ
กวาง และมีวุฒิภาวะที่ดี
            ในการลงมือทํางานเพื่อบรรลุเปาหมาย ใหแสวงหาผลประโยชนสูงสุดที่เห็นพองตองกันและการยอมรับใน
ผลลัพธดวยความเต็มใจ พยายามประสานผลประโยชนและความสัมพันธที่ทุกฝายควรจะไดรับอยางสูงสุดและดี
ที่สุด การคิดแบบชนะ –ชนะ จะตองอยูในแนวทางที่วาสิ่งที่ตองการหรือทางเลือกมีมากมายหลายทางเลือก หลาย
วิธี ก าร การพยายามชั ก จู ง ทํ าให เ กิ ด ความกลั วหรื อ เป น การเอาชนะ ซึ่ง การคิ ด แบบชนะ – ชนะ จะเน น
ที่ “เรา” ไมใช เฉพาะตัว “ฉัน” ไมใชการคิดแบบเห็นแกตัวเพื่อตนจะไดฝายเดียว
            หลายสิ่งหลายอยางไมไดเปนไปอยางที่เราตองการ หลายคนไมไดคิดและเขาใจอยางเรา กอนตัดสินวาเขาไม
เขาใจเรา ไมคิดอยางเรา ลองนั่งลงฟงและตั้งคําถามเพื่อใหตนเองเขาใจเขาเสียกอนวา เหตุใดเขาจึงคิดและเขาใจ
เชนนั้น การฟงกอนพูด และการเขาไปนั่งในมุมเดียวกันกับเขา กอนจะชวนเขามานั่งดูเรื่องเดียวกันในมุมของเรา คือ
การสื่อสารที่ดี
            เทคนิคในการอยูรวมกับผูอื่นที่สําคัญอีกเรื่องหนึ่ง คือ การสราง "บัญชีออมใจ" คือ การปฏิบัติตนตอผูอื่น
ดวยความมีน้ําใจ เอื้ออาทร ซื่อสัตย รักษาสัญญา เหมือนเปนการออมเงินไว จะทําใหความสัมพันธของเรากับผูอื่น
เปนไปดวยดี ซึ่งความสัมพันธนี้ทําใหเกิดสิ่งที่เรียกวา "ชาแตเร็ว" หมายความวา การสรางความสัมพันธ และความ
เชื่อมั่นตอผูอื่น ตองใชเวลา แตเมื่อทําไดแลว ตอไปเรื่องตาง ๆ ที่จะทําดวยกันก็จะงาย เพราะตางฝายตางมีความ
ไววางใจ และเชื่อมั่นตอกัน
            บนเสนทางสูเ ปาหมาย เราคงหลีกเลี่ยงความขัดแยง ไมได สวนใหญความขัดแยงมีผ ลมาจากความคิดที่
แตกตางกัน และคงไมมีใครอยากเปนผูแพ เราเองก็เชนกัน แตใครหลายคนหลงประเด็น โดยพยายามทําอะไรหลาย
อยาง เพื่อใหมีแตผูชนะ แตความจริง แพ-ชนะอยูที่ความคิด เราจึงตอง “คิด”แบบชนะ-ชนะ อยาพยายาม“ทํา”
แบบชนะ-ชนะ
The 7 Habits of Highly Effective People By (Stephen R. Covey) |12 |


          เคล็ดลับ “ความสุข ไมไดขึ้นอยูกับสิ่งตา ง ๆ ที่ปรากฏอยูภายนอกแตขึ้นอยูกับ วิธีคิดและวิธีที่คุณ
มอง” การที่เราจะชนะได ไมจําเปนตองทํา ใหคนอื่นแพ เราสามารถมีชัยชนะไปพรอมๆ กันได และที่สําคัญ
วันนี้เราสราง "บัญชีออมใจ" กับใครไวบางหรือยัง?


                              อุปนิสัยที่ 5 เขาใจผูอื่นกอนจะใหผูอื่นเขาใจเรา
                             (Seek first to understand, then to be understood)

“หลักการติดตอสื่อสารระหวางบุคคล (Interpersonal Communication)”
             การคิดแบบชนะ – ชนะ ทําใหคนเราจะยอมเขาใจคนอื่นกอน การจะเขาใจคนอื่นกอนได ตองฟงใหมาก ๆ
เพื่อเรียนรูและเขาใจผูที่เราฟง โดยพยายามฟงและเขาใจกับสิ่งที่ผูอื่นอธิบาย เอาตัวเราเขาไปอยูในสถานการณของ
                                                                                                         
เขา เมื่อเราเปดใจรับฟงความคิดเห็นของผูอื่น ฝายตรงขามจะมีความรูสึกที่ผอนคลายและเปดกวางในการรับฟงเรา
มากขึ้น เมื่อเขาใจเขาแลว เขาจะเขาใจเราเชนกัน
            ความเขาใจซึ่งกันและกัน เปนกุญแจสําคัญของหลักการติดตอสื่อสารระหวางบุคคลที่มีประสิทธิผลการ
ติดตอสื่อสารถือเปนทักษะที่สําคัญที่สุดในชีวิต เราใชเวลาหลายปในการเรียนรูวิธีการคิด อาน เขียน และพูด แต
นอยคนที่ไดผานการฝกอบรมเรื่องการฟง การฟงในที่นี้หมายถึงการฟงเพื่อแสวงหาความเขาใจซึ่งมากกวาการสนใจ
ฟง ในการสนทนาพูดคุยหรือปรึกษาหารือในเรื่องตางๆหรือปญหาตางๆ เราควรรับฟงกันดวยความตั้งใจ เพื่อที่จะ
เขาใจวาผูอื่นตองการอะไรมากกวาที่เคาพูด การพยายามเขาใจผูอื่นจะชวยใหทราบปญหาและความตองการของ
ผูอื่นไดชัดเจน ทําใหสามารถแกปญหาไดตรงจุดและสามารถพูดอยางเปดเผย เราตองฟงดวยหู ดวยหัวใจ ดวย
ความรูสึก ดวยความหมายที่แสดงออกมา เราตองฟงถึงพฤติกรรมและใชสมองดานซายและขวาไปพรอมกัน การ
รับฟงเพื่อแสวงหาความเขาใจสงผลดีอยางมากเพราะทําใหเราไดขอมูลที่ถูกตอง
            การเขาใจเขากอนที่จะใหเขาเขาใจเรา มีวิธีงายๆ ก็คือ "การฟง" เขาบอกวา คนเรามักไมชอบฟงผูอื่น มัก
คิดถึงแตสิ่งที่ตนจะพูดเทานั้น และมักดวนสรุปตัดสินใครงายๆ จากการฟงไมกี่ประโยคเพื่อที่จะใหคําแนะนําจาก
ประสบการณของเราเอง นิสัยนี้เขาจึงสอนใหเราฟงคนอื่นแบบเอาใจเขามาใสใจเรา นั่นเอง
            การเขาใจผูอื่น กอนที่ จ ะให ผูอื่น มาเข าใจเรา เปนทัก ษะที่สํ าคัญ ที่สุด การที่จ ะทํา ใหเ รามีอุป นิสัย นี้
คือ "การฟง" ตามปกติคนเราจะชอบพูดมากกวาชอบฟง บางครั้งเราฟง แตไมไดตั้งใจฟงจริง ฟงเพื่อรอคิวที่จะถึง
เวลาเราพูด ดังนั้น เราจะสามารถเขาใจผูอื่นไดดี เราตอง "ฟงเพื่อใหเขาใจ" ไมใช "ฟงเพื่อจะตอบ หรือเพื่อจะ
พูด" หรือฟงแบบวา “ฟงไมไดศัพท แลวจับกระเดียด” นําไปสูความเขาใจผิด กอใหเกิดความขัดแยงได
            การฟงจึงเปนทักษะสําคัญที่จําเปนตองเรียนรู ทักษะการฟงที่ดีนํามาซึ่งความสําเร็จในชีวิต เพราะเปน
พื้นฐานสําคัญของทักษะการเขาสังคม สามารถลดความเขาใจผิด ความขัดแยงในการปฏิสัมพันธกับคน นอกจากนี้
การพัฒนาทักษะการฟงยังสงผลตอการพัฒนาในดานสติปญญา ในแงของการฝกใชความคิด การจับประเด็น ฝก
ความจํา และฝกฝนการจดจอแนวแนกับสิ่งใดสิ่งหนึ่งหรือมีสมาธิที่ตองการเรียนรูไดอยางมีประสิทธิภาพ
            การฟงอยางมีประสิทธิภาพนั้นเปนสิ่งที่สามารถสอนและฝกฝนกันได โดยพื้นฐานสําคัญอันดับแรกสุดในการ
ฝกฝนนั้น คือ การฝกฝนความอดทนในการเปนผูฟงที่ดี อยาพูดสอดแทรก รอใหอีกฝายพูดจนจบกอน มีมารยาทใน
การฟง เรียนรู ที่จ ะใหเ กียรติผูพูด เปนการฝก ฝนใหตนไมเ ปนคนที่เยอหยิ่ง หรือเอาตนเองเปนศูนยก ลางคิดวา
The 7 Habits of Highly Effective People By (Stephen R. Covey) |13 |

ความคิดของตนดีกวาจนไมยอมรับฟงผูใด จนเปนเหตุใหเ กิดการปดกั้นการเรียนรูจากแหลง ตาง ๆ ไปอยางน า
เสียดาย รวมทั้งเปนการสรางสัมพันธอันดีตอทั้งผูพูดและผูฟง ทําใหการสนทนานั้นเปนไปอยางสรางสรรคและจบลง
ดวยดี
           ผูฟงที่ดีจะตองมีลักษณะแหงความกระตือรือรนอยูดวย หรือที่เรียกวา Active Listening คือ แสดงทาทาง
ภายนอกว ากํ า ลั ง ฟ ง อยู และในสมองตอ งมีก ารทํา งานแล ว คิด ไปด ว ยอยู ต ลอดเวลา ผู ฟง ที่ ดี จ ะต อ งพั ฒ นา
ความสามารถในการจับประเด็นไปดวย เพราะเปนตัวชี้วาการสื่อสารที่เกิดขึ้นนั้นผูสงสารสามารถบรรลุเปาหมายใน
การสื่อสารที่ตองการไปยังผูรับสารหรือไม การสื่อสารเปนไปอยางมีประสิทธิภาพหรือไม ดังนั้น ผูฟงที่ดี ตองตั้งใจ
ฟง รูถึงความรูสึกและอารมณของเขา รับฟงอยางมีสติมั่นคง รับฟงอยางเปนกลางสายตาอยูที่ผูพูด อยาเพียงแตได
ยิน โดยที่ในใจคิดเรื่องอื่นอยู
            เคล็ดลับ คนเรามักยึดตนเองเปนศูนยกลาง อยากใหใคร ๆ มาเขาใจเรา ทําในสิ่งที่เรา แตคนที่มีเสนห
คือ คนที่รับฟง แลวเขาใจผูอื่น ทําไดโดย ฟงใหมากขึ้น พูดใหนอยลง และที่สําคัญการฟงนั้น ตองฟงในสิ่งที่เคา
ไมไดพูด จะทําใหเขาใจผูอื่นไดจริง ๆ
The 7 Habits of Highly Effective People By (Stephen R. Covey) |14 |

                                อุปนิสัยที่ 6 ประสานพลัง (Synergize)
“หลักการรวมมืออยางสรางสรรค (Creative Collaboration)”
               เมื่อเขาใจผูอื่นแลวจะเห็นความแตกตางระหวางบุคคล แลวจะใหคุณคาในความแตกตางเหลานั้น อัน
จะนํ าไปสู ความสามารถในการใชค วามแตกต างนั้ นมาผนึก พลัง ประสานความตา งได เมื่อ เกิ ดความรว มมื อ
กัน (Synergy) เราจะสามารถพึ่งพากันได และเมื่อนั้นเราจะมีชัยชนะ
           การประสานพลัง (Synergize) หมายถึง การผนึกพลังผสานความตาง โดยการรวมมือกันกับคนอื่นอยาง
สรางสรรค เปนการนําขอดีของอุปนิสัยทั้งหมดมารวมเขาดวยกันเพื่อทํางานใหญใหสําเร็จ กุญแจสําคัญของการ
ประสานพลังระหวางบุคคล คือ การประสานพลังในตัวบุคคลนั่นเอง เปนการประสานพลังภายในตัวเองโดยการทํา
ใหอุปนิสัยทั้ง 3 ขอแรกฝงอยูในตัวเราใหได ซึ่งจะทําใหเ รารูสึก มั่นคงเพียงพอที่จะรับมือกับ ความเสี่ยงตาง ๆ ที่
อาจจะเกิดขึ้น เมื่อเรามีห ลักการทั้ง สามอยูในใจแลว ก็เหมือนกับเราไดพัฒ นาจิตใจที่เ อื้อเฟอ และมีความคิด
แบบ ชนะ / ชนะ อันเปนพลังของอุปนิสัยที่ 5 ในการสื่อสารแบบประสานพลัง เราตองเปดใจ เปดความคิดใหกวาง
และเตรียมความรูสึก ใหดี พรอมรับ มือกับ สิ่ง ใหม ๆ ที่จะเกิดขึ้นรวมทั้ง ทางเลือกใหมและโอกาสใหม ซึ่ง ฟง ดู
เหมือนกับวาจะขัดแยงกับอุปนิสัยที่ 2 (เริ่มตนดวยจุดมุงหมายในใจ) แตในความเปนจริงเรากําลังทําใหมันสมบูรณ
ยิ่งขึ้นตางหาก หรือ ผนึกพลังผสานความตาง คนเรามักอยูในมุมของตัวเอง ไมยอมรับความเห็นของผูอื่น ถาเราเปด
ใจยอมรับความเห็นที่แตกตางได นั่นยอมนํามาซึ่งผลลัพธที่คาดไมถึง 1+1 > 2 ก็เพราะการยอมรับในความแตกตาง
           การยอมรับในคุณคาของตนเองหรือการนับถือตนเอง (Self - esteem) หมายถึง ความรูสึก ความเชื่อที่
บุคคลที่มีตอตนเองวามีความสามารถมีคุณคา ซึ่งจะมีระดับตั้งแตการนับถือตนเองต่ําไปจนถึงการนับถือตนเองสูง
การที่บุค คลยอมรั บ ตนเองนับ เปน ทัก ษะสํ าคัญ ในการที่จ ะเรีย นรูพั ฒ นาตนเอง และการดํ าเนิ นชีวิ ต เพราะ
ความสามารถในการรักษาสัมพันธภาพระหวางบุคคลไดดี มีผลมาจากการที่บุคคลยอมรับหรือปฏิเสธตนเอง ทําให
สามารถใชทํานายสัมพันธภาพที่บุคคลอื่นมีตอเราไดเชนกัน การนับถือตนเอง (Self - esteem) ประกอบดวย ความ
ตระหนักถึงคุณคาตนเอง (Self-respect) และ ความเชื่อมั่นในความสามารถตนเอง(Self-efficacy) จนกลายเปน
ภาพแหงตน (Self-image) ทําใหบุคคลรูจักตนเอง มองโลกในแงดีเสมอ มองวิกฤตใหเปนโอกาส ประเมินตัวเราให
มีคุณคาอยูเสมอ เชื่อมั่นในความสามารถตัวเอง มองวาตัวเราเปนสวนหนึ่งของชีวิตและเราสามารถเปลี่ยนแปลง
ตามที่เราตองการ และไมหลงตนเอง ทําใหมีความมั่นใจ มีความหวัง มีพลังในการตอสู ที่สําคัญคือเราตองเปดใจ
เขาใจในความแตกตางของผูอื่น และใชความแตกตางนั้นใหเกิดประโยชน
           โบราณวาไว สองหัวดีกวาหัวเดียว ดังนั้น เมื่อคนสองคนคิดหาทางออกรวมกัน ยอมดีก วาที่ตางคนตาง
หาทางออกโดยไมปรึกษากัน หรือตัดสินใจคนเดียวตามลําพัง ความรวมมือรวมใจไมใชการยอมความ หากแตเปน
การสื่อสารกันดวยความเคารพในสิทธิและความคิดสรางสรรคของกันและกัน ทําใหเกิดการเรียนรู เกิดความเขาใจ
และสามารถหาทางออกไดดีกวาเดิม จึงทําใหเกิดสูตร Synergy คือ 1+1= 3
           การทํางานใดๆ คงหลีก เลี่ยงอุปสรรคปญหาไมได แตการทํางานรวมกันเปนทีม (Team Work) ชวยให
บุคคลหลายคนทํางานรวมกันโดยมีความพึงพอใจในการทํางานนั้น เพื่อใหบรรลุผลสําเร็จตามเปาหมายเดียวกันอยาง
มีประสิทธิภาพ ทําใหสามารถแกปญหาไดมีประสิทธิภาพดีกวา ตัดสินใจไดรอบคอบยิ่งขึ้น และกอเกิดความคิด
สรางสรรคดีกวาคิดอยูคนเดียว การประสานพลัง คือ การประสานความแตกตาง โดยพยายามรวมกันเพื่อบรรลุ
เปาหมายของทุกคนในทีม ... The whole is greater than the sum of its parts.
The 7 Habits of Highly Effective People By (Stephen R. Covey) |15 |

        การทํางานดวยการประสานประโยชนอยางสรางสรรคเพิ่มพูน (Synergize) จึงเปนการแสวงหาทางเลือกใน
การแก ปญ หา ทางเลือ กที่ ได เ ป นทางเลือ กจากการปรึก ษาพูด คุย แลกเปลี่ย นความคิ ดและขอ มูล ซึ่ง กัน และ
กัน สรุปผลเปนทางเลือกใหมที่ดีกวาทางเลือกของแตละคน เปนทางเลือกที่มีการยอมถอยคลละกาว การจะทํางาน
แบบประสานประโยชนอยางสรางสรรคได จะตองเปดใจรับฟงกันและกัน โดยใชอุปนิสัยที่ 4 และ5 มาชวยใหการ
ประสานพลัง มีประโยชน สรางสรรคและเพิ่มพูน
        เคล็ดลับ ยอมรับในความแตกตางวาเปนเรื่องธรรมดา และตองคิดเสมอวาเราจะนําจุดเดนของแตละ
คน มาเสริมใหเกิดประโยชนซึ่งกันและกันไดอยางไร
The 7 Habits of Highly Effective People By (Stephen R. Covey) |16 |

                           อุปนิสัยที่ 7 ลับเลื่อยใหคม (Sharpen the saw)
“หลักการเรียนรูตลอดชีวิต (Life Long Learning)”
               สิ่งใดก็ตาม ถาหากเราใชไปโดยไมหยุดพัก เมื่อถึงวันหนึ่งก็จะชํารุดไมสามารถใชงานไดตอไป ลับเลื่อย
ใหคมจึง เปนการใหพลัง กับ ชีวิต ถาเลื่อยมันทื่อเพราะใชง านหนัก ก็ลับมันบาง ทั้ง ดานรางกาย อารมณ สัง คม
สติปญญา เพราะถึงที่สุดแลว ชีวิตตองมีความสมดุล จึงจะอยูในสังคมไดอยางมีความสุข
          ถาคนเกง หรือคนที่คิดวาตัวเองเกงแลว แตไมพัฒนาตัวเอง ความรูความสามารถที่มีอยูเดิมอาจจะใชการ
ไมได เพราะโลกมีการเปลี่ยนแปลงอยูเสมอ ผลงานที่เคยทําไดดีก็อาจจะไมดีเหมือนเคย เหมือนกับเลื่อยที่ถูกใชงาน
ไปเรื่อย ๆ ถาไมหมั่นลับคม สักวันมีดก็ทื่อ ใชการไมไดในที่สุด
          "ลับเลื่อยใหคม" หมายถึง การแสวงหาความรูใหมๆใหแกตนเองอยูเสมอใน 4 ดาน การแสดงใหเห็นถึงพลัง
ขับดันทั้ง 4อยางและการฝกหัดใชพลังทั้ง 4 ที่มีอยูในตัวเราอยางตอเนื่อง สม่ําเสมอ อยางฉลาดและสมดุลย ซึ่งจะ
ทําไดก็ตองเปนคนที่ชอบลงมือกอน โดยหมั่นเติมพลังใหชีวิต ทั้ง 4 ดานไดแก
      1. ดานกายภาพ เชน หมั่นออกกําลังกาย พักผอนใหพอ กินอาหารที่มีประโยชน
      2. ดานอารมณ เชน มองโลกในแงดี คิดในสิ่งที่ดี ทําความดี สรางความสัมพันธที่ดีกับคนรอบขาง เอาใจเคา
          มาใสในเราและการอยูรวมกับผูอื่น
      3. ดานสติปญญา เชน อานหนังสือ เรียนรูสิ่งใหมๆ การเดินทางหาประสบการณ การเขาอบรมสัมมนาใน
          หลักสูตรตางๆ
      4. ดานจิตวิญญาณ เชน เขาวัด ทําบุญ ปฏิบัติธรรม อยูกับธรรมชาติ
          อุปนิสัยที่ 7 เปนหลักการปรับตัวใหมใหสมดุลซึ่งทําใหอุปนิสัยที่เหลือทั้งหมดทํางานไดผล เปรียบเสมือน
เครื่องคอมพิวเตอรสวนบุคคลที่ชวยรักษาและเพิ่มคุณคาที่มีอยูในตัวใหมากขึ้น เปนการปรับเปลี่ยนของสิ่งที่มีอยูใน
ตัวเราโดยธรรมชาติ 4 อยาง ไดแก รางกาย จิตวิญญาณ สติปญ ญา และความรู สึกที่มีตอสัง คม ในขณะที่ภาค
รางกาย สติปญญา และใจเกี่ยวของอยางใกลชิดกับอุปนิสัยที่ 1, 2 และ 3 ซึ่งมีศูนยรวมเนนไปที่วิสัยทัศนสวนตัว
ความเปนผูนํา และการจัดการ แตทางภาคสังคมและอารมณจะเนนไปที่อุปนิสัยที่ 4, 5 และ 6 ซึ่งมีศูนยรวมที่เนน
ไปที่การติดตอระหวางบุคคลของการเปนผูนํา การติดตอสื่อสาร และการรวมมือกันสรางสรรค ดัง นั้นการที่ จ ะ
ประสบความสําเร็จในอุปนิสัยที่ 4, 5 และ 6 นั้นไมใชเปนเรื่องของสติปญญาแตเปนเรื่องของอารมณ
           นิทานสอนเด็กบางครั้งก็มีคติเตือนใจเราไดมาก ถาเราจะลองพิจารณาดู อยางเรื่อง หานทองคํา ที่เรา
เรียน และไดฟงมาตั้งแตเล็ก

     นิทานเรื่อง “หานทองคํา”
           เรื่องมีวาชายคนหนึ่งโชคดีไดหานมา หานตัวนี้ออกไขมาเปนทองคําทุกวัน ๆ เจาของดีใจมาก แตตอนหลัง
รูสึก วาไดวัน ละฟองมั นนอ ยไป อยากจะได ม ากกวา นั้น และก็เ ชื่ อวา ในตั วหา นนา จะมี ไขที่ เ ปน ทองคําอี ก ตั้ ง
เยอะแยะ ถาจะรอใหมันออกมาวันละฟอง ๆ มันชาไป อยากระนั้นเลยควานทองเอาไขออกมาดีกวา ก็เลยฆาหาน
ตัวนั้น ปรากฏวาไมไดไขทองคําแมแตฟองเดียว ชายคนนั้นลืมไปวาถาอยากจะไดไขทองคํามาก ๆ ก็ตองดูแลรักษา
ตัวหานใหดี แตนี่กลับไมสนใจ มิหนําซ้ําไปฆามันเสีย ก็เทากับวาไปฆาตนทุนเสีย จะมีผลงอกงามไดอยางไร

          ขอคิดของนิทานเรื่องนี้
The 7 habits of highly effective people all
The 7 habits of highly effective people all
The 7 habits of highly effective people all
The 7 habits of highly effective people all
The 7 habits of highly effective people all

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

เรียนรู้สู่การเปลี่ยนแปลง Transformative Learning
เรียนรู้สู่การเปลี่ยนแปลง Transformative Learningเรียนรู้สู่การเปลี่ยนแปลง Transformative Learning
เรียนรู้สู่การเปลี่ยนแปลง Transformative Learning
Utai Sukviwatsirikul
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
watdang
 
ทฤษฎีระบบราชการ
ทฤษฎีระบบราชการทฤษฎีระบบราชการ
ทฤษฎีระบบราชการ
wiraja
 
4 แนวคิดและกลยุทธ์การจัดการสาธารณสุขในชุมขน copy
4 แนวคิดและกลยุทธ์การจัดการสาธารณสุขในชุมขน copy4 แนวคิดและกลยุทธ์การจัดการสาธารณสุขในชุมขน copy
4 แนวคิดและกลยุทธ์การจัดการสาธารณสุขในชุมขน copy
Watcharin Chongkonsatit
 
การเข้าถึงชุมชนในเชิงบวก
การเข้าถึงชุมชนในเชิงบวกการเข้าถึงชุมชนในเชิงบวก
การเข้าถึงชุมชนในเชิงบวก
Dental Faculty,Phayao University.
 
ทฤษฎีการจัดการแบบวิทยาศาสตร์
ทฤษฎีการจัดการแบบวิทยาศาสตร์ทฤษฎีการจัดการแบบวิทยาศาสตร์
ทฤษฎีการจัดการแบบวิทยาศาสตร์
wiraja
 
เครื่องมือพื้นฐานในการพัฒนาระบบ Rm และอื่นๆ - Suradet sriangkoon
เครื่องมือพื้นฐานในการพัฒนาระบบ Rm และอื่นๆ -  Suradet sriangkoonเครื่องมือพื้นฐานในการพัฒนาระบบ Rm และอื่นๆ -  Suradet sriangkoon
เครื่องมือพื้นฐานในการพัฒนาระบบ Rm และอื่นๆ - Suradet sriangkoon
Suradet Sriangkoon
 
การบริหารจิตและเจริญปัญญา
การบริหารจิตและเจริญปัญญาการบริหารจิตและเจริญปัญญา
การบริหารจิตและเจริญปัญญา
พัน พัน
 
การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม (Participatory Action Research : PAR)
การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม (Participatory Action Research : PAR)การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม (Participatory Action Research : PAR)
การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม (Participatory Action Research : PAR)
DuangdenSandee
 
การบริหาร(เอาจริง)
การบริหาร(เอาจริง)การบริหาร(เอาจริง)
การบริหาร(เอาจริง)
Yingjira Panomai
 
หน่วยที่-4 สหกรณ์และการรวมกลุ่มเพื่อพัฒนาชุมชนของไทย
หน่วยที่-4 สหกรณ์และการรวมกลุ่มเพื่อพัฒนาชุมชนของไทยหน่วยที่-4 สหกรณ์และการรวมกลุ่มเพื่อพัฒนาชุมชนของไทย
หน่วยที่-4 สหกรณ์และการรวมกลุ่มเพื่อพัฒนาชุมชนของไทย
Paew Tongpanya
 

Was ist angesagt? (20)

1111111111111111111
11111111111111111111111111111111111111
1111111111111111111
 
เรียนรู้สู่การเปลี่ยนแปลง Transformative Learning
เรียนรู้สู่การเปลี่ยนแปลง Transformative Learningเรียนรู้สู่การเปลี่ยนแปลง Transformative Learning
เรียนรู้สู่การเปลี่ยนแปลง Transformative Learning
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
 
จิตวิทยาแนะแนวและการให้คำปรึกษา
จิตวิทยาแนะแนวและการให้คำปรึกษาจิตวิทยาแนะแนวและการให้คำปรึกษา
จิตวิทยาแนะแนวและการให้คำปรึกษา
 
ทฤษฎีระบบราชการ
ทฤษฎีระบบราชการทฤษฎีระบบราชการ
ทฤษฎีระบบราชการ
 
การประเมินผลคลินิกโรคไตเรื้อรังแบบครบวงจร
การประเมินผลคลินิกโรคไตเรื้อรังแบบครบวงจรการประเมินผลคลินิกโรคไตเรื้อรังแบบครบวงจร
การประเมินผลคลินิกโรคไตเรื้อรังแบบครบวงจร
 
4 แนวคิดและกลยุทธ์การจัดการสาธารณสุขในชุมขน copy
4 แนวคิดและกลยุทธ์การจัดการสาธารณสุขในชุมขน copy4 แนวคิดและกลยุทธ์การจัดการสาธารณสุขในชุมขน copy
4 แนวคิดและกลยุทธ์การจัดการสาธารณสุขในชุมขน copy
 
การปฏิวัติทางวิทยาศาสตร์และอุตสาหกรรม
การปฏิวัติทางวิทยาศาสตร์และอุตสาหกรรมการปฏิวัติทางวิทยาศาสตร์และอุตสาหกรรม
การปฏิวัติทางวิทยาศาสตร์และอุตสาหกรรม
 
การเข้าถึงชุมชนในเชิงบวก
การเข้าถึงชุมชนในเชิงบวกการเข้าถึงชุมชนในเชิงบวก
การเข้าถึงชุมชนในเชิงบวก
 
ทฤษฎีการจัดการแบบวิทยาศาสตร์
ทฤษฎีการจัดการแบบวิทยาศาสตร์ทฤษฎีการจัดการแบบวิทยาศาสตร์
ทฤษฎีการจัดการแบบวิทยาศาสตร์
 
การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้
 
เครื่องมือพื้นฐานในการพัฒนาระบบ Rm และอื่นๆ - Suradet sriangkoon
เครื่องมือพื้นฐานในการพัฒนาระบบ Rm และอื่นๆ -  Suradet sriangkoonเครื่องมือพื้นฐานในการพัฒนาระบบ Rm และอื่นๆ -  Suradet sriangkoon
เครื่องมือพื้นฐานในการพัฒนาระบบ Rm และอื่นๆ - Suradet sriangkoon
 
บทที่ ๔ การปรับปรุงนิสัยการบริโภค
บทที่ ๔ การปรับปรุงนิสัยการบริโภคบทที่ ๔ การปรับปรุงนิสัยการบริโภค
บทที่ ๔ การปรับปรุงนิสัยการบริโภค
 
002191Chapter 3 Organization
002191Chapter 3 Organization002191Chapter 3 Organization
002191Chapter 3 Organization
 
การบริหารจิตและเจริญปัญญา
การบริหารจิตและเจริญปัญญาการบริหารจิตและเจริญปัญญา
การบริหารจิตและเจริญปัญญา
 
Learning force p5
Learning force p5Learning force p5
Learning force p5
 
การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม (Participatory Action Research : PAR)
การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม (Participatory Action Research : PAR)การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม (Participatory Action Research : PAR)
การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม (Participatory Action Research : PAR)
 
การบริหาร(เอาจริง)
การบริหาร(เอาจริง)การบริหาร(เอาจริง)
การบริหาร(เอาจริง)
 
หน่วยที่-4 สหกรณ์และการรวมกลุ่มเพื่อพัฒนาชุมชนของไทย
หน่วยที่-4 สหกรณ์และการรวมกลุ่มเพื่อพัฒนาชุมชนของไทยหน่วยที่-4 สหกรณ์และการรวมกลุ่มเพื่อพัฒนาชุมชนของไทย
หน่วยที่-4 สหกรณ์และการรวมกลุ่มเพื่อพัฒนาชุมชนของไทย
 
คู่มือ ลดพุง ลดโรค ฉบับประชาชน
คู่มือ ลดพุง ลดโรค ฉบับประชาชนคู่มือ ลดพุง ลดโรค ฉบับประชาชน
คู่มือ ลดพุง ลดโรค ฉบับประชาชน
 

Andere mochten auch

The eight habits of highly effective people
The eight  habits of highly effective peopleThe eight  habits of highly effective people
The eight habits of highly effective people
Purushu Nambiar
 
The 8th Habit - Stephen Covey
The 8th Habit - Stephen CoveyThe 8th Habit - Stephen Covey
The 8th Habit - Stephen Covey
Ludovic Bourgoin
 
The 7-habits-of-highly-effective-people (summary)
The 7-habits-of-highly-effective-people (summary)The 7-habits-of-highly-effective-people (summary)
The 7-habits-of-highly-effective-people (summary)
nsziszo
 

Andere mochten auch (11)

Habit 4 Think Win-Win (Veeravit's)
Habit 4 Think Win-Win (Veeravit's)Habit 4 Think Win-Win (Veeravit's)
Habit 4 Think Win-Win (Veeravit's)
 
habit 2 and habit 5 -BY STEPHEN R. COVEY
habit 2 and habit 5 -BY STEPHEN R. COVEYhabit 2 and habit 5 -BY STEPHEN R. COVEY
habit 2 and habit 5 -BY STEPHEN R. COVEY
 
The 7 habits of highly
The 7 habits of highlyThe 7 habits of highly
The 7 habits of highly
 
The eight habits of highly effective people
The eight  habits of highly effective peopleThe eight  habits of highly effective people
The eight habits of highly effective people
 
7 Habits of Highly Effective Personal Trainers
7 Habits of Highly Effective Personal Trainers7 Habits of Highly Effective Personal Trainers
7 Habits of Highly Effective Personal Trainers
 
Habit 1 Be Proactive
Habit 1 Be ProactiveHabit 1 Be Proactive
Habit 1 Be Proactive
 
The 7 habits of highly effective people
The 7 habits of highly effective peopleThe 7 habits of highly effective people
The 7 habits of highly effective people
 
7 habits of highly effective people by stephen r. covey
7 habits of highly effective people by stephen r. covey7 habits of highly effective people by stephen r. covey
7 habits of highly effective people by stephen r. covey
 
7 habits ppt.
7 habits ppt.7 habits ppt.
7 habits ppt.
 
The 8th Habit - Stephen Covey
The 8th Habit - Stephen CoveyThe 8th Habit - Stephen Covey
The 8th Habit - Stephen Covey
 
The 7-habits-of-highly-effective-people (summary)
The 7-habits-of-highly-effective-people (summary)The 7-habits-of-highly-effective-people (summary)
The 7-habits-of-highly-effective-people (summary)
 

Ähnlich wie The 7 habits of highly effective people all

Leadership competencies คุณสมบัติผู้นำ
Leadership competencies คุณสมบัติผู้นำLeadership competencies คุณสมบัติผู้นำ
Leadership competencies คุณสมบัติผู้นำ
maruay songtanin
 
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนาศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
pentanino
 
Part 31
Part 31Part 31
Part 31
Aaesah
 
ข้าราชการใสสะอาด
ข้าราชการใสสะอาดข้าราชการใสสะอาด
ข้าราชการใสสะอาด
keanwoo
 
N310552 5
N310552 5N310552 5
N310552 5
Moo Ect
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 1
สุขฯ ม.2 หน่วย 1สุขฯ ม.2 หน่วย 1
สุขฯ ม.2 หน่วย 1
supap6259
 
การสร้างวินัยและจัดการชั้นเรียน โดย ผอ.เชิดศักดิ์ ศุภโสภณ
การสร้างวินัยและจัดการชั้นเรียน โดย ผอ.เชิดศักดิ์  ศุภโสภณการสร้างวินัยและจัดการชั้นเรียน โดย ผอ.เชิดศักดิ์  ศุภโสภณ
การสร้างวินัยและจัดการชั้นเรียน โดย ผอ.เชิดศักดิ์ ศุภโสภณ
Kobwit Piriyawat
 
Presentation1
Presentation1Presentation1
Presentation1
olivemu
 
Kamjorn tuntaned
Kamjorn tuntanedKamjorn tuntaned
Kamjorn tuntaned
KamjornT
 
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
magicgirl123
 

Ähnlich wie The 7 habits of highly effective people all (20)

Eb chapter2
Eb chapter2Eb chapter2
Eb chapter2
 
Leadership competencies คุณสมบัติผู้นำ
Leadership competencies คุณสมบัติผู้นำLeadership competencies คุณสมบัติผู้นำ
Leadership competencies คุณสมบัติผู้นำ
 
Learning Organization
Learning OrganizationLearning Organization
Learning Organization
 
7 habits (19 5-2554)
7 habits (19 5-2554)7 habits (19 5-2554)
7 habits (19 5-2554)
 
Presentation 2013-01-11 My experience on Coaching
Presentation 2013-01-11 My experience on CoachingPresentation 2013-01-11 My experience on Coaching
Presentation 2013-01-11 My experience on Coaching
 
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนาศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
 
Part 31
Part 31Part 31
Part 31
 
ข้าราชการใสสะอาด
ข้าราชการใสสะอาดข้าราชการใสสะอาด
ข้าราชการใสสะอาด
 
Strengths Quest Thai version
Strengths Quest Thai versionStrengths Quest Thai version
Strengths Quest Thai version
 
The 15 invaluable laws of growth
The 15 invaluable laws of growthThe 15 invaluable laws of growth
The 15 invaluable laws of growth
 
N310552 5
N310552 5N310552 5
N310552 5
 
การแนะแนว
การแนะแนวการแนะแนว
การแนะแนว
 
ตั้งแกนใหม่ ให้ใจนิ่ง ก่อการครู.pptx
ตั้งแกนใหม่ ให้ใจนิ่ง ก่อการครู.pptxตั้งแกนใหม่ ให้ใจนิ่ง ก่อการครู.pptx
ตั้งแกนใหม่ ให้ใจนิ่ง ก่อการครู.pptx
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 1
สุขฯ ม.2 หน่วย 1สุขฯ ม.2 หน่วย 1
สุขฯ ม.2 หน่วย 1
 
การสร้างวินัยและจัดการชั้นเรียน โดย ผอ.เชิดศักดิ์ ศุภโสภณ
การสร้างวินัยและจัดการชั้นเรียน โดย ผอ.เชิดศักดิ์  ศุภโสภณการสร้างวินัยและจัดการชั้นเรียน โดย ผอ.เชิดศักดิ์  ศุภโสภณ
การสร้างวินัยและจัดการชั้นเรียน โดย ผอ.เชิดศักดิ์ ศุภโสภณ
 
Presentation1
Presentation1Presentation1
Presentation1
 
Disc model โมเดล Disc
Disc model โมเดล DiscDisc model โมเดล Disc
Disc model โมเดล Disc
 
5 laws for nida
5 laws for nida5 laws for nida
5 laws for nida
 
Kamjorn tuntaned
Kamjorn tuntanedKamjorn tuntaned
Kamjorn tuntaned
 
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
 

Mehr von KruKaiNui

การน้อมนำหลักการทรงงานในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
การน้อมนำหลักการทรงงานในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวการน้อมนำหลักการทรงงานในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
การน้อมนำหลักการทรงงานในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
KruKaiNui
 
หนังสืออนุสรณ์ ม 3 2556
หนังสืออนุสรณ์ ม 3 2556หนังสืออนุสรณ์ ม 3 2556
หนังสืออนุสรณ์ ม 3 2556
KruKaiNui
 
คู่มือการปฏิบัติงานการจำหน่ายนักเรียน
คู่มือการปฏิบัติงานการจำหน่ายนักเรียนคู่มือการปฏิบัติงานการจำหน่ายนักเรียน
คู่มือการปฏิบัติงานการจำหน่ายนักเรียน
KruKaiNui
 
Turakarn report
Turakarn reportTurakarn report
Turakarn report
KruKaiNui
 
Search engine-optimization-starter-guide-th
Search engine-optimization-starter-guide-thSearch engine-optimization-starter-guide-th
Search engine-optimization-starter-guide-th
KruKaiNui
 
แบบประเมินโรงเรียนดีศรีตำบล เฟส 2
แบบประเมินโรงเรียนดีศรีตำบล เฟส 2แบบประเมินโรงเรียนดีศรีตำบล เฟส 2
แบบประเมินโรงเรียนดีศรีตำบล เฟส 2
KruKaiNui
 
การเตรียมโรงเรียนสู่ประชาคม อาเซียน ปี 2558
การเตรียมโรงเรียนสู่ประชาคม อาเซียน ปี 2558 การเตรียมโรงเรียนสู่ประชาคม อาเซียน ปี 2558
การเตรียมโรงเรียนสู่ประชาคม อาเซียน ปี 2558
KruKaiNui
 
ตารางนับแคลลอรี่ Calories table
ตารางนับแคลลอรี่ Calories tableตารางนับแคลลอรี่ Calories table
ตารางนับแคลลอรี่ Calories table
KruKaiNui
 
Calories table
Calories tableCalories table
Calories table
KruKaiNui
 
ขมิ้นชัน สมุนไพรไทย สรรพคุณหลายอย่างที่คนมองข้าม
ขมิ้นชัน สมุนไพรไทย สรรพคุณหลายอย่างที่คนมองข้ามขมิ้นชัน สมุนไพรไทย สรรพคุณหลายอย่างที่คนมองข้าม
ขมิ้นชัน สมุนไพรไทย สรรพคุณหลายอย่างที่คนมองข้าม
KruKaiNui
 
10 ทรัพย์สินทางปัญญา
10 ทรัพย์สินทางปัญญา10 ทรัพย์สินทางปัญญา
10 ทรัพย์สินทางปัญญา
KruKaiNui
 

Mehr von KruKaiNui (19)

แบบปกรายงานสวยๆ โดย MS WORD
แบบปกรายงานสวยๆ โดย MS WORDแบบปกรายงานสวยๆ โดย MS WORD
แบบปกรายงานสวยๆ โดย MS WORD
 
การน้อมนำหลักการทรงงานในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
การน้อมนำหลักการทรงงานในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวการน้อมนำหลักการทรงงานในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
การน้อมนำหลักการทรงงานในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
 
หนังสืออนุสรณ์ ม 3 2556
หนังสืออนุสรณ์ ม 3 2556หนังสืออนุสรณ์ ม 3 2556
หนังสืออนุสรณ์ ม 3 2556
 
คู่มือการปฏิบัติงานการจำหน่ายนักเรียน
คู่มือการปฏิบัติงานการจำหน่ายนักเรียนคู่มือการปฏิบัติงานการจำหน่ายนักเรียน
คู่มือการปฏิบัติงานการจำหน่ายนักเรียน
 
แนวทางการดำาเนินงานเกี่ยวกับนักเรียนซ้ำซ้้อน นักเรียนอายุไม่ถึงเกณฑ์รับเข้าเ...
แนวทางการดำาเนินงานเกี่ยวกับนักเรียนซ้ำซ้้อน  นักเรียนอายุไม่ถึงเกณฑ์รับเข้าเ...แนวทางการดำาเนินงานเกี่ยวกับนักเรียนซ้ำซ้้อน  นักเรียนอายุไม่ถึงเกณฑ์รับเข้าเ...
แนวทางการดำาเนินงานเกี่ยวกับนักเรียนซ้ำซ้้อน นักเรียนอายุไม่ถึงเกณฑ์รับเข้าเ...
 
Turakarn report
Turakarn reportTurakarn report
Turakarn report
 
Search engine-optimization-starter-guide-th
Search engine-optimization-starter-guide-thSearch engine-optimization-starter-guide-th
Search engine-optimization-starter-guide-th
 
แบบขอรับทุนการศึกษาสำหรับเด็กออทิสติกและเด็กที่มีความต้องการพิเศษมูลนิธิคุณพุ...
แบบขอรับทุนการศึกษาสำหรับเด็กออทิสติกและเด็กที่มีความต้องการพิเศษมูลนิธิคุณพุ...แบบขอรับทุนการศึกษาสำหรับเด็กออทิสติกและเด็กที่มีความต้องการพิเศษมูลนิธิคุณพุ...
แบบขอรับทุนการศึกษาสำหรับเด็กออทิสติกและเด็กที่มีความต้องการพิเศษมูลนิธิคุณพุ...
 
กฎกระทรวง กำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการให้คนพิการมีสิทธิได้รับสิ่งอำนวยความสะดวก
กฎกระทรวง กำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการให้คนพิการมีสิทธิได้รับสิ่งอำนวยความสะดวกกฎกระทรวง กำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการให้คนพิการมีสิทธิได้รับสิ่งอำนวยความสะดวก
กฎกระทรวง กำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการให้คนพิการมีสิทธิได้รับสิ่งอำนวยความสะดวก
 
คู่มือเอกสารประกอบการดำเนินการหลังจากรับคูปอง
คู่มือเอกสารประกอบการดำเนินการหลังจากรับคูปองคู่มือเอกสารประกอบการดำเนินการหลังจากรับคูปอง
คู่มือเอกสารประกอบการดำเนินการหลังจากรับคูปอง
 
คู่มือเอกสารประกอบการชี้แจงสิ่งที่ต้องดำเนินการหลังจากรับคูปอง การศึกษาพิเศษ
คู่มือเอกสารประกอบการชี้แจงสิ่งที่ต้องดำเนินการหลังจากรับคูปอง การศึกษาพิเศษคู่มือเอกสารประกอบการชี้แจงสิ่งที่ต้องดำเนินการหลังจากรับคูปอง การศึกษาพิเศษ
คู่มือเอกสารประกอบการชี้แจงสิ่งที่ต้องดำเนินการหลังจากรับคูปอง การศึกษาพิเศษ
 
แบบประเมินโรงเรียนดีศรีตำบล เฟส 2
แบบประเมินโรงเรียนดีศรีตำบล เฟส 2แบบประเมินโรงเรียนดีศรีตำบล เฟส 2
แบบประเมินโรงเรียนดีศรีตำบล เฟส 2
 
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาที่เน้น อาเซียน และการจัดการเรียนรู้เกี่ยวกับ อาเซียน
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาที่เน้น อาเซียน และการจัดการเรียนรู้เกี่ยวกับ อาเซียนการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาที่เน้น อาเซียน และการจัดการเรียนรู้เกี่ยวกับ อาเซียน
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาที่เน้น อาเซียน และการจัดการเรียนรู้เกี่ยวกับ อาเซียน
 
การเตรียมโรงเรียนสู่ประชาคม อาเซียน ปี 2558
การเตรียมโรงเรียนสู่ประชาคม อาเซียน ปี 2558 การเตรียมโรงเรียนสู่ประชาคม อาเซียน ปี 2558
การเตรียมโรงเรียนสู่ประชาคม อาเซียน ปี 2558
 
ตารางนับแคลลอรี่ Calories table
ตารางนับแคลลอรี่ Calories tableตารางนับแคลลอรี่ Calories table
ตารางนับแคลลอรี่ Calories table
 
Calories table
Calories tableCalories table
Calories table
 
ขมิ้นชัน สมุนไพรไทย สรรพคุณหลายอย่างที่คนมองข้าม
ขมิ้นชัน สมุนไพรไทย สรรพคุณหลายอย่างที่คนมองข้ามขมิ้นชัน สมุนไพรไทย สรรพคุณหลายอย่างที่คนมองข้าม
ขมิ้นชัน สมุนไพรไทย สรรพคุณหลายอย่างที่คนมองข้าม
 
10 ทรัพย์สินทางปัญญา
10 ทรัพย์สินทางปัญญา10 ทรัพย์สินทางปัญญา
10 ทรัพย์สินทางปัญญา
 
มาตรฐานการรักษาความปลอดภัยคอมพิวเตอร์
มาตรฐานการรักษาความปลอดภัยคอมพิวเตอร์มาตรฐานการรักษาความปลอดภัยคอมพิวเตอร์
มาตรฐานการรักษาความปลอดภัยคอมพิวเตอร์
 

The 7 habits of highly effective people all

  • 1. The 7 Habits of Highly Effective People 7 อุปนิสัย เพื่อการทํางานไดอยางมีประสิทธิภาพ สตีเฟนอาร โควีย (Stephen R. Covey) ผูเขียนหนังสือ The 7 Habits of Highly Effective People หนังสือที่ไดรับการยกยองจากนิตยสารฟอรบใหเปน 1 ใน 2 หนังสือที่มีอิทธิพล ที่สุดในศตวรรษ 20 เปนบุคคลที่ไดรับการกลาวถึงในดานของการพัฒนาตนเอง เขาเปนผูที่รวบรวมแนวความคิดของนิสัยที่ดีซึ่งหากบุคคลใดมีครบ ปฏิบัติครบ และ ปฏิบัติไดเปนนิสัยแลว จะทําใหเขาผูนั้นเปนผูที่ทํางานการไดอยางมีประสิทธิภาพ สิ่งดีๆหาอานไดที่ WWW.JATUPORN.UCOZ.COM
  • 2. The 7 Habits of Highly Effective People By (Stephen R. Covey) |2 | The 7 Habits of Highly Effective People สตีเฟนอาร โควีย (Stephen R. Covey) ผูเ ขียนหนัง สือ The 7 Habits of Highly Effective People หนังสือที่ไดรับการยกยองจากนิตยสารฟอรบใหเปน 1 ใน 2 หนังสือที่มีอิทธิพลที่สุดในศตวรรษ 20 เปน บุคคลที่ไดรับการกลาวถึงในดานของการพัฒนาตนเอง เขาเปนผูที่รวบรวมแนวความคิดของนิสัยที่ดีซึ่งหากบุคคลใด มีครบ ปฏิบัติครบ และปฏิบัติไดเปนนิสัยแลว จะทําใหเขาผูนั้นเปนผูที่ทํางานการไดอยางมีประสิทธิภาพ ซึ่งอุปนิสัย ที่ดีเหลานี้มีอยู 7 ประการ ดังนี:้ The Habit The Results of 7 Habits Training อุปนิสัยที่ 1 Fosters courage to take risks and accept new challenges to achieve goals Be เสริมสรางใหมีความกลาที่จะเผชิญสิ่งใหมๆ กลารับผิดชอบ และปรับปรุง การยอมรับในหนาที่ ที่ Proactive ไดรับมอบหมาย เพื่อที่จะไดบรรลุถึงวัตถุประสงค อุปนิสัยที่ 2 Brings projects to completion and unites teams and organizations under a Begin with the shared vision, mission, and purpose End in Mind เริ่ มต นด วยจุ ดมุ งหมายในใจ มุง ที่ค วามสําเร็ จของโครงการ โดยรวมเปาหมาย ของที ม งานและ องคกรไวดวยกัน อุปนิสัยที่ 3 Promotes getting the most important things done first and encourages direct Put First Things effectiveness First ทําสิ่งที่สําคัญกอน มุงเนนทําสิ่งที่สําคัญกอน และสงเสริมการปฏิบัติงานที่มีประสิทธิผล อุปนิสัยที่ 4 Encourages conflict resolution and helps individuals seek mutual benefit, Think increasing group momentum Win-Win คิ ด แบบชนะ ชนะ ส ง เสริ ม ให มี การแก ป ญ หา และความขั ด แย ง ร วมกั น แสวงหาหนทาง ที่ มี ผลประโยชนดวยกัน อุปนิสัยที่ 5 Helps people understand problems, resulting in targeted solutions; and Seek First to promotes better communications, leading to successful problem-solving Understand, Then เขาใจผูอื่นกอนแลวจึงทําใหผูอื่นเขาใจเรา สรางความชัดเจน ในการติดตอสื่อสาร ใหมากขึ้น โดยใช to Be Understood ทักษะในการฟง เพิ่มความไววางใจ ใหสูงขึ้นและทํางานใหสําเร็จเร็วขึ้น ชวยทําใหเ ขาใจ ปญหา ตางๆ และทัศนะในการสื่อสารดีขึ้น เพื่อหาทางแกปญหา ไดอยางถูกตองที่สุด อุปนิสัยที่ 6 Ensures greater "buy-in" from team members and leverages the diversity of Synergize individuals to increase levels of success ผนึกพลังประสานความตาง ผนึกพลังตางๆ รวมกันจากสมาชิกในกลุม เพื่อนํามาเปนสวน ไดเปรียบ ในทางเลือกใหม อุปนิสัยที่ 7 Promotes continuous improvements and safeguards against "burn-out" and Sharpen the Saw subsequent non-productivity ลับเลื่อยใหคมอยูเสมอ ทําใหเปนกิจวัตร หมั่ นฝกฝน เพื่อพัฒนาทั้ง 6 อุป นิสัยใหดีขึ้น ไปเรื่อยๆ รวมทั้งเอาใจใสทั้งสี่มิติของการเติมพลังชีวิต 1 กายภาพ 2 สติปญญา 3 จิตวิญญาณ 4 สังคม/ อารมณ
  • 3. The 7 Habits of Highly Effective People By (Stephen R. Covey) |3 | กรอบความคิดและหลักการ (ภาพรวมของอุปนิสัยทั้ง 7) “อุปนิสัย ” เปนผลรวมขององคประกอบสวนบุคคลในดานความรู ทัก ษะและทัศนคติ เปนการเรียนรู มากกวาการถายทอด ซึ่ง ทําใหเ ราเกิด ความเขา ใจวาตนเองตองทํา อะไร อย างไร และเพื่ออะไร อุป นิสัยที่ มี ประสิทธิผลสามารถเรียนรูกันไดและอุปนิสัยที่ไมเปนประสิทธิผลเราละเลิกได โดย 7 อุปนิสัย ที่จะนําเสนอตอไปนี้มี ความเกี่ยวเนื่อง พึ่งพาซึ่งกันและกันและเปนขั้นตอน ในการนําอุปนิสัยไปใชเพื่อใหเกิดประสิทธิผลสูงสุดในแตละ บุคคล โดยทั่วไปแลวพฤติกรรมของเราประกอบไปดวยอุปนิสัยตางๆ ในตัวเรา ความคิดจะสงผลใหเกิดการปฏิบัติ และเมื่อปฏิบัติเปนนิจก็จะกลายเปนอุปนิสัย เมื่อมีอุปนิสัยก็จะกลายเปนคุณลักษณะ และในที่สุดจะกลายเปนวิถี ชีวิต สวนคําวา “ประสิทธิภาพ” หมายถึง การสรางผลลัพธในระยะสั้นและระยะยาวอยางสมดุล การสรางและ พัฒนาตนเองใหมีประสิทธิภาพสูง ตองเริ่มจากการปลูกฝงลักษณะนิสัยที่ดีของแตละบุคคล (อุปนิสัยที่ 1 -3) ไป จนกระทั่งทําใหบุคคลนั้นตระหนักถึง กฎธรรมชาติที่วาทุกสรรพสิ่งตางพึ่งพาอาศัยกัน มนุษยจึงตองมีปฏิสัมพันธกัน ผูอื่น (อุปนิสัยที่ 4-6) อุปนิสัยที่ดี ตองเริ่มจากการปรับมุมมอง หรือ การมีกรอบความคิดตอสิ่งตาง ๆ ไดอยางถูกตองกอน เพราะ คนเราแตล ะคนจะมีก รอบความคิ ดที่ไ มเ หมือ นกัน ขึ้ นอยู กับ ป จ จั ยหลายประการ เชน การเลี้ยงดูที่ ผานมา, ประสบการณ, ทัศนคติ คานิยม หรือสภาพแวดลอม ซึ่งหากเรามีกรอบความคิดที่ผิดไปแลว เราก็จะตีความหรือ ดําเนินชีวิตไมถูกตองไปทั้งหมด เปรียบเหมือนการมีแผนที่ที่ผิด ก็จะนําทางเราไปสูความลมเหลว ดังนั้น สิ่งแรกเรา ตองมั่นใจวาเรามีกรอบความคิดที่ดี ที่ถูกตอง ไมมีอคติตอสิ่งใด โดยเนนความคิดที่สอดคลองกับธรรมชาติ การอยู รวมกันของมนุษย เชน การมีคุณธรรม จริยธรรมความยุติธรรม, ซื่อสัตย,จิตใจบริการ, เปนตน ก อ นที่ จ ะกล า วถึ ง นิ สั ย ทั้ ง 7 ประการ ผู แ ต ง ได ใ ห แ ง คิ ด ว า มนุ ษ ย มี สิ่ ง ที่ แ ตกต า งจากสั ต ว เ ดรั จ ฉาน อยู 3 อยางคือ มีสามัญสํานึกรูจักแยกแยะผิดชอบชั่วดี มีความคิดริเริ่มสรางสรรค และมีพลังจิต ดังนั้น การเอาใจใส และหมั่นฝกฝนคุณสมบัติพิเศษเหลานี้จนกลายเปนนิสัย จะทําใหประสบความสําเร็จและมีความสุ ขอยางแทจริง นอกจากนั้น ผูแตงไดกลาววา กรอบในการมองโลก (paradigm) หรือนิสัยของคนเรานั้นสวนใหญจะถูกปลูกฝงมา จากการสั่งสอนของคนรอบขาง การใชชีวิตในสังคม และจากการเรียนรูดวยตัวเอง และดวยความเคยชินทําใหคนเรา นั้นไมเคยฉุกคิดวามุมมองที่มีอยูนั้นถูกตองหรือเหมาะสมหรือไม จึงกอใหเกิดการทะเลาะเบาะแวงและไมเขาใจผูอื่น อยูตลอดเวลา เพราะเอาความคิดของตนเองเปนตัวตัดสิน ดังนั้น ผูแตงจึงแนะนําใหหยุดทบทวนแนวความคิดมุมมองและคติธรรมในใจที่เคยยึดถือตลอดมาวา สิ่ง เหลานั้นถูกตองแลวจริงหรือ ใหพิจารณาตามความเปนจริง สิ่งไหนคิดผิดใหคิดใหมแกไขที่ตนเหตุ เมื่อเขาใจตนเอง จึงจะเขาใจผูอื่นได นอกจากนั้นผูแตงยังเชื่อวาผูที่จะประสบความสําเร็จไดนั้นสวนหนึ่งเกิดจากการมีสมองขางขวาที่ ทรงประสิทธิภาพสามารถควบคุมการทํางานของสมองดานซายได สมองขางขวามีหนาที่ เตือนใหรูจักผิดชอบชั่วดี การมีจินตนาการ และการมีอารมณและความรูสึก ดังนั้น การฝกใชจินตนาการและมีสติรูเนื้อรูตัวอยูตลอดเวลาจึง เปนการพัฒนาการทํางานของสมองดานขวาไดเปนอยางดี อุปนิสัยเปนปจจัยสําคัญ ตอชีวิต และเกิดขึ้นตลอดเวลาจนเกือบไมรูตัว แตเราสามารถสรางอุปนิสัยที่มี ประสิทธิผลใหเกิดขึ้นกับตัวเราได ดวยความอดทนและตั้งใจจริง กอนที่จะอธิบายเกี่ยวกับอุปนิสัยทั้ง 7 สตีเฟนอาร
  • 4. The 7 Habits of Highly Effective People By (Stephen R. Covey) |4 | โควีย (Stephen R. Covey) ไดอธิบายใหเราเขาใจถึง "กรอบความคิด" หรือ Paradigms ของตัวเราเองและดูวา เราจะสามารถ "เปลี่ยนกรอบความคิด" (Paradigms Shift) นี้ไดอยางไร เพราะแตละคนยอมมีมุมมองที่ตางกันขึ้นอยู กับวัตถุประสงคในการมองและการตีความเมื่อเขาใจความหมายของ Paradigms ไดดีขึ้นและเริ่มเปรียบเทียบกับ ขอเท็จจริงและรับฟงความคิดเห็นของผูอื่น ก็จะทําใหเรามีโลกทัศนที่กวางไกลกวาเดิม ทุกชีวิตเริ่มตนดวยการเปน ทารก ตองพึ่งพาอาศัยผูอื่นตลอดเวลา (Dependence) พอโตขึ้นก็เริ่มพึ่งพาตนเอง (Independence) มากขึ้นทั้ง ทางรางกายและจิตใจ จนกระทั่งสามารถดูแลตนเองไดและพัฒนาตนถึงขั้นมีความคิด และความเชื่อมั่นเปนของ ตนเอง เมื่อเริ่มเปนผูใหญจะตระหนักถึงการพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกัน (Interdependence) โดยจะเกิดขึ้นไดเฉพาะ คนที่พึ่งพาตนเองไดแลวเทานั้น ดวยเหตุนี้อุปนิสัยที่ 1, 2, 3 จึงเกี่ยวของกับการเอาชนะใจตนเอง คือ เปลี่ยนจากคนที่ตองพึ่งพาผูอื่นไปเปน คนที่พึ่งพาตนเองหรือ "ชนะใจตนเอง" เมื่อพึ่งพาตนเองไดถือวามีพื้นฐานสําหรับการพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกันไดก็ จะสามารถกาวไปสูการ "ชนะใจผูอื่น" ดวยการทํางานเปนทีมและสื่อสารอยางมีประสิทธิผ ลในอุปนิสัยที่ 4, 5, 6 สําหรับอุปนิสัยที่ 7 เปนอุปนิสัยที่ตองหมั่นทบทวนอยางสม่ําเสมอ ชนะใจตนเอง (อุปนิสัยที่ 1-3) หลังจากเรามีกรอบความคิดที่ดีแลว เราก็จะสามารถพัฒนาอุปนิสัยที่ดี 7 ประการไดอยางมีประสิทธิภาพ และประสิทธิผล โดยอุปนิสัยทั้ง 7 มีดังนี้
  • 5. The 7 Habits of Highly Effective People By (Stephen R. Covey) |5 | อุปนิสัยที่ 1 ตองเปนฝาย เริ่มตนทํากอน (Be Proactive) “หลักการวิสัยทัศนสวนบุคคล (Self vision)” เราเปนคนที่มีอิสรภาพในการเลือก มีทางเลือกของตนเองบนพื้นฐานคานิยมที่ถูกตอง มีสติในการคิดในการ เลือกทางเลือกที่เห็นวาเหมาะสมที่สุด และพรอมที่จะรับผิดชอบตอทางเลือกของตนเอง อุปนิสัยที่ 1 จะเปนพื้นฐาน ของของอุปนิสัยที่ 2 – 7 ถาไมสามารถสรางอุปนิสัยที่ 1 ได ก็จะไมสามารถสรางอุปนิสัยที่ 2 – 7 ได เป นอุ ป นิ สัย เบื้ อ งต นที่ สํา คัญ ที่ สุด ของคนที่ จ ะมี ป ระสิ ท ธิ ผ ลในทุ ก สถานการณ คํ าว า Pro-activity มี ความหมายมากกวาการริเริ่ม คนที่ Proactive จะมีความรับผิดชอบดีมาก ไมตําหนิสภาพแวดลอม เงื่อนไขตางๆ หรือขอจํากัดจากพฤติกรรมของเขา การกระทําของเขาเกิดจากการเลือกของตนเองซึ่งตั้งอยูบนพื้นฐานของคุณคา มากกวาผลจากเงื่อนไขหรือความรูสึกแกนแทของคนที่ Proactive คือความสามารถในการเก็บแรงกระตุน การ ตอบสนองกับสิ่งกระตุนจะเปนไปอยางรอบคอบ และผานการชั่งใจมาแลว ตางกับคนที่ Reactive หรือเปนฝายถูก กระทํา มักไดรับผลกระทบจากเงื่อนไขทางสภาพแวดลอมและเลือกที่จะใหอํานาจเหลานั้นมาควบคุมตน คนเรานั้น หากไมเปนผูกระทํา (Proactive) ก็มักจะเปนผูถูกกระทํา (Reactive) คนที่เปนคนเฉื่อย ไมยอม คิดไมยอมสรางอะไร ก็จะถูกสิ่งแวดลอมมากระทบหรือนําพาบังคับใหตองทําอยางนั้นอยางนี้ไปตามสภาพแวดลอม แบบนั้นเรียกวาเปนผูที่ถูกกระทํา แตในทางตรงกันขาม คนที่อยูในประเภทที่เปนผูกระทํา จะเปนผูเลือกที่จะทําหรือ จะไมทําสิ่งใดๆ ดวยเหตุดวยผลของเขาเอง คือคิดวาตัวเองเปนผูกําหนดชีวิตของตน ทั้งนี้ดวยการพิจารณาไวกอน ไมใชวาถึง เวลาแลวคอยคิดจะทํา เพราะสุดทายแลวก็จ ะกลายเปนผูถูก กระทําและตอบสนองตอสิ่ง แวดลอม เหมือนเดิม บุคคลจะตองมีความกระตือรือรน และริเริ่มทําสิ่งตางๆ หรือโครงการตางๆดวยตนเองกอนที่จะเรียกรองให คนอื่นทํา การริเริ่มงานเปนความรับผิดชอบตอการเลือกกระทําของตนเองและมีอิสระในการเลือกกระทํา ซึ่งอิสระ ในการเลือกเปนไปตามหลักการและคานิยมที่ดีในการทํางาน ไมใชเลือกกระทําเพราะอยูในอารมณอยากทําหรือ เนื่องจากตกอยูภายใตเงื่อนไขที่จะตองทํา ความจริง การเริ่มตนทํากอน เหมือนเหรียญที่มี 2 ดาน ดานหนึ่ง คือ การเริ่มทําอะไรสักอยาง (Pro action) อีกดานคือ รออะไรสักอยางแลวจึงลงมือทํา (Reaction) การเริ่มตนลงมือทํา เปนการแสดงความรับผิดชอบอยางหนึ่งของชีวิต เพราะถาคุณเอาแตตั้งหนาตั้งตารอ คอย คุณจะเที่ยวโทษคนนั้นคนนี้ สิ่งนั้นสิ่งนี้ โทษเรื่องตางๆ นอกตัว โดยที่ไมมองตัวเอง ดังนั้น เราจึงควรคิดริเริ่ม ลงมือทํา แลวติดตามผลลัพธ ผลลัพธซึ่งจะเกิดขึ้นตามหลักของเหตุและผล อยางไรก็ตาม เมื่อเราถูกกระทบดว ย ความรูสึกใด เราจะทําอะไรบางอยางเปนการตอบโตหรือตอบสนอง แตเพราะคนมีสามัญสํานึก (สัตวไมม)ี ดังนั้น เรา ตอง“เลือก”ที่จะทําในสิ่งที่ควรทํา ที่วาเปนเหรียญ 2 ดาน ก็เพราะการเลือกทํานั่นแหละ คือ การเริ่มตนลงมือทํา กอน
  • 6. The 7 Habits of Highly Effective People By (Stephen R. Covey) |6 | เมื่อมีสิ่งเรามากระทบกับตัวเรา หากเราโตตอบไปทันที เรียกวา Reactive แตถาเราหยุดใชสติ คิด แลวเลือกการตอบสนองสิ่งเรา เรียกวา Proactive สรุปงายๆ คือ ใหเรามีสติในการแกปญหาตางๆ ที่เผชิญอยูนั่นเอง ในอุปนิสัยนี้ยังสอนดวยวา เรามักไปกังวลกับสิ่งที่ เราไมสามารถทําอะไรได ดังนั้น Proactive สอนใหเราทําในสิ่งที่เราทําไดใหมากที่สุด ทําตัวเราที่ทําไดใหดีที่สุด ก็ คือ อยูกับปจจุบัน ทําปจจุบันใหดีที่สุด นั่นเอง นอกจากนั้นในอุปนิสัยนี้ ยังพูดในเรื่องของสิ่งที่คนเรากังวล โดยปกติแลวคนเรามักจะมีเรื่องกังวลมาก และ ทุกขใจไปหมด แตที่ถูกแลวเราควรกังวลเฉพาะเรื่องที่เราจัดการได และหาทางปองกันหรือแกไขปญหานั้น หาก เปนเรื่องที่ควบคุมไมไดจริง ๆ เชน เรื่องดินฟาอากาศ, เรื่องความคิดของคนอื่น เราก็ไมควรไปกังวลมาก เพียงแต จัดการในสิ่งที่เราทําไดใหดีที่สุดเทานั้น เคล็ดลับ ชีวิตของเรา เราตองเลือกเอง เราตองเปนผูกําหนด อยาใหสภาพแวดลอมตาง ๆ มาทําใหเราลังเล ตองมั่นใจ ตองมี "สติ" หรือ “มีการรูสึกตัว” ในการเลือกทําอะไรทุกครั้ง และพรอมจะรับผลจากสิ่งที่เราเลือก นั้นไมวาดีหรือรายอยางเขมแข็งและกลาหาญ
  • 7. The 7 Habits of Highly Effective People By (Stephen R. Covey) |7 | อุปนิสัยที่ 2 เริ่มตนดวยจุดมุงหมายในใจ (Begin with the end in mind) “หลักการของภาวะผูนําตนเอง (Self-Leadership)” เมื่อเรามีทางเลือกของเราเองแลว เราตองสรางภาพในใจขึ้นมากอนการลงมือทํา เพื่อเปนแผนที่นํา ทางไปสูเปาหมาย วาอยากเห็นตนเองเปนอยางไร อยากเห็นผลงานเปนอยางไร จากนั้นจึงเริ่มลงมือปฏิบัติตามแผนที่ นั้น อุปนิสัยที่ 2 นี้มีพื้นฐานอยูบนหลักการของ "ภาวะผูนํา" เริ่มตนดวยการมองเห็นกรอบความคิดเกี่ยวกับ จุดมุงหมายสุดทายในชีวิตของเราเพื่อใชเปนกรอบอางอิง ตรวจสอบทุกอยางที่ผานมาวาสอดคลองกับสิ่งที่กําหนดไว ในใจหรือไม โดยตองกําหนดเปาหมายไวอยางชัดเจน และพยายามทําทุกอยางไมใหขัดแยงกับสิ่งที่เรากําหนดไววา สําคัญที่สุดและทําใหเขาใกลเปาหมายใหมากที่สุด การกําหนดเปาหมายไมวาจะเปนเปาหมายเล็กหรือเปาหมายใหญ และการกําหนดแผนงานกอนลงมือ ทํา จะชวยใหบุคคลสามารถชี้ชัดไดวาตนเองตองการอะไร ตองทําอะไร อยางไหร เมื่อไหร ที่ไหน และทําใหเกิด ความผูก พันตอเปามาย หลัก การ แผนงาน และวัตถุป ระสงค ที่สําคัญ ที่สุดของตน ซึ่ง นําไปสู ความสําเร็จ ใน เปาหมายของตน การที่เราเองตองเปนผูริเริ่มกําหนด หรือเลือกสิ่งตาง ๆ ที่เราจะทําเอง เพราะในการดําเนินชีวิตทุกวันของ เรา จะมี "สิ่งเรา " เขามากระทบเราอยูเ สมอ คนที่ Proactive จะมีส ติในการคิดในการเลือกทางเลือกที่เ ห็นวา เหมาะสมที่สุด และพรอมที่จะรับผลกระทบจากการตัดสินใจของตนเอง เนื่องจากในการเลือกของตนเองไดมีการ คิดถึงสิ่งที่จะเกิดขึ้นแลว แตคนที่ Reactiveจะตอบสนองตอสิ่งเรา หรือเรื่องที่มากระทบโดยไมไดคิดใหดี และเมื่อ ทําไปแลวก็เกิดความทุกขใจ รวมทั้งเมื่อเกิดผลกระทบ ก็โทษสิ่งตาง ๆ วาทําใหตนเองตองเปนเชนนี้ อุป นิสั ยที่ 2 คือ การนํา ผลลั พธ สุด ทา ยที่ เ ราต องการเป นตั วตั้ ง โดยสรา งให เ ป นภาพที่ชั ดเจนในใจ เรา จากนั้นใหเขียนออกมาใหชัดเจน ซึ่งหากเราเห็นผลลัพธที่เราตองการไดชัดเจนแลว เราก็จะสามารถแปลมาเปน วิธีการที่จะทําใหถึงเปาหมายนั้นไดงาย เพราะเราจะเห็นวามีสิ่งใดบางที่จะทําใหเรามุงสูเปาหมายได และสิ่งใดไม เกี่ยวของกับเปาหมาย ทําใหเราสามารถบรรลุเปาหมายที่เราตองการไดอยางรวดเร็ว และไมหลงทาง ตางจากการ เปน "ผูจัดการ" คือ "การจัดการ" เหมือนความสามารถในการไตบันไดแหงความสําเร็จไดอยางรวดเร็วและมีประสิทธิผล แต "ภาวะผูนํา" เหมือนกับการพิจารณาวาบันไดอันไหนพิงอยูบนกําแพงที่ถูกตอง บอยครั้งที่เราทํางานหนักเพื่อไตบันไดแหงความสําเร็จ แตกลับพบวาบันไดนั้นพิงผิดที่วิธีที่มีประสิทธิผล มากที่ สุ ด ในการเริ่ ม ต น ด ว ยจุ ด มุ ง หมายในใจก็ คื อ การสร า งคํ า ปฏิ ญ ญาส ว นตั ว (Personal Mission Statement) โดยตองเริ่มตนที่ "ศูนยรวม" ของขอบเขตที่สามารถทําไดเสียกอน "ศูนยรวม" มีหลายแบบ เชน "ศูนย รวม" อยูที่คูครอง ลูก ครอบครัว เงิน ที่ทํางาน การเปนเจาของ ความยินดีและความพอใจ มิตรหรือศัตรู ศาสนาและ ตนเอง เปนตน "ศูนยรวม" นี้จะเปนแหลงกําหนดปจจัยสนับสนุนชีวิต 4 ประการ ไดแก 1. ความมั่นคงในจิตใจ (Security) 2. เครื่องนําทาง (Guidance) 3. ปญญา (Wisdom) 4. อํานาจ (Power)
  • 8. The 7 Habits of Highly Effective People By (Stephen R. Covey) |8 | ปจจัยทั้ง 4 นี้ตองอาศัยซึ่งกันและกันจึงจะใหประโยชนสูงสุด ความมั่นคงในจิตใจและเครื่องนําทางที่ชัดเจน นํามาซึ่งปญญา และปญญาเปนตัวจุดประกายใหมีการใชอํานาจผลกระทบในดานบวกที่จะเกิดกับชีวิตเราขึ้นอยูกับ ชนิดของ "ศูนยรวม" ที่เราเปนอยู เขาใจไดงายๆวา กอนที่เราจะเริ่มตนทําอะไรใหเราคิดถึงผลลัพธสุดทายกอน วาอยากใหเปนอยางไร แลว จากผลลัพธที่คิดในใจก็จ ะแปลเปนวิธีการไปสูจุดหมาย เหมือนมีเปาหมายที่ชัดเจน การทําใหเปาหมายปรากฏ ชัด (Visualization) หรือเห็นไดงาย เสมือนเปนแผนที่นําทางชวยใหเรามีความพยายามและทุมเททําในสิ่งที่ถูกตอง อยางตอเนื่อง เราจะรูวาเราตองเตรียมอะไรบาง ทําอยางไร ไปทางไหน ใหประสบความสําเร็จบรรลุเปาหมายที่ วางไว การวางแผนการทํางาน หรือวางแผนชีวิตของเราไวตั้งแตแรกเริ่มที่จะทําอะไร ทําใหเราไดตั้งใจไวแลววาใน ที่สุดแลว การงานนั้นๆหรือชีวิตของเราจะมีลักษณะสุดทายเปนอยางไร เราก็จ ะทําตัว ใหสอดคลองกับจุดหมาย นั้น โดยไมออกนอกเสนทางหรือหลงทางไปงายๆ เคล็ดลับ เราตองเปนคนที่มีเปาหมายในชีวิต รูตัววาสุดทายเราตองการเปนอะไร เราจะอยูในจุดไหน โดยเราตองสรางภาพนั้นออกมาใหชัดเจน พยายามจินตนาการถึงภาพแหงความสําเร็จในวันนั้นของเราวาจะ เปนอยางไร เขียนออกมาใหชัดเจน และมุงมั่นตั้งใจในการทํากิจกรรมตาง ๆ ใหสําเร็จ เพื่อมุงสูเปาหมายที่ สําคัญที่สุดในชีวิตเรา
  • 9. The 7 Habits of Highly Effective People By (Stephen R. Covey) |9 | อุปนิสัยที่ 3 ทําตามลําดับความสําคัญ (Put first thing first) “หลักการจัดการตนเอง (Self-Management)” เปนการลงมือปฏิบัติโดยเริ่มตนจากเรื่องที่สําคัญกอน ดังนั้น จงยึดหลักวา “ชีวิตนี้สั้นนัก จึงควรทําสิ่ง ที่สําคัญในชีวิตกอน” การจะทําอยางนั้นไดดีตองมีการบริหารเวลาเขามาเกี่ยวของ สิ่งที่ตองทําคือเรื่องสําคัญ ไมใช เรื่องเรงดวน หากทําไดก็จะสามารถพึ่งตนเองได อุปนิสัยที่ 3 นี้เกี่ยวของกับ "การบริหารเวลา" โดยมีปจจัย 2 อยาง ความ "เรงดวน" และ "สําคัญ" ที่เปน ตัวกําหนดกิจกรรมตางๆ ความสําคัญไมไดอยูที่เวลาแตอยูที่ "การจัดการกับตัวเอง" โดยเฉพาะกับเปาหมายระยะ ยาว เพราะเมื่อเริ่มตนลงมือทํา หลายเรื่องหลายอยางดูเรงดวนไปเสียหมด อุปนิสัยที่ 3 คือ ทําสิ่งที่สําคัญกอน แลวอะไรคือสิ่งที่สําคัญ เราตองรูบทบาทหนาที่ของเรากอน 1 คนมีได หลายบทบาท เชน พอแม เพื่อน ลูก สามี ลูก จาง เจานาย พนักงาน ประชาชน ฯลฯ แลวเราก็จะรูวาในแตล ะ บทบาทอะไรคือสิ่งสําคัญ ในบทนี้เขาบอกตองแยกใหออกระหวาง สิ่งสําคัญ/ไมสําคัญ งานเรงดวน/ไมเรงดวน ถาเรา รูจักวางแผนดีๆ งานสําคัญไมเรงดวนก็จะเยอะกวางานดวนและสําคัญ กับงานดวนแตไมสําคัญ เมื่อพบแลวตอง เลือกทําในสิ่งที่สําคัญกอน ตามปกติ คนเราจะพบกับเรื่องตาง ๆ 4 แบบ คือ 3.1 เรื่อง "สําคัญ" และ "เรงดวน" 3.2 เรื่อง "สําคัญ" แต "ไมเรงดวน" 3.3 เรื่อง "ไมสําคัญ" แต "เรงดวน" 3.4 เรื่อง "ไมสําคัญ" และ "ไมเรงดวน" ตามปกติเราจะเลือกทําในเรื่องที่สําคัญและเรงดวน ตามขอ 3.1 แตจะทําใหเราเหนื่อยมาก เพราะมีเรื่อง เรงดวนที่ตองใหทํา ใหแกอยูตลอด ดังนั้น เราตองพยายามจัดสรรเวลามาทําในเรื่องที่ 3.2 คือเรื่องที่ "สําคัญ แต ไมเรงดวน" ใหมาก ๆ ซึ่งเรื่องพวกนี้ไดแก เรื่องของการวางแผน การแสวงหาโอกาสใหม ๆ, การปองกันปญหา โดย หากเราทําเรื่องพวกนี้ดี เรื่องเรงดวนตาง ๆ ก็จ ะลดลง ทําใหเรามีสุขภาพจิตในการทํางานที่ดีขึ้น ทั้งนี้ ไดมีการ แนะนําใหจัดทําตารางเวลาวาจะจัดทําอะไรกอน-หลัง ตารางที่ดีควรเปนตารางประจําสัปดาห เพื่อบอกเราวา สัปดาหนี้มีเรื่องสําคัญอะไรที่ตองทํา และสิ่งที่ทําใหเราสามารถลําดับความสําคัญไดดี คือ การรูจักปฏิเสธ และการ จดจอ (Focus) กับเปาหมายของตนเอง การบริหารงานที่มีประสิทธิผล คือ การทําตามลํา ดับความสําคัญ การจัดประเภทและจัดลําดับการ ทํางานชวยใหบุคคลทราบวา งานใดเปนสิ่งที่สําคัญที่สุดและเรงดวนที่สุดสําหรับการทํางานของตน หรืองาน ใดแมสําคัญแตยังไมมีความจําเปนตองเรงดวนนัก ดังนั้น บุคคลจะสามารถทํางานที่สําคัญและเรงดวนที่สุด เปนสิ่งแรกได โดยการจัดความสําคัญของสิ่งทีจะตองทํานั้น จะตองอยูบนรากฐานของหลักการและคานิยมที่ดี ่ ตอการทํางาน ไมใชเพราะการถูกบังคับหรือเพราะการถูกเรงใหทําดวยเหตุฉุกเฉิน กลาวคือ ในขณะที่ผูนําเปนคนตัดสินใจวาสิ่งไหนตองทํากอน ผูจัดการจะนําสิ่งนั้นมาไวเปนลําดับแรกของ การทํางาน การบริหารจัดการก็คือ การจัดระเบียบวินัยเพื่อทําสิ่งตางๆใหสําเร็จนั่นเอง เคล็ดลับ เราทุกคนตางมีเรื่องที่ตองใหทํามากมาย แตคนที่มีประสิทธิภาพนั้น จะมีการวางแผนที่ดี รู วาเรื่องไหนสําคัญ เรื่องไหนไมสําคัญ เรียงลําดับความสําคัญ แลวเลือกทํา เรื่องที่ควรจะทํา ชีวิตเขาจึงดูไ ม สับสนและวุนวาย แตผลลัพธของเขากลับมีประสิทธิภาพมากกวาคนที่ "ยุง" อยูตลอดเวลา !
  • 10. The 7 Habits of Highly Effective People By (Stephen R. Covey) |10 | แบบพฤติกรรมในการจัดการตนเอง (Behavioral Self - Management) กลยุทธที่ชวยบุคคลใหสามารถควบคุมชีวิตของเขาไดมากขึ้น ไดแก 1. การกําหนดเปาหมายดวยตนเอง (Self-Set Goals) เปนผูกําหนดเปาหมายและระดับเปาหมายดวยตนเอง ควบคุมตนเอง และเกิดคํามั่นสัญญาตอเปาหมายที่ตนเอง เปนผูกําหนด 2.การสังเกตการณดวยตนเอง (Self-Observation) เปนกระบวนการที่ติดตามเฝาดูพฤติก รรมตนเองและตั้ง ขอสังเกตเกี่ยวกับ การกระทํา เหตุการณห รือผลลัพธ (Outcomes) ปรัชญานี้ตั้งบนขอสมมติฐานวา เราสามารถตรวจสอบพฤติกรรมของตนเองได นอกจากนี้การสังเกต การดวยตนเองยังรวมไปถึงการบันทึกผลการปฏิบัติงานดวย 3.การใหรางวัลดวยตนเอง (Self-Reward) การให ร างวั ล ด ว ยตนเองเป น กระบวนการที่ ต รวจสอบ ประเมิ น และให ร างวั ล หรื อ ไม ใ ห ร างวั ล แก ผ ลการ ปฏิบัติงาน การใหรางวัลอาจจะกระทําเปนระยะ ๆ เพื่อใหตนเองทราบวาอะไรเปนสิ่งที่เราตองปรับปรุงแกไข 4.การวางแผนตระเรียมการกอนการปฏิบัติจริง (Self-Cueing) การวางแผนเตรียมการกอน การปฏิบัติงานจะชวยปองกันขอบกพรอง (Defects) ที่อาจเกิดขึ้นระหวางปฏิบัติงาน : ซึ่ง การจําลองสถานการณ (Simulation) หรือการสรางเงื่อนไขที่ควบคุม ได (Controlled Conditions) เปน เครื่องมือหนึ่งที่ใชสําหรับแนวทางนี้ 5.การออกแบบงานดวยตนเอง (Self - Designed Jobs) ความสามารถออกแบบงานหรือยื่นขอเสนอใหมีการเปลี่ยนแปลงกระบวนการออกแบบงาน ทําใหเราตระหนักถึง ความสามารถควบคุมตนเองได การจัดการตนเองแบบจิตใจ (Cognitive Self-Management) การจัดการตนเองแบบจิตใจ เปนกลยุทธการจัดการดวยตนเอง (Self-Management-Strategies) ที่สังเกต และวัดไมได ในการจัดการตนเองแบบจิตใจ บุคคลสรางจินตภาพทางจิตใจ (Mental lmages) และแบบฉบับ ความคิด (Thought Patterns) ที่สอดคลองกับเปาหมายขององคการ ไดแก 1. การสรางโอกาส (Opportunity Building) เปนกระบวนการคนหาและ/หรือพัฒนาความเปนไปไดใหม ๆ เพื่อความสําเร็จปญหาในทางการบริหารนั้น นอกจากจะเปนตัวปญหาจริง ๆ แลว การที่ไมสามารถพัฒนาหรือปรับปรุงโอกาสถือเปนปญหาดวยเหมือนกัน 2. การพูดกับตนเองเชิงบวก (Positive Self-Talk) เปนกระบวนการสรางจินตภาพแหงจิตใจที่เสริมแรงของตนเองในการตระหนักถึงความสําคัญของตนเองที่มีตอผูอื่น และเพิ่มพูนความเชื่อของตนเองวามีความสามารถที่จําเปนในการปฏิบัติงานหนาที่และเผชิญหนากับการทาทายจาก สถานการณตาง ๆ
  • 11. The 7 Habits of Highly Effective People By (Stephen R. Covey) |11 | อุปนิสัยที่ 4 คิดแบบ ชนะ - ชนะ (Think win - win) “หลักทัศนคติที่ดีในการดําเนินชีวิตหรือทัศนคติเชิงบวก (Positive Attitude) ” เปนเรื่องของทัศนคติในการทํางานและการใชชีวิตรวมกับผูอื่น มีแนวคิดวา ถาครอบครัวได เราก็ไดดวย ถาองคกรได เราก็ไดดวย แนวคิดเชนนี้ทําใหเกิดความรวมมือกัน แตถามีความคิดแบบตนเองชนะ คนอื่นแพ ก็จะเกิด ความขัดแยงและการแขงขันกัน แนวคิดแบบชนะ - ชนะ เปนแนวคิดในการแสวงหาผลประโยชนรวมกัน ใหความรวมมือกัน มีขอตกลงหรือ การแกปญหาตาง ๆ เปนไปเพื่อใหทุกฝายไดรับประโยชน ไมใชการแขงขันชิงดีชิงเดนกัน จึงเปนเรื่องของทัศนคติเชิง บวกในการทํางานและการใชชีวิตรวมกับผูอื่น แนวคิดชนะ- ชนะ วางอยูบนพื้นฐานของกรอบความคิดที่วา ยังมีที่วางสําหรับทุกคน ความสําเร็จของคน คนหนึ่งไมไดหมายความวาจะตองทําใหอีกคนหนึ่งลมเหลวเสมอไปอุปนิสัยที่ 4 นี้ ตองอาศัยความเปนผูนําอยางมาก ผูนําที่ดีนั้นตองมองการณไกล มีความคิดริเริ่ม กลาตัดสินใจและมั่นคง นําทางได มีภูมิปญญาและอํานาจซึ่งมาจาก การเปนคนที่เ ครง ครัดในระเบียบวินัย นอกจากนี้ ผูเ ขียนยัง ไดก ลาวถึง แกนแทของอุป นิสัย 3 อยางที่จําเปน ตอ กรอบความคิดแบบชนะ - ชนะ ไดแก ความซื่อตรง ความเปนผูใหญ และความมีจิตใจเอื้อเฟอเผื่อแผ คนสวนใหญจะคิดแบบวา เราชนะนายแพ หรือเรายอมแพใหนายชนะ หรือ เราไมไดนายก็ตองไมได ซึ่งจะ เห็นไดวา มีความสูญเสียเกิดขึ้น ดังนั้น ทัศนคติแบบ ชนะ-ชนะ บอกไววา เรามีทางเลือกเสมอ และมีทางออกที่ดี สําหรับทั้งสองฝาย คนที่มีแนวคิดแบบ win win นี้ตองคุณลักษณะคือ ซื่อสัตยตอตนเองและผูอื่น มีความน้ําใจ ใจ กวาง และมีวุฒิภาวะที่ดี ในการลงมือทํางานเพื่อบรรลุเปาหมาย ใหแสวงหาผลประโยชนสูงสุดที่เห็นพองตองกันและการยอมรับใน ผลลัพธดวยความเต็มใจ พยายามประสานผลประโยชนและความสัมพันธที่ทุกฝายควรจะไดรับอยางสูงสุดและดี ที่สุด การคิดแบบชนะ –ชนะ จะตองอยูในแนวทางที่วาสิ่งที่ตองการหรือทางเลือกมีมากมายหลายทางเลือก หลาย วิธี ก าร การพยายามชั ก จู ง ทํ าให เ กิ ด ความกลั วหรื อ เป น การเอาชนะ ซึ่ง การคิ ด แบบชนะ – ชนะ จะเน น ที่ “เรา” ไมใช เฉพาะตัว “ฉัน” ไมใชการคิดแบบเห็นแกตัวเพื่อตนจะไดฝายเดียว หลายสิ่งหลายอยางไมไดเปนไปอยางที่เราตองการ หลายคนไมไดคิดและเขาใจอยางเรา กอนตัดสินวาเขาไม เขาใจเรา ไมคิดอยางเรา ลองนั่งลงฟงและตั้งคําถามเพื่อใหตนเองเขาใจเขาเสียกอนวา เหตุใดเขาจึงคิดและเขาใจ เชนนั้น การฟงกอนพูด และการเขาไปนั่งในมุมเดียวกันกับเขา กอนจะชวนเขามานั่งดูเรื่องเดียวกันในมุมของเรา คือ การสื่อสารที่ดี เทคนิคในการอยูรวมกับผูอื่นที่สําคัญอีกเรื่องหนึ่ง คือ การสราง "บัญชีออมใจ" คือ การปฏิบัติตนตอผูอื่น ดวยความมีน้ําใจ เอื้ออาทร ซื่อสัตย รักษาสัญญา เหมือนเปนการออมเงินไว จะทําใหความสัมพันธของเรากับผูอื่น เปนไปดวยดี ซึ่งความสัมพันธนี้ทําใหเกิดสิ่งที่เรียกวา "ชาแตเร็ว" หมายความวา การสรางความสัมพันธ และความ เชื่อมั่นตอผูอื่น ตองใชเวลา แตเมื่อทําไดแลว ตอไปเรื่องตาง ๆ ที่จะทําดวยกันก็จะงาย เพราะตางฝายตางมีความ ไววางใจ และเชื่อมั่นตอกัน บนเสนทางสูเ ปาหมาย เราคงหลีกเลี่ยงความขัดแยง ไมได สวนใหญความขัดแยงมีผ ลมาจากความคิดที่ แตกตางกัน และคงไมมีใครอยากเปนผูแพ เราเองก็เชนกัน แตใครหลายคนหลงประเด็น โดยพยายามทําอะไรหลาย อยาง เพื่อใหมีแตผูชนะ แตความจริง แพ-ชนะอยูที่ความคิด เราจึงตอง “คิด”แบบชนะ-ชนะ อยาพยายาม“ทํา” แบบชนะ-ชนะ
  • 12. The 7 Habits of Highly Effective People By (Stephen R. Covey) |12 | เคล็ดลับ “ความสุข ไมไดขึ้นอยูกับสิ่งตา ง ๆ ที่ปรากฏอยูภายนอกแตขึ้นอยูกับ วิธีคิดและวิธีที่คุณ มอง” การที่เราจะชนะได ไมจําเปนตองทํา ใหคนอื่นแพ เราสามารถมีชัยชนะไปพรอมๆ กันได และที่สําคัญ วันนี้เราสราง "บัญชีออมใจ" กับใครไวบางหรือยัง? อุปนิสัยที่ 5 เขาใจผูอื่นกอนจะใหผูอื่นเขาใจเรา (Seek first to understand, then to be understood) “หลักการติดตอสื่อสารระหวางบุคคล (Interpersonal Communication)” การคิดแบบชนะ – ชนะ ทําใหคนเราจะยอมเขาใจคนอื่นกอน การจะเขาใจคนอื่นกอนได ตองฟงใหมาก ๆ เพื่อเรียนรูและเขาใจผูที่เราฟง โดยพยายามฟงและเขาใจกับสิ่งที่ผูอื่นอธิบาย เอาตัวเราเขาไปอยูในสถานการณของ  เขา เมื่อเราเปดใจรับฟงความคิดเห็นของผูอื่น ฝายตรงขามจะมีความรูสึกที่ผอนคลายและเปดกวางในการรับฟงเรา มากขึ้น เมื่อเขาใจเขาแลว เขาจะเขาใจเราเชนกัน ความเขาใจซึ่งกันและกัน เปนกุญแจสําคัญของหลักการติดตอสื่อสารระหวางบุคคลที่มีประสิทธิผลการ ติดตอสื่อสารถือเปนทักษะที่สําคัญที่สุดในชีวิต เราใชเวลาหลายปในการเรียนรูวิธีการคิด อาน เขียน และพูด แต นอยคนที่ไดผานการฝกอบรมเรื่องการฟง การฟงในที่นี้หมายถึงการฟงเพื่อแสวงหาความเขาใจซึ่งมากกวาการสนใจ ฟง ในการสนทนาพูดคุยหรือปรึกษาหารือในเรื่องตางๆหรือปญหาตางๆ เราควรรับฟงกันดวยความตั้งใจ เพื่อที่จะ เขาใจวาผูอื่นตองการอะไรมากกวาที่เคาพูด การพยายามเขาใจผูอื่นจะชวยใหทราบปญหาและความตองการของ ผูอื่นไดชัดเจน ทําใหสามารถแกปญหาไดตรงจุดและสามารถพูดอยางเปดเผย เราตองฟงดวยหู ดวยหัวใจ ดวย ความรูสึก ดวยความหมายที่แสดงออกมา เราตองฟงถึงพฤติกรรมและใชสมองดานซายและขวาไปพรอมกัน การ รับฟงเพื่อแสวงหาความเขาใจสงผลดีอยางมากเพราะทําใหเราไดขอมูลที่ถูกตอง การเขาใจเขากอนที่จะใหเขาเขาใจเรา มีวิธีงายๆ ก็คือ "การฟง" เขาบอกวา คนเรามักไมชอบฟงผูอื่น มัก คิดถึงแตสิ่งที่ตนจะพูดเทานั้น และมักดวนสรุปตัดสินใครงายๆ จากการฟงไมกี่ประโยคเพื่อที่จะใหคําแนะนําจาก ประสบการณของเราเอง นิสัยนี้เขาจึงสอนใหเราฟงคนอื่นแบบเอาใจเขามาใสใจเรา นั่นเอง การเขาใจผูอื่น กอนที่ จ ะให ผูอื่น มาเข าใจเรา เปนทัก ษะที่สํ าคัญ ที่สุด การที่จ ะทํา ใหเ รามีอุป นิสัย นี้ คือ "การฟง" ตามปกติคนเราจะชอบพูดมากกวาชอบฟง บางครั้งเราฟง แตไมไดตั้งใจฟงจริง ฟงเพื่อรอคิวที่จะถึง เวลาเราพูด ดังนั้น เราจะสามารถเขาใจผูอื่นไดดี เราตอง "ฟงเพื่อใหเขาใจ" ไมใช "ฟงเพื่อจะตอบ หรือเพื่อจะ พูด" หรือฟงแบบวา “ฟงไมไดศัพท แลวจับกระเดียด” นําไปสูความเขาใจผิด กอใหเกิดความขัดแยงได การฟงจึงเปนทักษะสําคัญที่จําเปนตองเรียนรู ทักษะการฟงที่ดีนํามาซึ่งความสําเร็จในชีวิต เพราะเปน พื้นฐานสําคัญของทักษะการเขาสังคม สามารถลดความเขาใจผิด ความขัดแยงในการปฏิสัมพันธกับคน นอกจากนี้ การพัฒนาทักษะการฟงยังสงผลตอการพัฒนาในดานสติปญญา ในแงของการฝกใชความคิด การจับประเด็น ฝก ความจํา และฝกฝนการจดจอแนวแนกับสิ่งใดสิ่งหนึ่งหรือมีสมาธิที่ตองการเรียนรูไดอยางมีประสิทธิภาพ การฟงอยางมีประสิทธิภาพนั้นเปนสิ่งที่สามารถสอนและฝกฝนกันได โดยพื้นฐานสําคัญอันดับแรกสุดในการ ฝกฝนนั้น คือ การฝกฝนความอดทนในการเปนผูฟงที่ดี อยาพูดสอดแทรก รอใหอีกฝายพูดจนจบกอน มีมารยาทใน การฟง เรียนรู ที่จ ะใหเ กียรติผูพูด เปนการฝก ฝนใหตนไมเ ปนคนที่เยอหยิ่ง หรือเอาตนเองเปนศูนยก ลางคิดวา
  • 13. The 7 Habits of Highly Effective People By (Stephen R. Covey) |13 | ความคิดของตนดีกวาจนไมยอมรับฟงผูใด จนเปนเหตุใหเ กิดการปดกั้นการเรียนรูจากแหลง ตาง ๆ ไปอยางน า เสียดาย รวมทั้งเปนการสรางสัมพันธอันดีตอทั้งผูพูดและผูฟง ทําใหการสนทนานั้นเปนไปอยางสรางสรรคและจบลง ดวยดี ผูฟงที่ดีจะตองมีลักษณะแหงความกระตือรือรนอยูดวย หรือที่เรียกวา Active Listening คือ แสดงทาทาง ภายนอกว ากํ า ลั ง ฟ ง อยู และในสมองตอ งมีก ารทํา งานแล ว คิด ไปด ว ยอยู ต ลอดเวลา ผู ฟง ที่ ดี จ ะต อ งพั ฒ นา ความสามารถในการจับประเด็นไปดวย เพราะเปนตัวชี้วาการสื่อสารที่เกิดขึ้นนั้นผูสงสารสามารถบรรลุเปาหมายใน การสื่อสารที่ตองการไปยังผูรับสารหรือไม การสื่อสารเปนไปอยางมีประสิทธิภาพหรือไม ดังนั้น ผูฟงที่ดี ตองตั้งใจ ฟง รูถึงความรูสึกและอารมณของเขา รับฟงอยางมีสติมั่นคง รับฟงอยางเปนกลางสายตาอยูที่ผูพูด อยาเพียงแตได ยิน โดยที่ในใจคิดเรื่องอื่นอยู เคล็ดลับ คนเรามักยึดตนเองเปนศูนยกลาง อยากใหใคร ๆ มาเขาใจเรา ทําในสิ่งที่เรา แตคนที่มีเสนห คือ คนที่รับฟง แลวเขาใจผูอื่น ทําไดโดย ฟงใหมากขึ้น พูดใหนอยลง และที่สําคัญการฟงนั้น ตองฟงในสิ่งที่เคา ไมไดพูด จะทําใหเขาใจผูอื่นไดจริง ๆ
  • 14. The 7 Habits of Highly Effective People By (Stephen R. Covey) |14 | อุปนิสัยที่ 6 ประสานพลัง (Synergize) “หลักการรวมมืออยางสรางสรรค (Creative Collaboration)” เมื่อเขาใจผูอื่นแลวจะเห็นความแตกตางระหวางบุคคล แลวจะใหคุณคาในความแตกตางเหลานั้น อัน จะนํ าไปสู ความสามารถในการใชค วามแตกต างนั้ นมาผนึก พลัง ประสานความตา งได เมื่อ เกิ ดความรว มมื อ กัน (Synergy) เราจะสามารถพึ่งพากันได และเมื่อนั้นเราจะมีชัยชนะ การประสานพลัง (Synergize) หมายถึง การผนึกพลังผสานความตาง โดยการรวมมือกันกับคนอื่นอยาง สรางสรรค เปนการนําขอดีของอุปนิสัยทั้งหมดมารวมเขาดวยกันเพื่อทํางานใหญใหสําเร็จ กุญแจสําคัญของการ ประสานพลังระหวางบุคคล คือ การประสานพลังในตัวบุคคลนั่นเอง เปนการประสานพลังภายในตัวเองโดยการทํา ใหอุปนิสัยทั้ง 3 ขอแรกฝงอยูในตัวเราใหได ซึ่งจะทําใหเ รารูสึก มั่นคงเพียงพอที่จะรับมือกับ ความเสี่ยงตาง ๆ ที่ อาจจะเกิดขึ้น เมื่อเรามีห ลักการทั้ง สามอยูในใจแลว ก็เหมือนกับเราไดพัฒ นาจิตใจที่เ อื้อเฟอ และมีความคิด แบบ ชนะ / ชนะ อันเปนพลังของอุปนิสัยที่ 5 ในการสื่อสารแบบประสานพลัง เราตองเปดใจ เปดความคิดใหกวาง และเตรียมความรูสึก ใหดี พรอมรับ มือกับ สิ่ง ใหม ๆ ที่จะเกิดขึ้นรวมทั้ง ทางเลือกใหมและโอกาสใหม ซึ่ง ฟง ดู เหมือนกับวาจะขัดแยงกับอุปนิสัยที่ 2 (เริ่มตนดวยจุดมุงหมายในใจ) แตในความเปนจริงเรากําลังทําใหมันสมบูรณ ยิ่งขึ้นตางหาก หรือ ผนึกพลังผสานความตาง คนเรามักอยูในมุมของตัวเอง ไมยอมรับความเห็นของผูอื่น ถาเราเปด ใจยอมรับความเห็นที่แตกตางได นั่นยอมนํามาซึ่งผลลัพธที่คาดไมถึง 1+1 > 2 ก็เพราะการยอมรับในความแตกตาง การยอมรับในคุณคาของตนเองหรือการนับถือตนเอง (Self - esteem) หมายถึง ความรูสึก ความเชื่อที่ บุคคลที่มีตอตนเองวามีความสามารถมีคุณคา ซึ่งจะมีระดับตั้งแตการนับถือตนเองต่ําไปจนถึงการนับถือตนเองสูง การที่บุค คลยอมรั บ ตนเองนับ เปน ทัก ษะสํ าคัญ ในการที่จ ะเรีย นรูพั ฒ นาตนเอง และการดํ าเนิ นชีวิ ต เพราะ ความสามารถในการรักษาสัมพันธภาพระหวางบุคคลไดดี มีผลมาจากการที่บุคคลยอมรับหรือปฏิเสธตนเอง ทําให สามารถใชทํานายสัมพันธภาพที่บุคคลอื่นมีตอเราไดเชนกัน การนับถือตนเอง (Self - esteem) ประกอบดวย ความ ตระหนักถึงคุณคาตนเอง (Self-respect) และ ความเชื่อมั่นในความสามารถตนเอง(Self-efficacy) จนกลายเปน ภาพแหงตน (Self-image) ทําใหบุคคลรูจักตนเอง มองโลกในแงดีเสมอ มองวิกฤตใหเปนโอกาส ประเมินตัวเราให มีคุณคาอยูเสมอ เชื่อมั่นในความสามารถตัวเอง มองวาตัวเราเปนสวนหนึ่งของชีวิตและเราสามารถเปลี่ยนแปลง ตามที่เราตองการ และไมหลงตนเอง ทําใหมีความมั่นใจ มีความหวัง มีพลังในการตอสู ที่สําคัญคือเราตองเปดใจ เขาใจในความแตกตางของผูอื่น และใชความแตกตางนั้นใหเกิดประโยชน โบราณวาไว สองหัวดีกวาหัวเดียว ดังนั้น เมื่อคนสองคนคิดหาทางออกรวมกัน ยอมดีก วาที่ตางคนตาง หาทางออกโดยไมปรึกษากัน หรือตัดสินใจคนเดียวตามลําพัง ความรวมมือรวมใจไมใชการยอมความ หากแตเปน การสื่อสารกันดวยความเคารพในสิทธิและความคิดสรางสรรคของกันและกัน ทําใหเกิดการเรียนรู เกิดความเขาใจ และสามารถหาทางออกไดดีกวาเดิม จึงทําใหเกิดสูตร Synergy คือ 1+1= 3 การทํางานใดๆ คงหลีก เลี่ยงอุปสรรคปญหาไมได แตการทํางานรวมกันเปนทีม (Team Work) ชวยให บุคคลหลายคนทํางานรวมกันโดยมีความพึงพอใจในการทํางานนั้น เพื่อใหบรรลุผลสําเร็จตามเปาหมายเดียวกันอยาง มีประสิทธิภาพ ทําใหสามารถแกปญหาไดมีประสิทธิภาพดีกวา ตัดสินใจไดรอบคอบยิ่งขึ้น และกอเกิดความคิด สรางสรรคดีกวาคิดอยูคนเดียว การประสานพลัง คือ การประสานความแตกตาง โดยพยายามรวมกันเพื่อบรรลุ เปาหมายของทุกคนในทีม ... The whole is greater than the sum of its parts.
  • 15. The 7 Habits of Highly Effective People By (Stephen R. Covey) |15 | การทํางานดวยการประสานประโยชนอยางสรางสรรคเพิ่มพูน (Synergize) จึงเปนการแสวงหาทางเลือกใน การแก ปญ หา ทางเลือ กที่ ได เ ป นทางเลือ กจากการปรึก ษาพูด คุย แลกเปลี่ย นความคิ ดและขอ มูล ซึ่ง กัน และ กัน สรุปผลเปนทางเลือกใหมที่ดีกวาทางเลือกของแตละคน เปนทางเลือกที่มีการยอมถอยคลละกาว การจะทํางาน แบบประสานประโยชนอยางสรางสรรคได จะตองเปดใจรับฟงกันและกัน โดยใชอุปนิสัยที่ 4 และ5 มาชวยใหการ ประสานพลัง มีประโยชน สรางสรรคและเพิ่มพูน เคล็ดลับ ยอมรับในความแตกตางวาเปนเรื่องธรรมดา และตองคิดเสมอวาเราจะนําจุดเดนของแตละ คน มาเสริมใหเกิดประโยชนซึ่งกันและกันไดอยางไร
  • 16. The 7 Habits of Highly Effective People By (Stephen R. Covey) |16 | อุปนิสัยที่ 7 ลับเลื่อยใหคม (Sharpen the saw) “หลักการเรียนรูตลอดชีวิต (Life Long Learning)” สิ่งใดก็ตาม ถาหากเราใชไปโดยไมหยุดพัก เมื่อถึงวันหนึ่งก็จะชํารุดไมสามารถใชงานไดตอไป ลับเลื่อย ใหคมจึง เปนการใหพลัง กับ ชีวิต ถาเลื่อยมันทื่อเพราะใชง านหนัก ก็ลับมันบาง ทั้ง ดานรางกาย อารมณ สัง คม สติปญญา เพราะถึงที่สุดแลว ชีวิตตองมีความสมดุล จึงจะอยูในสังคมไดอยางมีความสุข ถาคนเกง หรือคนที่คิดวาตัวเองเกงแลว แตไมพัฒนาตัวเอง ความรูความสามารถที่มีอยูเดิมอาจจะใชการ ไมได เพราะโลกมีการเปลี่ยนแปลงอยูเสมอ ผลงานที่เคยทําไดดีก็อาจจะไมดีเหมือนเคย เหมือนกับเลื่อยที่ถูกใชงาน ไปเรื่อย ๆ ถาไมหมั่นลับคม สักวันมีดก็ทื่อ ใชการไมไดในที่สุด "ลับเลื่อยใหคม" หมายถึง การแสวงหาความรูใหมๆใหแกตนเองอยูเสมอใน 4 ดาน การแสดงใหเห็นถึงพลัง ขับดันทั้ง 4อยางและการฝกหัดใชพลังทั้ง 4 ที่มีอยูในตัวเราอยางตอเนื่อง สม่ําเสมอ อยางฉลาดและสมดุลย ซึ่งจะ ทําไดก็ตองเปนคนที่ชอบลงมือกอน โดยหมั่นเติมพลังใหชีวิต ทั้ง 4 ดานไดแก 1. ดานกายภาพ เชน หมั่นออกกําลังกาย พักผอนใหพอ กินอาหารที่มีประโยชน 2. ดานอารมณ เชน มองโลกในแงดี คิดในสิ่งที่ดี ทําความดี สรางความสัมพันธที่ดีกับคนรอบขาง เอาใจเคา มาใสในเราและการอยูรวมกับผูอื่น 3. ดานสติปญญา เชน อานหนังสือ เรียนรูสิ่งใหมๆ การเดินทางหาประสบการณ การเขาอบรมสัมมนาใน หลักสูตรตางๆ 4. ดานจิตวิญญาณ เชน เขาวัด ทําบุญ ปฏิบัติธรรม อยูกับธรรมชาติ อุปนิสัยที่ 7 เปนหลักการปรับตัวใหมใหสมดุลซึ่งทําใหอุปนิสัยที่เหลือทั้งหมดทํางานไดผล เปรียบเสมือน เครื่องคอมพิวเตอรสวนบุคคลที่ชวยรักษาและเพิ่มคุณคาที่มีอยูในตัวใหมากขึ้น เปนการปรับเปลี่ยนของสิ่งที่มีอยูใน ตัวเราโดยธรรมชาติ 4 อยาง ไดแก รางกาย จิตวิญญาณ สติปญ ญา และความรู สึกที่มีตอสัง คม ในขณะที่ภาค รางกาย สติปญญา และใจเกี่ยวของอยางใกลชิดกับอุปนิสัยที่ 1, 2 และ 3 ซึ่งมีศูนยรวมเนนไปที่วิสัยทัศนสวนตัว ความเปนผูนํา และการจัดการ แตทางภาคสังคมและอารมณจะเนนไปที่อุปนิสัยที่ 4, 5 และ 6 ซึ่งมีศูนยรวมที่เนน ไปที่การติดตอระหวางบุคคลของการเปนผูนํา การติดตอสื่อสาร และการรวมมือกันสรางสรรค ดัง นั้นการที่ จ ะ ประสบความสําเร็จในอุปนิสัยที่ 4, 5 และ 6 นั้นไมใชเปนเรื่องของสติปญญาแตเปนเรื่องของอารมณ นิทานสอนเด็กบางครั้งก็มีคติเตือนใจเราไดมาก ถาเราจะลองพิจารณาดู อยางเรื่อง หานทองคํา ที่เรา เรียน และไดฟงมาตั้งแตเล็ก นิทานเรื่อง “หานทองคํา” เรื่องมีวาชายคนหนึ่งโชคดีไดหานมา หานตัวนี้ออกไขมาเปนทองคําทุกวัน ๆ เจาของดีใจมาก แตตอนหลัง รูสึก วาไดวัน ละฟองมั นนอ ยไป อยากจะได ม ากกวา นั้น และก็เ ชื่ อวา ในตั วหา นนา จะมี ไขที่ เ ปน ทองคําอี ก ตั้ ง เยอะแยะ ถาจะรอใหมันออกมาวันละฟอง ๆ มันชาไป อยากระนั้นเลยควานทองเอาไขออกมาดีกวา ก็เลยฆาหาน ตัวนั้น ปรากฏวาไมไดไขทองคําแมแตฟองเดียว ชายคนนั้นลืมไปวาถาอยากจะไดไขทองคํามาก ๆ ก็ตองดูแลรักษา ตัวหานใหดี แตนี่กลับไมสนใจ มิหนําซ้ําไปฆามันเสีย ก็เทากับวาไปฆาตนทุนเสีย จะมีผลงอกงามไดอยางไร ขอคิดของนิทานเรื่องนี้